วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 1-10 (2563)

Thai J. For. 39 (1) : 1-10 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 1-10 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

สังคมแมลงผิวดินในพื้นที่ฟื้นฟูป่าเหมืองหินปูน จังหวัดสระบุรี Ground Dwelling Community in Limestone Mining Rehabilitation Area, Saraburi Province

เอนกพงศ์ สีเขียว1,2 Anekphong Seekhiew1,2 วัฒนชัย ตาเสน1* Wattanachai Tasen1* สคาร ทีจันทึก1 Sakhan Teejuntuk1 1คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, 2สำ�นักป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า กรมป่าไม้ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Forest Protection and Fire Control Bureau, Royal Forest Department, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, E-mail: [email protected] รับต้นฉบับ 19 สิงหาคม 2562 รับแก้ไข 1 พฤศจิกายน 2562 รับลงพิมพ์ 6 พฤศจิกายน 2562

ABSTRACT The diversity of ground dwelling insect community was carried out in a limestone mining rehabilitation area, in Saraburi province. The study sites were classified into five types which included dry evergreen forest, mixed deciduous forest, reforestation carried out for more than 10 years, reforestation less than 10 years, and limestone mining area. Pitfall-traps and Winkler extractors were used to collect ground dwelling , during May 2015 to April 2016. The findings revealed that the total number of ground dwelling insects could be classified 191 species, belonging to 48 families and 9 orders. The highest number of insect species were Coleoptera (74 species), followed by , and Hemiptera (57 and 25 species, respectively). The dry evergreen forest had the highest number of species diversity index compared to the area under reforestation for more than 10 years, mixed deciduous forest, reforestation less than 10 years, and limestone mining area (2.97, 2.80, 2.75, 2.55, and 1.75, respectively). As for the similarity index, it was found that the dry evergreen forest area was the most similar to area under more than 10 years of reforestation and mixed deciduous forest (72% and 70%, respectively), but the dry evergreen forest area was the least similar to the limestone mining area at only around 43%. This shows that the rehabilitation influenced the recovery of the insect community. Keywords: Rehabilitation, Ground dwelling insect, Insect diversity, Limestone mining 2 Thai J. For. 39 (1) : 1-10 (2020)

บทคัดย่อ การศึกษาความหลากชนิดและสังคมของแมลงผิวดิน ได้ทำ�การสำ�รวจในพื้นที่เหมืองหินปูน จังหวัดสระบุรี เพื่อศึกษาผลของการฟื้นฟูป่าต่อการกลับคืนของสังคมแมลงผิวดิน โดยแบ่งพื้นที่ศึกษาออกเป็น 5 พื้นที่ ได้แก่ ป่า ดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี พื้นที่ฟื้นฟูน้อยกว่า 10 ปี และพื้นที่ทำ�เหมือง ทำ�การเก็บตัวอย่าง แมลงผิวดินโดยใช้กับดักหลุม (pitfall-trap) และกับดักถุงผ้า (Winkler extractor) ทำ�การเก็บตัวอย่างทุกเดือน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 ผลการศึกษาพบแมลงจำ�นวนทั้งสิ้น 192 ชนิด 48 วงศ์ 9 อันดับ ซึ่งด้วงในอันดับ Coleoptera พบจำ�นวนชนิดมากที่สุด 74 ชนิด รองลงมาเป็นอันดับ Hymenoptera และอันดับ Hemiptera จำ�นวน 57 และ 25 ชนิด ตามลำ�ดับ ส่วนค่าดัชนีความหลากหลาย พบว่า ในพื้นที่ป่าดิบแล้ง มีค่าดัชนีของแมลงผิวดินมากที่สุด รองลงมาเป็นพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี ป่าเบญจพรรณ พื้นที่ฟื้นฟูน้อยกว่า 10 ปี และพื้นที่ทำ�เหมือง มีค่าเท่ากับ 2.97, 2.80, 2.75, 2.55 และ 1.75 ตามลำ�ดับ สำ�หรับค่าดัชนีความคล้ายคลึง พบว่า บริเวณพื้นที่ป่าดิบแล้งกับพื้นที่ป่าฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี และพื้นที่ป่าเบญจพรรณมีค่าความคล้ายคลึงในระดับมากถึง ร้อยละ 72 และร้อยละ 70 ส่วนพื้นที่ป่าดิบแล้งกับพื้นที่ทำ�เหมืองมีค่าความคล้ายคลึงน้อยที่สุดเพียงร้อยละ 43 แสดง ให้เห็นว่าการฟื้นฟูป่ามีผลต่อการกลับคืนของสังคมแมลงผิวดินได้ดี คำ�สำ�คัญ: การฟื้นฟูป่า แมลงผิวดิน ความหลากชนิดของแมลง เหมืองหินปูน คำ�นำ� ต่อเนื่องจะส่งผลต่อระบบนิเวศและชนิดพันธุ์ต่างๆ โดย เฉพาะแมลง (insects) ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีขนาดเล็ก สามารถ การทำ�เหมืองแร่เป็นส่วนสำ�คัญในการช่วย ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมได้อย่างรวดเร็ว ไวต่อการ ให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการลงทุนเพื่อพัฒนา ถูกรบกวนถิ่นที่อยู่อาศัย และมีความหลากหลายมาก ประเทศ (Maxwell Stamp PLC, 2015) นอกเหนือจาก ที่สุดของระบบนิเวศ (Wiwatwittaya, 1996; Subinprasert, ความเจริญที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดผลกระทบต่อ 2003; Andrés and Mateos, 2006) แมลงส่วนใหญ่ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณใกล้เคียง สามารถสร้างประโยชน์ต่อมนุษย์ในหลายๆ ด้าน รวม อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ (Noitubtim et al., 2012) การ ไปถึงบทบาทสำ�คัญทางระบบนิเวศ (Subinprasert, ฟื้นฟู (rehabilitation) ที่ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ความ 2003) โดยเฉพาะกลุ่มแมลงที่อาศัยอยู่บริเวณผิวดิน ซึ่ง หลากหลายทางชีวภาพ ถือเป็นหนึ่งในกระบวนการที่ ส่วนใหญ่มีบทบาทเป็นผู้ย่อยสลาย ช่วยในกระบวนการ สำ�คัญของการทำ�เหมือง เพื่อสร้างสมดุลของการพัฒนา กลับคืนของสารอาหารในดินให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เศรษฐกิจ สังคม รวมถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความ (Mound and Waloff, 1978) การลดลงของประชากร หลากหลายทางชีวภาพ (Mineral Resources and แมลง ไม่เพียงเป็นข้อบ่งชี้ถึงความอุดมสมบูรณ์ของระบบ Mining Department, 2017) ซึ่งหากการใช้ประโยชน์ นิเวศที่ลดลง แต่เป็นขั้นตอนแรกสู่การสูญพันธุ์ของ ดังกล่าวปราศจากการฟื้นฟู ระบบนิเวศจะสูญเสียชนิด ประชากรแมลงอีกด้วย (Diamond, 1989) พันธุ์จำ�นวนมากในเวลาอันรวดเร็ว (Sánchez-Bayo แมลงหลายชนิดมีบทบาทหน้าที่ที่สําคัญที่ and Wyckhuys, 2019) สิ่งมีชีวิตบางชนิดที่มีปฏิสัมพันธ์ เรียกว่า “ชนิดพันธุ์กากับการํ หรือ keystone species” กับชนิดอื่นจะได้รับผลกระทบไปด้วยเมื่อสิ่งมีชีวิต ภายในระบบนิเวศหากเกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ชนิดใดชนิดหนึ่งสูญหายไป (Pozsgai and Littlewood, หรือปัจจัยต่างๆ แมลงเหล่านี้จะได้รับผลกระทบด้วย 2014) การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอย่าง จากการที่แมลงมีบทบาทหน้าที่สําคัญนี้ จึงสามารถใช้ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 1-10 (2563) 3

