75

บัญชีรายชื่อสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทย CHECKLIST OF IN THAILAND

ยอดชาย ชวยเงิน1/,* และ จันทรทิพย ชวยเงิน2/ Yodchaiy Chuaynkern1/,* and Chantip Chuaynkern2/

ABSTRACT A species account summarizing all reptiles occurring in Thailand was conducted based on the published scientific literatures. The fauna of the country is comprised of 413 species from 3 orders and 27 families, including 31 species of the Order Chelonia (6 families), 3 species of the Order Crocodylia (1 family), and 379 species of the Order (20 families; 166 species and 8 families of the Subfamily Lacertilia and 213 species and 12 families of the Subfamily Serpentes). Thereptile checklist for Thailand should be revised to reflect the updatesand our latest knowledge of this taxon which has been and still is expanding rapidly.

บทคัดยอ การรวบรวมรายชื่อสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทยโดยยึดตามเอกสารทางวิชาการที่รับการ ตีพิมพ พบวา ประเทศไทยมีจํานวนสัตวเลื้อยคลาน 413 ชนิด จาก 3 อันดับ 27 วงศ แยกเปน สัตวเลื้อยคลานในอันดับเตาจํานวน 6 วงศ 31 ชนิด อันดับจระเข 1 วงศ 3 ชนิด อันดับ Squmata 20 วงศ 379 ชนิด (อันดับยอย lizard 8 วงศ 166 ชนิด และอันดับยอยงู 12 วงศ 213 ชนิด) บัญชีรายชื่อนี้ ควรจะมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเรื่อยๆ เนื่องจากการศึกษาวิจัยที่เพิ่มมากขึ้น

Keyword: reptile, checklist, distribution, Thailand.

1/ กองวิชาการธรรมชาติวิทยา พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ เทคโนธานี ต. คลองหา อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120 2/ ภาควิชาชีววทยาิ คณะวิทยาศาสตร มหาวทยาลิ ัยขอนแกน อําเภอเมือง จังหวดขอนแกั น 40002 * Coresponding author: [email protected]

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 76

บทนํา ประเทศไทยตั้งอยูตรงกลางของเขตสัตวภูมิศาสตร Oriental โดยดานตะวันตกของประเทศ มีชนิดพืชและสัตวคลายคลึงกับชนิดพันธุที่ปรากฏในอินเดียและพมา ขณะที่ดานตะวันออกและ เหนือก็มีชนิดพันธุที่คลายคลึงกับทางอินโดจีน สวนทางใตก็คลายคลึงกับทางมาเลเซียและ อินโดนีเซีย (ICEM, 2003; Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, 2006). นอกจากนี้แลว ดวยระบบนิเวศที่หลากหลาย กอใหเกิดถิ่นที่อยูอาศัยและสภาพภูมิอากาศที่ แตกตางกัน อันเปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกตางกัน ทําใหความหลากหลายทางชนิดพันธุของ สิ่งมีชีวิตในประเทศไทยมีสูงมาก โดยปจจุบันพบพืชประมาณ 15,000 ชนิด (8% ของทั้งโลก) สัตว มีกระดูกสันหลังประมาณ 4,500 ชนิด (ประกอบดวยสัตวเลี้ยงลูกดวยนมประมาณ 300 ชนิด นก 986 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน 350 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน 137 ชนิด และปลา 2,820 ชนิด) และสัตวไมมี กระดูกสันหลงอั ีกประมาณ 83,000 ชนิด ในสวนของการศึกษาสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทยนั้น ไดศึกษากันมามากกวา 140 ปแลว โดยเริ่มพรอมๆ กับการศึกษาสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก จากนักอนุกรมวิธานตางประเทศ (Khonsue, 2005) จากนั้นก็จะมีนักวิจัยชาวไทยเขามารวมงานเพื่อเรียนรูและซึมซับวิธีการและความรูตางๆ นับ เนื่องจากอดีตจนปจจุบัน นักอนุกรมวิธานชาวตางประเทศที่มีบทบาทอยางมากในการศึกษาดาน อนุกรมวิธานของสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทยประกอบดวย ดร. เอดเวิรด เอช. เทเลอร (Dr. Edward H. Taylor) อองรี มูโอต (Henri Mouhot) มอลคอลม เอ. สมิธ (Malcolm A. Smith) จอรจ เอ บูลองแชร (George A. Boulenger) ในสวนของนักวิจัยชาวไทยที่เขามามีบทบาทตอการศึกษา สัตวเลื้อยคลานในประเทศไทยในยุคเริ่มแรกก็ประกอบดวย ศ. โชติ สุวัตถิ, นายแพทยบุญสง เลขะ กุล, คุณสุขุม พงษพิพัฒกุล, นาวาอากาศเอกวิโรจน นุตพันธุ, รศ.ดร. วีรยุทธ เลาหจินดา, ดร. จารุ จินต นภีตะภัฏ, ผศ.ดร. กําธร ธีรคุปต เปนตน การศึกษาดังกลาวทําใหมีการคนพบสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทยมากขึ้นเรื่อยๆ และ เริ่มทําการรวบรวมรายชื่อสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทยขึ้นมา นับเนื่องจาก Suvatti (1950), Chan- ard et al. (1999), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005) และ Chanhome & Pauwels (2007) แตก็ยังไมสมบูรณและมีจํานวนชนิดและชนิดไมตรงกันบาง แลวแต ความเห็นและวิธีการรวบรวมขอมูลของผูเขียนแตละ ดังนั้นการจัดทําบัญชีรายชื่อจึงควรมีการ ปรับปรุงอยูเรื่อยๆ เพื่อใหทันกับการศึกษาทางอนุกรมวิธานที่มีความกาวหนาขึ้นเรื่อยๆ เพื่อใหได บัญชีรายชื่อสัตวเลื้อยคลานที่พรอมใชงานไดทันที

วิธีการรวบรวมรายชื่อสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทย รายชื่อชนิดสัตวเลื้อยคลานดังที่ปรากฏในบทความชิ้นนี้ คณะผูเขียนไดทําการเรียบเรียงขึ้น จากเอกสารทางดานอนุกรมวิธานของสัตวในกลุมดังกลาว ทั้งนี้ไดทําการปรับปรุงจากบัญชีรายชื่อ

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 77

ซึ่งมีผูรวบรวมและตีพิมพไวกอนหนานี้ เชน Suvatti (1950), Chan-ard et al. (1999), Nabhitabhata (2000), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) และ Nabhitabhata & Chan-ard (2005) เปนตน พรอมทั้ง ประกอบกับเอกสารทางวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รูปแบบของรายชื่อสัตวเลื้อยคลานที่ปรากฏในบทความนี้จะเรียงลําดับตามตัวอักษรจาก A ไปยัง Z ทั้งระดับอันดับ (Order) อันดับยอย (Suborder) วงศ (Family) และชนิด (Species) การจัดหมวดหมูทางอนุกรมวิธาน (Classification) ของสัตวเลื้อยคลานนั้นมีการโตเถียงกัน มาอยางยาวนาน และมีผูเสนอการจัดหมวดหมูทางอนุกรมไวมากมาย ในบทความนี้ไดใชตาม Uetz (2012) รายละเอียดขอมูลของสัตวเลื้อยคลานแตละชนิดจะประกอบดวยรูปแบบดังตอไปนี้ 1. ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) ประกอบไปดวยชื่อสกุล (Generic name) ชื่อชนิด (Specific epithet) และชื่อผูตั้งชนิด (Author) พรอมป ค.ศ. ที่ตั้งชนิด 2. ชื่อไทย (Thai name) เปนชื่อภาษาไทยที่ใชเปนทางการในงานทางวิชาการ ทั้งนี้อาจจะมี ความแตกตางกันบางในบางชนิด เมื่อเทียบกับเอกสารกอนหนานี้ นั่นก็เนื่องมาจากในเอกสารกอน หนานี้มีการใชชื่อไทยในการเรียกสัตวเลื้อยคลานชนิดเดียวกันแตกตางกัน อีกทั้งยังไมไดมีการ ทบทวน (Review) ชื่อภาษาไทยทั้งหมด ในบทความฉบับนี้ คณะผูเขียนขออนุญาตใชชื่อไทยที่มีกัน ใชอยางแพรหลายไปกอนเพื่อความสะดวก ทั้งที่ความจริงแลวผูเขียนเองมีความคิดวา ชื่อไทยที่ควร ใชอยางเปนทางการ ควรยึดหลักกอนหลัง (Priority) เพื่อใหเกียรติแกคนที่ใชชื่อไทยแก สัตวเลื้อยคลานชนิดนั้นและตีพิมพเผยแพรเปนครั้งแรก แตแนวคิดการยึดหลักกอนหลังนี้ก็ยังมีชอง โหวอยูบาง ซึ่งคงเอาไวในบทความฉบับตอๆ ไปที่จะไดมีการตรวจทานชื่อภาษาไทยที่ใชเรียก สัตวเลื้อยคลานทั้งหมด 3. แหลงตัวอยางตนแบบ (Type locality) เปนแหลงที่ตัวอยางตนแบบของสัตวเลื้อยคลาน แตละชนิดที่ถูกจับมา 4. การแพรกระจาย (Distribution) เปนการแพรกระจายในประเทศไทย โดยจะระบุเพียง ระดับจังหวัด โดยรายชื่อจังหวัดนั้นจะทําการเรียงตามลําดับตัวอักษรจาก ก ถึง ฮ 5. หมายเหตุ (Comment) เปนขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับสัตวเลื้อยคลานชนิดนั้นๆ ที่นาจะ เปนประโยชนสําหรับผูอาน จึงไดมีการระบุเพิ่มเติมไว 6. อักษรยอ (Species code) เพื่อใหเปนไปตามรูปแบบของบัญชีรายชื่อสัตวปาเลี้ยงลูกดวย นมในประเทศไทย (Duengkae, 2011) บัญชีรายชื่อคางคาวในประเทศไทย (Soisook, 2011) และ บัญชีรายชื่อนกในประเทศไทย (Pratumthong et al., 2011) ทางคณะผูเรียบเรียงไดใสอักษรยอของ แตละชนิด โดยใชหลักเกณฑเดียวกันกับบัญชีรายชื่อทั้ง 3 เรื่อง ดังกลาว 7. อางอิง (Reference) เปนที่มาของขอมูลเกี่ยวกับสัตวเลื้อยคลานชนิดนั้นๆ โดยทําการ อางอิงในระบบ ชื่อและ พ.ศ. โดยเรียงจากเอกสารอางอิงภาษาไทย และตอดวยภาษาอังกฤษหรือ

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 78

ภาษาอื่นๆ การเรียงลําดับของเอกสารอางอิงในแตละภาษา จะเรียงลําดับจากตัวอักษร และจาก เอกสารที่ตีพิมพกอนไปสูเอกสารที่ตีพิมพทีหลัง ทั้งนี้การอางอิงฉบับเต็มจะปรากฏในสวนของ “เอกสารอางอิง” ซึ่งอยูทายสุดของบทความ

บัญชีรายชื่อสตวั เลื้อยคลานในประเทศไทย Class REPTILIA Laurenti, 1768 Order CHELONIA Gray, 1825 Family CHELONIIDAE Oppel, 1811 Caretta caretta (Linnaeus, 1758). เตาหัวโต. Type locality: “Americanas”. การ แพรกระจาย: พังงา ภูเก็ต ระยอง สงขลา อาวไทย. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011b). อักษรยอ: CACA. Chelonia mydas (Linnaeus, 1758). เตาตนุ. Type locality: “insulas Pelagi: insularum Adscensionis” [The Pelagie Islands and Ascencion Island]. การแพรกระจาย: ชลบุรี ชุมพร พังงา เพชรบุรี ระยอง ทะเลอันดามัน. อางอิง: Pauwels et al. (2002, 2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011b). อักษรยอ: CHMY. Eretmochelys imbricata (Linnaeus, 1766). เตากระ. Type locality: “American and Asiatic seas”. การแพรกระจาย: ชลบุรี พังงา เพชรบุรี ระยอง ทะเลอันดามัน. อางอิง: Pauwels et al. (2002, 2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011b). อักษรยอ: ERIM. Lepidochelys olivacea (Eschscholtz, 1829). เตาหญาตาแดง. Type locality: “Manila Bay”, Philippines. การแพรกระจาย: พังงา ภูเก็ต อาวไทย. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LEOL. Family DERMOCHELYIDAE Fitzinger, 1843 Dermochelys coriacea (Linnaeus, 1766). เตามะเฟอง . Type locality: “Mari mediteraneo, Adriatico varius” (=Mediteranean and Adriatic seas). การ แพรกระจาย: พังงา ภูเก็ต ระยอง อาวไทย. อางอิง: Pauwels et al. (2002),

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 79

Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan- ard & Makchai (2011b). อักษรยอ: DECO.

Family GEOEMYDIDAE Theobald, 1868 Batagur baska (Gray, 1831). เตากะอาน. Type locality: “India”. การแพรกระจาย: ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พัทลุง ระนอง สงขลา สตูล. อางอิง: Nutaphand (1994), Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: BABA. Callagur borneoensis (Schlegel & Müller, 1844). เตาลายตีนเปด. Type locality: “Beluku, Borneo”. การแพรกระจาย: พังงา สตูล. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CABO. Cuora amboinensis (Daudin, 1802). เตาหับ. Type locality: “Amboine” Island (or “Amboina”), Indonesia. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตาก นครสวรรค นราธิวาส ปทุมธานี พังงา พัทลุง เพชรบุรี ระยอง สระบุรี สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Nutaphand (1994), Thirakhupt & van Dijk (1994), Chan-ard (1995), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b). อักษรยอ: CUAM. Cuora mouhotii (Gray, 1862). เตาจัน. Type locality: “Lao Mountains, in Siam”, presumably the Luang Prabang mountain range on the border between Thailand and Laos. การแพรกระจาย: “unknown”. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) และ Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบในแถบ ชายแดนไทย-ลาว. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: CUMO. Cyclemys atripons Iverson & McCord, 1997. เตาหวยเขาบรรทัด. Type locality: “Kho Kuap”, Trat (SE Thailand). การแพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครราชสีมา. อางอิง: Iverson & McCord (1997), Sukprakarn &

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 80

Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: CYAT. Cyclemys dentata (Gray, 1831). เตาใบไม. Type locality: “Bengal…Java”. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ตาก นครราชสีมา นราธิวาส เพชรบุรี พะเยา ยะลา ราชบุรี เลย สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Thirakhupt & van Dijk (1994), Chan-ard (1995), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: CYDE. Cyclemys oldhami Gray, 1863. เตาใบไมพมา. Type locality: “Mergui and Siam”, restricted to Mergui by Smith (1931). การแพรกระจาย: กาญจนบุรี นครศรีธรรมราช พังงา ยะลา อุทัยธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: CYOL. Cyclemys tcheponensis (Bourret, 1939). เตาหวยคอลาย. Type locality: “Haute Se- Bang-Hien, (centre de la Chaine annamitique”, Vietnam. การแพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครราชสีมา สระแกว. อางอิง: Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: CYTC. Heosemys annandalei (Boulenger, 1903). เตาบึงหัวเหลือง. Type locality: “Kampong Jalor [Pattani]”, southern Thailand. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ ปทุมธานี ปตตานี ราชบุรี สระบุรี สมุทรปราการ. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: HEAN. Heosemys grandis (Gray, 1860). เตาหวาย. Type locality: “Cambojia (=Cambodia)” การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี ชุมพร นราธิวาส เพชรบุรี ยะลา อุทัยธานี. อางอิง: Thirakhupt & van Dijk (1994), Nadee (1999), Pauwels et al. (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: HEGR. Heosemys spinosa (Gray, 1831). เตาจักร. Type locality: “Penang”, West Malaysia. การแพรกระจาย: กระบี่ นครศรีธรรมราช นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ ปตตานี

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 81

พังงา ยะลา สงขลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: HESP. Melanochelys trijuga (Schweigger, 1814). เตาปากเหลือง. Type locality: “insula Java” (in the Greater Sundas, Indonesia). การแพรกระจาย: ตาก แมฮองสอน. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาพบเฉพาะเขตชายแดน ไทย-พมา แถวจังหวัดตากและแมฮองสอน. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: METR. Malayemys macrocephala (Gray, 1859). เตานาหัวใหญ. Type locality: “Siam”, restricted to Thanyaburi, Pathum Thani Province, Thailand (Chao Phraya River Basin; approx. 50 km NNE of Bangkok; 14.017ºN, 100.733ºE. การ แพรกระจาย: ปทุมธานี. อางอิง: Suvatti (1950). อักษรยอ: MAMA. Malayemys subtrijuga (Schweigger, 1812). เตานา. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยนาท เชียงใหม ตาก นครนายก นครราชสีมา นครสวรรค นราธิวาส ปทุมธานี ปตตานี พังงา พัทลุง พิษณุโลก เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรปราการ สระแกว สระบุรี หนองบัวลําภู อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Nutaphand (1994), Thirakhupt & van Dijk (1994), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: MASU. Notochelys platynota (Gray, 1834). เตาทับทิม. Type locality: “in India Orientali”, later restricted to “Sumatra; Singapore” by Gray (1863). การแพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี ยะลา สงขลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: NOPL. Siebenrockiella crassicollis (Gray, 1831). เตาดํา. Type locality: “Sumatra”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ ฉะเชิงเทรา นราธิวาส ปทุมธานี พังงา พัทลุง เพชรบุรี สุราษฎรธานี. อางอิง: Nutaphand (1994), Chan-ard (1995), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SICR. Family PLATYSTERNIDAE Gray, 1831

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 82

Platysternon megacephalum Gray, 1831. เตาปูลู. Type locality: “Chiang Mai”, Thailand. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ชัยภูมิ เชียงราย เชียงใหม ตาก นาน พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร พะเยา แมฮองสอน ลําปาง เลย สุโขทัย อุตรดิตถ. อางอิง: Soderberg (1967), Thirakhupt & van Dijk (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Pipatsawasdikul et al. (2010). อักษรยอ: PLME. Family TESTUDINIDAE Batsch, 1788 Indotestudo elongata (Blyth, 1854). เตาเหลือง. Type locality: “Arakan, Tenasserim”, Myanmar. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี จันทบุรี ชลบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส นาน พังงา เพชรบุรี แพร พะเยา ราชบุรี ลําปาง เลย สระแกว สระบุรี สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Thirakhupt & van Dijk (1994), Sukmasuang & Boonchai (1995), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: INEL. Manouria emys (Schlegel & Müller, 1844). เตาหก. Type locality: “Sumatra”, Indonesia. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ตรัง ตาก นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา เพชรบุรี สงขลา สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Thirakhupt & van Dijk (1994), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003, 2009b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: MAEM. Manouria impressa (Günther, 1882). เตาเดือย. Type locality: “Siam [=Thailand]”. การแพรกระจาย: เชียงใหม ตาก นราธิวาส เลย อุทัยธานี. อางอิง: Thirakhupt & van Dijk (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: MAIM. Family TRIONYCHIDAE Fitzinger, 1826 Amyda cartilaginea (Boddaert, 1770). ตะพาบน้ํา . Type locality: “unknown”, designated as “Java” by Baur (1893). การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กําแพงเพชร จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ตราด ตาก นครศรีธรรมราช นครสวรรค

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 83

นราธิวาส ปทุมธานี พังงา เพชรบุรี แมฮองสอน ยะลา ราชบุรี เลย สตูล สระแกว สุราษฎรธานี อุทัยธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาพบในแมน้ําโขง. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Thirakhupt & van Dijk (1994), Chan-ard (1995), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Sukmasruang et al. (2007). อักษรยอ: AMCA. Chitra chitra Nutphand, 1990. ตะพาบมานลาย. Type locality: “tidal creek of the Pasuruan River, near Pasuruan, East Java, Indonesia”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ตาก ราชบุรี. หมายเหตุ: Thirakhupt & van Dijk (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาพบในแมน้ําโขงและแมน้ําสาขา. อางอิง: Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CHCH. Chitra vandijki McCord & Pritchard, 2003. ตะพาบมานลายพมา . Type locality: “Khayansat Kone Village, Ayeyarwady River system, NE Myanmar. การ แพรกระจาย: ตาก. อางอิง: McCord & Pritchard (2003), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CHVA. Dogania subplana (Geoffroy, 1809). ตะพาบแกมแดง. Type locality: “unknown”. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี นราธิวาส พังงา เพชรบุรี ยะลา ราชบุรี สงขลา สตูล สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Thirakhupt & van Dijk (1994), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DOSU. Lissemys scutata (Peters, 1868). ตะพาบหับพมา. Type locality: “Pegú”, Myanmar. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี. อางอิง: Thirakhupt & van Dijk (1994). อักษร ยอ: LISC. Pelochelys cantorii Gray, 1864. ตะพาบหัวกบ. Type locality: “Malacca” (=Melaka, 02º 12´N; 102º 15´E, in West Malasia. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ เพชรบุรี ยะลา. อางอิง: Pauwels et al. (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: PECA.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 84