เป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพของสิ่งแวดล้อมได้อย่างดี (Forest เซนติเมตร เก็บซากพืชและผิวดินลึก 3-5 เซนติเมตร ใส่ and Plant Conservation Research Office, 2009) ถุงพลาสติก ทำ�การร่อนใส่ลงในถุงตาข่ายแล้วนำ�ไปแขวน การศึกษาด้านสังคมแมลงผิวดินจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจและ ภายในถุงกับดักถุงผ้า แขวนไว้จำ�นวน 3 วัน หรือ 72 ชั่วโมง ควรให้ความสำ�คัญ ดังนั้น การศึกษาในครั้งนี้ทำ�ให้ทราบถึง จากนั้นนำ�ตัวอย่างแมลงที่ได้มาจำ�แนกความแตกต่างทาง ความหลากชนิดและผลของการฟื้นฟูป่าต่อการกลับคืน ลักษณะสัณฐานวิทยาภายนอก (morphospecies) ใน ของสังคมแมลงผิวดินในพื้นที่เหมืองหินปูน จังหวัดสระบุรี ห้องปฏิบัติการทางกีฏวิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ และสามารถใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และแมลงในกลุ่มมดเทียบ หลังการฟื้นฟูป่าให้มีประสิทธิภาพต่อไป ตัวอย่างจากพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิพิธภัณฑ์ อุปกรณ์และวิธีการ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ในการศึกษาแมลงผิวดินในพื้นที่เหมืองหินปูน นำ�ข้อมูลแมลงที่ได้มาคำ�นวณหาค่าการปรากฏ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) จังหวัดสระบุรี (occurrence) เพื่อนำ�มาแบ่งระดับการพบ แบ่งออกเป็น ซึ่งมีพื้นที่ประทานบัตรครอบคลุมป่าธรรมชาติและพื้นที่ พบบ่อย พบปานกลาง พบน้อย โดยพิจารณาจากการ ที่มีกิจกรรมในการทำ�เหมืองปูน สามารถแบ่งพื้นที่ศึกษา ปรากฏในแต่ละครั้งในการสำ�รวจ (Krebs, 1972) ค่า ออกเป็น 5 พื้นที่ ได้แก่ ป่าดิบแล้ง (dry evergreen ดัชนีความหลากหลาย (Shannon-Wiener’s index; forest: DEF) ป่าเบญจพรรณ (mixed deciduous H’) โดยใช้สูตรของ Shannon-Wiener’s Index ค่าดัชนี forest: MDF) พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี (reforestation ความสมํ่าเสมอ (evenness index) วัดจากค่าการ more than 10 years: RF>10Yrs) พื้นที่ฟื้นฟูน้อยกว่า กระจายชนิดพันธุ์ในสังคม ค่าความคล้ายคลึง (similarity 10 ปี (reforestation less than 10 years: RF<10Yrs) index, IS) โดยสมการของ Sorensen (Krebs, 1972) และพื้นที่ทำ�เหมือง (limestone mining area: LMA) คำ�นวณข้อมูลการปรากฏและไม่ปรากฏของแมลงผิวดิน ทำ�การเก็บตัวอย่างแมลงผิวดินโดยใช้ 2 วิธีการ คือ ในแต่ละพื้นที่ และทำ�การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย กับดักหลุม (pitfall-trap) ใช้สำ�หรับศึกษาแมลงผิวดิน ทางสถิติโดยใช้ independent samples t-test เพื่อ วิธีการโดยทำ�การขุดหลุม และใช้แก้วพลาสติกขนาด ทดสอบความแตกต่างช่วงฤดูกาลของค่าดัชนีความหลาก เส้นผ่านศูนย์กลาง 9 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตร วาง หลาย และค่าดัชนีความสมํ่าเสมอด้วยโปรแกรมสำ�เร็จรูป ลงในหลุมให้ขอบถ้วยอยู่ในระดับผิวดิน หลังจากนั้นใส่ สารละลาย (แอลกอฮอล์ร้อยละ 50 นํ้าร้อยละ 45 และ ผลและวิจารณ์ นํ้ายาล้างจานร้อยละ 5) ลงไปในถ้วยประมาณ 1 ใน 3 ของปริมาตรถ้วย แต่ละพื้นที่วางกับดักเป็นแนวเส้นตรง ความหลากชนิดและความมากมายของแมลง จำ�นวน 16 จุด แต่ละจุดห่างกันอย่างน้อย 10 เมตร วาง ผิวดิน กับดักทิ้งไว้ 24 ชั่วโมง หลังจากนั้นเก็บตัวอย่างแมลงใส่ การศึกษาแมลงผิวดินในพื้นที่เหมืองหินปูน ในขวดที่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ 70 พร้อมทั้งบันทึกข้อมูล จังหวัดสระบุรี พบแมลงจำ�นวนทั้งสิ้น 191 ชนิด 48 วงศ์ นำ�มาจำ�แนกในห้องปฏิบัติการ และกับดักถุงผ้า (Winkler จาก 9 อันดับ ซึ่งแมลงในอันดับ Coleoptera (ด้วง) พบ extractor) เป็นกับดักที่ใช้การเก็บตัวอย่างแมลงจาก จำ�นวนชนิดมากที่สุด 74 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 38.54 ซากพืชและผิวดิน (Forest and Plant Conservation ของชนิดแมลงที่พบทั้งหมด รองลงมาได้แก่ อันดับ Research Office, 2009) ในแต่ละพื้นที่ทำ�การวางแปลง Hymenoptera (มด) และอันดับ Hemiptera (มวน เป็นแนวเส้นตรงจำ�นวน 10 แปลงย่อยๆ ขนาด 50x50 และเพลี้ย) จำ�นวน 57 และ 25 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 4 Thai J. For. 39 (1) : 1-10 (2020)

29.69 และ 13.02 ของจำ�นวนชนิดที่พบทั้งหมด ตาม มากที่สุด ซึ่งทั้งหมดเป็นมดอยู่ในวงศ์ Formicidae โดย ลำ�ดับ (Figure 1) ในด้านจำ�นวนตัวของแมลงที่พบใน ชนิดที่พบจำ�นวนตัวมากที่สุด ได้แก่ มดง่าม (Carebara พื้นที่ทั้งหมด พบว่า แมลงในอันดับ Hymenoptera มี diversa) มดดำ� (Paratrechina longicornis) รอง จำ�นวนตัวมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 81.08 ของจำ�นวน ลงมาเป็น มดดำ�ทุ่ง (Iridomyrmex anceps) และ ตัวที่พบทั้งหมด รองลงมาได้แก่ อันดับ Collembola มดนํ้าผึ้ง (Anoplolepis gracilipes) ตามลำ�ดับ การพบ และ Orthoptera คิดเป็นร้อยละ 11.52 และ 2.26 ของ จำ�นวนตัวที่พบทั้งหมด ตามลำ�ดับ ส่วนแมลงในอันดับ พวกมดมากกว่าแมลงชนิดอื่นอาจเนื่องจากมดเป็นแมลง Dermaptera และ Thysanura พบว่า มีจำ�นวนตัวน้อย สังคม และบางชนิดมักพบอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.02 ของจำ�นวนตัวที่พบทั้งหมด สามารถปรับตัวได้ดี อยู่ได้ในทุกสภาพพื้นที่ (Jaitrong,4

ในการศึกษาครั้งนี้พบจำ�นวนตัวในอันดับ Hymenoptera 2011) 1 90.00 81.08 80.00 70.00

60.00 50.00 38.54

Percentage 40.00 29.69 30.00 20.00 11.52 13.02 10.94 10.00 3.65 1.56 3.68 1.56 2.26 0.35 0.52 0.02 0.54 0.53 0.52 0.02 0.00 Order Blattodea Collembola Coleoptera Dermaptera Hemiptera Hymenoptera Isoptera Orthoptera Thysanura 2 species individuals 3 Figure 1 Percentage of insect species and individuals in each order. 4 Figure 1 Percentage of insect species and individuals in each order. 5 เมื่อนำ�ข้อมูลมาเปรียบเทียบในแต่ละพื้นที่ ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 29.41 ของจำ�นวนตัวที่พบทั้งหมด 6 ศึกษา พบว่าเมื่อนําข�อมูลมาเปรียบเทียบในแต�ละพื้นที่ศึกษา ในบริเวณป่าเบญจพรรณพบจำ�นวนชนิด พ บ ว� า ในบริเวณ(Figureป�าเบญจพรรณพบจํานวนชนิดมากที่สุด 3) รองลงมาเป็นบริเวณป่าเบญจพรรณจํานวน 121 พื้นที่ ชนิด 7 มากที่สุดจำ(Table 1) รองลงมาเป�น�นวน 121 บริเวณชนิด ป�าดิบแล�ง(Table 1) พื้นที่ฟ��นฟู รองลงมาเป็นมากกว�า 10 ป� แ ลฟื้นฟูน้อยกว่า ะ พื้นที่ฟ��นฟูน�อยกว�า 10 ปี 10 ป่าดิบแล้ง ป� จํานวน และพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า119, 113 และ 105 ชนิด 8 บริเวณป่าดิบแล้งตามลําดับ ส�วนพื้นที่ทําเหมือง พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่าพบจํานวนชนิดน�อยที่สุด 10 ปี และพื้นที่ เพียง 65 ชนิด10 ในป�าธรรมชาติมัก ปี คิดเป็นร้อยละมีลักษณะโครงสร�างที่เหมาะสมต�อการ 20.99, 20.80, 16.01 และ 12.79 9 ฟื้นฟูน้อยกว่าดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและ 10 ปี จำ�นวนสัตว�ป�าค�อนข�างสูง 119, 113 และ (Marod 105 and ชนิด Kutintara, ของจำ2009�) นวนตัวที่พบทั้งหมดจากการสังเกตในพื้นที่ป�าธรรมชาติและป�าฟ��นฟู ตามลำ�ดับ ในส่วนของแมลงมีเรือน 10 ตามลำยอดไม�� ดับรวมทั้ง ส่วนพื้นที่ทำมีพืชล�มลุกและ�เหมืองพบจำห ญ� า ปกคลุม�นวนชนิดน้อยที่สุดบริเวณผิวดิน ทําให�อาจเป�น ที่พบจำแ ห ล� ง อาศัยและ�นวนตัวมากที่สุดในพื้นที่ทำอาหารของแมลงต�างๆ �ได�มากกว�าเหมือง พบว่า ในด�านของ เป็น 11 เพียงจํานวนตัวของชนิดแมลง 65 ชนิด ในป่าธรรมชาติมักมีลักษณะโครงสร้างที่ที่พบในแต�ละพื้นที่นั้น พบว�า ในพื้นที่ทําเหมืองมดดำพบจํานวนตัวของแมลงมากที่สุด�ทุ่ง แมลงหางดีด (Paronellidae คิดเป�นร�อ unknowยละ 29.41 sp.1) ของ 12 เหมาะสมต่อการดำจํานวนตัวที่พบทั้งหมด� (รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและสัตว์ป่าFigure 3) รองลงมาเป�นบริเวณป�าเบญจพรรณ พื้นที่ฟ��นฟูมดดำ� และมดคันไฟน�อยกว�า 10 ป� ป�าดิบแล�ง(Solenopsis และพื้นที่ฟ��นฟู geminataมากกว�า) ซึ่ง10 13 ค่อนข้างสูงป� คิดเป�นร�อยละ (Marod 20.99, and 20.80, Kutintara, 16.01 และ 2009) 12.79 ของจํานวนตัวที่พบทั้งหมดตามลําดับจากการ แมลงชนิดดังกล่าวเป็นชนิดที่อาศัยทั่วไปตามพื้นที่ ในส�วนของแมลงที่พบจํานวนตัวมากที่สุดใน 14 สังเกตในพื้นที่ป่าธรรมชาติและป่าฟื้นฟูมีเรือนยอดไม้พื้นที่ทําเหมือง พ บ ว� า เ ป� น มดดําท ุ�ง แมลงหางดีด (Paronellidae unknowเปิดโล่งเป็นหลัก sp.1) มดดํา (P . หรือพื้นที่ที่ถูกรบกวนมากกว่าพื้นที่longicornis) และมดคันไฟ (Solenopsis 15 รวมทั้งมีพืชล้มลุกและหญ้าปกคลุมบริเวณผิวดินgeminata) ซึ่งแมลงชนิดดังกล�าวเป�นชนิดที่อาศัยทั่วไปตามพื้นที่เป�ดโล�งเป�นหลัก ทำ�ให้ ป่าธรรมชาติ หรือพื้นที่ที่ถูกรบกวนมากกว�าพื้นที่ป�าธรรมชาติ โดยเฉพาะตามพื้นดินและพื้นที่ที่ไม่มีสิ่ง 16 อาจเป็นแหล่งอาศัยและอาหารของแมลงต่างๆโดยเฉพาะตามพื้นดินและพื้นที่ที่ไม�มีสิ่งปกคลุม ทําให�แมลง ได้มากกว่ากลุ�มนี้เข�ามาอาศัยและ ปกคลุม ทำหาอาหารใน�ให้แมลงกลุ่มนี้เข้ามาอาศัยและหาอาหารในพื้นที่ทําเหมืองค�อนข�างมาก (Eisenbeis 17 ในด้านของจำand Wichard,� นวนตัวของชนิดแมลงที่พบในแต่ละพื้นที่1987; Wiwatwitaya, 2006; Jaitrong, 2011) พื้นที่ทำ�เหมืองค่อนข้างมาก (Eisenbeis and Wichard, 18 นั้น พบว่า ในพื้นที่ทำ�เหมืองพบจำ�นวนตัวของแมลงมาก 1987; Wiwatwitaya, 2006; Jaitrong, 2011) 19 Table 1 Number of insect species in each order in limestone mining area, Saraburi province. Number of insect species in each order Order Total DEF MDF RF>10Yrs RF<10Yrs LMA Blattodea 5 5 5 3 7 Collembola 2 2 3 3 3 3 Coleoptera 47 39 48 40 27 74 Dermaptera 1 1 1 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 1-10 (2563) 5

Table 1 Number of insect species in each order in limestone mining area, Saraburi province. Number of insect species in each order Order Total DEF MDF RF>10Yrs RF<10Yrs LMA Blattodea 5 5 5 3 7 Collembola 2 2 3 3 3 3 5 Coleoptera 47 39 48 40 27 74 HemipteraDermaptera 8 1 13 1 8 14 9 1 25 HymenopteraHemiptera 43 8 44 13 38 8 33 14 18 9 25 56 Isoptera Hymenoptera3 43 1 44 2 38 2 33 18 56 3 OrthopteraIsoptera 9 3 15 1 9 2 10 2 8 3 21 ThysanuraOrthoptera 9 1 15 9 10 8 21 1 Total Thysanura 119 121 1 113 105 65 1 191 Total 119 121 113 105 65 191 1 DEF, 16.01% LMA, 29.41%

MDF, 20.99%

RF<10Yrs, 20.80% RF>10Yrs, 12.79% 2 3 Figure 2 Percentage of individual insect in each area in limestone mining area, Saraburi province. 4 Figure 2 Percentage of individual insect in each area in limestone mining area, Saraburi province. การกระจายและการปรากฏของชนิดแมลง ท้ายดำ� (Monomorium floricola) มดเหม็น (Tapinoma 5 การกระจายของแมลงผิวดิน พบว่า ส่วนใหญ่ melanocephalum) มดไอ้ชื่น (Odontoponera 6 การกระจายและการกระจายอยู่ในระดับตการปรากฏของชนิดแมลงํ่าถึงปานกลาง พบแมลงเพียง denticulata) มดโล่ห์ ( bicolor) มดริ้ว 7 การกระจายของแมลงผิวดิน29 ชนิด ใน 5 อันดับ (อันดับ Collembola,พ บ ว� า ส�วนใหญ�การกระจายอยู�ในระดับต่ําถึงปานกลาง Coleoptera, (Tetramorium smithi พบแมลงเพียง) มดคอยาว (Aphaenogaster 29 ชนิด ใน 5 อันดับ 8 (อันดับ CollembolaHemiptera,, Coleoptera Hymenoptera, Hemiptera และ Orthoptera). Hymenoptera พบ และ Orthopterasp.1) และมดเกล็ดเรียบ) พบกระจายได�ทุกพื้นที่ (Cardiocondyla ในจํานวนนี้พบเป�นพวก sp.1) 9 มดถึง 13 ชนิดกระจายได้ทุกพื้นที่ ได�แก� มดคันไฟ มดดําในจำ�นวนนี้พบเป็นพวกมดถึง มดน้ําผึ้ง มดคัน ( 13 megacephalaสอดคล้องกับ) มดคันแคระ Senthong (Pheidole (2003) และ parva Pannavalee) มดละเอียดบ�าน 10 (Monomoriumชนิด ได้แก่pharaonis มดคันไฟ) มดละเอียดท�ายดํา มดดำ� มดนํ้าผึ้ง มดคัน (Monomorium (Pheidole floricolaet )al มดเหม็น. (2016) (Tapinomaที่พบว่า มดดำ melanocephalum� มดคันไฟ สามารถพบ) มดไอ�ชื่น 11 (Odontoponeramegacephala denticulata) มดคันแคระ) มดโล�ห� ((MeranoplusPheidole parva bicolor) มด) มดริ้ว (กระจายได้หลายพื้นที่Tetramorium smithi จากการวิเคราะห์ผลการปรากฏ) มดคอยาว (Aphaenogaster sp.1) 12 และมดเกล็ดเรียบละเอียดบ้าน (Cardiocondyla (Monomorium sp.1 pharaonis) สอดค ล� อ ง) กมดละเอียด ับ Senthong (2003ของชนิดแมลงผิวดิน) และ Pannavalee สามารถแบ่งระดับการปรากฏของ et al. (2016) ท ี่พ บ ว� า มดดํา มดคัน 13 ไฟ สามารถพบกระจายได�หลายพื้นที่ จากการวิเคราะห�ผลการปรากฏของชนิดแมลงผิวดิน สามารถแบ�งระดับการปรากฏของชนิดแมลง 14 ผิวดินออกเป�น 3 กลุ�ม คือ กลุ�มที่พบน�อย (น�อยกว�าร�อยละ 40) กลุ�มที่พบปานกลาง (ร�อยละ 40-69) และกลุ�มที่พบบ�อย (มากกว�าร�อย 15 ละ 70) โดยพบกลุ�มปานกลางมากที่สุดจํานวน 75 ชนิด คิดเป�นร�อยละ 39.27 ของจํานวนชนิดที่พบทั้งหมด โดยเ ป� น แมลงผิวดินใน 16 บริเวณป�าดิบแล�ง จํานวน 45 ชนิด ป�าเบญจพรรณพบ 45 ชนิด พื้นที่ฟ��นฟูมากกว�า 10 ป� พ บ 43 ชนิด พื้นที่ฟ��นฟูน�อยกว�า 10 ป� พ บ 34 17 ชนิด และพื้นที่ทําเหมืองพบ 18 ชนิด รองลงมาเป�นกลุ�มที่พบบ�อย มีจํานวน 64 ชนิด คิดเป�นร�อยละ 33.50 ของจํานวนชนิดที่พบ 18 ทั้งหมด พื้นที่ที่พบจํานวนชนิดแมลงผิวดินในกลุ�มนี้มากที่สุด คือ พื้นที่ฟ��นฟูน�อยกว�า 10 ป� พบจํานวน 63 ชนิด รองลงมาคือ บริเวณป�า 19 เบญจพรรณ พื้นที่ฟ��นฟูมากกว�า 10 ป� และบริเวณป�าดิบแล�ง พบจํานวน 63, 61 และ 60 ชนิด ตามลําดับ พื้นที่ที่พบจํานวนชนิดน�อย 20 ที่สุด คือ พื้นที่ทําเหมือง พบเพียง 39 ชนิด ส�วนกลุ�มที่พบน�อยมีจํานวน 52 ชนิด คิดเป�นร�อยละ 27.23 ของจํานวนชนิดที่พบทั้งหมด 21 พื้นที่ที่พบจํานวนชนิดชนิดแมลงผิวดินในกลุ�มนี้มากที่สุด คือ บริเวณป�าดิบแล�งและป�าเบญจพรรณ จํานวน 14 ชนิด รองลงมาคือ พื้นที่ 6 Thai J. For. 39 (1) : 1-10 (2020)

ชนิดแมลงผิวดินออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่พบน้อย เปรียบเทียบค่าดัชนีความหลากหลายทางชนิดในแต่ละ (น้อยกว่าร้อยละ 40) กลุ่มที่พบปานกลาง (ร้อยละ 40-69) พื้นที่ พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ และกลุ่มที่พบบ่อย (มากกว่าร้อยละ 70) โดยพบกลุ่ม (F=6.34, p<0.05) และเมื่อเปรียบเทียบบริเวณป่าดิบ ปานกลางมากที่สุดจำ�นวน 75 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 39.27 แล้ง บริเวณป่าเบญจพรรณ พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี ของจำ�นวนชนิดที่พบทั้งหมด โดยเป็นแมลงผิวดินใน และพื้นที่ฟื้นฟูน้อยกว่า 10 ปี กับพื้นที่ทำ�เหมือง พบว่า บริเวณป่าดิบแล้ง จำ�นวน 45 ชนิด ป่าเบญจพรรณพบ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (p<0.05) 45 ชนิด พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปีพบ 43 ชนิด พื้นที่ แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างกันของพื้นที่ที่มีการฟื้นฟู ฟื้นฟูน้อยกว่า 10 ปีพบ 34 ชนิด และพื้นที่ทำ�เหมืองพบ ป่ากับพื้นที่ที่ยังไม่ได้รับการฟื้นฟูอย่างชัดเจน ซึ่งสอดคล้อง 18 ชนิด รองลงมาเป็นกลุ่มที่พบบ่อย มีจำ�นวน 64 ชนิด กับ Wiwatwitaya (1996) ที่พบว่า เมื่อมีพืชปกคลุมดิน คิดเป็นร้อยละ 33.50 ของจำ�นวนชนิดที่พบทั้งหมด พื้นที่ เพิ่มมากขึ้นจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ที่พบจำ�นวนชนิดแมลงผิวดินในกลุ่มนี้มากที่สุด คือ พื้นที่ และการดำ�รงชีวิตของแมลงมากขึ้นด้วย ซึ่ง Hasin (2008) ฟื้นฟูน้อยกว่า 10 ปี พบจำ�นวน 63 ชนิด รองลงมาคือ พบความหลากหลายทางชนิดบริเวณป่าดิบแล้งมีค่าดัชนี บริเวณป่าเบญจพรรณ พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี และ มากที่สุดเช่นกัน และนอกจากนี้ผู้ศึกษายังพบว่า พื้นที่ บริเวณป่าดิบแล้ง พบจำ�นวน 63, 61 และ 60 ชนิด ตาม ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี ยังมีความหลากหลายทางชนิดใกล้ ลำ�ดับ พื้นที่ที่พบจำ�นวนชนิดน้อยที่สุด คือ พื้นที่ทำ�เหมือง เคียงกับบริเวณป่าดิบแล้ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากจำ�นวนชนิด พบเพียง 39 ชนิด ส่วนกลุ่มที่พบน้อยมีจำ�นวน 52 ชนิด แมลงและจำ�นวนตัวของแมลงที่พบทั้ง 2 พื้นที่นั้นมีความ คิดเป็นร้อยละ 27.23 ของจำ�นวนชนิดที่พบทั้งหมด พื้นที่ ใกล้เคียงกัน สามารถชี้ให้เห็นว่าผลของการฟื้นฟูป่าส่งผล ที่พบจำ�นวนชนิดแมลงผิวดินในกลุ่มนี้มากที่สุด คือ ต่อการกลับคืนของแมลง เห็นได้จากการที่พบแมลงเข้ามา บริเวณป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ จำ�นวน 14 ชนิด ใช้ประโยชน์ในพื้นที่ที่มีการฟื้นฟูมากกว่าพื้นที่ทำ�เหมือง รองลงมาคือ พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี พบจำ�นวน 9 ชนิด อย่างเห็นได้ชัด ซึ่งการฟื้นฟูแหล่งที่อยู่อาศัยมีผลต่อการ และพื้นที่ที่พบจำ�นวนชนิดน้อยที่สุด คือ พื้นที่ทำ�เหมือง กลับคืนของความหลากหลายสังคมแมลง (Zhao and พบเพียง 8 ชนิด ซึ่งในจำ�นวนนี้พบเฉพาะพื้นที่บริเวณ Liu, 2013) ในส่วนผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสม่าเสมอํ ป่าดิบแล้ง จำ�นวน 14 ชนิด พบว่า ป่าดิบแล้งมีค่าดัชนีความสมํ่าเสมอมากที่สุด โดย มีค่าเท่ากับ 0.62 รองลงมาเป็นพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี โครงสร้างทางสังคมแมลงผิวดิน บริเวณป่าเบญจพรรณ และพื้นที่ฟื้นฟูน้อยกว่า 10 ปี การศึกษาโครงสร้างทางสังคมของแมลงผิวดิน มีค่าเท่ากับ 0.59, 0.57 และ 0.55 ตามลำ�ดับ ส่วนค่า นั้น พิจารณาจาก ค่าดัชนีความหลากหลาย (diversity ดัชนีในพื้นที่ทำ�เหมืองมีค่าน้อยที่สุดโดยมีค่าเพียง 0.42 Indices) ค่าดัชนีความสมํ่าเสมอ (evenness) และค่า (Table 2) ดัชนีความคล้ายคลึง (similarity) จากการวิเคราะห์ค่า และเมื่อพิจารณาค่าดัชนีตามฤดูกาลในแต่ละ ดัชนีความหลากหลายทางชนิด พบว่า ในบริเวณป่าดิบ พื้นที่ พบว่า บริเวณพื้นที่ทำ�เหมืองมีค่าดัชนีความหลากหลาย แล้งมีค่าดัชนีความหลากหลายทางชนิดมากที่สุด มีค่า ตํ่าที่สุด โดยในแต่ละเดือนมีความแตกต่างค่อนข้างมาก เท่ากับ 2.97 รองลงมาเป็นพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี แม้จะมีค่าสูงในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม บริเวณป่าเบญจพรรณ และพื้นที่ฟื้นฟูน้อยกว่า 10 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่มีฝนตก ทำ�ให้มีค่าดัชนีสูงขึ้น แต่ยังมีค่าดัชนี มีค่าเท่ากับ 2.80, 2.75 และ 2.55 ตามลำ�ดับ ส่วนค่า ต่ากว่าพื้นที่อื่นํ (Figure 3) สอดคล้องกับค่าเฉลี่ยรายเดือน ดัชนีในพื้นที่ทำ�เหมืองมีค่าน้อยที่สุดโดยมีค่าเพียง 1.75 ของพื้นที่อื่น พบว่า ในเดือนกรกฎาคมเป็นเดือนที่พบว่า (Table 2) เมื่อทำ�การวิเคราะห์ความแปรปรวนด้วยการ มีค่าดัชนีความหลากหลายทางชนิดสูงกว่าเดือนอื่น วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 1-10 (2563) 7