Order CROCODYLIA Owen, 1842 Family CROCODYLIDAE Cuvier, 1807 Crocodylus porosus Schneider, 1801. จระเขน้ําเค็ม. Type locality: “Unknown”. การ แพรกระจาย: ชุมพร นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา สงขลา สตูล สุราษฎร ธานี. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CRPO. Crocodylus siamensis Schneider, 1801. จระเขน้ําจืด. Type locality: “Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา นครสวรรค พิจิตร พิษณุโลก เพชรบุรี สระแกว หนองคาย อุตรดิตถ อุบลราชธานี. อางอิง: Bhumpakphan et al. (2003), Pauwels et al. (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: CRSI. Tomistoma schlegelii (Müller, 1838). ตะโขง. Type locality: “Karau River and Lake Lamoeda on river Doeson, southern Borneo”. การแพรกระจาย: นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ พัทลุง. อางอิง: Chan-ard (1995), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TOSC. Order SQUAMATA Oppel, 1811 Suborder LACERTILIA Günther, 1867 Family AGAMIDAE Brown, 1827 Acanthosaura armata (Gray, 1827). กิ้งกาเขาหนามยาว. Type locality: “Singapore”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี ยะลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: ACAR. Acanthosaura cardamomensis Wood, Grismer, Grismer, Neang, Chav & Holden, 2010. กิ้งกาเขาตะวันออก. Type locality: “1400 h at 1,121 m elevation from Camp 2, Phnom Aural Kampong Speu Province, Cambodia (12º01´N, 104º09´E). การแพรกระจาย: อางอิง: Wood et al. (2010). อักษรยอ: ACCA. Acanthosaura crucigera Boulenger, 1885. กิ้งกาเขาหนามสั้น. Type locality: “Tavoy, Tenasserim”. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 85

เพชรบุรี แพร รอยเอ็ด ระนอง ราชบุรี สงขลา สระแกว สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: ACCR. Acanthosaura lepidogaster (Cuvier, 1829). กิ้งกาเขาเล็ก. Type locality: “Cochinchine (=South Vietnam)”, Vietnam. การแพรกระจาย: ชัยภูมิ เชียงใหม ตาก เพชรบุรี เพชรบูรณ ลําปาง เลย. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: ACLE. Aphaniotis fusca (Peters, 1864). กิ้งกาพระอินทร. Type locality: “in der Nähe von Malacca (Forest Hill)”, Malaysia. การแพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี ยะลา. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: APFU. Bronchocela cristatella (Kuhl, 1820). กิ้งกาเขียว. Type locality: “not stated”. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชุมพร ตรัง นครนายก นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา เพชรบุรี ยะลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Chan-ard (1995), Hikida et al. (1998b), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: BRCR. Bronchocela smaragdina Günther, 1864. กิ้งกาเขียวจันทบูรณ. Type locality: “Cambodia”. การแพรกระจาย: จันทบุรี นครนายก. อางอิง: Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: BRSM. Calotes emma Gray, 1845. กิ้งกาแกว. Type locality: “Afghanistan; in error”. การ แพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี กําแพงเพชร จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี ปตตานี แพร พังงา พัทลุง เพชรบุรี แพร ภูเก็ต แมฮองสอน ยะลา ระนอง ราชบุรี เลย สกลนคร สงขลา สระแกว สระบุรี สุ ราษฎรธานี หนองคาย อุทัยธานี. อางอิง: Chan-ard (1995), Hikida et al.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 86

(1996b, 1998b), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2009b), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: CAEM. Calotes mystaceus Duméril & Bibron, 1837. กิ้งกาหัวสีฟา Type locality: “Birmans (=Myanmar)”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี ขอนแกน ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงใหม ตาก นครปฐม นครราชสีมา นครสวรรค ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี แพร แมฮองสอน ราชบุรี เลย สกลนคร สระแกว สระบุรี สุโขทัย หนองคาย อุดรธานี อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2003, 2009b), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: CAMY. Calotes versicolor (Daudin, 1802). กิ้งกาหัวแดง. Type locality: “not given [designated as “Pondicherry” by Smith (1935)”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตราด ตรัง ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ พังงา เพชรบุรี แพร แมฮองสอน รอยเอ็ด ระนอง ระยอง ราชบุรี เลย สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวา พบทุกจังหวัด. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: CAVE. Draco blanfordii Blanford, 1878. กิ้งกาบินคอแดง. Type locality: “in provincial Tenasserim, haud procul ab urbe Tavoy atque ad radices montis Nawlabu dicti”, restrict to the forest of Tavoy by Smith (1935). การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี ชุมพร เชียงราย เชียงใหม ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 87

ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา เพชรบุรี แพร ภูเก็ต ยะลา ระนอง เลย สงขลา สตูล สุราษฎรธานี อุดรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b), Pauwels et al. (2002, 2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: DRBL. Draco fimbriatus Kuhl, 1820. กิ้งกาบินคอสีสม. Type locality: “India orientali”, restricted to “Malayische Halbinsel” by Hennig (1936). การแพรกระจาย: จันทบุรี ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี ยะลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DRFI. Draco formosus Boulenger, 1900. กิ้งกาบินมลายู. Type locality: “Larut Hills, Perak (elevation 1500 and 3000 feet)”, Malaysia. การแพรกระจาย: ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส. อางอิง: Taylor (1962). อักษรยอ: DRFO. Draco haematopogon Gray, 1831. กิ้งกาบินปกแดง. Type locality: “not given”. การ แพรกระจาย: สุราษฎรธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DRHA. Draco maculatus (Gray, 18545). กิ้งกาบินปกสม. Type locality: “Penang”. การ แพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี จันทบุรี ชลบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม ตรัง ตราด นครนายก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ พังงา พัทลุง เพชรบุรี แพร ระนอง เลย สงขลา สระแกว สุราษฎรธานี หนองคาย อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Nadee (1999), Pauwels et al. (2002, 2009b), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: DRMA. Draco melanopogon Boulenger, 1887. กิ้งกาบินคอดํา. Type locality: “Malacca”. การแพรกระจาย: กระบี่ ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส พัทลุง ยะลา สุราษฎร ธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DRME. Draco obscurus Boulenger, 1887. กิ้งกาบินเชิงปกแดง. Type locality: “Mount Kina Baloo, Borneo”. การแพรกระจาย: ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี ยะลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DROB.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 88

Draco punctatus Boulenger, 1900. กิ้งกาบินปกดํา. Type locality: “Larut Hill, Perak”, Malaysia. การแพรกระจาย: ตรัง ปตตานี. อางอิง: Taylor (1962). อักษรยอ: DRPU. Draco quinquefasciatus Hardwicke & Gray, 1827. กิ้งกาบินปกหาแถบ. Type locality: “restricted to Penang by Hennig (1936)”. การแพรกระจาย: ตรัง นราธิวาส ปตตานี ยะลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DRQU. Draco taeniopterus Günther, 1861. กิ้งกาบินปกลาย. Type locality: “Chartaboum (=Chanthaburi), coast of Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี จันทบุรี ชุมพร เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช พังงา แพร ภูเก็ต ระนอง สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: DRTA. Draco volans Linnaeus, 1758. กิ้งกาบินหัวสีฟา. Type locality: “India, Africa”. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ยะลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Sukmasuang & Boonchai (1995), Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DRVO. Gonocephalus abbotti Cochran, 1922. กิ้งกาดงคิ้วสัน. Type locality: “Trang, Lower Siam (=Thaialnd)”. การแพรกระจาย: ตรัง นราธิวาส ปตตานี ยะลา. หมาย เหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) รายงาน Gonocephalus abbotti ไวใน บัญชีรายชื่อ โดยรายชื่อ Gonocephalus doriae ซึ่งเคยรายงานไวใน Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ไดหายไป โดยที่ไมไดใหเหตุผลประกอบ และยังใหชื่อไทยตรงกันคือ “กิ้งกาดงคิ้วสัน” ดังนั้นในบัญชีรายชื่อ สัตวเลื้อยคลานเรื่องนี้ ทางผูเขียนไดเปลี่ยนชื่อไทยของ Gonocephalus doriae ไวเปนการชั่วคราว โดยเรียกวา “กิ้งกาดงดอรเรีย” ดวยเหตุผลวา Gonocephalus doriae ดังที่เคยอางโดย Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) นาจะเปนชนิด Gonocephalus abbotti ทั้งนี้ทั้งนั้นยังคงตองการการพิสูจนอยาง เปนวิทยาศาสตรอีกทีเพื่อยืนยันในเรื่องนี้ และทางผูเขียนก็ยังคงชื่อของ

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 89

Gonocephalus doriae ไวอยูในบัญชีรายชื่อสัตวเลื้อยคลานดวย. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: GOAB. Gonocephalus bellii (Duméril & Bibron, 1837). กิ้งกาดงคอฟา. Type locality: “Bengale”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส ยะลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). Gonocephalus doriae (Peters, 1871). กิ้งกาดงคิ้วสัน. Type locality: “Sarawak [Borneo]”, Malaysia. การแพรกระจาย: ตรัง นราธิวาส ยะลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: GODO. Gonocephalus grandis (Gray, 1845). กิ้งกาดงใหญ. Type locality: “Rangoon”. การ แพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี ยะลา สงขลา สตูล. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: GOGR. Leiolepis belliana (Hardwicke & Gray, 1827). แยใต. Type locality: “Penang”, Malaysia. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ชลบุรี เชียงใหม ตรัง ตาก นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา เพชรบุรี พะเยา ระยอง ราชบุรี สงขลา อุทัยธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Satrawaha & Balakanich (1994), Chan-ard (1995), Nadee (1999), Pauwels et al. (2002, 2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011b). อักษรยอ: LEBE. Leiolepis boehmei Darevsky & Kupryanova, 1993. แยสงขลา. Type locality: “Songkhla”. Southern Thailand. การแพรกระจาย: สงขลา. อางอิง: Darevsky & Kupryanova (1993), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LEBO. Leiolepis reevesii (Gray, 1831). แยเหนือ. Type locality: “not given”. การ แพรกระจาย: ขอนแกน ชัยภูมิ เชียงใหม นครราชสีมา ศรีสะเกษ อุบลราชธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: LERE. Leiolepis triploida Peters, 1971. แยมลายู. Type locality: “Malyisch-thailändisches Grenzgebiet auf der Malayischen Halbinsel”. การแพรกระจาย: “no exactly locality”. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาพบที่ชายแดน ไทย-มาลาเซีย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: LETR.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 90

Mantheyus phuwuanensis (Manthey & Nabhitabhata, 1991). กิ้งกาภูวัว. Type locality: “Phu Wua Wildlife Sanctuary, Nong Khai Province, Nong Dem Subdistrict, Bung Khan District, Thailand, 18º15´N, 103º58´E, 200-300 m elevation”. การแพรกระจาย: บึงกาฬ. อางอิง: Manthey & Nabhitabhata (1991), Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: MAPH. Physignathus cocincinus Cuvier, 1829. ตะกอง. Type locality: “Cochinchine (=South Vietnam), Vietnam. การแพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก นครราชสีมา ปราจีนบุรี ระยอง สกลนคร สระแกว สระบุรี อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha- ngam et al. (2006). อักษรยอ: PHCO. Pseudocalotes floweri (Boulenger, 1912). กิ้งกาเขาสอยดาว. Type locality: “Chantabun, S.E. Siam, and Gunong Tahan, Malay Peninsula”. การ แพรกระจาย: จันทบุรี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: PSFL. Pseudocalotes kakhienensis (Anderson, 1879). กิ้งกาพมา. Type locality: “Ponsee, western Yunnan”, China. การแพรกระจาย: Unknown. หมายเหตุ: Nabhitabhata (2000) ระบุไวในรายชื่อสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทย โดยระบุ เปน Salea kahhienensis แตไมไดระบุพื้นที่ที่พบ. อางอิง: Nabhitabhata (2000). อักษรยอ: PSKA. Pseudocalotes khaonanensis Chan-ard, Cota, Makchai & Laoteow, 2008. กิ้งกาหัว ยาวเขานัน. Type locality: “upper montane scrub of Khao Nan National Park (UTM: 084549N, 993219E, 1316 M.)”, Thailand. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช. อางอิง: Chan-ard et al. (2008), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: PSKH. Pseudocalotes microlepis (Boulenger, 1888). กิ้งกาหัวยาว. Type locality: “Pla-pu (1200 metres elevation), W. of Muleyit, N. Tenasserim”. การแพรกระจาย: ชัยภูมิ เชียงใหม เลย. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: PSMI.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 91

Family ANGUIDAE Gray, 1825 Dopasia gracilis (Gray, 1845). กิ้งกางู. Type locality: “Khasi Hills [now in Meghalaya], India”. การแพรกระจาย: ชัยภูมิ เชียงใหม แมฮองสอน เลย. อางอิง: Nabhitabhata (1987), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chuaynkern & Duengkae (2010), Nguyen et al. (2011). อักษรยอ: DOGR. Family DIBAMIDAE Boulenger, 1884 Dibamus alfredi Taylor, 1962. จิ้งเหลนดวงสีมวง. Type locality: “Na Pradoo, Pattani, Southern Thailand”. การแพรกระจาย: ปตตานี ยะลา. อางอิง: Taylor (1962), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DIAL. Dibamus somsaki Honda, Nabhitabhata, Ota & Hikidae, 1997. จิ้งเหลนดวงเขาสอย ดาว. Type locality: “Khao Soi Dao National Park [=Khao Soi Dao Wildlife Sanctuary], Canthaburi [Chanthaburi], 13 1´N, 102 2´E, 300 m elevation”. การแพรกระจาย: จันทบุรี. อางอิง: Honda et al. (1997), Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan- ard & Makchai (2011c), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: DISO. Family EUBLEPHARIDAE Boulenger, 1887 Aeluroscalabotes felinus (Günther, 1864). ตุกแกปาหัวโต. Type locality: “Singapore”. การแพรกระจาย: นราธิวาส ยะลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: AEFE. Family GEKKONIDAE Cuvier, 1817 Cnemaspis affinis (Stoliczka, 1870). จิ้งจกนิ้วยาวมลายู. Type locality: “Penang Hills”, Malaysia. การแพรกระจาย: ปตตานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CNAF. Cnemaspis biocellata Grismer, Chan Kin, Nurolhreda & Montri, 2008. จิ้งจกนิ้วยาว จุดคู. Type locality: “37 m elevation from Kuala Perlis, Perlis, Peninsular Malaysia (06º24.437N, 100º08.564E)”. การแพรกระจาย: สตูล. อางอิง: Grismer et al. (2008). อักษรยอ: CNBI. Cnemaspis chanardi Grismer, Sumontha, Cota, Grismer, Wood, Pauwels & Kunya, 2010. จิ้งจกนิ้วยาวธัญญา. Type locality: “at Ban Chong, Chong, Nayong

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 92

District, Trang Province”, Thailand. การแพรกระจาย: กระบี่ ตรัง นครศรีธรรมราช. อางอิง: Grismer et al. (2010), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: CNCH. Cnemaspis chanthaburiensis Bauer & Das, 1998. จิ้งจกนิ้วยาวจันทบูณ. Type locality: “Khao Soi Daouw (Dao) Wildlife Sanctuary, Pongnomron (Pong Nam Ron), Chanthaburi Province”, Thailand. การแพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง. อางอิง: Bauer & Das (1998), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: CNCA. Cnemaspis flavolineata (Nicholls, 1949). จิ้งจกนิ้วยาวหลังขีด. Type locality: “Gap, Fraser’s Hill (elevation 2700 feet), at the border between Pahang and Selangor”, Malaysia. การแพรกระจาย: นราธิวาส. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CNFL. Cnemaspis huaseesom Grismer, Sumontha, Cota, Grismer, Wood, Pauwels & Kunya, 2010. จิ้งจกนิ้วยาวหัวสีสม. Type locality: “Sai Yok National Park”, Kanchanaburi Province, Thailand. การแพรกระจาย: อางอิง: Grismer et al. (2010). อักษรยอ: CNHU. Cnemaspis kamolnorranathi Grismer, Sumontha, Cota, Grismer, Wood, Pauwels & Kunya, 2010. จิ้งจกนิ้วยาวสุเมธ. Type locality: “Petchphanomwat Waterfall, in Tai Rom Yen National Park, Ban Nasan District”, Surat Thani Province, Thailand. การแพรกระจาย: สุราษฎรธานี. อางอิง: Grismer et al. (2010). CNKA Cnemaspis kandiana (Kelaart, 1852). จิ้งจกนิ้วยาวอินเดีย. Type locality: “Mountains of Kandy”, Sri Lanka. การแพรกระจาย: ชุมพร เพชรบุรี ระนอง. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: CNKN. Cnemaspis kumpoli Taylor, 1963. จิ้งจกนิ้วยาวกัมพล. Type locality: “Khao Chong Forestry Experimental Station, Trang Province”, Thailand. การแพรกระจาย: ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ สงขลา สตูล. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: CNKU.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 93

Cnemaspis mysoriensis (Jerdon, 1853). จิ้งจกนิ้วยาวอินเดีย. Type locality: “Bangalore, Karnataka”, India. การแพรกระจาย: ชุมพร ระนอง. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: CNMY. Cnemaspis narathiwatensis Grismer, Sumontha, Cota, Grismer, Wood, Pauwels & Kunya, 2010. จิ้งจกนิ้วยาวนราธิวาส. Type locality: “Waeng District, Narathiwat Province”, Thailand. การแพรกระจาย: นราธิวาส ยะลา. อางอิง: Grismer et al. (2010), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: CNNA. Cnemaspis niyomwanae Grismer, Sumontha, Cota, Grismer, Wood, Pauwels & Kunya, 2010. จิ้งจกนิ้วยาวนิยมวรรณ. Type locality: “Thum Khao Ting, Palean District, Trang Province”, Thailand (07º09.943N, 99º48.142E). การ แพรกระจาย: ตรัง สตูล. อางอิง: Grismer et al. (2010). อักษรยอ: CNNI. Cnemaspis phuketensis Das & Leong, 2004. จิ้งจกนิ้วยาวภูเก็ต. Type locality: “Phuket, Kathu Falls (7º55´N, 98º20´E)”, Thailand. การแพรกระจาย: ภูเก็ต. อางอิง: Das & Leong (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CNPH. Cnemaspis punctatonuchalis Grismer, Sumontha, Cota, Grismer, Wood, Pauwels & Kunya, 2010. จิ้งจกนิ้วยาวคอจุด. Type locality: “ThapSakae District, Prachuap Khirikhan Province”, Thailand. การแพรกระจาย: ประจวบคีรีขันธ. อางอิง: Grismer et al. (2010), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: CNPU. Cnemaspis siamensis (Smith, 1925). จิ้งจกนิ้วยาวไทย. Type locality: “Maprit, near Patiyu, 60 km N of the Isthmus of Kra [=Pathio, Chumpon Province], Thailand. การแพรกระจาย: กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี ภูเก็ต ยะลา สตูล สุราษฎรธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2002, 2003, 2009b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CNSI. Cnemaspis vandeventeri Grismer, Sumontha, Cota, Grismer, Wood, Pauwels & Kunya, 2010. จิ้งจกนิ้วยาวฟานเดเวนเทอร. Type locality: “Khlong Naka Wildlife Sanctuary (9º26.0N, 98º35.0E), Kapur District, Ranong Province”, Thailand. การแพรกระจาย: ระนอง. อางอิง: Grismer et al. (2010), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: CNVA.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 94

Cyrtodactylus angularis (Smith, 1921). ตุกแกปาดงพญาเย็น. Type locality: “Dong Rek Mountains, eastern Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: นครราชสีมา สระบุรี. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: CYAN. Cyrtodactylus auribalteatus Sumontha, Panitvong & Deein, 2010. ตุกกายปลองทอง. Type locality: “Thailand, Phitsanulok Province, Thung Salaeng Luang National Park, Phra Wang Daeng Cave; 16º40´41"N, 100º41´24"E, ca. 80 m asl approximately 25 m from cave entrance การแพรกระจาย: พิษณุโลก. อางอิง: Sumontha et al. (2010), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: CYAU. Cyrtodactylus brevipalmatus (Smith, 1923). ตุกแกปาโคนนิ้วติด. Type locality: “Khao Luang, altitude 750 m, Nakon Sritamarat mountain, Peninsular Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: ตาก นครศรีธรรมราช เพชรบุรี อุทัยธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: CYBR. Cyrtodactylus chanhomae Bauer, Sumontha & Pauwels, 2003. ตุกแกปาจันทรโฮม. Type locality: “Thailand, Saraburi Province, Phraputthabata District, Khun Khlon Subdistrict, Phraya Chat-tan Cave, 14º42´N, 100º51´E. การ แพรกระจาย: สระบุรี. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Bauer et al. (2003), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: CYCH. Cyrtodactylus consobrinus (Peters, 1871). ตุกแกปามลายู. Type locality: “Sarawak, Borneo”. การแพรกระจาย: นราธิวาส ยะลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYCO. Cyrtodactylus dumnuii Bauer, Kunya, Sumontha, Niyomwan, Pauwels, Chanhome & Kunya, 2010. ตุกกายดํานุย. Type locality: “Thailand, Chiang Mai Province, Chiang Dao District, Mae-Na Subdistrict, Ban Thakilek, Tham (Cave) Phabartmaejon, 19º20´34"N, 99º01´37"E, 486 m elevation. การ แพรกระจาย: เชียงใหม. อางอิง: Bauer et al. (2010). อักษรยอ: CYDU.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 95

Cyrtodactylus erythrops Bauer, Kunya, Sumontha, Niyomwan, Panitvong, Pauwels, Chanhome & Kunya, 2009. ตุกกายตาแดง. Type locality: “Thailand, Mae Hong Son Province, Pangmapha District, Tham Lod, 19º37´05"N, 98º11´01"E, 640 m elevation”. การแพรกระจาย: แมฮองสอน. อางอิง: Bauer et al. (2009). อักษรยอ: CYER. Cyrtodactylus feae (Boulenger, 1893). ตุกแกปาไทรโยค. Type locality: “Puepoli, Karin Bia-po (elevation 3200-3400 feet), Burma”, Myanmar. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี ตาก ราชบุรี. อางอิง: Chuaynkern et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004). อักษรยอ: CYFE. Cyrtodactylus interdigitalis Ulber, 1993. ตุกแกปาน้ําหนาว. Type locality: “Zentral- Thailand, Provinz Petchabun, Nam Nao National Park, Tham Yai Nam Nao, 16º56´N, 101º30´E, 600 m elevation”. การแพรกระจาย: ตาก บึงกาฬ เพชรบุรี เพชรบูรณ เลย หนองคาย อุทัยธานี. อางอิง: Ulber (1993), Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: CYIN. Cyrtodactylus intermedius (Smith, 1917). ตุกแกปาตะวันออก. Type locality: “Khao Sebab, Chantabun, Südost-Sima”, Thailand. การแพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครราชสีมา สระแกว. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: CYIT. Cyrtodactylus jarujini Ulber, 1993. ตุกแกปาจารุจินต. Type locality: “Nordost- Thailand, Nong Khai Province, District Bung Kan, Sudistrikt Nong Dern, Phu Wua Wildlife Sanctuary, 18º15´N, 103º58´E, 380 m”. การแพรกระจาย: บึงกาฬ. หมายเหตุ: ปจจุบันเขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัวถูกจัดอยูในพื้นที่ของ จังหวัดบึงกาฬซึ่งแยกออกมาใหมจากจังหวัดหนองคาย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: CYJA. Cyrtodactylus lekaguli Grismer, Wood, Quah, Anuar, Muin, Sumontha, Ahmad, Bauer, Wangkulangkul, Grismer & Pauwels, 2012. ตุกกายบุญสง. Type locality: “Khao Chong wagterfall, Khao Chamao, Trang Province”, Thailand.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 96

การแพรกระจาย: กระบี่ ตรัง พังงา สุราษฎรธานี. อางอิง: Grismer et al. (2012). อักษรยอ: CYLE. Cyrtodactylus macrotuberculatus Grismer & Ahmad, 2008. ตุกแกปาตุมใหญ. Type locality: “beneath an overpass on the road to Gunung Raya (06º23.023N, 99º49.126E, 621 m elevation), Pulau Langkawi, Kedah, Peninsular Malaysia”.การแพรกระจาย: สตูล สงขลา. อางอิง: Grismer et al. (2012). อักษร ยอ: CYMA. Cyrtodactylus oldhami (Theobald, 1876). ตุกแกปาคอขวั้น. Type locality: “unknown”. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี ชุมพร ตาก นครศรีธรรมราช ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี ระนอง ราชบุรี สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: CYOD. Cyrtodactylus papilionoides Ulber & Grossmann, 1991. ตุกแกปาจุดลายผีเสื้อ. Type locality: “Thanon Khao Yai”, Pak Chong District, Nakhon Ratchasima Province, Thailand . การแพรกระจาย: ชัยภูมิ นครราชสีมา รอยเอ็ด ระยอง. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYPA. Cyrtodactylus peguensis (Boulenger, 1893). ตุกแกปาลายจุด. Type locality: “Palon, Pegu”, Myanmar. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี ตรัง ตาก นครศรีธรรมราช พังงา พัทลุง ยะลา สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Taylor (1962), Hikida et al. (1998b), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYPE. Cyrtodactylus phuketensis Sumontha, Pauwels, Kunya, Nitikul, Samphanthamit & Grismer, 2012. ตุกกายภูเก็ต. Type locality: “Ban Bangrong”, Thalang District, Phuket Province, Thailand. การแพรกระจาย: ภูเก็ต. อางอิง: Sumontha et al. (2012a). อักษรยอ: CYPH. Cyrtodactylus pulchellus Gray, 1827. ตุกแกปาใต. Type locality: “India”, corrected to “Singapore” by Gray (1845). การแพรกระจาย: กระบี่ ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา พัทลุง ยะลา สงขลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Hikida et

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 97

al. (1998b), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYPU. Cyrtodactylus quadrivirgatus Taylor, 1962. ตุกแกปาลายสี่ขีด. Type locality: “Khao Chong Forest Experiment Station”, Trang Province, Thaialnd. การ แพรกระจาย: ตรัง นราธิวาส ยะลา. อางอิง: Taylor (1962), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYQU.

Cyrtodactylus sumonthai Bauer, Pauwels & Chanhome, 2002. ตุกแกปาเขาวง. Type locality: “limestone caves at Khao Wong, Rayong Province, Thailand (incorrectly given as 16º42´N, 104º06´E, corrected to 12º53´N, 101º49´E in Bauer et al. (2009a). การแพรกระจาย: ระยอง. อางอิง: Bauer et al. (2002a), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYSU. Cyrtodactylus surin Chan-ard & Makchai, 2011. ตุกแกปาเกาะสุรินทร. Type locality: “Surin Island”, Phangnga Province, Thaialnd. การแพรกระจาย: พังงา. อางอิง: Chan-ard & Makchai (2011a, c). อักษรยอ: CYSR. Cyrtodactylus thirakhupti Pauwels, Bauer, Sumontha & Chanhome, 2004. ตุกกายธี ระคุปต. Type locality: “Southern Thailand, Surat Thani Province, Thachana District, Tham Khao Sonk (=Cave of Sonk Mountain), 9º34´N, 99º10´E”, Thailand. การแพรกระจาย: สุราษฎรธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYTH. Cyrtodactylus tigroides Bauer, Sumontha & Pauwels, 2003. ตุกแกปาไทรโยค. Type locality: “Thailand, Kanchanaburi Province, Sai-Yok District, Ban Tha Sao, 14º06´N, 99º25´E”, Thailand. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ตาก. อางอิง: Bauer et al. (2003), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYTI. Cyrtodactylus variegatus (Blyth, 1859). ตุกแกปาพมา. Type locality: “Moulmein”, Myanmar. การแพรกระจาย: เชียงใหม ตาก แมฮองสอน. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Chuaynkern et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYVA. Dixonius hangseesom Bauer, Sumontha, Grossmann, Pauwels & Vogel, 2004. จิ้งจก ดินหางสีสม Type locality: “Kanchanaburi Province, Sai Yok District, near Ban Tha Sao (Sai Yok Noi Waterfall), Thailand (14º06´N, 99º25´E). การ

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 98

แพรกระจาย: กาญจนบุรี. อางอิง: Bauer et al. (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: DIHA. Dixonius melanostictus (Taylor, 1962). จิ้งจกดินขางดํา. Type locality: “Mauk (=Muak) Lek Road Camp (Friendship Highway”, Sara Buri Province, Thailand. การแพรกระจาย: นครราชสีมา สระบุรี. อางอิง: Taylor, (1962), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: DIME. Dixonius siamensis (Boulenger, 1899). จิ้งจกดินลายจุด. Type locality: “Dung-Phya Fai Mountains, eastern Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี กาฬสินธุ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยภูมิ ชุมพร เชียงใหม ตราด นครราชสีมา บุรีรัมย บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี พังงา เพชรบุรี แพร รอยเอ็ด ราชบุรี เลย ศรี สะเกษ สงขลา สระแกว หนองคาย อุดรธานี อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996b, 1998b), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: DISI. Gehyra angusticautata (Taylor, 1963). จิ้งจกหินหางเรียว. Type locality: “Siracha, Chon Buri Province”, southeastern Thailand. การแพรกระจาย: ชลบุรี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: GEAN. Gehyra fehlmanni (Taylor, 1962). จิ้งจกหินลายกระ. Type locality: “4 km NW Kanchanaburi, Kanchanaburi, Thailand”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี นครราชสีมา นครศรีธรรมราช. อางอิง: Taylor, (1962), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: GEFE. Gehyra lacerata (Taylor, 1962). จิ้งจกหินเมืองกาญจน. Type locality: “4 km northwest of Kanchanaburi”, Kanchanaburi Province, Thailand. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี ชลบุรี นครราชสีมา เพชรบุรี สระแกว. อางอิง: Taylor, (1962), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008), Pauwels et al. (2009b). อักษรยอ: GELA.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 99

Gehyra mutilata (Weigmann, 1835). จิ้งจกหินสีจาง. Type locality: “Manila”, Philippines. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตรัง ตราด นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึง กาฬ ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี แพร รอยเอ็ด ระนอง ระยอง สกลนคร สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: GEMU. Gekko gecko (Linnaeus, 1758). ตุกแกบาน. Type locality: “Indiis” (in error); “Java” (designated by Mertens (1955). การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชงเทราิ เชียงใหม ตราด ตาก ตรัง นครราชสีมา นราธิวาส บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี แพร แมฮองสอน รอยเอ็ด ระนอง ระยอง ราชบุรี เลย ศรีสะเกษ สระแกว สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุก จังหวัด. อางอิง: Soderberg (1967), Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: GEGE. Gekko lauhachindai Panitvong, Sumontha, Konlek & Kunya, 2010. ตุกแกถ้ําอาจารย วีรยุทธ. Type locality: “Thailand, Saraburi Province, Chalermphrakiat District, Sub Cha-om Cave (14º43.213´N, 100º51.209´E). การแพรกระจาย: อางอิง: Panitvong et al. (2010), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: GELA. Gekko monarchus (Dumeril & Bibron, 1830). ตุกแกหลังจุดคู. Type locality: “Amboine (=Ambon, Indonesia)”. การแพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี พังงา

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 100

ภูเก็ต. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: .GEMO Gekko nutaphandi Bauer, Sumontha & Pauwels, 2008. ตุกแกตาแดง. Type locality: “Thailand, Kanchanaburi Province, Sai Yok District, Sai Yok Noi Waterfall (14º25´N, 98º55´E). การแพรกระจาย: กาญจนบุรี. อางอิง: Bauer et al. (2008). อักษรยอ: GENU. Gekko petricolus Taylor, 1962. ตุกแกเขาหินทราย. Type locality: “Forest Station, Sanoi River, Ubon Province (=Ubon Ratchathani Province)”, Thailand. การ แพรกระจาย: กาฬสินธุ มุกดาหาร รอยเอ็ด สระแกว สระบุรี อุบลราชธานี อํานาจเจริญ. อางอิง: Taylor, (1962), Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: GEPE. Gekko siamensis Grossmann & Ulber, 1990. ตุกแกไทย. Type locality: “Thanon Khao Yai, km 22, Amphoe (district) Pak Chong, Changwat (=Province) Nakhon Ratchasima, Thailand (14º32´N, 101º20´). การแพรกระจาย: นครราชสีมา เพชรบูรณ สระบุรี. อางอิง: Grossmann & Ulber (1990), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: GESI. Gekko smithi Gray, 1842. ตุกแกสีเทา. Type locality: “Prince of Wales’ Island (=Pulau Pinang, West Malasia)”, Malaysia. การแพรกระจาย: กระบี่ นราธิวาส พังงา ยะลา สตูล. อางอิง: Chan-ard (1995), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: GESM. Gekko taylori Ota & Nabhitabhata, 1991. ตุกแกเทยเลอร. Type locality: “Phechabun Proivnce”, Thailand. การแพรกระจาย: เพชรบูรณ. อางอิง: Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: GETA. Hemidactylus brookii Gray, 1845. จิ้งจกหลังจุด. Type locality: “Borneo”. การ แพรกระจาย: ระนอง. อางอิง: Bauer et al. (2002b). อักษรยอ: HEBR. Hemidactylus craspedotus Mocquard, 1890. จิ้งจกหางแบนมลายู. Type locality: “nord de Bornéo”, Sabah. การแพรกระจาย: ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 101

สงขลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: HECR. Hemidactylus frenatus Schlegel, 1836. จิ้งจกบานหางหนาม. Type locality: “Java”, Indonesia (designated by Loveridge, 1947). การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี แพร แมฮองสอน รอยเอ็ด ระนอง ระยอง ราชบุรี หนองคาย หนองบัวลําภู สตูล สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha- ngam et al. (2006), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: HEFR. Hemidactylus garnotii Duméril & Bibron, 1836. จิ้งจกบานหางเรียบ. Type locality: “I’Ile de Taiti [=Tahiti, French Polynesia]”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นราธิวาส บึงกาฬ แพร พังงา แมฮองสอน รอยเอ็ด ระนอง ราชบุรี เลย สุราษฎรธานี หนองคาย. หมาย เหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996b, 1998b), Chuaynkern et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006). อักษรยอ: HEGA. Hemidactylus parvimaculatus Deraniyagala, 1953. จิ้งจกบานศรีลังกา. Type locality: “Colombo, Ceylon”, Sri Lanka. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ. อางอิง: Cota & Hakim (2011). อักษรยอ: HEPA. Hemidactylus platyurus (Schneider, 1792). จิ้งจกบานหางหนาม. Type locality: “unknown”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 102

เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา เพชรบุรี แพร รอยเอ็ด ระนอง ระยอง ราชบุรี สระแกว สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย หนองบัวลําภู อุบลราชธานี. หมาย เหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003, 2009b), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: HEPL. Hemiphyllodactylus typus Bleeker, 1860. จิ้งจกเขาสูงมลายู. Type locality: “Agam” [West-Sumagtra] (Kluge, 1968) and “Goenong Parong (Java)” [=Gnung Parang, West-Java](Wermuth, 1965). การแพรกระจาย: จันทบุรี ตรัง ตราด นครราชสีมา นราธิวาส พังงา ยะลา ระนอง สระบุรี. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: HETY. Hemiphyllodactylus yunnanensis (Boulenger, 1903). จิ้งจกเขาสูงยูนนาน. Type locality: “Yunnan-fu (=Kumning, Yunnan Province)”, China. การ แพรกระจาย: เชียงใหม ตาก นครราชสีมา แมฮองสอน เลย สุราษฎรธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Chuaynkern et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: HEYU. Ptychozoon horsfieldi (Gray, 1827). ตุกแกบินหางเฟน. Type locality: “Singapore”. การแพรกระจาย: “unknown”. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาแพรกระจายในภาคใต ขณะที่ Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวา “unknown”. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: PTHO. Ptychozoon kaengkrachanense Sumontha, Pauwels, Kunya, Limlikhitaksorn, Ruksue, Taokratok, Ansermet & Chanhome, 2012. ตุกกายบินแกงกระจาน.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 103

Type locality: “Khao Phanernthung, Kaeng Krachan National Park”, Kaeng Krachan District, Phechaburi Province. การแพรกระจาย: เพชรบุรี. อางอิง: Sumontha et al. (2012b). อักษรยอ: PTKA. Ptychozoon kuhli Stejneger, 1902. ตุกแกบินหางแบน. Type locality: “not specified in original description”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี ยะลา สตูล. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: PTKU. Ptychozoon lionotum Annadale, 1905. ตุกแกบินหางหยัก. Type locality: “Pegu”, Myanmar. การแพรกระจาย: กระบี่ จันทบุรี ฉะเชิงเทร ชลบุรี เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา พัทลุง เพชรบุรี ภูเก็ต แมฮองสอน ยะลา ระนอง สงขลา สตูล สุราษฎรธานี อุทัยธานี. หมาย เหตุ: Chuaynkern et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาพบ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือดวย. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996b, 1998b), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: PTLI. Ptychozoon trinotaterra Brown, 1999. ตุกแกบินลายสามแถบ. Type locality: “Thailand, Nakhon Ratchasima Province, Amphoe Pak Thong Chai, Sakaerat, 14º30´N, 101º55´E”. การแพรกระจาย: นครราชสีมา อุบลราชธานี. อางอิง: Brown (1999), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Kunya et al. (2011a). อักษรยอ: PTTR. Family LACERTIDAE Cope, 1864 Takydromus sexlineatus Daudin, 1802. กิ้งกานอยหางยาว. Type locality: “not given”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชุมพร เชียงใหม ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปทุมธานี ปตตานี พังงา เพชรบุรี แมฮองสอน รอยเอ็ด เลย สระแกว สุโขทัย อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1998b), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: TASE.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 104

Family SCINCIDAE Gray, 1825 Brachymeles miriamae (Heyer, 1972). จิ้งเหลนดวงปกธงชัย. Type locality: “Khao Saton, 300 m above the Kasetsart University Forest Station, 60 km S of Nakhon Ratchasima on Highway 304, Amphoe Pak Thong Chai, Changwat Nakhon Ratchasima, Thailand”. การแพรกระจาย: นครราชสีมา. อางอิง: Siler et al. (2011), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: BRMI. Dasia olivacea Gray, 1839. จิ้งเหลนตนไม. Type locality: “Prince of Wales’ Island (=Pulau Pinang, West Malaysia). การแพรกระจาย: กาญจนบุรี จันทบุรี ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา ภูเก็ต ยะลา สตูล สระแกว สุราษฎรธานี. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan- ard (1995), Hikida et al. (1998b), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DAOL. Eutropis longicaudata (Hallowell, 1857). จิ้งเหลนหางยาว. Type locality: “Bangkok, Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี ชลบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม ตาก นครพนม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ พัทลุง เพชรบุรี ราชบุรี เลย สงขลา สระแกว สระบุรี หนองคาย อุดรธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Chan-ard (1995), Ota et al. (1996), Hikida et al. (1998b), Chuaynkern et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Pauwels et al. (2009b). อักษรยอ: EULO. Eutropis macularia (Blyth, 1853). จิ้งเหลนหลากลาย. Type locality: “restricted to Rangpur, Bengal”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม ตราด ตาก ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ ปทุมธานี ปตตานี พังงา พัทลุง เพชรบุรี แพร รอยเอ็ด ราชบุรี เลย สระแกว สระบุรี หนองคาย อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Niyomwan (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Chuaynkern et al. (2005),

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 105

Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: EUMA. Eutropis multifasciata (Kuhl, 1820). จิ้งเหลนบาน. Type locality: “not given”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ พังงา เพชรบุรี ภูเก็ต แมฮองสอน รอยเอ็ด ระยอง ราชบุรี เลย สระแกว สตูล สระบุรี สุราษฎร ธานี หนองคาย อุบลราชธานี. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996b, 1998b), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: EUMU. Eutropis novemcarinata (Anderson, 1871). จิ้งเหลนเกล็ดสัน. Type locality: “Mandalay, Upper Burmah”, Myanmar. การแพรกระจาย: ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี ยะลา. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan- ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: EUNO. Eutropis rugifera (Stoliczka, 1870). จิ้งเหลนลายขีด. Type locality: “Camorta, Nicobars”. การแพรกระจาย: ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ยะลา. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005).Isopachys anguinoides (Boulenger, 1914). จิ้งเหลนดวง ประจวบ. Type locality: การแพรกระจาย: ชุมพร ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี สุ ราษฎรธานี. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Pauwels et al. (2003, 2009b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: EURU. Isopachys borealis Lang & Böhme, 1990. จิ้งเหลนดวงตะวันตก. Type locality: “Lan-Sakk (80 m elevation), 20 km W of M. Uthai-Thani, Uthai –Thani Province, Thailand”. การแพรกระจาย: ขอนแกน ตาก นครสวรรค เพชรบูรณ อุทัยธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: ISBO.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 106

Isopachys gyldenstolpei Lönnberg, 1916. จิ้งเหลนดวงลาย. Type locality: “mountainridge to the coast at Koh Lak Paa, Siamese Malacca, (Prachuap Kirikan=Prachuap Khiri Khan Province), peninsular Siam (=Thailand)”. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี อุทัยธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Pauwels et al. (2009b). อักษรยอ: ISGY. Isopachys roulei (Angel, 1920). จิ้งเหลนดวงชลบุรี. Type locality: “ การ แพรกระจาย: ชลบุรี นครราชสีมา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Kunya et al. (2011b). อักษรยอ: ISRO. Jarujinia bipedalis Chan-ard, Makchai & Cota, 2011. จิ้งเหลนสองขา. Type locality: “Ban Pu Nam Ron”, Pong Kra Ting Subdistrict, Suan Phueng District, Ratchaburi Province, Thailand. การแพรกระจาย: ราชบุรี. อางอิง: Chan-ard & Makchai (2011c), Chan-ard et al. (2011b). อักษรยอ: JABI. Larutia nubisilvicola Chan-ard, Cota, Makchai & Lhaotaew, 2011. จิ้งเหลนภูเขาปา ฝน. Type locality: “San Yen, Khao Nan National Park”, Noppitum District, Nakhon Si Thammarat Province, Thailand. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช. อางอิง: Chan-ard & Makchai (2011c), Chan-ard et al. (2011a). อักษรยอ: LANU. Leptoseps osellai (Böhme, 1981). จิ้งเหลนภูเขาสามนิ้ว. Type locality: “Thailand, Chaing Mai prov., Mea Kuong”. การแพรกระจาย: เชียงใหม เพชรบูรณ. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LEOS. Lipinia quadrivittata (Peters, 1867). จิ้งเหลนลายสี่ขีด. Type locality: “Mindanao”, Philippines. การแพรกระจาย: ปตตานี. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LIQU. Lipinia surdas Boulenger, 1900. จิ้งเหลนลายมลายู. Type locality: “Sungai Buloh River and Kuala Lumpur”, Selangor, Peninsular Malaysia. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช ยะลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LISU. Lipinia vittigera (Boulenger, 1894). จิ้งเหลนลาย. Type locality: “Sipora/Mentawi, Sumatra”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี จันทบุรี ชุมพร เชียงใหม ตราด ตาก

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 107

นครนายก นครราชสีมา นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี แพร ราชบุรี ลําปาง เลย สระแกว อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: LIVI. Lygosoma angeli (Smith, 1937). จิ้งเหลนเรียวแองเจลี. Type locality: “Trang Bom, Bien Hoa”, Dong Nai Province, southern Vietnam. การแพรกระจาย: จันทบุรี. อางอิง: Cota et al. (2011a). Lygosoma anguinum (Theobald, 1868). จิ้งเหลนเรียวพมา. Type locality: “Pegu”. การแพรกระจาย: ชุมพร ประจวบคีรีขันธ แมฮองสอน. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LYAN. Lygosoma bowringii (Günther, 1864). จิ้งเหลนเรียวทองเหลือง. Type locality: “Hong Kong”, China. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี เชียงใหม ตราด ตรัง ตาก นครราชสีมา นราธิวาส บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี แพร ภูเก็ต ยะลา รอยเอ็ด ระยอง ราชบุรี สระแกว สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย อุบลราชธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003, 2009b), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: LYBO. Lygosoma corpulentum Smith, 1921. จิ้งเหลนเรียวเขาสอยดาว. Type locality: “Dalat, Langbian Plateau, South Annam”, Vietnam. การแพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา. อางอิง: Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: LYCO. Lygosoma frontoparietale Taylor, 1962. จิ้งเหลนเรียวสระบุรี. Type locality: “Hills near Scout Camp, Sara Buri, Thailand”. การแพรกระจาย: สระบุรี. อางอิง: Taylor (1962). อักษรยอ: LYFR.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 108