แสดงถึงมีปริมาณชนิดและจำ�นวนตัวมากในช่วงเดือน เปรียบเทียบความแตกต่างในสองฤดูกาลในทุกพื้นที่ ดังกล่าว โดย Thai Meteorological Department พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ (2017) ได้แบ่งออกเป็น 2 ฤดูกาล คือ ฤดูฝนตั้งแต่เดือน (p>0.05) แสดงให้เห็นว่า ฤดูกาลไม่มีผลต่อความ พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม และฤดูแล้งตั้งแต่เดือน แตกต่างของแมลงในแต่ละพื้นที่ พฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน และเมื่อนำ�ค่าดัชนีมา Table 2 Species diversity index and evenness index of insects in each area. Area Species diversity index Evenness index DEF 2.97 0.62 MDF 2.75 0.57 RF>10Yrs 2.80 0.59 RF<10Yrs 2.55 0.55 LMA 1.75 0.42 7

4.00 3.50

3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 Species diversity index 0.50 0.00 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Month DEF MDF RF>10RF>10Yrs RF<10RF<10Yrs LMA average

1 2 FigureFigu 3 r eSpecies 3 Species diversity diversity indices inde cesof insectsof insect ins eachin each month. month. 3 จากการวิเคราะห์ค่าดัชนีความคล้ายคลึง (Table 10 ปี และบริเวณพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี มีความ 4 3) พบว่าจากการวิเคราะห� สังคมแมลงบริเวณป่าดิบแล้งมีความคล้ายคลึงค�าดัชนีความคล�ายคลึง (Table 3) พบว�าคล้ายคลึงกับบริเวณพื้นที่ฟื้นฟูน้อยกว่า สังคมแมลงบริเวณป�าดิบแล�งมีความคล�ายคลึงกับบริเวณ 10 ปี คิดเป็นพื้นที่ฟ��นฟู 5 มากกว�ากับบริเวณพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ป� มากที่สุด คิดเป�นร�อยละ 10 ปี 72มากที่สุด รองลงมาคือ คิดเป็น บริเวณป�าดิบแล�งมีความคล�ายคลึงกับบริเวณป�าเบญจพรรณร้อยละ 70, 69 และ 68 ตามลำ�ดับ โดยพบว่า บริเวณบริเวณป�าเบญจ 6 พรรณมีความคล�ายคลึงกับบริเวณร้อยละ 72 รองลงมาคือ บริเวณป่าดิบแล้งมีความคล้ายคลึงพื้นที่ฟ��นฟูมากกว�า 10 ป� บริเวณป�าเบญป่าดิบแล้งมีความคล้ายคลึงกับบริเวณพื้นที่ทำจพรรณมีความคล�ายคลึงกับบริเวณฟ��นฟูน�อยกว�า�เหมือง 10 ป� และ 7 บริเวณกับบริเวณป่าเบญจพรรณพื้นที่ฟ��นฟูมากกว�า 10 บริเวณป่าเบญจพรรณมีความ ป� มีความคล�ายคลึงกับบริเวณพื้นที่ฟ��นฟูน้อยที่สุดน�อยกว�า คิดเป็นร้อยละ 10 ป� คิดเป�นร�อยละ 43 จากผลการวิเคราะห์ดัชนี 70, 69, และ 68 ตามลําดับ โดย 8 พคล้ายคลึงกับบริเวณพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า บ ว� า บริเวณป�าดิบแล�งมีความคล�ายคลึงกับบริเวณ 10 ปี บริเวณป่าพื้นที่ทําเหมืองน�อยที่สุดความคล้ายคลึงของแมลงผิวดิน คิดเป�นร�อยละ 43 จากผลกา พบว่ารวิเครา พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่าะห�ดัชนีความคล�ายคลึง 9 ของแมลงผิวดินเบญจพรรณมีความคล้ายคลึงกับบริเวณฟื้นฟูน้อยกว่า พ บ ว� า พื้นที่ฟ��นฟูมากกว�า 10 ป� มีความคล�ายคลึงกับป�าดิบแล�ง 10 ปี มีความคล้ายคลึงกับป่าดิบแล้งมากที่สุดมากที่สุด รองลงมาคือ ป�าเบญจพรรณ รองลงมา เมื่อพิจารณาจาก 10 จํานวนชนิด พ บ ว� า พื้นที่ฟ��นฟูมากกว�า 10 ป� มีจํานวนชนิดคล�ายกับป�าดิบแล�งถึง 84 ชนิด และป� า เ บ ญ จ พ ร ร ณ 81 ชนิด โดยมีแมลงผิว 11 ดินจํานวน 68 ชนิด ที่พบทั้งพื้นที่ฟ��นฟูมากกว�า 10 ป� ป�าดิบแล�ง และป�าเบญจพรรณ ในส�วนของแมลงผิวดินที่พบได�เฉพาะพื้นที่ฟ��นฟู 12 มากกว�า 10 ป� และป�าดิบแล�งเท�านั้น มีจํานวน 5 ชนิด ได�แก� มดตะนอย (Tetraponera sp.1) ด�วงหนังสัตว� (Trogidae unknow sp.2) 13 แมลงสาบป�า (Blaberidae unknow sp.1) ด�วงกินใบ (Chaetocnema sp.1) และมดเล็บหวี (Leptogenys sp.1) ในส�วนของแมลงผิว 14 ดินที่พบได�เฉพาะป�าเบญจพรรณและพื้นที่ฟ��นฟูมากกว�า 10 ป� เท�านั้น มีจํานวน 6 ชนิด ได�แก� ด�วงตม (Heteroceridae unknow sp.1) 15 ด�วงดินอกเขียว (Chlaenius sp.1) ตั๊กแตนแคระ (Tetrigidae unknow sp.1) ตั๊กแตนแคระ (Tetrigidae unknow sp.3) ด�วงกุ�ดจี่ 16 (Rhyssemus sp.1) และมดเฉื่อย (Strumigenys sp.1) เห็นได�ว�า ความคล�ายคลึงของแมลงผิวดินในแต�ละพื้นที่มีความแตกต�างกัน ซึ่ง 17 สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากสิ่งปกคลุมผิวดินและการปกคลุมของเรือนยอดในแต�ละพื้นที่ศึกษามีความแตกต�างกัน อาจส�งผลต�อความ 18 เหมาะสมในการหลบซ�อนตัวและอยู�อาศัยของแมลง จากการศึกษาของ Nichols et al. (2007) พบว�า ในป�าเขตร�อน เรือนยอดของ 19 พรรณไม�และสิ่งปกคลุมดินส�งผลต�อความหลากหลายทางชนิดและความมากมายของแมลง เห็นได�จากพื้นที่ทําเหมืองซึ่งเป�นพื้นที่เป�ดโล�ง 20 ต�างจากบริเวณพื้นที่ฟ��นฟูและบริเวณป�าธรรมชาติ (ป�าดิบแล�ง ป�าเบญจพรรณ) ที่มีเรือนยอดและสิ่งปกคลุมดิน ทําให�ความหลากชนิด 21 ของแมลงผิวดินในพื้นที่ฟ��นฟูและป�าธรรมชาติมีความใกล�เคียงกัน สอดคล�องกับผลการศึกษาของ Benayas et al. (2009) ให�เหตุผลว�า 22 พื้นที่ที่ได�รับการฟ��นฟูมีแนวโน�มที่จะเพิ่มความหลากชนิด ความมากมาย และมวลชีวภาพมากกว�าเมื่อเทียบกับพื้นที่เสื่อมโทรม 23 24 8 Thai J. For. 39 (1) : 1-10 (2020)