Lygosoma haroldyoungi (Taylor, 1962). จิ้งเหลนเรียวลาย. Type locality: “base of Doi Suthep, Chiang Mai, Chiang Mai Province”. การแพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงราย เชียงใหม พิษณุโลก เพชรบูรณ เลย หนองคาย. อางอิง: Taylor (1962), Soderberg (1967), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LYHA. Lygosoma herberti Smith, 1916. จิ้งเหลนเรียวใต. Type locality: “Nakhon Si Thammarat Mts., peninsular Thailand”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี เชียงใหม ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี แพร ภูเก็ต รอยเอ็ด ระนอง สระแกว สุราษฎร ธานี หนองคาย อุบลราชธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LYHE. Lygosoma isodactylum (Günther, 1864). จิ้งเหลนเรียวภาคกลาง. Type locality: “Cambodia”. การแพรกระจาย: นครสวรรค พระนครศรีอยุธยา สระบุรี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LYIS. Lygosoma koratense Smith, 1917. จิ้งเหลนเรียวโคราช. Type locality: “Lat Bua Kao, Dong Paya Fai Mts., E. Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: นครราชสีมา สระบุรี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LYKO. Lygosoma quadrupes (Linnaeus, 1766). จิ้งเหลนเรียวขาเล็ก. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พระนครศรีอยุธยา พังงา เพชรบุรี ยะลา เลย สงขลา สระแกว สระบุรี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Pauwels et al. (2002, 2003, 2009b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan- ard et al. (2011c). อักษรยอ : LYQU. Plestiodon quadrilineatus Blyth, 1853. จิ้งเหลนหางสีฟา. Type locality: “Hong Kong”, China. การแพรกระจาย: เชียงใหม เลย สระบุรี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: PLQU. Scincella doriae (Boulenger, 1887). จิ้งเหลนดินดอรเรีย. Type locality: “hills W. of Bhamo, Myanmar (=Burma)”, Myanmar. การแพรกระจาย: กระบี่ เชียงใหม

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 109

นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง เลย สุราษฎรธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SCDO. Scincella melanosticta (Boulenger, 1887). จิ้งเหลนดินจุดดํา. Type locality: “Plapoo, 6 miles W. of Mt. Mooleyit, Myanmar (=Burma), N. tenasserim”. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี เชียงใหม ตราด นครพนม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค รอยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร หนองคาย อุดรธานี อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: SCME. Scincella puntatolineata (Boulenger, 1893). จิ้งเหลนดินเมืองกาญจน. Type locality: “Unknown”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: SCPU. Scincella reevesi (Gray, 1838). จิ้งเหลนดงพญาเย็น Type locality: “China”. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี เชียงใหม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ปราจีนบุรี แพร แมฮองสอน ราชบุรี ลําปาง เลย สุราษฎรธานี อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: SCRE. Scincella rupicola (Smith, 1916). จิ้งเหลนดินหางสีสม. Type locality: “Chong Kae, near Paknampo”, central Thailand. การแพรกระจาย: กาฬสินธุ จันทบุรี บึง กาฬ ตราด นครราชสีมา รอยเอ็ด สระบุรี อุบลราชธานี. อางอิง: Hikida et al. (1998b), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: SCRU. Scincella siamensis (Taylor & Elbel, 1858). จิ้งเหลนดินไทย. Type locality: “Phu Kho Mountain, 522 M. Kan Luang, Na Kae”, Nakhon Phanom, Thailand. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี จันทบุรี ตราด. อางอิง: Taylor & Elbel (1858), Taylor (1962), Hikida et al. (1996b, 1998b), Chan-ard et al. (2011c). อักษร ยอ: SCSI. Scincella tavesae (Smith, 1935). จิ้งเหลนดินเมืองกาญจน. Type locality: “Bong Tee Valley, West of Kanburi”, Kanchanaburi, Thailand. การแพรกระจาย:

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 110

กาญจนบุรี สุราษฎรธานี. อางอิง: Taylor (1962), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SCTA. Sphenomorphus butleri (Boulenger, 1912). จิ้งเหลนภูเขามลายู. Type locality: “Larut Hills, Perak, between 4000 and 4500 ft. elevation”, Malaysia. การ แพรกระจาย: เชียงใหม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ปราจีนบุรี แพร แมฮองสอน ลําปาง เลย อุบลราชธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SPBU. Sphenomorphus grandisonae Taylor, 1962. จิ้งเหลนภูเขาแกรนดิสัน. Type locality: “Ban Tong Pheung, M. Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: “Ban Tong Pheung, M. Siam”. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบใน ภาคเหนือ. อางอิง: Taylor (1962), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SPGR. Sphenomorphus helenae Cochran, 1927. จิ้งเหลนภูเขาเฮเลน. Type locality: “Nontaburi, C. Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: นครราชสีมา นนทบุรี เลย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SPHE. Sphenomorphus indicus (Gray, 1853). จิ้งเหลนภูเขาอินเดีย. Type locality: “Sikkim, Himalayas”. การแพรกระจาย: จันทบุรี เชียงใหม ตาก นครราชสีมา เพชรบุรี แพร ราชบุรี ลําปาง เลย อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Chuaynkern et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: SPIN. Sphenomorphus lineopunctulatus Taylor, 1962. จิ้งเหลนภูเขาอุบล. Type locality: “Forestry Station, Sanoi River, Ubon province [=Ubon Ratchathani Province], eastern Thailand”, Thailand. การแพรกระจาย: นครราชสีมา อุบลราชธานี. อางอิง: Taylor, (1962), Soderberg (1967), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SPLI. Sphenomorphus maculatus (Blyth, 1853). จิ้งเหลนภูเขาเกล็ดเรียบ. Type locality: “Assam”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชุมพร เชียงใหม ตรัง ตราด นครนายก นครพนม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ พังงา เพชรบุรี แพร แมฮองสอน ระนอง ราชบุรี สกลนคร

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 111

สระแกว สุราษฎรธานี หนองคาย อุทัยธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Nadee (1999), Yamasaki et al. (2001), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: SPMA. Sphenomorphus mimicus Taylor, 1962. จิ้งเหลนภูเขาเล็ก. Type locality: “Dong Paya Fai Mts., N. Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: นครราชสีมา เลย. อางอิง: Taylor, (1962), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SPMI. Sphenomorphus praesignis (Boulenger, 1900). จิ้งเหลนภูเขาลายกระ. Type locality: “Larut Hills, 4000 ft. [=1312 m elevation], Perak, Malaya [West Malaysia]”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SPPR. Sphenomorphus scotophilus (Boulenger, 1900). จิ้งเหลนภูเขาลายแฉก. Type locality: “Batu Caves, Selangor [West Malaysia]”, Malaysia. การแพรกระจาย: ตรัง. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SPSC. Sphenomorphus stellatum (Boulenger, 1900). จิ้งเหลนภูเขาเขมร. Type locality: “Perak [Larut Hills]”, Malaysia. การแพรกระจาย: ขอนแกน จันทบุรี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: SPST. Sphenomorphus tersus (Smith, 1916). จิ้งเหลนภูเขาสีจาง. Type locality: “Khao Wang Hip, Nakon Sritamarat [=Nakhon Sri Thammarat] Mts., peninsular Saim”, Thailand. การแพรกระจาย: ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช พังงา เพชรบุรี ระนอง. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SPTE. Tropidophorus berdmorei (Blyth, 1853). จิ้งเหลนหวยทองแดง. Type locality: “Mergui”, Myanmar. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี เชียงใหม ตาก แพร แมฮองสอน เลย อุทัยธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Chuaynkern et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRBE.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 112

Tropidophorus cocincinensis Duméril & Bibron, 1839. จิ้งเหลนหวยเวียดนาม. Type locality: “unknown”. การแพรกระจาย: จันทบุรี สุรินทร. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: TRCO. Tropidophorus hangnam Chuaynkern, Nabhitabhata, Inthara, Somsri & Kamsook, 2005. จิ้งเหลนหวยหางหนาม. Type locality: “near Huay Nam Un, Phu Khiew Wildlife Sanctuary, “Chaiyaphum Province, NE Thailand”. การแพรกระจาย: ชัยภูมิ. อางอิง: Chuaynkern et al. (2005), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษร ยอ: TRHA. Tropidophorus laotus Smith, 1923. จิ้งเหลนหวยลาว. Type locality: “Muang Liep, N. of Pak Lai, Upper Mekong, French Laos”. การแพรกระจาย: เลย หนองคาย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: TRLA. Tropidophorus latiscutatus Hikida, Orlov, Nabhitabhata & Ota, 2002. จิ้งเหลนหวยภู วัว. Type locality: “Phu Wua Wildlife Sanctuary, Nong Kai Province, E Thailand (18º05´N, 103º45´E, 200 m elevation)”. การแพรกระจาย: บึงกาฬ. อางอิง: Hikida et al. (2002), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: TRLA. Tropidophorus matsuii Hikida, Orlov, Nabhitabhata & Ota, 2002. จิ้งเหลนหวยมัต ซุย. Type locality: “Phu Pa Namtip, Roi Et Province, E Thailand (15º53´N, 104º18´E, 350 m elevation)”. การแพรกระจาย: รอยเอ็ด. อางอิง: Hikida et al. (2002), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: TRMA. Tropidophorus microlepis Günther, 1861. จิ้งเหลนหวยเขมร. Type locality: “Khao Sebab, Chantabun [now Chanthaburi], S.E. Siam [=Thailand]”. การ แพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ตราด สระแกว. อางอิง: Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: TRMI. Tropidophorus robinsoni Smith, 1919. จิ้งเหลนหวยใต. Type locality: “Tasan, W. of Chumporn [=Chumphon], P. Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: ชุมพร พังงา.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 113

อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRRO. Tropidophorus thai Smith, 1919. จิ้งเหลนหวยไทย. Type locality: “Pa Meang, Me Wang District, N. Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: เชียงใหม แมฮองสอน. อางอิง: Hikida et al. (1996b, 1998b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRTH. Family VARANIDAE Merrem, 1820 Varanus bengalensis (Daudin, 1802). ตะกวด. Type locality: “Surinam” (in error). การแพรกระจาย: กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชุมพร เชียงใหม ตราด ตรัง ตาก นครศรีธรรมราช นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา พัทลุง เพชรบุรี ภูเก็ต ยะลา ระนอง ราชบุรี เลย สงขลา สตูล สระแกว สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Sukmasuang & Boonchai (1995), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: VABE. Varanus dumerilii (Schlegel, 1839). ตุดตู. Type locality: “Banjermasin, southeastern Borneo”, Indonesia. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส พัทลุง ยะลา ราชบุรี สงขลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Chan-ard (1995), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: VADU. Varanus rudicollis (Gray, 1845). เหาชาง. Type locality: “Philippines (in error)”. การ แพรกระจาย: กระบี่ ตรัง ตาก นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา พัทลุง เพชรบุรี ยะลา ระนอง สงขลา สตูล สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Chan-ard (1995), Pauwels et al. (2002, 2009b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: VARU. Varanus salvator (Laurenti, 1768). เหี้ย. Type locality: การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ ชุมพร ตรัง ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปทุมธานี ปตตานี พังงา พัทลุง เพชรบุรี ภูเก็ต ยะลา ระนอง ระยอง สตูล สระแกว สุราษฎรธานี อุทัยธานี. หมายเหตุ:

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 114

Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Sukmasuang & Boonchai (1995), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003, 2009b), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Sukmasruang et al. (2007), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: VASA. Suborder SERPENTES Linnaeus, 1758 Family ACROCHORDIDAE Bonaparte, 1831 Acrochordus granulatus (Schneider, 1799). งูผาขี้ริ้ว. Type locality: “not given”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ ตราด ประจวบคีรีขันธ พังงา ภูเก็ต ระยอง สงขลา สตูลสมุทรปราการ. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011b). อักษรยอ: ACGR. Acrochordus javanicus Hornstedt, 1787. งูงวงชาง. Type locality: “Java”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ นราธิวาส ปราจีนบุรี พังงา. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาพบในภาคตะวันออกเฉียงใต. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: ACJA. Family Oppel, 1811 Subfamily CALAMARINAE Bonaparte, 1838 Calamaria lumbricoidea Boie, 1827. งูพงออหลากลาย. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CALU. Calamaria pavimentata Duméril, Bibron & Duméril, 1854. งูพงออทองเหลือง. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: จันทบุรี เชียงใหม นครราชสีมา ปราจีนบุรี ปตตานี รอยเอ็ด. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CAPA. Calamaria schlegeli Duméril, Bibron & Duméril, 1854. งูพงออหัวแดง. Type locality: “Borneo”. การแพรกระจาย: ปตตานี. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: CASC.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 115

Macrocalamus lateralis Günther, 1864. งูพงออภูเขา. Type locality: “From the continent”, restricted to Cameron Highlands, Pahang, Malaysia. การ แพรกระจาย: นราธิวาส. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: MALA. Pseudorabdion longiceps (Cantor, 1847). งูพงออหัวยาว. Type locality: “Pinang, Malayan Peninsula. การแพรกระจาย: นราธิวาส ยะลา. อางอิง: Cox (1991), Hikida et al. (1998a), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: PSLO. Subfamily COLUBRINAE Oppel, 1811 fasciolata (Fischer, 1885). งูเขียวลายกระ. Type locality: “Südost- Borneo”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช พังงา. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาพบในภาคใต. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: AHFA. Ahaetulla mycterizans (Linnaeus, 1758). งูเขียวหัวจิ้งจกมลายู. Type locality: “America (in error)”. การแพรกระจาย: กระบี่ ชุมพร ตรัง. หมาอางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: AHMY. Ahaetulla nasuta (Bonnaterre, 1790). งูเขียวปากแหนบ. Type locality: “Ceylon”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตาก ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี แพร สระแกว สิงหบุรี. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1998a), Chuaynkern et al. (2002), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Sukmasruang et al. (2007), Pauwels et al. (2009b). อักษรยอ: AHNA. Ahaetulla prasina (Boie, 1827). งูเขียวหัวจิ้งจกปา. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงใหม ตรัง ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี แพร ภูเก็ต แมฮองสอน ยะลา ราชบุรี ลําปาง เลย สงขลา สระแกว สระบุรี สุราษฎร ธานี หนองคาย อุทัยธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996a, 1998a), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 116

(2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: AHPR. Boiga cyanea (Duméril, Bibron & Duméril, 1854). งูเขียวบอน. Type locality: “not given”. การแพรกระจาย: กาญนบุรี ขอนแกน จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช บึงกาฬ พังงา เพชรบุรี ภูเก็ต ราชบุรี ลําปาง เลย สกลนคร สุราษฎรธานี หนองคาย อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Hikida et al. (1998a), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษร ยอ: BOCY. Boiga cynodon (Boie, 1827). งูแสหางมา. Type locality: “Sumatra”. การ แพรกระจาย: กระบี่ ตรัง นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา สุราษฎร ธานี. อางอิง: Cox (1991), Hikida et al. (1996a, 1998a), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: BOCN. Boiga dendrophila (Boie, 1827). งูปลองทอง. Type locality: การแพรกระจาย: กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา พัทลุง สงขลา สุราษฎร ธานี. อางอิง: Cox (1991), Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996a, 1998a), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: BODE. Boiga drapiezii (Boie, 1827). งูดงคาดอง. Type locality: “Java”, Indonesia. การ แพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา ระนอง สงขลา. อางอิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chuaynkern & Makchai (2006). อักษรยอ: BODR. Boiga jaspidea (Duméril, Bibron & Duméril, 1854). งูกระ. Type locality: “Java”. การแพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี พังงา ภูเก็ต. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: BOJA.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 117

Boiga multomaculata (Boie, 1827). งูแมตะงาวรังนก. Type locality: “Java”. การ แพรกระจาย: กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เชียงใหม ตราด ตาก นครปฐม นครราชสีมา เพชรบุรี ราชบุรี เลย สระแกว สระบุรี อุทัยธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ : BOMU. Boiga nigriceps (Günther, 1863). งูตองไฟ. Type locality: “not given”. การ แพรกระจาย: ตรัง นราธิวาส ปตตานี พังงา ราชบุรี สงขลา. อางอิง: Hikida et al. (1998a), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: BONI. Boiga saengsomi Nutaphand, 1985. งูเขียวดงลาย. Type locality: “Ban Kanon, Amphoe Khao Phanom, Krabi Province, Thailand”. การแพรกระจาย: กระบี่ ตรัง นครศรีธรรมราช สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: BOSA. Boiga siamensis Nutaphand, 1971. งูแสหางมาเทา. Type locality: “Sakaerat, Nakhon Ratchasima Province, Thaialnd”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี กําแพงเพชร จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชุมพร เชียงใหม ตราด ตาก นครราชสีมา เพชรบุรี ราชบุรี เลย สระแกว สระบุรี อุทัยธานี อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาไมพบในภาคใต. อางอิง: Pauwels et al. (2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Pauwels et al. (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: BOSI. Chrysopelea ornata (Shaw, 1802). งูเขียวพระอินทร. Type locality: “obserste Terrasse des Tempels Angkor Wat, Camboja [ornatissima]”, Cambodia. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กระบี่ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงใหม ตรัง ตราด นครนายก นครราชสีมา นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา เพชรบุรี ระยอง ลพบุรี ลําปาง เลย สงขลา สระแกว สระบุรี อุทัยธานี

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 118

อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Chan-ard (1995), Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996a, 1998a), Nadee (1999), Pauwels et al. (2002, 2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: CHOR. Chrysopelea paradisi Boie, 1827. งูเขียวรอน. Type locality: “Java”, Indonesia. การ แพรกระจาย: นราธิวาส พังงา ภูเก็ต. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: CHPA. Chrysopelea pelias (Linnaeus, 1758). งูดอกหมากแดง. Type locality: “Indis” (in error). การแพรกระจาย: นราธิวาส สงขลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CHPE. Coelognathus flavolineata (Schlegel, 1837). งูทางมะพราวดํา. Type locality: “Java and Sumatra”. การแพรกระจาย: ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปราจีนบุรี พังงา ภูเก็ต ยะลา สตูล สุราษฎรธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Karns et al. (2005), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: COFL. Coelognathus radiatus (Boie, 1827). งูทางมะพราวธรรมดา. Type locality: “Java”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ ขอนแกน จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยภูมิ ชุมพร เชียงใหม ตรัง ตาก นครราชสีมา นราธิวาส ปตตานี พังงา เพชรบุรี เพชรบูรณ ภูเก็ต แมฮองสอน ราชบุรี ลําปาง เลย สกลนคร สงขลา สระบุรี สุราษฎรธานี อุทัยธานี อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996a), Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Chan-ard (1995), Hikida et al. (1998a), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Konlek & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: CORA. Dendrelaphis caudolineatus (Gray, 1834). งูสายมานหลังลาย. Type locality: “Malay Peninsula”. การแพรกระจาย: ชุมพร นราธิวาส ปตตานี พังงา ภูเก็ต ยะลา

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 119

ระนอง. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DECA. Dendrelaphis cyanochloris (Wall, 1921). งูสายมานฟาเขยวี . Type locality: “Eastern Himalaya, Assam, Myanmar”, corrected to “Darjeeling” by Vogel & van Rooijen (2007). การแพรกระจาย: เชียงใหม ตรัง นราธิวาส พังงา เพชรบุรี ภูเก็ต ยะลา. อางอ ิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002, 2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DECY. Dendrelaphis formosus (Boie, 1827). งูสายมานหลังทอง. Type locality: “Java”. การ แพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี พังงา ภูเก็ต ยะลา. อางอิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DEFO. Dendrelaphis kopsteini Vogel & van Rooijen, 2007. งูสายมานคอแดง. Type locality: “fleuve Endau, état de Johore”, Endau river, State of Jahore, Federation of Malaysia. การแพรกระจาย: อางอิง: Vogel & van Rooijen (2007). อักษรยอ: DEKO. Dendrelaphis ngansonensis (Bourret, 1935). งูสายมานอันนัม. Type locality: “Ngàn- Son, Tonkin, N Vietnam”. การแพรกระจาย: จันทบุรี. อางอิง: Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DENG. Dendrelaphis nigroserratus Vogel, van Rooijen & Hauser, 2012. งูสายคอฟนเลื่อย. Type locality: “Umphang Wildlife Sanctuary, Umphang district, province Tak, Thailand. Found on Highway 1090, at 5.1 km north and uphill from the bridge over the Mae Klong Khi, near the Karen village of Mae Klong Khi, c. 1100 m a.s.l.”. การแพรกระจาย: ตาก. อางอิง: Vogel et al. (2012). อักษรยอ: DENI. Dendrelaphis pictus (Gmelin, 1789). งูสายมานพระอินทร. Type locality: “not indicated”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม นครราชสีมา นครสวรรค นราธิวาส พังงา เพชรบุรี ภูเก็ต ราชบุรี สระแกว สุราษฎรธานี หนองคาย. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan- ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Nadee (1999), Pauwels et al. (2002, 2003, 2009b),

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 120

Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Sukmasruang et al. (2007), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: DEPI. Dendrelaphis striatus (Cohn, 1905). งูสายมานลายเฉียง. Type locality: “Asahau [=Asahan, West Sumatgra]”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช พังงา เพชรบุรี. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DEST. Dendrelaphis subocularis (Boulenger, 1888). งูสายมานเกล็ดใตตาใหญ. Type locality: “Bhamò”. การแพรกระจาย: ชุมพร เชียงใหม นครราชสีมา สระบุรี อุทัยธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: DESU. Dinodon septentrionalis (Günther, 1875). งูปลองฉนวนภูเขา. Type locality: “Himalayas or Khasi Hills, North India”. การแพรกระจาย: เชียงใหม. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DISE. Dryocalamus davisonii (Blanford, 1878). งูปลองฉนวนอินเดีย. Type locality: “at the foot of Nawlaú Hil, east of Tavoy, in evergreen forest, at an elevation of about 1500 feet”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครราชสีมา เพชรบุรี สระบุรี สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996a), Pauwels et al. (2003, 2009b), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: DRDA. Dryocalamus subannulatus (Duméril, Bibron & Duméril, 1854). งูปลองฉนวน ลายเสน. Type locality: “Padang, Westg Sumatra”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) เรียกชื่อภาษาไทยของ Dryocalamus subannulatus Lycodon butleri และ Lycodon effraensis วา งูปลองฉนวนมลายู. อางอิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DRSU.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 121

Dryophiops rubescens (Gray, 1835). งูเถา. Type locality: “Malay Peninsula”. การ แพรกระจาย: ฉะเชิงเทรา ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี ภูเก็ต สุ ราษฎรธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: DRRU. Gonyosoma oxycephalum (Boie, 1827). งูเขียวกาบหมาก. Type locality: “Indonesia”. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี เชียงใหม ตรัง ตาก นครราชสีมา นราธิวาส ปตตานี พังงา เพชรบุรี เพชรบูรณ รอยเอ็ด เลย สตูล สุ ราษฎรธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: GOOX. Lepturophis albofuscus (Duméril, Bibron & Duméril, 1854). งูปลองฉนวน บอรเนียว. Type locality: “Sumatra”. การแพรกระจาย: นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส สงขลา สตูล สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Cota et al. (2011b). อักษรยอ: LEAL. Liopeltis tricolor (Schlegel, 1837). งูสายทองมลายู. Type locality: “Malaysia”. การ แพรกระจาย: “no exactly locality”. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) และ Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบในภาคใต. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: LITR. Lycodon butleri Boulenger, 1900. งูปลองฉนวนบัตเลอร. Type locality: “Malaysia”. การแพรกระจาย: กระบี่ นครศรีธรรมราช. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) เรียกชื่อภาษาไทยของ Lycodon butleri Dryocalamus subannulatus และ Lycodon effraensis วา งูปลองฉนวนมลายู. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: LYBU. Lycodon capucinus (Boie, 1827). งูสรอยเหลือง. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เชียงใหม นครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ พังงา เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร ภูเก็ต รอยเอ็ด ระนอง ราชบุรี ลพบุรี เลย สตูล สระแกว สระบุรี อุทัยธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996a, 1998a), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 122

al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: LYCA. Lycodon cardamomensis Daltry & Wüster, 2002. งูปลองฉนวนจันทบุรี. Type locality: “Phnom Samkos Wildlife Sanctuary, Pursat Province, Cardamom Mountains, SW Cambodia (12º25´N, 103º02´E), 500 m elevation. การ แพรกระจาย: จันทบุรี ชลบุรี. อางอิง: Daltry & Wüster (2002), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Sumontha & Kunya (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: LYCA. Lycodon effraensis (Cantor, 1847). งูปลองฉนวนแดง. Type locality: “Great Hill of Pinang, Pinang Island [West Malaysia]. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส ยะลา. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) เรียกชื่อ ภาษาไทยของ Lycodon butleri Dryocalamus subannulatus และ Lycodon effraensis วา งูปลองฉนวนมลายู. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LYEF. Lycodon fasciatus (Anderson, 1879). งูปลองฉนวนเมืองเหนือ. Type locality: “Ponsee (=Bangxi in Yingjiang County, W Yunnan, China); neotype locality: “Mogok”, Mandalay Division, Myanmar. การแพรกระจาย: ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตาก นครราชสีมา เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน เลย อุทัยธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996a, 1998a), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LYFA. Lycodon laoensis Günther, 1864. งูปลองฉนวนลาว. Type locality: “Laos”. การ แพรกระจาย: กระบี่ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตรัง ตราด นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา พิษณุโลก ระยอง ราชบุรี ศรีสะเกษ สระแกว สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996a, 1998a), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha- ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: LYLA. Lycodon ophiophagus Vogel, David, Pauwels, Sumontha, Norval, Hendrix, Vu & Ziegler, 2009. งูปลองฉนวนกินงู. Type locality: “Lamru Waterfall, Khao

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 123

Lak-Lamru National Park, Phang-Nga Province, southern Thailand. การ แพรกระจาย: ชุมพร พังงา ระนอง. อางอิง: Vogel et al. (2009). อักษรยอ: LYOP. Lycodon subcinctus Boie, 1827. งูปลองฉนวนบาน. Type locality: “Java”. การ แพรกระจาย: จันทบุรี นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา แพร สระแกว สระบุรี สุราษฎรธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996a, 1998a), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: LYSU. Oligodon barroni (Smith, 1916). งูปแกวหัวลายหัวใจ. Type locality: “Hup Bon, E of Sriracha, SE Siam”, Chon Buri Province, southeastern Thailand. การ แพรกระจาย: ชลบุรี ระยอง สระบุรี. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: OLBA. Oligodon catenatus (Blyth, 1854). งูปแกวภูหลวง. Type locality: “Assam”. การ แพรกระจาย: เลย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: OLCA. Oligodon cinereus (Günther, 1864). งูปแกวลายกระ. Type locality: “Gamboja”, now Cambodia. การแพรกระจาย: เชียงใหม นครราชสีมา พิษณุโลก เลย. อางอิง: Soderberg (1967), Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: OLCI. Oligodon cyclurus (Cantor, 1839) Type locality: “Bangkok”, Thailand. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ ฉะเชิงเทรา เชียงใหม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ราชบุรี. อางอิง: Soderberg (1967), Cox (1991), Hikida et al. (1998a), Inthara et al. (2004), Niyomwan (2004). อักษรยอ: OLCY. Oligodon dorsalis (Gray & Hardwick, 1835). งูปแกวภูหลวง. Type locality: “Chittagong”. การแพรกระจาย: เลย. อางอิง: Cox (1991). อักษรยอ: OLDO.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 124

Oligodon dorsolateralis Wall, 1909. งูปแกวลายขีด. Type locality: “Jalpaiguri”. การ แพรกระจาย: เชียงใหม แพร. อางอิง: Cox (1991), Hikida et al. (1996a, 1998a), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: OLDR. Oligodon fasciolatus (Günther, 1864). งูปแกวลายแตม. Type locality: “Bangkok”, Thailand. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ จันทบุรี ชลบุรี ชุมพร เชียงใหม ตราด นครราชสีมา นครศรีธรรมราช เพชรบุรี สระแกว สระบุรี อุบลราชธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha- ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: OLFA. Oligodon inornatus (Boulenger, 1914). งูปแกวสีจาง. Type locality: “Nong Kai Ploi east of Sriracha”, Thailanld. การแพรกระจาย: ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ตาก ลําปาง ราชบุรี เลย อุทัยธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Cox (1991), Chuaynkern et al. (2002), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: OLIN. Oligodon jintakunei Pauwels, Wallace, David & Chanhome, 2002. งูปแกวจินตกูล. Type locality: “Krabi”, Thailand. การแพรกระจาย: กระบี่. อางอิง: Pauwels et al. (2002). อักษรยอ: OLJI. Oligodon joynsoni (Smith, 1917). งูปแกวใหญ. Type locality: “N Thailand, Muang Ngao”. การแพรกระจาย: กําแพงเพชร นครราชสีมา ลําปาง. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: OLJO. Oligodon mouhoti (Boulenger, 1914). งูงอดเขมร. Type locality: “Cambodia”. การ แพรกระจาย: ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี สงขลา. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. อางอิง: Pauwels et al. (2003, 2009b), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษร ยอ: OLMO. Oligodon purpurascens (Schlegel, 1837). งูคุด. Type locality: “Java”, Indonesia. การ แพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี พังงา สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991),

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 125

Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: OLPU. Oligodon quadrilineatus (Jan, 1865). งูงอดลายสี่ขีด. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ ชัยภูมิ นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นนทบุรี ศรีสะเกษ สระบุรี. อางอิง: Soderberg (1967), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: OLQU. Oligodon taeniatus (Günther, 1861). งูงอดไทย. Type locality: “Cambodia”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ ชัยภูมิ นครราชสีมา นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ ปตตานี ศรีสะเกษ สงขลา สระบุรี. อางอิง: Cox (1991), Karns et al. (2005), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: OLTA. Oligodon theobaldi (Günther, 1868). งูปแกวพมา. Type locality: “Pegu”. การ แพรกระจาย: กําแพงเพชร. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษร ยอ: OLTH. Oreocryptophis porphyraceus (Cantor, 1839). งูทางมะพราวแดง. Type locality: “India: Assam, Mishmi [Mishmee] Hills. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม พิษณุโลก เพชรบุรี แมฮองสอน ราชบุรี เลย. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Niyomwan (2004, 2006), Boon-Nuang & Sumontha (2008), Jandzik (2009), Pauwels et al. (2009b), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: ORPO. Orthriophis taeniurus (Cope, 1861). งูกาบหมากดํา. Type locality: “China: Zhejiang, Ningbo”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ตาก นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา เพชรบุรี ยะลา ราชบุรี เลย สงขลา สตูล สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: ORTA. Psammodynastes pulverulentus (Boie, 1827). งูหมอก. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี ขอนแกน จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เชียงใหม ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ ปตตานี เพชรบุรี แพร ภูเก็ต ราชบุรี ลําปาง เลย สระแกว สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย อุทัยธานี. อางอิง: Soderberg (1967),

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 126

Hikida et al. (1996a, 1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2003, 2009b), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: PSPU. Ptyas carinata (Günther, 1858). งูสิงหางดํา. Type locality: “Borneo”. การ แพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี เชียงใหม ตราด ตรัง ตาก นครศรีธรรมราช ปตตานี พังงา เพชรบุรี ยะลา ราชบุรี ลําปาง. อางอิง: Hikida et al. (1998a), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006). อักษรยอ: PTCA. Ptyas fusca (Günther, 1858). งูสิงใต. Type locality: “Borneo”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช พังงา. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวา มาจากพอคาสัตว. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: PTFU. Ptyas korros (Schlegel, 1837). งูสิงธรรมดา. Type locality: “Java”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยภูมิ ชุมพร เชียงใหม ตรัง ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปทุมธานี ปราจีนบุรี ปตตานี พังงา พัทลุง เพชรบุรี ยะลา ศรีสะเกษ สงขลา สระแกว สระบุรี หนองคาย หนองบัวลําภู อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุ วาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Soderberg (1967), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Karns et al. (2005), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: PTKO. Ptyas mucosa (Linnaeus, 1758). งูสิงหางลาย. Type locality: “India”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ ฉะเชิงเทรา เชียงใหม นครพนม นครราชสีมา เพชรบุรี เพชรบูรณ ราชบุรี ลําปาง เลย ศรีสะเกษ สระบุรี หนองคาย อุบลราชธานี. หมายเหตุ: ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Soderberg (1967), Nadee (1999), Pauwels et al. (2003, 2009b), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 127

ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: PTMU. Rhadinophis prasinus (Blyth, 1854). งูทางมะพราวเขียว. Type locality: “Assam”, India. การแพรกระจาย: เชียงใหม เลย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: RHPR. Sibynophis collaris (Gray, 1853). งูคอขวั้นดํา. Type locality: “Khassia [=Khasi Hills, India]. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงใหม ตราด นครราชสีมา ราชบุรี เลย. อางอิง: Cox (1991), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: SICO. Sibynophis melanocephalus (Gray, 1835). งูคอขวั้นหัวดํา. Type locality: “Singapore”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา. อางอิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SIME. Sibynophis triangularis Taylor & Elbel, 1958. งูคอขวั้นหัวลายสามเหลี่ยม. Type locality: “Nongko, Sriracha, Chon Buri Province”, Thailand. การ แพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม ตราด นครราชสีมา เลย. อางอิง: Cox (1991), Hikida et al. (1998a), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: SITR. Stegonotus borneensis Inger, 1967. งูแดงบอรเนียว. Type locality: “Nanga Takalit, Kapit District, Third Division, Sarawak”. การแพรกระจาย: “no exactly locality”. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) และ Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบในภาคใต. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: STBO. Xenelaphis hexagonotus (Cantor, 1847). งูควนขนุน. Type locality: “Great Hill of Pinang [=Pulau Pinang, West Malaysia]. การแพรกระจาย: นราธิวาส พัทลุง สุ ราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Chan-ard (1995), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: XEHE. Subfamily NATRICINAE Bonaparte, 1838

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 128

Amphiesma bitaeniatum (Wall, 1925). งูลายสาบยูนนาน. Type locality: “Kutkai, North Shan States, Burma, 6000 feet”. การแพรกระจาย: เชียงใหม. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: AMBI. Amphiesma deschauenseei (Taylor, 1934). งูลายสาบทองสามขีด. Type locality: “Chiang Mai”, Thailand. การแพรกระจาย: เชียงใหม เลย อุทัยธานี. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: AMDE. Amphiesma groundwateri (Smith, 1922). งูลายสาบทาสาน. Type locality: การ แพรกระจาย: ชุมพร. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: AMGR. Amphiesma inas (Laidlaw, 1901). งูลายสาบมลายู. Type locality: “Gunong Inas, Perak”, West Malaysia. การแพรกระจาย: จันทบุรี นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ประจวบคีรีขันธ เลย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: AMIN. Amphiesma khasiense (Boulenger, 1890). งูลายสาบเขาสูง. Type locality: “Khasi Hills, India”. การแพรกระจาย: ชุมพร เชียงใหม เชียงราย เลย. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Pauwels et al. (2009a). อักษรยอ: AMKH. Amphiesma leucomystax David, Bain, Nguyen, Orlov, Vogel, Vu & Ziegler, 2007. งู ลายสาบปากขาว. Type locality: “southeastern border of the Ky Anh-Ke Go lowland forest protected area, Cam Xuyen District, Ha Tinh Province, Vietnam. การแพรกระจาย: ตัวอยางจากประเทศไทยไมไดระบุพิกัดที่จับมา. อางอิง: David et al. (2007). อักษรยอ: AMLE. Amphiesma modestum (Günther, 1875). งูลายสาบเมืองเหนือ. Type locality: “Khasi Hills, India. การแพรกระจาย: เชียงใหม. อางอิง: Nabhitabhata (1987). อักษร ยอ: AMMO. Amphiesma stolatum (Linnaeus, 1758). งูลายสาบดอกหญา. Type locality: “America” (in error). การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ ขอนแกน ฉะเชิงเทรา ชัยนาท เชียงใหม นครพนม นครราชสีมา นครสวรรค เพชรบูรณ ราชบุรี ลพบุรี ลําพูน ศรีสะเกษ สระบุรี อุดรธานี. อางอิง: Inthara et al. (2004),

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 129

Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: AMST. Macropisthodon flaviceps (Duméril, Bibron & Duméril, 1854). งูรังแหหัวแดง. Type locality: “Borneo”. การแพรกระจาย: ตรัง สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Meewattana (2010). อักษรยอ: MAFL. Macropisthodon rhodomelas (Boie, 1827). งูรังแหหัวหลังศร. Type locality: “Java”. การแพรกระจาย: ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส สตูล. อางอิง: Soderberg (1967), Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: MARH. Opisthotropis boonsongi (Taylor & Elbel, 1958). งูลายสอหมอบุญสง. Type locality: “Phu Luang, Loei Province, Thailand. การแพรกระจาย: เลย. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: OPBO. Opisthotropis maculosa Stuart & Chuaynkern, 2007. งูลายสาบจุดเหลือง. Type locality: “Thailand, Nong Khai Province, Boong Klar District, Phu Wua Wildlife Sanctuary (now Buengkarn Province). การแพรกระจาย: บึงกาฬ. หมายเหตุ: ตัวอยางตนแบบ holotype ถูกเก็บจากเขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว อําเภอบุงคลา จังหวัดหนองคาย (Stuart & Chuaynkern, 2007) ซึ่งปจจุบัน อําเภอบุงคลาถูกแยกออกมาเปนอําเภอหนึ่งของจังหวัดบึงกาฬ. อางอิง: Stuart & Chuaynkern (2007), Chan-ard & Makchai (2011c). อักษรยอ: OPMA. Opisthotropis spenceri Smith, 1918. งูลายสอสองสี. Type locality: “Muang Ngow, northern Thailand”. การแพรกระจาย: ลําปาง. หมายเหตุ: อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: OPSP. Paratapinophis praemaxillaris Angel, 1929. งูลายสอลาวเหนือ. Type locality: “Chieng-Kuang, upper Laos. การแพรกระจาย: เชียงใหม นาน. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Murphy et al. (2008). อักษรยอ: PAPR. Rhabdophis chrysargos (Schlegel, 1837). งูลายสาบจุดดําขาว. Type locality: “Java”. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชุมพร เชียงใหม ตรัง

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 130

ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ พังงา ยะลา รอยเอ็ด ระยอง ราชบุรี. อางอิง: Hikida et al. (1996a, 1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006). อักษรยอ: RHCH. Rhabdophis nigrocinctus (Blyth, 1856). งูลายสาบเขียวขวั้นดํา. Type locality: “Pegu, Myanmar”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชุมพร เชียงใหม ตราด ตรัง ตาก นครราชสีมา พังงา เพชรบุรี ภูเก็ต ราชบุรี เลย สระแกว สุ ราษฎรธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996a, 1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: RHNI. Rhabdophis subminiatus (Schlegel, 1837). งูลายสาบคอแดง. Type locality: “Java”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงใหม ตราด ตรัง ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บุรีรัมย บึง กาฬ พังงา เพชรบุรี เพชรบูรณ ภูเก็ต ระนอง ราชบุรี เลย สุโขทัย สุราษฎรธานี หนองคาย อุทัยธานี อุตรดิตถ อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Cox (1991), Hikida et al. (1996a, 1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: RHSU. Sinonatrix percarinata (Boulenger, 1899). งูลายสอจีน. Type locality: “Kuatun (=Guadun), China. การแพรกระจาย: เชียงใหม นครราชสีมา เลย. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: SIPE. Sinonatrix yunnanensis Rao & Yang, 1998. งูลายสอยูนนาน. Type locality: “Dingpa of Jingdong County, Yunnan, China. การแพรกระจาย: เชียงราย. อางอิง: Rao & Yang (1998). อักษรยอ: SIYU.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 131

Xenochrophis flavipunctatus (Hallowell, 1860). งูลายสอสวน. Type locality: “Island of Hongkong [Hong Kong], China. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ ขอนแกน จันทบุรี ชลบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม ตราด ตาก นครราชสีมา นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ พังงา พัทลุง เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร มุกดาหาร ระนอง ศรีสะเกษ สตูล สุราษฎรธานี หนองคาย อุตรดิตถ อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008), Karns et al. (2010). อักษรยอ: XEFL. Xenochrophis piscator (Schneider, 1799). งูลายสอใหญ. Type locality: “East indies”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตราด ตาก นครราชสีมา นราธิวาส ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ แพร แมฮองสอน ราชบุรี เลย สงขลา สระแกว สระบุรี อุทัยธานี. อางอิง: Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996a, 1998a), Murphy et al. (1999), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: XEPI. Xenochrophis punctulatus (Günther, 1858). งูลายสอพมา. Type locality: “unknown”. การแพรกระจาย: แมฮองสอน. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: XEPU. Xenochrophis trianguligerus (Boie, 1827). งูลายสอลายสามเหลี่ยม. Type locality: “Java”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา ระนอง. อางอิง: Cox (1991), Hikida et al. (1998a), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: XETR. Subfamily PSEUDOXENODONTINAE McDowell, 1987 Plagiopholis blakewayi (Boulenger, 1893). งูหัวศรภูเขา. Type locality: “Toungyi, Shan States”. การแพรกระจาย: เชียงใหม. อางอิง: Tillack et al. (2006). อักษร ยอ: PLBL. Plagiopholis nuchalis (Boulenger, 1893). งูหัวลายลูกศร. Type locality: “Toungyi, Shan States”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี เชียงใหม แมฮองสอน ลําปาง เลย. อางอิง: Cox (1991), Hikida et al. (1996a, 1998a), Nabhitabhata et al. (2000

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 132

“2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Tillack et al. (2006). อักษรยอ: PLNU. Pseudoxenodon macrops (Blyth, 1855). งูลายสาบตาโต. Type locality: “near Darjiling”, E India. การแพรกระจาย: จันทบุรี เชียงใหม นครราชสีมา พิษณุโลก เพชรบูรณ แมฮองสอน ลําปาง เลย. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: PSMA. Incertae sedis Gongylosoma baliodeirus Boie, 1827. งูสายทองลายแถบ. Type locality: “West Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: จันทบุรี นครศรีธรรมราช นราธิวาส ภูเก็ต. อางอิง: Taylor (1962), Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: GOBA. Gongylosoma longicauda (Peters, 1871). งูสายทองหางยาว. Type locality: “Sarawak”. การแพรกระจาย: นราธิวาส. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: GOLO. Gongylosoma scripta (Theobald, 1868). งูสายทองคอแหวน. Type locality: “Martaban, Burma”, Myanmar. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ชัยภูมิ นครราชสีมา นครศรีธรรมราช เพชรบุรี ภูเก็ต อุทัยธานี. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: GOSC. Family CYLINDROPHIIDAE Fitzinger, 1843 Cylindrophis ruffus (Laurenti, 1768). งูกนขบ. Type locality: “Surinam (in error)”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ ขอนแกน ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เชียงใหม ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค นราธิวาส ปทุมธานี ปราจีนบุรี พังงา พัทลุง เพชรบุรี เพชรบูรณ ภูเก็ต ระนอง สงขลา สระบุรี สุโขทัย สุราษฎร ธานี หนองคาย หนองบัวลําภู อุตรดิตถ. อางอิง: Soderberg (1967), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996a, 1998a), Murphy et al. (1999), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Karns et al. (2005, 2010), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CYRU. Family ELAPIDAE Boie, 1827 Subfamily ELAPINAE Boie, 1827