คือ ป่าเบญจพรรณ เมื่อพิจารณาจากจำ�นวนชนิด พบว่า sp.1) เห็นได้ว่า ความคล้ายคลึงของแมลงผิวดินในแต่ละ พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี มีจำ�นวนชนิดคล้ายกับป่าดิบแล้ง พื้นที่มีความแตกต่างกัน ซึ่งสาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากสิ่ง ถึง 84 ชนิด และป่าเบญจพรรณ 81 ชนิด โดยมีแมลง ปกคลุมผิวดินและการปกคลุมของเรือนยอดในแต่ละ ผิวดินจำ�นวน 68 ชนิด ที่พบทั้งพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี พื้นที่ศึกษามีความแตกต่างกัน อาจส่งผลต่อความเหมาะสม ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ในส่วนของแมลงผิวดิน ในการหลบซ่อนตัวและอยู่อาศัยของแมลง จากการศึกษา ที่พบได้เฉพาะพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี และป่าดิบแล้ง ของ Nichols et al. (2007) พบว่า ในป่าเขตร้อน เรือนยอด เท่านั้น มีจำ�นวน 5 ชนิด ได้แก่ มดตะนอย (Tetraponera ของพรรณไม้และสิ่งปกคลุมดินส่งผลต่อความหลากหลาย sp.1) ด้วงหนังสัตว์ (Trogidae unknow sp.2) แมลงสาบ ทางชนิดและความมากมายของแมลง เห็นได้จากพื้นที่ ป่า (Blaberidae unknow sp.1) ด้วงกินใบ (Chaetocnema ทำ�เหมืองซึ่งเป็นพื้นที่เปิดโล่ง ต่างจากบริเวณพื้นที่ฟื้นฟู sp.1) และมดเล็บหวี (Leptogenys sp.1) ในส่วนของ และบริเวณป่าธรรมชาติ (ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ) ที่ แมลงผิวดินที่พบได้เฉพาะป่าเบญจพรรณและพื้นที่ฟื้นฟู มีเรือนยอดและสิ่งปกคลุมดิน ทำ�ให้ความหลากชนิดของ มากกว่า 10 ปีเท่านั้น มีจำ�นวน 6 ชนิด ได้แก่ ด้วงตม แมลงผิวดินในพื้นที่ฟื้นฟูและป่าธรรมชาติมีความใกล้เคียง (Heteroceridae unknow sp.1) ด้วงดินอกเขียว กัน สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Benayas et al. (Chlaenius sp.1) ตั๊กแตนแคระ (Tetrigidae unknow (2009) ให้เหตุผลว่า พื้นที่ที่ได้รับการฟื้นฟูมีแนวโน้มที่ sp.1) ตั๊กแตนแคระ (Tetrigidae unknow sp.3) ด้วง จะเพิ่มความหลากชนิด ความมากมาย และมวลชีวภาพ กุ๊ดจี่ (Rhyssemus sp.1) และมดเฉื่อย (Strumigenys มากกว่าเมื่อเทียบกับพื้นที่เสื่อมโทรม Table 3 Similarity index of insects in each area.

DEF MDF RF>10Yrs RF<10Yrs LMA DEF 1 0.70 0.72 0.66 0.43 MDF 1 0.69 0.68 0.44 RF>10Yrs 1 0.68 0.48 RF<10Yrs 1 0.55 LMA 1 สรุป ชนิด จาก 5 อันดับ ได้แก่ อันดับ Collembola อันดับ Coleoptera อันดับ Hemiptera อันดับ Hymenoptera ในการศึกษาความหลากชนิดของแมลงผิวดิน และอันดับ Orthoptera กลุ่มแมลงผิวดินที่พบปานกลาง ในพื้นที่เหมืองหินปูน จังหวัดสระบุรี พบแมลงจำ�นวน มีจำ�นวน 75 ชนิด กลุ่มที่พบน้อยมีจำ�นวน 52 ชนิด 191 ชนิด 48 วงศ์ 9 อันดับ ซึ่งแมลงในอันดับ Coleoptera (กลุ่มด้วง) พบจำ�นวนชนิดมากที่สุดจำ�นวน 74 ชนิด คิด ลักษณะโครงสร้างทางสังคมของแมลงผิวดิน พบว่า ป่า เป็นร้อยละ 38.54 ของแมลงที่พบทั้งหมด ส่วนความ ดิบแล้งมีค่าดัชนีความหลากหลายและดัชนีความ มากมายของแมลงที่พบในพื้นที่ทั้งหมด พบว่า แมลงใน สมํ่าเสมอมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 2.97 และ 0.62 ตาม อันดับ Hymenoptera มีจำ�นวนตัวมากที่สุด คิดเป็น ลำ�ดับ เมื่อพิจารณาตามฤดูกาลในแต่ละพื้นที่ พบว่า พื้นที่ ร้อยละ 81.08 ของจำ�นวนตัวที่พบทั้งหมด การกระจาย ทำ�เหมืองมีการแปรผันของค่าดัชนีความหลากหลายน้อย และการปรากฏของแมลงผิวดิน กลุ่มที่พบบ่อยมีจำ�นวน ที่สุด ส่วนค่าดัชนีความคล้ายคลึง พบว่า ป่าดิบแล้งมี 64 ชนิด โดยมีชนิดแมลงที่พบได้ทุกพื้นที่มีจำ�นวน 29 ความคล้ายคลึงกับพื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี มากที่สุด วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 1-10 (2563) 9

คิดเป็นร้อยละ 72 ตามลำ�ดับ และเมื่อเปรียบเทียบบริเวณ Eisenbeis, G. and W. Wichard. 1987. Atlas on ป่าดิบแล้ง บริเวณป่าเบญจพรรณ พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า the Biology of Soil Arthopods. Springer- 10 ปี และพื้นที่ฟื้นฟูน้อยกว่า 10 ปีกับพื้นที่ทำ�เหมือง Verlag, Berlin. พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ Forest and Plant Conservation Research Office. (p<0.05) ส่วนค่าดัชนีความคล้ายคลึง พบว่า บริเวณ 2009. Methods of Studying Insect ป่าดิบแล้งมีความคล้ายคลึงกับบริเวณป่าเบญจพรรณ Biodiversity. Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation, มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 70 รองลงมาคือ บริเวณป่าฟื้นฟู Bangkok. (in Thai) มากกว่า 10 ปีมีความคล้ายคลึงกับบริเวณฟื้นฟูน้อยกว่า Hasin, S. 2008. Diversity and Community 10 ปี บริเวณป่าเบญจพรรณมีความคล้ายคลึงกับบริเวณ Structure of at Sakaerat ป่าฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี และบริเวณป่าเบญจพรรณมีความ Environmental Research Station, คล้ายคลึงกับบริเวณฟื้นฟูน้อยกว่า 10 ปี คิดเป็นร้อยละ Nakhon Ratchasima Province. M.S. 68 และ 62 ตามลำ�ดับ โดยพบว่าบริเวณป่าดิบแล้งมี Thesis, Kasetsart University. (in Thai) ความคล้ายคลึงกับบริเวณทำ�เหมืองน้อยที่สุด คิดเป็น Jaitrong, W. 2011. Key to the Genera in ร้อยละ 45 จะเห็นได้ว่า พื้นที่ฟื้นฟูมากกว่า 10 ปี มีค่า Thailand. Natural History Museum of ดัชนีเริ่มใกล้เคียงกับป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ซึ่ง the National Science Museum, Ministry เป็นป่าธรรมชาติ แสดงให้เห็นถึงการฟื้นฟูป่ามีแนวโน้ม of Science and Technology, Pathum ไปในทางที่ดีขึ้น เกิดการทดแทนของสังคมพืชใกล้เคียง Thani. (in Thai) Krebs, J.C. 1972. Ecology: The Experimental กับป่าธรรมชาติที่สมบูรณ์ ดังนั้น การฟื้นฟูป่าจึงเป็น Analysis of Distribution and Abundance. แนวทางสำ�คัญต่อการกลับคืนสู่ระบบนิเวศป่าและส่งผล Harper and Row Publishers, New York. ต่อการกลับคืนของสังคมแมลงผิวดินเช่นเดียวกัน Marod, D. and U. Kutintara. 2009. Forest Ecology. Aksorn Siam Printing, Bangkok. REFERENCES (in Thai) Andrés, P. and E. Mateos. 2006. Soil mesofaunal Maxwell Stamp PLC. 2015. The Social and responses to post-mining restoration Economic Impacts of Gold Mining. treatments. Applied Soil Ecology 33: World Gold Council, London. 67-78. Mineral Resources and Mining Department. 2017. Benayas, J.M.R, A.C. Newton, A. Diaz and J.M. Rehabilitation of Mining Site. Siam Bullock. 2009. Enhancement of Cement Group, Bangkok. (in Thai) biodiversity and ecosystem services by Mound, L.A. and N. Waloff. 1978. Diversity of ecological restoration: A meta-analysis. Insect Faunas. Symposia of the Royal Science 325(5944): 1121-1124. Entomological Society of London No. Diamond, J.M. 1989. The present, past and 9. Blackwell Scientific Publications, future of human-caused extinctions. New York. Philosophical Transactions of the Nichols, E., T. Larsen, S. Spector, A.L. Davis, F. Royal Society B Biological Sciences Escobar, M. Favila and K.Vulinec. 2007. 325: 469-477. Global dung beetle response to tropical 10 Thai J. For. 39 (1) : 1-10 (2020)

forest modification and fragmentation: Senthong, D. 2003. Ants Distribution Base on A quantitative literature review and Air Quality Variation in Urban Community meta-analysis. Biological Conservation of Bangkok. M.S.Thesis, Mahidol 137(1): 1-19. University. (in Thai) Noitubtim, P., S. Teejuntuk and K. Wanthongchai. Subinprasert, S. 2003. Insect Biology. 2012. Structural characteristics of insect Ramkhamhaeng University Press, Bangkok. population in reclamation process area (in Thai) at Kaeng Khoi limestone mining, Saraburi Thai Meteorological Department. 2017. Seasonal province. Thai Journal of Forestry in Thailand. Thai Meteorological 31(1): 1-9. (in Thai) Department, Bangkok. (in Thai) Pannavalee, R., D. Wiwatwittaya and S. Suksard. Wiwatwitaya, D. 1996. Biodiversity of forest 2016. Terrestrial ant communities insects: soil insects, pp. 430-443. In structure in Kasetsart University, Bangkhen Seminar on biodiversity-Utilization- campus, Bangkok. Thai Journal of Conservation-Research. 20-22 September Forestry 35(2): 1-10. (in Thai) 1996. Biodiversity Establishment Center Pozsgai, G., and N.A. Littlewood. 2014. Ground beetle (Coleoptera: Carabidae) population Project, Kasetsart University, Bangkok. declines and phenological changes: Is (in Thai) there a connection? Ecological Indicators . 2006. Ant museum. Kasetsart 41: 15-24. Extension Journal 52 (1): 13-21. (in Thai) Sánchez-Bayo, F. and K.A.G. Wyckhuys. 2019. Zhao, H.L. and R.T. Liu. 2013. The “bug island” Worldwide decline of the entomofauna: effect of shrubs and its formation A review of its drivers. Biological mechanism in Horqin Sand Land, Inner Conservation 232: 8-27. Mongolia. Catena 105: 69-74. Thai J. For. 39 (1) : 11-27 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 11-27 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