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 133

Bungarus candidus (Linnaeus, 1758). งูทับสมิงคลา. Type locality: “Indiis” (in error). การแพรกระจาย: กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม ตรัง ตราด นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บุรีรัมย ปตตานี พังงา เพชรบูรณ มุกดาหาร สระบุรี ราชบุรี เลย หนองคาย อุบลราชธานี. อางอิง: Hikida et al. (1998a), Pauwels et al. (2002), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: BUCA. Bungarus fasciatus (Schneider, 1801). งูสามเหลี่ยม. Type locality: “Bengal, India”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงใหม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส เพชรบุรี เพชรบูรณ รอยเอ็ด ระนอง เลย สุราษฎรธานี หนองคาย อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Chan-ard (1995), Pauwels et al. (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: BUFA. Bungarus flaviceps Reinhardt, 1843. งูสามเหลี่ยมหัวหางแดง. Type locality: “Java”. การแพรกระจาย: ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา ยะลา ระนอง ราชบุรี สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: BUFL. Calliophis bivirgata (Boie, 1827). งูพริกทองแดง. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: ตรัง นราธิวาส ปตตานี เพชรบุรี ยะลา สงขลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Pauwels et al. (2009b). อักษรยอ: CABI. Calliophis gracilis Gray, 1835. งูปลองหวายมลายู. Type locality: “Unknown”. การ แพรกระจาย: ปตตานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CAGR. Calliophis intestinalis (Laurenti, 1768). งูพริกสีน้ําตาล. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา ยะลา สุ ราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CAIN.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 134

Calliophis maculiceps (Günther, 1858). งูปลองหวายหัวดํา. Type locality: “East Indies”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี จันทบุรี ชลบุรี เชียงใหม ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ปตตานี เพชรบุรี เพชรบูรณ ภูเก็ต ลพบุรี สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย. อางอิง: Soderberg (1967), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: CAMA. Naja kaouthia Lesson, 1831. งูเหาหมอ. Type locality: “Bengal [India]. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยนาท ชุมพร ตราด ตรัง ตาก นนทบุรี นราธิวาส ปทุมธานี ปตตานี พระนครศรีอยุธยา พังงา พัทลุง เพชรบุรี ภูเก็ต ราชบุรี ลพบุรี เลย สระบุรี สุพรรณบุรี สุราษฎรธานี อางทอง. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Soderberg (1967), Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Sukmasuang & Boonchai (1995), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: NAKA. Naja siamensis Laurenti, 1768. งูเหาพนพิษสยาม. Type locality: “Imperio Siam and Insulis Ternateis”. การแพรกระจาย: กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยนาท ชัยภูมิ นครราชสีมา นครสวรรค เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร ลพบุรี ศรีสะ เกษ สระบุรี หนองคาย อุทัยธานี อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุเพิ่มเติมวาไมพบในภาคใตของประเทศไทย. อางอิง: Hikida et al. (1998a), Pauwels et al. (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: NASI. Naja sumatrana Müller, 1890. งูเหาทองพนพิษ. Type locality: “Solok, Sumatra”. การแพรกระจาย: กระบี่ นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา พัทลุง ยะลา สงขลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: NASU.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 135

Ophiophagus hannah (Cantor, 1836). งูจงอาง. Type locality: “Sunderbuns” (=Sunderbans, West Bengal, E India). การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงใหม ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บุรีรัมย ปราจีนบุรี พังงา เพชรบุรี เพชรบูรณ แมฮองสอน ยะลา เลย สงขลา สระแกว สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan- ard (1995), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: OPHA. Sinomicrurus macclellandii (Reinhardt, 1844). งูปลองหวายลายขวั้นดํา. Type locality: “Assam, India”. การแพรกระจาย: ฉะเชิงเทรา เชียงใหม นครราชสีมา เพชรบุรี ราชบุรี เลย. อางอิง: Hikida et al. (1996a, 1998a), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Pauwels et al. (2009b). อักษรยอ: SIMA. Subfamily HYDROPHIINAE Boie, 1827 Acalyptophis peronii (Duméril, 1853). งูทากลายทองขาว. Type locality: “New Holland (=Australia). การแพรกระจาย: อาวไทย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: ACPE. Aipysurus eydouxii (Gray, 1849). งูชายธงนวล. Type locality: “Indian Ocean”. การ แพรกระจาย: อาวไทย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: AIEY. Chitulia belcheri (Gray, 1849). งูแสมรังเกล็ดเบลเชอร. Type locality: “New Guinea”. การแพรกระจาย: อาวไทย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CHBE. Chitulia bitubercalota Peters, 1872. งูแสมรังเกล็ดสองตุม. Type locality: “Colombo (Ceylon)”. การแพรกระจาย: ทะเลอันดามัน. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CHBI. Chitulia lamberti (Smith, 1917). งูแสมรังแลมเบิรต. Type locality: “mouth of the Mekong River”. การแพรกระจาย: อาวไทย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CHLA.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 136

Chitulia lapemoides (Gray, 1849). งูแสมรังอาวเปอรเซีย. Type locality: “Ceylon, Madras”. การแพรกระจาย: ภูเก็ต. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CHLP. Chitulia ornata (Gray, 1842). งูแสมรังแถบสีจาง. Type locality: “not given”. การ แพรกระจาย: อาวไทย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”).อักษรยอ: CHOR. Chitulia torquata (Günther, 1864). งูแสมรังเทา. Type locality: “Penang, Malaysia”. การแพรกระจาย: จันทบุรี ตราด นราธิวาส พังงา สงขลา. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CHTO. Disteira nigrocinta (Daudin, 1803). งูแสมรังลายขวั้นดํา. Type locality: “Sundarbans, Bengal”. การแพรกระจาย: หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ใสไวในบัญชีรายชื่อสัตวเลื้อยคลาน แตไมไดระบุการแพรกระจาย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: DINI. Disteira obscurus Daudin, 1803. งูแสมรังระนอง. Type locality: “Sunderbunds, Bengal”. การแพรกระจาย: ทะเลอันดามัน. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: DIOB. Disteira ornatus (Gray, 1842). งูแสมรังหางขาว. Type locality: “Australia”. การ แพรกระจาย: อาวไทย พังงา ภูเก็ต. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: DIOR. Disteira stokesii (Gray, 1846). งูทากลาย. Type locality: “Australian Seas”. การ แพรกระจาย: ชลบุรี ปตตานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: DOST. Enhydrina schistosa Daudin, 1803. งูคอออนปากจะงอย. Type locality: “Tranquebar, India”. การแพรกระจาย: อาวไทยและทะเลอันดามัน. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: ENSC. Hydrophis atriceps Günther, 1864. งูแสมรังหัวดํา. Type locality: “Thailand”. การ แพรกระจาย: อาวไทย. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: HYAT.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 137

Hydrophis brookii Günther, 1872. งูแสมรังทองเหลือง. Type locality: “Sarawak, Malaysia”. การแพรกระจาย: อาวไทย สงขลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: HYBR. Hydrophis fasciatus (Schneider, 1799). งูแสมรังหัวดํา. Type locality: “East Indies”. การแพรกระจาย: อาวไทยและทะเลอันดามัน. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: HYFA. Hydrophis klossi Boulenger, 1912. งูฝกมะรุม. Type locality: “coast of Selangor, Malay Peninsula”. การแพรกระจาย: พังงา อาวไทย. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: HYKL. Hydrophis melanosoma Günther, 1864. งูแสมรังดํา. Type locality: “unknown”. การ แพรกระจาย: อาวไทย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: HYME. Kerilia jerdonii Gray, 1849. งูชายธงขาวหลามตัด. Type locality: “Madras, India”. การแพรกระจาย: ปตตานี ภูเก็ต สงขลา. อางอิง: Soderberg (1967), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: KEJE. Kolpophis annandalei (Laidlaw, 1901). งูชายธงหัวโต. Type locality: “Patani Bay, Thailand”. การแพรกระจาย: ปตตานี สงขลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: KOAN. Lapemis curtus (Shaw, 1802). งูอายงั่ว. Type locality: “not given”. การแพรกระจาย: อาวไทยและทะเลอันดามัน. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ใส ไวในบัญชีรายชื่อสัตวเลื้อยคลาน แตไมไดระบุการแพรกระจาย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: LACU. Laticauda colubrina (Schneider, 1799). งูสมิงทะเลปากเหลือง. Type locality: “not given”. การแพรกระจาย: พังงา ภูเก็ต และอาวไทย. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LACO.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 138

Laticauda laticaudata (Linnaeus, 1758). งูสมิงทะเลปากดํา. Type locality: “Indiis”. การแพรกระจาย: ภูเก็ต และอาวไทย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LALA. Leioselasma cyanocinta Daudin, 1803. งูแสมรังเหลืองลายคราม. Type locality: “Coromandel”. การแพรกระจาย: ปตตานี ภูเก็ต สงขลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LECY. Leioselasma spiralis (Shaw, 1802). งูแสมรังเหลือง. Type locality: “Indian Oceon”. การแพรกระจาย: พังงา ภูเก็ต. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: LESP. Microcephaophis cantoris (Günther, 1864). งูแสมรังแคนเทอร. Type locality: “Penang, Malaysia”. การแพรกระจาย: จันทบุรี ตราด ปากแมน้ําแมกลอง. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: MICA. Microcephalophis gracilis (Shaw, 1802). งูคอออนหัวเข็ม. Type locality: “not given”. การแพรกระจาย: อาวไทย ภูเก็ต. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: MIGR. Pelamis platura (Linnaeus, 1766). งูชายธงหลังดํา. Type locality: “not given”. การ แพรกระจาย: อาวไทย ภูเก็ต. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: PEPL. Polyodontognathus caerulescens (Shaw, 1802). งูแสมรังลายเยื้อง. Type locality: “Indian Ocean (as East-Indian). การแพรกระจาย: อาวไทยและทะเลอันดามัน สงขลา. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: POCA. Praescutata viperina (Schmidt, 1852). งูชายธงทองขาว. Type locality: “Java”. การ แพรกระจาย: อาวไทย ภูเก็ต สงขลา. อางอิง: Soderberg (1967), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: PRVI. Thalassophis anomalus (Schmidt, 1852). งูเสมียนรังหัวสั้น. Type locality: “Rhede von Samaang”, coast of Java. การแพรกระจาย: อาวไทย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: THAN.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 139

Family HOMALOPSIDAE Günther, 1864 Bitia hydroides Gray, 1842. งูปากกวางทองสัน. Type locality: “unknown”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ พังงา. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: BIHY. Cantoria violacea Girard, 1857. งูปากกวางลาย. Type locality: “Singapore”. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี พังงา ภูเก็ต. อางอิง: Cox (1991), Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: CAVI. Cerberus rynchops (Schneider, 1799). งูปากกวางน้ําเค็ม. Type locality: “Ganjam” (Orissa State, SE India”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ ชลบุรี ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา เพชรบุรี ภูเก็ต ระยอง สตูล สมุทรปราการ. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Pauwels et al. (2002, 2003, 2009b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard & Makchai (2011b). อักษรยอ: CERY. Enhydris bocourti (Jan, 1865). งูไซ. Type locality: “Bangkok”, Thailand. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค ปราจีนบุรี ปตตานี พัทลุง สุราษฎรธานี อุตรดิตถ. อางอิง: Cox (1991), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Karns et al. (2005), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Karns et al (2010). อักษรยอ: ENBO. Enhydris chanardi Murphy & Voris, 2005. งูสายรุงลายจั่นอาจ. Type locality: “Bangkok”, Thailand. การแพรกระจาย: อางอิง: Murphy & Voris (2005). อักษรยอ: ENCH. Enhydris enhydris (Schneider, 1799). งูสายรุงธรรมดา. Type locality: “Indiae orientalis”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาฬสินธุ ขอนแกน ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เชียงใหม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค นราธิวาส ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี ปตตานี พัทลุง เพชรบุรี เพชรบูรณ สงขลา สตูล สระแกว อุทัยธานี อุตรดิตถ. อางอิง: Soderberg (1967), Chan-ard (1995), Karns et al. (2000, 2005), Pauwels et al. (2003), Inthara et al. (2004),

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 140

Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Karns et al. (2010). อักษรยอ: ENEN. Enhydris innominata (Morice, 1875). งูสายรุงดํา. Type locality: “Tay-ninh, Cochinchina (=Tay Ninh Province, South Vietnam). การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ นครสวรรค ประจวบคีรีขันธ. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: ENIN. Enhydris jagorii (Peters, 1863). งูสายรุงลายขวาง. Type locality: “Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ ขอนแกน นครสวรรค อุดรธานี อุตรดิตถ. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Karns et al. (2010). อักษรยอ: ENJA. Enhydris plumbea (Boie, 1827). งูปลิง. Type locality: “Java”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ ขอนแกน จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค นราธิวาส บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี พังงา พัทลุง เพชรบุรี แพร แมฮองสอน ราชบุรี ลําปาง เลย สงขลา สระแกว สระบุรี หนองคาย อุทัยธานี อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996a, 1998a), Murphy et al. (1999), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Karns et al. (2005), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: ENPL. Enhydris subtaeniata (Bourret, 1934). งูสายรุงลาย. Type locality: “Kompong Speu, Cambodia”. การแพรกระจาย: ขอนแกน นครราชสีมา นครสวรรค ปราจีนบุรี อุดรธานี. อางอิง: Karns et al. (2005), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Karns et al. (2010). อักษรยอ: ENSU. Erpeton tentaculatum Lacépède, 1800 งูกระดาง. Type locality: “unknown”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ นครปฐม นครศรีธรรมราช นครสวรรค ปทุมธานี ปราจีนบุรี พัทลุง เพชรบุรี สงขลา. อางอิง: Soderberg (1967), Pauwels et al. (2003), Karns et al. (2005, 2010), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: ERTE. Fordonia leucobalia (Schlegel, 1837). งูปลาหัวเทา. Type locality: “Timor (Indonesia)”. การแพรกระจาย: พังงา ภูเก็ต สตูล. อางอิง: Prayurasiddhi &

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 141

Kongsangchai (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: FOLE. Gerarda prevostiana (Eydoux & Gervais, 1822). งูปลาตาแมว. Type locality: “Minila (in error)”. การแพรกระจาย: ชลบุรี พังงา. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: GEPR. Homalopsis buccata (Linnaeus, 1758). งูหัวกะโหลก. Type locality: “Indiis”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ ขอนแกน จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ ตราด ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค นราธิวาส ปทุมธานี ปราจีนบุรี ปตตานี พังงา พัทลุง เพชรบุรี ภูเก็ต ระนอง ราชบุรี สกลนคร สงขลา สมุทรปราการ สุราษฎรธานี อุตรดิตถ อุบลราชธานี. อางอิง: Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996a, 1998a), Murphy et al. (1999), Pauwels et al. (2002, 2003, 2009b, 2010), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Karns et al. (2005, Nabhitabhata & Chan- ard (2005). อักษรยอ: HOLU. Homalopsis nigroventralis Deuve, 1970. งูหัวกะโหลกทองดํา. Type locality: “Ngum River Valley”, Laos. การแพรกระจาย: บึงกาฬ สกลนคร. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Das (2010), Murphy et al. (2012). อักษร ยอ: HONI. Family LAMPROPHIIDAE Fitzinger, 1843 Psammophis indochinensis Smith, 1943. งูมานทอง. Type locality: “Indochina”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ ชัยภูมิ เชียงใหม นนทบุรี ปทุมธานี เพชรบุรี ราชบุรี ลพบุรี สระบุรี. อางอิง: Pauwels et al. (2003), Chuaynkern & Inthara (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: PSIN. Family PAREATIDAE Romer, 1956 Aplopeltura boa (Boie, 1828). งูกินทากหัวโหนก. Type locality: “Parang [West- Java]. การแพรกระจาย: ชุมพร นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา. อางอิง: Cox (1991), Hikida et al. (1996a, 1998a), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: APBO.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 142

Asthenodipsas laevis (Boie, 1827). งูกินทากเกล็ดเรียบ. Type locality: “not given”. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: ASLA. Asthenodipsas malaccanus Peters, 1864. งูกินทากมลายู. Type locality: “in der Nähe von Malaca”. การแพรกระจาย: นราธิวาส ยะลา. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: ASMA. Pareas carinatus (Boie, 1828). งูกินทากเกล็ดสัน. Type locality: “Java”. การ แพรกระจาย: จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชุมพร เชียงใหม ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส เพชรบุรี แมฮองสอน เลย สระแกว. อางอิง: Hikida et al. (1996a, 1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: PACA. Pareas hamptoni (Boulenger, 1905). งูกินทากลายขวั้น. Type locality: “Mogok, Myanmar (=Burma). การแพรกระจาย: จันทบุรี นราธิวาส. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan- ard et al. (2011c). อักษรยอ: PAHA. Pareas macularis Theobald, 1868. งูกินทากจุดดํา. Type locality: “Martaban, south Burma”, Myanmar. การแพรกระจาย: เชียงใหม เลย. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: PAMA. Pareas margaritophorus (Jan, 1866). งูกินทากจุดขาว. Type locality: “Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปราจีนบุรี ปตตานี เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร ระนอง ราชบุรี เลย อุทัยธานี. อางอิง: Chan-ard (1995), Hikida et al. (1996a, 1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Karns et al. (2005), Nabhitabhata & Chan- ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษร ยอ: PAMR.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 143

Family PYTHONIDAE Fitzinger, 1826 Broghammerus reticulatus (Schneider, 1801). งูเหลือม. Type locality: “unknown”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ ตราด ตาก นครราชสีมา นราธิวาส พังงา เพชรบุรี เพชรบูรณ ภูเก็ต ระยอง สระแกว สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata & Chan-ard (2005) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Chan-ard (1995), Sukmasuang & Boonchai (1995), Hikida et al. (1996a, 1998a), Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: BRRE. Python bivittatus Kuhl, 1820. งูหลาม. Type locality: “Java”, Indonesia. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยภูมิ ชุมพร เชียงใหม ตาก นครนายก นครราชสีมา นครสวรรค นนทบุรี นาน บุรีรัมย ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร มหาสารคาม ระนอง ระยอง ลพบุรี ลําปาง เลย สมุทรปราการ สุราษฎรธานี สุรินทร อุดรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Nadee (1999), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Cota (2010). อักษรยอ: PYBI. Python brongersmai Stull, 1938. งูหลามปากเปดแดง. Type locality: “Singapore”. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา เพชรบุรี ระนอง สงขลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2002, 2009b), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: PYBR. Python curtus Schlegel, 1872. งูหลามปากเปด. Type locality: “Sumatra, Indonesia”. การแพรกระจาย: กระบี่ กาญจนบุรี นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา เพชรบุรี ระนอง สงขลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: PYCU. Family TYPHLOPIDAE Merrem, 1820

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 144

Gerrhopilus floweri (Boulenger, 1899). งูดินหัวเหลือง. Type locality: “Siam”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ จันทบุรี ปทุมธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: GEFL. Ramphotyphlops albiceps (Boulenger, 1898). งูดินหัวขาว. Type locality: “Chanthaburi”, Thailand. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ จันทบุรี เชียงใหม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ปตตานี พังงา ยะลา ราชบุรี. อางอิง: Hikida et al. (1996a, 1998a), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: RAAL. Ramphotyphlops braminus (Daudin, 1803). งูดินบาน. Type locality: “Vizagapatam [Visakhapatnam]”, India. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เชียงใหม ตราด ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี พังงา พัทลุง เพชรบุรี แพร ภูเก็ต ระยอง ราชบุรี สระบุรี อุดรธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996a, 1998a), Pauwels et al. (2002, 2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard & Makchai (2011b), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: RABR. Ramphotyphlops lineatus (Schlegel, 1839). งูดินลายขีด. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: RALI. Ramphotyphlops ozakiae Wallace in Niyomwan, Thirakhupt & nabhitabhata, 2001. งูดินปกธงชัย. Type locality: “Thailand”. การแพรกระจาย: นครราชสีมา. อางอิง: Niyomwan et al. (2001), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: RAOZ. Typhlops diardi Schlegel, 1839. งูดินใหญอินโดจีน. Type locality: “East Indies”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ ชลบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม ตรัง ตาก นครพนม นครราชสีมา นราธิวาส ปราจีนบุรี เลย สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Hikida et al. (1996a, 1998a), Chuaynkern et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: TYDI.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 145