ผลกระทบการคมนาคมบนทางหลวงหมายเลข 304 ต่อสัตว์ป่า : กรณีศึกษาระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 191 ถึง 250 The Impact of Traffic on Highway No. 304 on the Wildlife: A Case Study Between Markers 191 and 250 Kilometers เกริกฤทธิ์ ศรีสุวอ1,2 Kroekrit Srisuwor1, 2 รองลาภ สุขมาสรวง1* Ronglarp Sukmasuang1* ประทีป ด้วงแค1 Prateep Duengkae1 1คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand 2สำ�นักแผนงานและสารสนเทศ กรมป่าไม้ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Planning and Information Technology Bureau, Royal Forest Department, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, E-mail: [email protected] รับต้นฉบับ 19 ธันวาคม 2562 รับแก้ไข 25 กุมภาพันธ์ 2563 รับลงพิมพ์ 28 กุมภาพันธ์ 2563

ABSTRACT The study of impact of traffic on highway No. 304 on wildlife was investigated along the highway between Sakaerat Environmental Research Station, Wang Nam Khieo district, Nakhon Ratchasima province and Park Ranger Station (Lam Phraya Tarn), Nadi district, Prachinburi province, between markers 191 and 250 kilometers, with a total length of 59 km. The study was undertaken between December 2018 and August 2019 and had a total accumulative distance of 1,062 km. The objectives were to study the species diversity, abundance, and environmental conditions of wildlife species that were killed by traffic on the road. The results found 41 wildlife species, with 176 individuals were killed by the traffic. There were 14 aves species with 79 individuals, followed by 14 reptilian species with 37 individuals, 6 amphibian species with 36 individuals, and 7 mammalian species with a total of 24 individuals. The study also found that most of the deaths occurred during night time. A higher number of aves, reptilian, and mammalian species were killed by cars in the wet season compared to the dry season. On the other hand, a higher number of amphibian species were killed by cars during the dry season. All the wild species were killed by cars near villages or areas under human activity. The study also found that the highest death rate of the species was between the markers 200th - 209th kilometers. This study also showed that the number of vehicles on the highway were positively correlated with mammalian species killed by cars. This study confirmed that the 12 Thai J. For. 39 (1) : 11-27 (2020) usage of highway by all the vehicles mostly impacted the reptilian species as determined by the diversity index. Recommendations based on this study to reduce rate of the wildlife death are to restrict the car speeds on the road, and to protect the fallen agricultural produce from trucks during passage from the forest. The recommendation also concerns with the adaptation in activities of the local people that are located along both sides of the highway to reduce the frequency of wildlife especially by reducing the garbage in the area. The construction of a wildlife corridor should be undertaken. Barriers should be placed along both sides of the road to protect and prevent wildlife crossings on the highway to reduce the loss of diversity. Keywords: Road kill, Wildlife corridor, Dong Phayayen - Khao Yai Forest Complex, Natural World Heritage Site บทคัดย่อ การศึกษาผลกระทบการคมนาคมบนทางหลวงหมายเลข 304 ต่อสัตว์ป่ากรณีศึกษาระหว่างหลักกิโลเมตร ที่ 191 ถึง 250 ดำ�เนินการตามเส้นทางหลวงหมายเลข 304 ตั้งแต่บริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช อำ�เภอ วังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา จนถึงหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ.7 (ลำ�พระยาธาร) อำ�เภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ระยะทาง 59 กิโลเมตร รวมระยะทางสะสมตลอดการเก็บข้อมูล 1,062 กิโลเมตร ระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2562 เพื่อศึกษาชนิด จำ�นวน และปัจจัยแวดล้อมที่สัมพันธ์กับการตายของสัตว์ป่าเนื่องจาก ถูกรถชนหรือทับ ผลการศึกษาพบจำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชนหรือทับจำ�นวน 41 ชนิด รวม 176 ตัว เป็นนก 14 ชนิด รวม 79 ตัว รองลงมาได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน 14 ชนิด จำ�นวน 37 ตัว สัตว์สะเทินนํ้าสะเทิน 6 ชนิด จำ�นวน 36 ตัว และ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 7 ชนิด จำ�นวน 24 ตัว พบว่า สัตว์ป่าถูกรถชนตายหรือทับตายเกิดขึ้นในเวลากลางคืนมากกว่าเวลา กลางวันอย่างมีนัยสำ�คัญ พบว่า นก สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ถูกรถชนตายหรือทับตายในช่วงฤดูฝน มากกว่าฤดูแล้งอย่างมีนัยสำ�คัญ ในขณะที่สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกถูกรถชนตายหรือทับตายช่วงฤดูแล้งมากกว่าฤดูฝน อย่างมีนัยสำ�คัญ สัตว์ป่าถูกรถชนตายหรือทับตายมากที่สุดในพื้นที่ใกล้ชุมชนหรือบริเวณพื้นที่กิจกรรมมนุษย์ โดยพบ จำ�นวนสัตว์ป่าตายสูงที่สุดระหว่างช่วงกิโลเมตรที่ 200-209 ขณะที่จำ�นวนรถยนต์ที่ใช้เส้นทางหลวงมีความสัมพันธ์กับ การตายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอย่างมีนัยสำ�คัญ ผลการศึกษานี้พบว่า การใช้เส้นทางหลวงที่ผ่านป่าอนุรักษ์มีผลต่อ ความหลากหลายของสัตว์เลื้อยคลานมากที่สุดทั้งเมื่อพิจารณาค่าความหลากหลายของชนิดที่พบ ข้อเสนอแนะสำ�หรับ การศึกษานี้นอกเหนือการจำ�กัดความเร็วรถยนต์ เพื่อลดการตายของสัตว์ป่า ควรเข้มงวดเรื่องการร่วงหล่นของพืชผล เกษตรบนถนน ควรมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมของราษฎรที่อาศัยอยู่ตามแนวเส้นทางทั้งสองฝั่งของอุทยานแห่งชาติ เพื่อ ลดการดึงดูดสัตว์ป่าให้ออกมานอกพื้นที่ ทั้งการปลูกพืชเกษตร การทิ้งขยะของเสียที่ดึงดูดสัตว์ป่า การรบกวนทำ�ลาย สิ่งแวดล้อม ตลอดจนการก่อสร้างทางลอดใต้ถนนเพื่อให้สัตว์ป่าสามารถเดินไปมาระหว่างพื้นที่ การสร้างแนวป้องกัน ตลอดความยาวของเส้นทางเพื่อมิให้สัตว์ป่าออกมาที่ผิวทางหลวงเพื่อลดการตายและการสูญเสียความหลากหลายทาง ชนิดของสัตว์ป่า คำ�สำ�คัญ: สัตว์ป่าที่ถูกรถชนหรือรถทับตาย แนวเชื่อมต่อสำ�หรับสัตว์ป่า ผืนป่าดงพญาเย็นเขาใหญ่ มรดกโลกทาง ธรรมชาติ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 11-27 (2563) 13