Typhlops khoratensis Taylor, 1862. งูดินโคราช. Type locality: “Muak Lek, Friendship Highway, Sara Buri Province, Thailand”. การแพรกระจาย: เชียงใหม นครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ สระบุรี. อางอิง: Taylor (1962), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: TYKH. Typhlops muelleri Schlegel, 1839. งูดินใหญมลายู. Type locality: “Pedang, Sumatrda”. การแพรกระจาย: นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ปตตานี พังงา พัทลุง ยะลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TYMU. Typhlops porrectus Stoliczka, 1871. งูดินดอยปุย. Type locality: “Bengal and Roorkee”, India. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ เชียงใหม ปทุมธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: TYPO. Typhlops roxanae Wallach, 2001. งูดินกรุงเทพฯ. Type locality: “Thailand”. การ แพรกระจาย: กรุงเทพฯ. อางอิง: Wallace (2001), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TYRO. Typhlops siamensis Günther, 1864. งูดินไทย. Type locality: “Siam”, Thailand. การ แพรกระจาย: จันทบุรี ตรัง นครศรีธรรมราช. อางอิง: Soderberg (1967), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: TYSI. Typhlops trangensis Taylor, 1962. งูดินตรัง. Type locality: “Khao Chong, Forest Experiment Station, Trang Province, Thailand”. การแพรกระจาย: ตรัง. อางอิง: Taylor (1962), Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TYTR. Family VIPERIDAE Oppel, 1811 Subfamily CROTALINAE Oppel, 1811 Calloselasma rhodostoma (Kuhl, 1824). งูกะปะ. Type locality: “Java”. การ แพรกระจาย: กาญจนบุรี กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยภูมิ ชุมพร เชียงราย เชียงใหม ตราด ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา เพชรบุรี เพชรบูรณ ภูเก็ต รอยเอ็ด ระยอง ลพบุรี สกลนคร สระแกว สุราษฎรธานี หนองคาย อุดรธานี อุทัยธานี

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 146

อุบลราชธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Chan-ard (1995), Hikida et al. (1998a), Nadee (1999), Pauwels et al. (2002, 2003), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: CARH. Ovophis convictus (Stoliczka, 1870). งูหางแฮมมลายู. Type locality: “Western Hill, Penang, Malaya”. การแพรกระจาย: จันทบุรี. อางอิง: Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: OVCO. Ovophis monticola (Günther, 1864). งูหางแฮมภูเขา. Type locality: “Nepal and Sikkim”. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ชุมพร เชียงใหม ตาก ระนอง เลย. อางอิง: Chuaynkern et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: OVMO. Trimeresurus albolabris Gray, 1842. งูเขียวหางไหมทองเหลือง. Type locality: “China”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาฬสินธุ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เชียงใหม ตาก นครปฐม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี เพชรบูรณ แมฮองสอน รอยเอ็ด ราชบุรี เลย สระบุรี สุราษฎรธานี หนองคาย อุบลราชธานี. อางอิง: Cox (1991), Hikida et al. (1996a, 1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: TRAL. Trimeresurus borneensis (Peters, 1872). งูปาลมบอรเนียว. Type locality: “Sarawack” [=Sarawak, Borneo, Malaysia]. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRBO. Trimeresurus cardamomensis (Malhotra, Thorpe, Mrialini & Stuart, 2011). งูเขียว หางไหมคารดามอม. Type locality: “Phnom Chan Mountain, Cardamom Mountains, Sre Ambel District, Koh Kong Province, Cambodia”. การ แพรกระจาย: จันทบุรี. อางอิง: Malhotra et al. (2011). อักษรยอ: TRCA.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 147

Trimeresurus erythrurus (Cantor, 1839). งูปาลมหางแดง. Type locality: “Ganges Delta”. การแพรกระจาย: พังงา. อางอิง: Pauwels et al. (2000). อักษรยอ: TRER. Trimeresurus fucatus Vogel, David & Pauwels, 2004. งูเขียวหางไหมทองเขียวใต. Type locality: “Nakhon Sri Thammarat”, southern Thailand. การแพรกระจาย: กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา สุราษฎรธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Vogel et al. (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษร ยอ: TRFU. Trimeresurus gumprechti David, Vogel, Pauwels & Vidal, 2002. งูเขียวไผ. Type locality: “Phu Luang Wildlife Research Station, Loei”, Thailand. การ แพรกระจาย: ชัยภูมิ เพชรบูรณ เลย. อางอิง: Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRGU. Trimeresurus hageni (Lidht de Jeude, 1886). งูเขียวหางไหมฮาเจน. Type locality: “Sumatra and the island of Banka [=Bangka]. การแพรกระจาย: ตรัง นราธิวาส พังงา สงขลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRHG. Trimeresurus kanburiensis Smith, 1943. งูหางแฮมกาญจน. Type locality: “Limestone hills near Kanburi, south-western Siam [=Kanchanaburi Province, Thailand]. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กระบี่ กาญจนบุรี จันทบุรี นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ปทุมธานี สมุทรปราการ สิงหบุรี สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRKA. Trimeresurus macrops Kramer, 1977. งูเขียวหางไหมตาโต. Type locality: “Bangkok”, Thailand. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ จันทบุรี นครราชสีมา ปทุมธานี สมุทรปราการ สระบุรี สิงหบุรี. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อางอิง: Hikida et al. (1996a, 1998a), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: TRMC. Trimeresurus nebularis Vogel, David & Pauwels, 2004. งูเขียวหางไหมทองเขียว มลายู. Type locality: “Gunung Brinchang, Cameron Highlands, State of

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 148

Pahang, West Malaysia”. การแพรกระจาย: นราธิวาส. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Vogel et al. 2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRNE. Trimeresurus phuketensis Sumontha, Kunya, Pauwels, Nitikul & Punnadee, 2011. งู เขียวหางไหมภูเก็ต. Type locality: “Phuket”, Phuket Province, southern Thailand. การแพรกระจาย: ภูเก็ต. อางอิง: Sumontha et al. (2011). อักษรยอ: TRPH. Trimeresurus popeiorum Smith, 1937. งูเขียวหางไหมทองเขียว. Type locality: “Khasi Hills, Assam (State of Meghalaya), India. การแพรกระจาย: เชียงราย เชียงใหม ตราด ตาก นครราชสีมา พังงา เพชรบุรี เลย สระบุรี สุราษฎรธานี อุทัยธานี. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1996a, 1998a), Chuaynkern et al. (2002), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Ha-ngam et al. (2006), Konlek & Lauhachinda (2008), Suttanon & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: TRPO. Trimeresurus purpureomaculatus (Gray, 1832). งูพังกา. Type locality: “Singapura”. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กระบี่ ตรัง นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง สตูล สุราษฎรธานี. หมายเหตุ: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”) ระบุวาพบ ในภาคตะวันตกเฉียงใตดวยเหมือนกัน. อางอิง: Cox (1991), Prayurasiddhi & Kongsangchai (1994), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRPU. Trimeresurus stejnegeri Schmidt, 1925. งูเขียวไผ. Type locality: การแพรกระจาย: ชลบุรี ชัยภูมิ นครราชสีมา เพชรบูรณ เลย. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”). อักษรยอ: TRST. Trimeresurus sumatranus (Raffles, 1822). งูเขียวหางไหมสุมาตรา. Type locality: “Sumatra (Indonesia). การแพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี ตรัง. อางอิง: Soderberg (1967), Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRSU. Trimeresurus venustus Vogel, 1991. งูเขียวหางไหมทุงสง. Type locality: “Thung Song, Provinz Nakhon Si Thammarat, Süd-Thailand”. การแพรกระจาย: กระบี่ นครศรีธรรมราช สุราษฎรธานี. อางอิง: Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRVE.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 149

Trimeresurus vogeli David, Vidal & Pauwels, 2001. งูเขียวหางเทา. Type locality: “Headquarters area, Khao Yai National Park, Nakhon Ratchasima Province, Thailand. การแพรกระจาย: จันทบุรี นครราชสีมา. อางอิง: Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: TRVO. Trimeresurus wiroti Trutnau, 1981. งูปาลมวิโรจน. Type locality: “Khao Wang Range, Ban Hui Hip and Amphoe Lan Saka”, Nakhon Si Thammarat Province, Thailand. การแพรกระจาย: นครศรีธรรมราช. อางอิง: Trutnau (1981). อักษรยอ: TRWI. Tropidolaemus wagleri (Boie, 1827). งูเขียวตุกแก. Type locality: “Asien”. การ แพรกระจาย: นราธิวาส ปตตานี พังงา ยะลา สุราษฎรธานี. อางอิง: Cox (1991), Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: TRWA. Subfamily VIPERINAE Oppel, 1811 Daboia siamensis (Smith, 1797). งูแมวเซา. Type locality: “Sam Kok, Central Siam”, Thailand. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยนาท ชุมพร นครนายก นครปฐม นครราชสีมา นครสวรรค นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สมุทรปราการ สระแกว สระบุรี อางทอง. อางอิง: Cox (1991), Nadee (1999), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008). อักษรยอ: DASI. Family XENODERMATIDAE Gray, 1849 Xenodermus javanicus Reinhardt, 1836. งูทองขาว. Type locality: “Java”. การ แพรกระจาย: ปตตานี ยะลา. อางอิง: Cox (1991), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005). อักษรยอ: XEJA. Family XENOPELTIDAE Bonaparte, 1845 Xenopeltis unicolor Reinwardt, 1827. งูแสงอาทิตย. Type locality: “Java”, Indonesia. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เชียงใหม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี พังงา เพชรบุรี เพชรบูรณ แพร ภูเก็ต ยะลา ราชบุรี สระบุรี สุราษฎรธานี อุตรดิตถ. อางอิง: Soderberg (1967), Hikida et al. (1998a), Nadee (1999),

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 150

Pauwels et al. (2003, 2009b), Sukprakarn & Nabhitabhata (2003), Inthara et al. (2004), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Karns et al. (2005, 2010), Niyomwan (2004), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Sukmasruang et al. (2007), Konlek & Lauhachinda (2008), Chan-ard et al. (2011c). อักษรยอ: XEUN.

คํานิยม ขอขอบคุณนักอนุกรมวิธานสัตวเลื้อยคลานทุกทาน นับเนื่องจากอดีตจนถึงปจจุบันใน ความเพียรพยายามศึกษาสัตวในกลุมนี้ ทําใหความรูความกาวหนาของสาขาวิทยาสัตวเลื้อยคลานมี ความกาวหนาเปนอยางมาก หากปราศจากบุคคลเหลานี้แลว เราก็คงอยูอยางเดียวดายและมืดมิด โดยไมรูวารอบตัวเรามีอะไรบาง ความผิดพลาด ขาดตกบพรอง ทางคณะผูเขียนขอนอมรับดวย ความยินดียิ่ง เพื่อหวังปรับปรุงใหมีความถูกตองมากยิ่งขึ้นในอนาคต หากความดีอันจะเกิดจากการ ใชประโยชนจากบทความชิ้นนี้ คณะผูเขียนขอมอบแด รศ. โอภาส ขอบเขตต ดร. จารุจินต นภี ตะภัฏ รศ.ดร.วีระยุทธ เลาหจินดา ดร. แอนมารี โอเลอร และ ดร. อแลง ดูบัว ขอขอบคุณ คุณวรวรัย สาลีวงศ ที่ชวยตรวจทานพิสูจนอักษร ทายสุดคณะผูเขียนขอขอบพระคุณ อาจารย ดร. ประทีป ดวง แค บรรณาธิการวารสารสัตวปาเมืองไทย ในความกรุณาสําหรับการเชิญใหเขียนบทความเรื่องนี้

เอกสารอางอิง Bauer, A.M., K. Kunya, M. Sumontha, P. Niyomwan, N. Panitvong, O.S.G. Pauwels, L. Chanhome & T. Kunya. 2009. Cyrtodactylus erythrops (Squamata: Gekkonidae), a new cave- dwelling gecko from Mae Hong Son Province, Thailand. Zootaxa 2124: 51-62. Bauer, A.M., K. Kunya, M. Sumontha, P. Niyomwan, O.S.G. Pauwels, L. Chanhome & T. Kunya. 2010. Cyrtodactylus dumnuii (Squamata: Gekkonidae), a new cave-dwelling gecko from Chiang Mai Province, Thailand. Zootaxa 2570: 41-50. Bauer, A.M., O.S.G. Pauwels & L. Chanhome. 2002a. A new species of cave-dwelling Cyrtodactylus (Squamata: Gekkonidae) from Thailand. Natural History Journal of the Chulalongkorn University 2(2): 19-29. Bauer, A.M., O.S.G. Pauwels & M. Sumontha. 2002b. Geographic distribution. Hemidactylus brookii brookii. Herpetological Review 33(4): 322. Bauer, A.M., M. Sumontha, W. Grossmann, O.S.G. Pauwels & G. Vogel. 2004. A new species of Dixonius (Squamata: Gekkonidae) from Kanchanaburi Province, western Thailand. Current Herpetology 23: 17-26.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 151

Bauer, A.M., M. Sumontha & O.S.G. Pauwels. 2003. Two new species of Cyrtodactylus (Reptilia: Squamata: Gekkonidae) from Thailand. Zootaxa 376: 1-18. Bauer, A.M., M. Sumontha & O.S.G. Pauwels. 2008. A new red-eyed Gekko (Reptilia: Gekkonidae) from Kanchanaburi Province, Thailand. Zootaxa 1750: 32-42. Baur, G. 1893. Notes on the classification and of the Testudinata. Proc. Amer. Philos. Soc. 31: 210-225. Bhumpakphan, N., P. Thammaroekrid, P. Thanchai, P. Manee-angam & T. Puangsri. 2003. Siamese crocodile known from the Lum Dom Yai river, Ubon Rachatani. Journal of Wildlife in Thailand 11(1): 148-155. [In Thai with an English abstract]. Boon-Nuang, H. & M. Sumontha. 2008. New record of Oreophis porphyraceus coxi (Schulz & Helfenberger, 1998) (Serpentes: Colubridae) from Phitsanulok Province, Thailand. Ecological Notes 2(2): 22-23. [In Thai with an English abstract] Brown, R.M. 1999. New species of Parachute gecko (Squamata: Gekkonidae: genus Ptychozoon) from northeastern Thailand & central Vietnam. Copeia 1999(4): 990-1001. Chan-ard, T. 1995. Herpetofauna in Peat Swamp forest of Thailand. Journal of Wildlife in Thailand 2(1): 71-79. [In Thai]. Chan-ard, T., M. Cota, S. Makchai & S. Laoteow. 2008. A new species of the genus Pseudocalotes (Squamata: Agamidae) from peninsular Thailand. The Thailand Natural History Museum Journal 3(1): 25-301. Chan-ard, T., M. Cota, S. Makchai & S. Lhaotaew. 2011a. A new species of Larutia (Squamata: Scincidae) found in peninsular Thailand. The Thailand Natural History Museum 5(1): 57- 65. Chan-ard, T. & S. Makchai. 2011a. A new insular species of Cyrtodactylus Gray, 1827 (Squamata, Gekkonidae), from the Surin Islands, Phang-nga Province, southern Thailand. The Thailand Natural History Museum 5(1): 7-15. Chan-ard, T. & S. Makchai. 2011b. An inventory of reptiles and amphibians on the Koh Man Islands and in the Coastal Prasae Estuaries, Rayong Province, southeastern Thailand. The Thailand Natural History Museum 5(1): 25-37. Chan-ard, T. & S. Makchai. 2011c. Catalogue of type specimens of amphibians and reptiles in the Natural History Museum, National Science Museum, Thailand. The Thailand Natural History Museum 5(2): 113-123.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 152

Chan-ard, T., S. Makchai & M. Cota. 2011b. Jarujinia: a new genus of lygosomine lizard form central Thailand, with a description of one new species. The Thailand Natural History Museum 5(1): 17-24. Chan-ard, T., T. Seangthianchai & S. Makchai. 2011c. Monitoring survey of the distribution of herpetofauna in Khao Soi Dao Wildlife Sanctuary, Chantaburi Province, and a note on faunal comparison with the Cardamom Mt. ranges. The Thailand Natural History Museum 5(1): 39-56. Chan-ard, T., W. Grossmann, A. Gumprecht & K.-D. Schulz. 1999. Amphibians and Reptiles of Peninsular Malaysia and Thailand. Bushmater Publications, Wuerselen. 240 p. Chanhome, L. & O.S.G. Pauwels. 2007. List of in Thailand. In: Snake Garden Queen Saovabha Memorial Institute, The Thai Red Cross Society. Pp 66-83. Dokbia Printing Co. Ltd., Bangkok. Chuaynkern, Y. & C. Inthara. 2004. Record of egg-laying by Indo-Chinese sand snake Psammophis condanarus (Merrem, 1820) in captivity. Journal of Wildlife in Thailand 12(1): 218-222. Chuaynkern, Y., C. Inthara & S. Lhaotaew. 2005. Additional record of the Variable skink Mabuya macularia (Blyth, 1853) in Pathum Thani Province, Thailand. The Thailand Natural History Museum Journal 1(1): 87-89. Chuaynkern, Y., J. Nabhitabhata, C. Inthara, M. Kamsook & K. Somsri. 2005. A new species of the Water skink Tropidophorus (Reptilia: Squamata: Scincidae) from northeastern Thailand. The Thailand Natural History Museum Journal 1(2): 165-176. Chuaynkern, Y. & P. Duengkae. 2010. Ophisaurus gracilis. Geographical distribution. Ophisaurus gracilis. Herpetological Review 41(1): 107-108. Chuaynkern, Y., P. Duengkae, S. Maneerat, P. Kanishtachata & S. Karaphan. 2002. List of amphibians and reptiles in eastern Thungyai Naresuan Wildlife Sanctuary. Journal of Wildlife in Thailand 10(1): 71-81. [In Thai with an English abstract]. Chuaynkern, Y. & S. Makchai. 2006. Geographical distribution. Boiga drapizii. Herpetological Review 37(4): 496. Cota, M. 2010. Geographical distribution and natural history notes on Python bivittatus in Thailand. The Thailand Natural History Museum Journal 4(1): 19-28.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 153

Cota, M. & J. Hakim. 2011. Geographical distribution. Hemidactylus parvimaculatus. Herpetological Review 42: 241. Cota, M., P. Geissler, T. Chan-ard & S. Makchai. 2011a. First record of Lygosoma angeli (Smith, 1937) (Squamata: Scincidae) in Thailand with notes of other specimens from Laos. The Thailand Natural History Museum Journal 5(2): 125-132. Cota, M., R.W. Mendyk, T. Chan-ard, S. Makchai & P. Meewattana. 2011b. Range extension, other new records and natural history notes on Lepturophis albofuscus (Duméril, Bibron & Duméril, 1854) (Squamata: Colubridae) in Thailand. The Thailand Natural History Museum Journal 5(2): 151-155. Cox, M.J. 1991. The Snake of Thailand and their Husbandry. Krieger Publishing Company, Malabar. 526 p. Daltry, J.C. & W. Wüster. 2002. A new species of Wolf snake (Serpentes: Colubridae: Lycodon) from the Cardamom Mountains, southwestern Cambodia. Herpetologica 58(4): 498-504. Darevsky, I.S. & L.A. Kupriyanova. 1993. Two new all-female lizard species of the genus Leiolepis Cuvier, 1829 from Thailand and Vietnam (Squamata: Sauria: Uromastycinae). Herpetozoa 6(1-2): 3-20. Das, I. & T.M. Leong. 2004. A new species of Cnemaspis (Sauria: Gekkonidae) from southern Thailand. Current Herpetology 23(2): 63-71. David, P., R.H. Bain, N.Q. Nguyen, N.L. Orlov, G. Vogel, N.T. Vu & T. Ziegler. 2007. A new species of the natricine snake genus Amphiesma from the Indochinese Region (Squamata: Colubridae: Natricinae). Zootaxa 1462: 41-60. David, P., M.J. Cox, O.S.G. Pauwels, L. Chanhome & K. Thirakhupt. 2004. When a book review is not sufficient to say all: an in-depth analysis of a recent book on the of Thailand, with an updated checklist of the snakes of the Kingdom. Natural History Journal of Chulalongkorn University 4(1): 47-80. David, P., N. Vidal & O.S.G. Pauwels. 2001. A morphological study of Stejneger’s pitviper Trimeresurus stejnegeri (Serpentes, Viperidae, Crotalinae), with the description of a new species from Thailand. Russian Journal of Herpetology 8(3): 205-222. David, P., G. Vogel, O.S.G. Pauwels & N. Vidal. 2002. Description of a new species of the genus Trimeresurus from Thailand, related to Trimeresurus stejnegeri Schmidt, 1925 (Serpentes, Crotalidae). Natural History Journal of Chulalongkorn University 2(1): 5-19.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 154

David, P., G. Vogel, M. Sumontha, O.S.G. Pauwels & L. Chanhome. 2004b. Confirmation of the validity of Trimeresurus venustus Vogel, 1991, with an expanded description of Trimeresurus kanburiensis Smith, 1943 (Reptilia: Serpentes: Crotalidae). Russian Journal of Herpetology 10(2): 81-90. David, P., G. Vogel, S.P. Vijayakumar & N. Vidal. 2006. A revision of the Trimeresurus puniceus-Complex (Serpentes: Viperidae: Crotalinae) based on morphological and molecular data. Zootaxa 1293: 1-78. Duengkae, P. 2011. A checklist of the wild mammals in Thailand. Journal of Wildlife in Thailand 18(1): 82-120. [In Thai with an English abstract]. Gray, J.E. 1845. Catalogue of the Specimens of Lizards in the Collection of the British Museum. Trustees of die British Museum/Edward Newman, London. 289 p. Gray, J.E. 1863. Observations on the box tortoises, with the descriptions of three new Asiatic species. Proc. Zool. Soc. London. 1863: 173-179. Grismer, L.L., K.O. Chan, N. Nasir. & M. Sumontha. 2008. A new species of karst dwelling gecko (genus Cnemaspis Strauch 1887) from the border region of Thailand and Peninsular Malaysia. Zootaxa 1875: 51-68. Grismer, L.L., M. Sumontha, M. Cota, L.J. Grismer, P.L. Wood, O.S.G. Pauwels & K. Kunya. 2010. A revision and redescription of the rock gecko Cnemaspis siamensis (Taylor 1925) (Squamata: Gekkonidae) from Peninsular Thailand with descriptions of seven new species. Zootaxa 2576: 1-55. Grossmann, W. & T. Ulber. 1990. Ein neuer Gecko aus Zentral-Thailand: Gekko siamensis sp. nov. (Reptilia: Sauria: Gekkonidae). Sauria 12(3): 9-18. Ha-ngam, P., P. Duengkae & C. Wacharinrat. 2006. A herpetological survey of Trat Agroforestry Research Station, Trat Province. Journal of Wildlife in Thailand 13(1): 190-200. [In Thai with an English abstract]. Hennig, W. 1936. Revision der Gattung Draco (Agamidae). Temminckia, Leiden 1: 153-220. Heyer, W.R. 1972. A new limbless skink (Reptilia: Scincidae) from Thailand with comments on the generic status of the limbless skinks of Southeast Asia. Fieldiana: Zoology 58(10): 109- 129.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 155

Hikida, T., N.L. Orlov, J. Nabhitabhata & H. Ota. 2002. Three new depressed-bodied water skinks of the genus Tropidophorus (Lacertilia: Scincidae) from Thailand and Vietnam. Current Herpetology 21: 9-23. Hikida, T., H. Ota, M. Honda, S.-L. Chen, M. Toda, T. Chan-ard, K. Thirakhupt & J. Nabhitabhata. 1998a. Fauna inventory of snakes in Thailand. In: Evolutionary Studies of Small In Thailand II (1996-1997). M. Matsui (ed.). Pp. 103-115. Graduate School of Human and Environmental Studies, Kyoto University. Hikida, T., H. Ota, M. Honda, S.-L. Chen, M. Toda, T. Chan-ard, K. Thirakhupt & J. Nabhitabhata. 1998b. Lizard fauna of Thailand. In: Evolutionary Studies of Small Animals In Thailand II (1996-1997). M. Matsui (ed.). Pp. 73-102. Graduate School of Human and Environmental Studies, Kyoto University. Hikida, T., H. Ota, M. Honda, T. Chan-ard, K. Thirakhupt & J. Nabhitabhata. 1996a. Fauna surveys of snakes in Thailand. In: Evolutionary Studies of Small Animals Living in Asian Tropics 1994-195. M. Matsui (ed.). Pp. 151-162. Graduate School of Human and Environmental Studies, Kyoto University. Hikida, T., H. Ota, M. Honda, T. Chan-ard, K. Thirakhupt & J. Nabhitabhata. 1996b. Lizard fauna of Thailand. In: Evolutionary Studies of Small Animals Living in Asian Tropics 1994- 195. M. Matsui (ed.). Pp. 125-150. Graduate School of Human and Environmental Studies, Kyoto University. Honda M., J. Nabhitabhata, H. Ota & T. Hikida. 1997. A new species of Dibamus (Squamata: Dibamidae) from Thailand. Raffles Bulletin of Zoolology 45(2): 275-279. ICEM. 2003. Thailand National Report on Protected Areas and Development. Review of Protected Areas and Development in the Lower Mekong River Region. ICEM, Indooroopilly, Queensland, Australia. Inthara, C., Y. Chuaynkern & P. Kumtong. 2004. A recent survey of the herpetofauna in Khao Ang Rui Ni Wildlife Sanctuary. Journal of Wildlife in Thailand 12(1): 177-208. Iverson, J.B. & W.P. McCord. 1997. A new species of Cyclemys (Testudines: Bataguridae). Proc. Biol. Soc. Washington 110(4): 629-639. Jandzik, D. 2009. Oreocryptophis porphraceus coxi (Thai Bamboo Ratsnake). Herpetological Bulletin 107: 41-42.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 156

Karns, D.R., H.K. Voris, T. Chan-ard, J.C. Goodwin & J.C. Murphy. 2000. The spatial ecology of the Rainbow water snake, Enhydris enhydris (Homalopsinae) in southern Thailand. Herpetological Natural History 7(2): 97-115. Karns, D.R., J.C. Murphy & H.K. Voris. 2010. Semi-aquatic snake communities of the Central Plain region of Thailand. Natural History Journal of Chulalongkorn University 10(1): 1- 25. Karns, D.R., J.C. Murphy, H.K. Voris & J.S. Suddeth. 2005. Comparison of semi-aquatic snake communities associated with the Khorat Basin, Thailand. Natural History Journal of Chulalongkorn University 5(2): 73-90. Konlek, K. & V. Lauhachinda. 2008. Species of reptiles in Limestone forest and religious territory, Khaowong Subdistrict, Phra Phutthabat District, Saraburi Province. Journal of Wildlife in Thailand 15(1): 54-67. [In Thai with an English abstract]. Kunya, K., O.S.G. Pauwels, P. Sairum & A. Taokratok. 2011a. Squamata, Gekkonidae, Ptychozoon trinotaterra Brown, 1999: rediscovery in Thailand. Check List 7: 820-822. Kunya, K., S. Kamolnrranath, T. Chan-ard, M. Cota & S. Makchai. 2011b. Additional locality of an endemic legless skink, Isopachys roulei (Angel, 1920) (Squamata, Scincidae) from northeastern Thailand. The Thailand Natural History Museum 5(1): 89-93. Loveridge, A. 1947. Revision of the African lizards of the family Gekkonidae. Bull. Mus. Comp. Zool. Harvard. 98: 1-469. Malhotra, A., R.S. Thorpe, Mrinalini & B.L. Stuart. 2011. Two new species of pitviper of the genus Cryptelytrops Cope 1860 (Squamata: Viperidae: Crotalinae) from Southeast Asia. Zootaxa 2757: 1-23. Manthey, U. & J. Nabhitabhata. 1991. Eine neue Agame, Ptyctolaemus phuwuanensis sp.n. (Sauria: Agamidae), aus Nordost-Thailand. Sauria 13Z4): 3-6. McCord, W.P. & P.C.H. Pritchard. 2003. A review of the Softshell turtles of the genus Chitra, with the description of new taxa from Myanmar and Indonesia (Java). Hamadryad 27(1): 11-56. Meewattana, P. 2010. Note on the variability of the Orange-necked keelback Macropistrodon flaviceps (Duméril, Bibron and Duméril, 1854) in southern Thailand. The Thailand Natural History Museum 4(2): 97-99.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 157

Mertens, R. 1955. Über eine eigenartige Rasse des Tokehs (Gekko gecko) aus Ost-Pakistan. Senckenbergiana Biologica 36:21-24. Murphy, J.C. & H.K. Voris. 2005. A new Thai Enhydris (Serpentes: Colubridae: Homalopsinae). Raffles Bulletin of Zoology 53(1): 143-147. Murphy, J.C., H.K. Voris, B.H.C.K. Murphy, J. Traub & C. Cumberbatch. 2012. The masked water snakes of the genus Homalopsis Kuhl & van Hasselt, 1822 (Squamata, Serpentes, Homalopsidae), with the description of a new species. Zootaxa 3208: 1–26.

Murphy, J.C., H.K. Voris, D.R. Karns, T. Chan-ard & K. Suvunrat. 1999. The ecology of the Water snakes of Ban Tha Hin, Songkhla Province, Thailand. Natural History Bulletin of Siam Society 47: 129-147. Murphy, J.C., T. Chan-ard, S. Mekchai, M. Cota. & H.K. Voris. 2008. The rediscovery of Angel’s stream snake, Paratapinophis praemaxillaris Angel, 1929 (Reptilia: Serpentes: Natricidae). The Natural History Journal of Chulalongkorn University 8(2): 169-183. Nabhitabhata, J. 1987. Anguidae, a new family of lizard for Thailand. Natural History of Siam Society 35: 59-62. Nabhitabhata, J. 2000. Checklist of Amphibians and Reptiles in Thailand. Office of Environmental Policy and Planning, Bangkok. 77 p. Nabhitabhata, J., & T. Chan-ard. 2005. Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok. 234 p. Nabhitabhata, J., T. Chan-ard & Y. Chuaynkern. 2000 “2004”. Checklist of Amphibians and Reptiles in Thailand. Office of Environmental Policy and Planning, Bangkok. 152 p. Nadee, N. 1999. Wildlife resource in Salak Phra Wildlife Sanctuary, Kanchanaburi Province. Journal of Wildlife in Thailand 6(1): 97-124. [In Thai]. Nguyen, O.T., W. Böhme, T.T. Nguyen, K.L. Quyet, K.R. Pahl & Tanja. 2011. Review of the genus Dopasia Gray, 1853 (Squamata: Anguidae) in the Indochina subregion. Zootaxa 2894: 58-68. Niyomwan, P. 2004. Species diversity of herpetofauna in Khao Kra Jome, Amphur Suan Pueng, Ratchaburi Province. Journal of Wildlife in Thailand 12(1): 164-176. [In Thai with an English abstract].

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 158

Niyomwan, P. 2006. Record of Elaphe porphyracea laticincta (Reptilia: Colubridae) in Thailand. Journal of Wildlife in Thailand 13(1): 249-251. [In Thai]. Niyomwan, P., K. Thirakhupt & J. Nabhitabhata. 2001. A key to the blind snakes in Thailand. Natural History Journal of Chulalongkorn University 1(1): 47-52. Nutaphand, W. 1994. Survey of the status of southern salt-water terrapin. Journal of Wildlife in Thailand 1(1): 41-52. [In Thai]. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. 2006. Thailand: National Report on the Implementation of the Convention on Biological Diversity. Ministry of Natural Resources and Environment, Bangkok. Ota, H. & J. Nabhitabhata. 1991. A new species of Gekko (Gekkonidae: Squamata) from Thailand. Copeia 1991(2): 503-509. Ota, H., T. Hikida, M. Matsui, M. Hasegawa, D. Labang & J. Nabhitabhata. 1996. Chromosomal variation in the scincid genus Mabuya and its arboreal relatives (Reptilia: Squamata). In: Evolutionary Studies of Small Animals Living in Asian Tropics 1994-195. M. Matsui (ed.). Pp. 163-171. Graduate School of Human and Environmental Studies, Kyoto University. Panitvong, N., M. Sumontha, K. Konlek & K. Kunya. 2010. Gekko lauhachindai sp. nov., a new cave-dwelling gecko (Reptilia: Gekkonidae) from central Thailand. Zootaxa 26714: 40-52. Pauwels, O.S.G., A.M. Bauer, M. Sumontha & L. Chanhome. 2004. Cyrtodactylus thirakhupti (Squamata: Gekkonidae), a new cave-dwelling gecko from southern Thailand. Zootaxa 772: 1-11. Pauwels, O.S.G., O.-A. Laohawat, P. David, R. Bour, P. Dangsee, C. Puangjit & C. Chimsunchart. 2000. Herpetological investigations in Phang-Nga Province, southern Peninsular Thailand, with a list of reptile species and notes on their biology. Dumerilia 4 (2): 123-154. Pauwels, O.S.G., O.-A. Laohawat, W. Naaktae, C. Puangjit, T. Wisutharom, C. Chimsunchart & P. David. 2002. Reptile and amphibian diversity in Phang-nga Province, southern Thailand. The Natural History Journal of Chulalongkorn University 2(1): 25-30. Pauwels, O.S.G. & P. David. 2005. Book review: Checklist of amphibians and reptiles in Thailand, by Jarujin Nabhitabhata, Tanya Chan-ard, and Yodchaiy Chuaynkern. Herpetological Review 36(3): 341-343. Pauwels, O.S.G., P. David, C. Chimsunchart & K. Thirakhupt. 2003. Reptiles of Phetchaburi Province, western Thailand: a list of species, with natural history notes, anda discussion on

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 159

the biogeography at the Isthmus of Kra. The Natural History Journal of Chulalongkorn University 3(1): 23-53. Pauwels, O.S.G., P. David & T. Chan-ard. 2006a. Dryocalamus davisonii tungsongensis Nutphand, 1986 and Lycodon suratensis Nutphand, 1986 (Serpentes: Colubridae): translation of their original description and taxonomic status. Hamadryad 30(1): 114-120. Pauwels, O.S.G., P. David, L. Chanhome, G. Vogel, T. Chan-ard & N.L. Orlov. 2005. On the status of Boiga ocellata Kroon, 1973, with the description of a neotype for Boiga siamensis Nootpand, 1971 (Serpentes, Colubridae). Russian Journal of Herpetology 12(2): 102-106. Pauwels, O.S.G., M. Sumontha, P. David, T. Chan-ard & G. Vogel. 2005b. First record of Lycodon cardamomensis from Thailand, with a key to Thai lycodon (Serpentes: Colubridae). Natural History Bulletin of Siam Society 53(1): 79-86. Pauwels, O.S.G., K. Kunya, P. David, S. Waengsothorn & M. Sumontha. 2009a. On the occurrence of Amphiesma khasiense (Serpentes: Natricinae) in Thailand. Hamadryad 34(1): 75-79. Pauwels, O.S.G., T. Chan-ard, P. Wanchai, B. Kheowyoo & A.M. Bauer. 2009b. Reptiles diversity of Phetchaburi Province, western Thailand: an update. Hamadryad 34(1): 9-21. Pauwels, O.S.G., V. Wallach, P. David & L. Chanhome. 2002. A new species of Oligodon Fitzinger, 1826 (Serpentes, Colubridae) from southern peninsular Thailand. Natural History Journal of Chulalongkorn University 2(2): 7-18. Pipatsawasdikul, K., H.K. Voris & K. Thirakhupt. 2010. Distribution of the Big-headed turtle (Platysternon megacephalum, Gray 1831) in Thailand. Zoological Studies 49:640-650. Pratumthong, D., S. Thunhikorn & P. Duengkae. 2011. A checklist of the birds in Thailand. Journal of Wildlife in Thailand 18(1): 152-319. [In Thai with an English abstract]. Prayurasiddhi, T. & J. Kongsangchai. 1994. Vertebrate species in the mangrove forests of Thailand (excluding fish). Journal of Wildlife in Thailand 1(1): 106-136. [In Thai with an English abstract]. Rao, D.Q. & D.T. YANG. 1998. A new species of Sinonatrix (Serpentes: Colubridae) of China with preliminary survey on Sinonatrix. Russian Journal of Herpetology 5 (1): 70-73. Satrawaha, R. & S. Balakanich. 1994. Parthenogenesis in Leiolepis belliana belliana (Gray) by chromosome number evaluation. Journal of Wildlife in Thailand 1(1): 53-59. [In Thai with an English abstract].

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 160

Siler, C.D., A.C. Diesmos, A.C. Alcala & R.M. Brown. 2011. Phylogeny of Philippine slender skinks (Scincidae: Brachymeles) reveals underestimated species diversity, complex biogeographical relationships, and cryptic patterns of lineage diversification. Molecular Phylogenetics and Evolution 59(1): 53-65. Smith, M.A. 1931. The Fauna of British India Including Ceylon and Burma. Reptilia and Amphibia. Volume I.−Loricata, Testudines. Taylor and Francis, London. 185 p. Smith, M.A. 1935. The Fauna of British India, Including Ceylon and Burma. Reptilia and Amphibia. Volume II. Sauria. Taylor and Francis, London. 440 p. Soderberg, P. 1967. Notes on a collection of herpetological specimens recently donated to the centre for Thai National Reference Collections. Natural History Bulletin of Siam Society 22(1-2): 151-166. Soisook, P. 2011. A checklist of bats (Mammalia: Chiroptera) in Thailand. Journal of Wildlife in Thailand 18(1): 121-151. [In Thai with an English abstract]. Stuart, B.L. & Y. Chuaynkern. 2007. A new Opisthotropis (Serpentes: Colubridae: Natricinae) from northeastern Thailand. Current Herpetology 26(1): 35-40. Sukmasruang, R., P. Duengkae, N. Bhumpakphan, D. Pratumtong & L. Charakpunkdee. 2007. Wildlife in the Suan Chitralada, Suan Dusit Palace. Journal of Wildlife in Thailand 14(1): 1-29. [In Thai with an English abstract]. Sukmasuang, R. & K. Boonchai. 1995. The wildlife survey on island in the reservoir of Ratchaprapa Dam Changwat Surat Thani. Journal of Wildlife in Thailand. 4(2): 83-90. Sukprakarn, N. & J. Nabhitabhata. 2003. Species diversity and habitats of amphibians and reptiles at Namtok Phliu National Park, Chanthaburi Province. Journal of Wildlife in Thailand 10(1): 175-193. [In Thai with an English abstract]. Sumontha, M. & K. Kunya. 2008. New distributional records for Lycodon cardamomensis Daltry & Wuster, 2002 (Ophidia: Colubridae) in Chon Buri Province, Thailand. Ecological Notes 2(2): 20-21. [In Thai with an English abstract] Sumontha, M., K. Kunya, O.S.G. Pauwels, A. Nitikul & S. Punnadee. 2011. Trimeresurus (Popeia) phuketensis, a new Pitviper (Squamata: Viperidae) from Phuket Island, Southwestern Thailand. Russian Journal of Herpetology 18 (3): 11-17.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 161

Sumontha, M., N. Panitvong & G. Deein. 2010. Cyrtodactylus auribalteatus (Squamata: Gekkonidae), a new cave-dwelling gecko from Phitsanulok Province, Thailand. Zootaxa 2370: 53-64. Sumontha, M., O.S.G. Pauwels, K. Kunya, A. Nitikul, P. Samphanthamit & L.L. Grismer. 2012a. A new forest-dwelling gecko from Phuket Island, southern Thailand, related to Cyrtodactylus macrotuberculatus (Squamata: Gekkonidae). Zootaxa 3522: 61-72. Sumontha, M., O.S.G. Pauwels, K. Kunya, C. Limlikhitaksorn, S. Ruksue, A. Taokratok, M. Ansermet & L. Chanhome. 2012b. A new species of parachute gecko (Squamata: Gekkonidae: genus Ptychozoon) from Kaeng Krachan National Park, western Thailand. Zootaxa 3513: 68-78. Suttanon, N. & V. Lauhachinda. 2008. Reptile species in Dry evergreen and Dry dipterocarp forests of Sakaerat Environmental Research Station, Nakhon Ratchasima Province. Journal of Wildlife in Thailand 15(1): 37-48. [In Thai with an English abstract]. Suvatti, C. 1950. Fauna of Thailand. Department of Fisheries, Bangkok. Taylor, E.H. 1962. New Oriental reptiles. University of Kansas Science Bulletin 43(7): 209-263. Taylor, E.H. 1963. The lizards of Thailand. University of Kansas Science Bulletin 44: 687-1077. Taylor, E.H. 1965. The serpents of Thailand and adjacent water. University of Kansas Science Bulletin 45(9): 609-1096. Taylor, E.H. 1970. The turtles and crocodiles of Thailand and adjacent water with a synoptic herpetological bibliography. University of Kansas Science Bulletin 49(3): 89-179. Taylor, E.H. & R.E. Elbel. 1958. Contribution to the herpetology of Thailand. University of Kansas Science Bulletin 38: 1033-1189. Thirakhupt, K. & P.P. van Dijk. 1994. Species diversity and conservation of turtles of western Thailand! Natural History Bulletin of Siam Society 42: 207-259. Tillack, F., U. Scheidt & T. Ihle. 2006. First record of Blakeway’s mountain snake, Plagiopholis blakewayi Boulenger, 1893, from Thailand, with remarks on the distribution of Plagiopholis nuchalis (Boulenger, 1893) (Reptilia: Squamta: Colubridae, Pseudoxenodontinae). Veroffentlichungen Naturkundemuseum Erfurt 25(s): 181-186. Trutnau, L. 1981. Schlangen im Terrarium. Bd. 2. Stuttgart (Eugen Ulmer), 200 S. Uetz, P. (ed.). 2012. The Reptile Database, http://www.reptile-database.org. Accessed in 2012.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 162

Ulber, T. 1993. Bemerkungen ubew cyrtodactylone geckos aus Thailand nebst Beschreibungen von zwei neuen Arten (Reptilia: Gekkonidae). Mitt. Zool. Mus. Berl. 69(2): 187-200. Vidal, N., J. Marin, M. Morini, S. Donnellan, W.R. Branch, R. Thomas & Migu. 2010. Blindsnake evolutionary tree reveals long history on Gondwan. Biol. Lett. 6: 558-561. Vogel, G., P. David & O.S.G. Pauwels. 2004. A review of morphological variation in Trimeresurus popeiorum (Serpentes: Viperidae: Crotalinae), with the description of two new species. Zootaxa 727: 1-63. Vogel, G., P. David, O.S.G. Pauwels, M. Sumontha, G. Norval, R. Hendrix, N.T. Vu & T. Ziegler. 2009. A revision of Lycodon ruhstrati (Fischer 1886) auctorum (Squamata Colubridae), with the description of a new species from Thailand and a new subspecies from the Asian mainland. Tropical Zoology 22: 131-182 Vogel, G. & van Rooijen, J. 2007. A new species of Dendrelaphis (Serpentes: Colubridae) from Southeast Asia. Zootaxa 1394: 25-45. Vogel, G., J. van Rooijen & S. Hauser. 2012. A new species of Dendrelaphis Boulenger, 1890 (Squamata: Colubridae) from Thailand and Myanmar. Zootaxa 3392: 35-46. Wallach, V. 2001. Typhlops roxanae, a new species of Thai blindsnake from the T. diardi species group, with a synopsis of the Typhlopidae of Thailand (Serpentes: Scolecophidia). Raffles Bulletin of Zoology 49(1): 39-49. Wood, P.L., L.L. Grismer, J.L. Grismer, T. Neang, T. Chav & J. Holden. 2010. A new cryptic species of Acanthosaura Gray, 1831 (Squamata: Agamidae) from Thailand and Cambodia. Zootaxa 2488: 22-38. Yamasaki, T., T. Hikida, J. Nabhitabhata, S. Panha & H. Ota. 2001. Geographic variations in the Common skink Sphenomorphus maculatus (Blyth, 1853) in Thailand, with re-validation of Lygosoma mitanense Annandale, 1905 as its subspecies. The Natural History Journal of Chulalongkorn University 1(1): 23-31.

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012