คำ�นำ� ในฐานะที่เป็นประเทศภาคีสมาชิก มีหน้าที่ต้องดูแล พื้นที่นี้มิให้เสื่อมโทรมหรือให้ตกอยู่ในภาวะอันตราย ต้อง การพัฒนาสาธารณูปโภค และโครงสร้างพื้นฐาน เพิ่มมาตรการการจัดการคุ้มครองให้คงอยู่อย่างยั่งยืน เป็นสิ่งจำ�เป็นเพื่อการพัฒนาความเป็นอยู่ของมนุษย์ โดย โดยหนึ่งในพันธะสัญญาที่ประเทศไทยต้องดำ�เนินการ เฉพาะการสร้างถนนเพื่อการคมนาคมขนส่ง อย่างไร ได้แก่ การสร้างแนวเชื่อมต่อป่าระหว่างอุทยานแห่งชาติ ก็ตามการใช้เส้นทางคมนาคมได้ส่งผลกระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทรัพยากรสัตว์ป่า การ เขาใหญ่และอุทยานแห่งชาติทับลาน การจัดการเรื่อง รบกวนถิ่นอาศัยทั้งทางตรงและทางอ้อม การเพิ่มโอกาส ความเร็วของยานพาหนะตามเส้นทางดังกล่าว เพื่อลด การรบกวน การเข้าถึงพื้นที่ใจกลาง การขาดออกจากกัน ผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและรักษาความหลาก เป็นหย่อมป่า (fragmentation) (Benítez-Malvido หลายทางชีวภาพ (Safuwong et al., 2012) รัฐบาล and Arroyo-Rodríguez, 2008) ส่งผลให้เกิดความ ไทยเสนอให้มีแนวเชื่อมต่อผืนป่าทั้งสองที่ถูกแยกออก เสื่อมโทรมของถิ่นอาศัย การขาดออกจากกันเป็นประชากร จากกัน โดยการสร้างแนวเชื่อมต่อประมาณช่วงหลัก ย่อยเกิดปัญหาการผสมเลือดชิด (inbreeding) (Wilcove กิโลเมตร 191+860 ถึง กิโลเมตร 195+310 ช่วงกิโลเมตร et al., 1986; Bogaert, 2000) การเพิ่มขึ้นของชนิดสัตว์ 207+760 ถึง กิโลเมตร 216+560 และช่วงกิโลเมตร ป่าต่างถิ่น (Pardini, 2004) การเพิ่มโอกาสการรุกราน 216+560 ถึง กิโลเมตร 223+269 ปัจจุบันมีการขยาย จนเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติโดยรวม ช่องทางจราจรจาก 2 ช่องทางจราจรเป็น 4 ช่องทาง (Levins, 1969) โดยเฉพาะมีผลต่อชนิดและประชากร จราจร (Department of Highways, 2017) ซึ่งส่งผล ของสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนม นก (Hermes et al., 2016) กระทบต่อการเคลื่อนย้ายของสัตว์ป่าและพืชป่าเพิ่มขึ้น สัตว์เลื้อยคลาน (Díaz et al., 2000) และสัตว์สะเทินน้าํ ตลอดจนความสมบูรณ์ของระบบนิเวศดงพญาเย็น- สะเทินบก (Silva et al., 2003) ดังเช่นที่ปรากฏขึ้นใน เขาใหญ่เพิ่มขึ้น ส่งผลเสียต่อคุณค่าสากลที่โดดเด่นของ พื้นที่ป่าอนุรักษ์ต่างๆ โดยความสูญเสียต่อสัตว์ป่าที่เกิด ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ในระยะยาว บนท้องถนนมีจำ�นวนมากกว่าความสูญเสียที่เกิดจากการ การศึกษาผลกระทบของเส้นทางหลวงในพื้นที่ ล่าของมนุษย์ (Forman and Alexander, 1998) มรดกโลกดงพญาเย็นเขาใหญ่ที่มีต่อทรัพยากรสัตว์ป่า ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ประกอบด้วย พื้นที่ พบมีการศึกษาน้อยมากโดยมีเพียงการศึกษาในลักษณะ คุ้มครอง (protected areas) จำ�นวน 5 แห่ง ได้แก่ ของการแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมในช่วงก่อนหน้าและ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติปางสีดา อุทยาน ในระหว่างการก่อสร้างแนวเชื่อมต่อผืนป่าเฉพาะในช่วง แห่งชาติทับลาน อุทยานแห่งชาติตาพระยา และเขต ที่ดำ�เนินการก่อสร้างรวมระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตร รักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงรัก รวมพื้นที่ 6,152.13 ตาราง เท่านั้น การศึกษาผลกระทบของการคมนาคมต่อสัตว์ป่านี้ กิโลเมตร (Chettamart et al., 2006) ได้รับการขึ้น ได้ดำ�เนินการตลอดระยะทางที่ผ่านผืนป่าอุทยานแห่ง ทะเบียนเป็นมรดกทางธรรมชาติของโลกจากการประชุม ชาติเขาใหญ่และอุทยานแห่งชาติทับลาน รวมระยะทาง คณะกรรมการมรดกโลก ครั้งที่ 29 ในเดือนกรกฎาคม ประมาณ 59 กิโลเมตร เพื่อศึกษาชนิด จำ�นวน และ พ.ศ. 2548 ประเทศแอฟริกาใต้ โดยมีคุณสมบัติตรงตาม ปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการตายของสัตว์ป่า ผลการศึกษา หลักเกณฑ์ที่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพืชที่ ที่ได้ช่วยเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจผลกระทบที่เกิดขึ้น หายาก หรือที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย แต่ยังคงสามารถ สามารถนำ�เสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งชุมชน ดำ�รงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวม องค์การบริหารงานส่วนท้องถิ่น กรมทางหลวง สำ�นักงาน ความอุดมสมบูรณ์ของพืชและสัตว์ป่า เมื่อได้รับการ มรดกโลก องค์การเอกชน ตลอดจนประชาชนที่ใช้เส้นทาง ประกาศเป็นมรดกทางธรรมชาติของโลก ประเทศไทย เพื่อร่วมกันลดผลกระทบจากการใช้เส้นทาง สร้างความ 14 Thai J. For. 39 (1) : 11-27 (2020)

ร่วมมือในการป้องกันรักษาพื้นที่ เพื่อรักษาแหล่งมรดก 2.1 บันทึกจำ�นวนและจำ�แนกชนิดของสัตว์ ทางธรรมชาติของโลกให้คงอยู่ตามพันธะสัญญาในการ ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับตาย จำ�แนกชนิดสัตว์โดยอาศัย ร่วมมือร่วมใจในการรักษา คุ้มครองมรดกโลกทางธรรมชาติ คู่มือจำ�แนก และเก็บซากสัตว์ป่าออกจากถนนเพื่อป้องกัน นี้ให้อำ�นวยประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมอย่างยั่งยืนต่อไป การนับซํ้า โดยสามารถจำ�แนกสัตว์ได้แก่ นก (Lekagul and Round, 1991) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Francis, อุปกรณ์และวิธีการ 2001) สัตว์เลื้อยคลาน (Cox et al., 1998) และสัตว์ พื้นที่ศึกษา สะเทินนํ้าสะเทินบก (Frost, 1985) ดำ�เนินการตามเส้นทางหลวงหมายเลข 304 2.2 บันทึกวันที่ เดือน ปี และช่วงเวลาที่ ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 191 ถึง 250 ช่วงกบินทร์บุรี- พบซากสัตว์ป่าและประมาณเวลาที่คาดว่าสัตว์ป่าตาย ปักธงชัย ซึ่งอยู่ภายในผืนป่าดงพญาเย็นเขาใหญ่ โดยแบ่งเป็นสองช่วง คือ สัตว์ที่ตายก่อน 06.00 น. หรือ เริ่มตั้งแต่มีแสง เพื่อเป็นตัวแทนของสัตว์ที่ออกหากิน อุปกรณ์ ตอนกลางคืน และสัตว์ที่ตายหลังเวลา 06.00 น. เพื่อ 1. รถยนต์ เป็นตัวแทนของสัตว์ที่ตายตอนกลางวัน 2. เครื่องหาพิกัดภูมิศาสตร์ (GPS Garmin 2.3 แบ่งช่วงฤดูกาลที่ศึกษาออกเป็น 2 60csx) ฤดูกาล ฤดูแล้งระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน 3. อุปกรณ์บันทึกข้อมูล และฤดูฝนระหว่างพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม การแบ่ง 4. คู่มือจำ�แนกสัตว์ป่า ฤดูกาลตามการศึกษานี้ อาศัยข้อมูลปริมาณนํ้าฝนที่ได้ วิธีการ จากสถานีตรวจวัดอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ที่อำ�เภอ 1. การค้นคว้าข้อมูลเบื้องต้น โดยรวบรวม นาดี จังหวัดนครนายก และสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช ข้อมูลจากเอกสารผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวกับแนวคิด ในรอบ 8 ปี ที่สามารถแบ่งฤดูกาลออกเป็น 2 ฤดูดังกล่าว ทฤษฎี และการศึกษาของผลกระทบของถนนที่มีต่อ โดยช่วงฤดูแล้งมีปริมาณนํ้าฝนตํ่ากว่า 100 มิลลิเมตรต่อ สัตว์ป่า ยกตัวอย่างเช่น การศึกษาสัตว์มีกระดูกสันหลัง เดือน ขณะที่ช่วงฤดูฝนเป็นเดือนที่มีปริมาณนํ้าฝนมากกว่า ที่ถูกรถชนตายในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่าง 100 มิลลิเมตรต่อเดือน ฤ ๅไน (Wanghongsa and Boonkird, 2001) จากการ 2.4 บันทึกระยะบนถนนที่พบสัตว์ตาย โดย รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร สามารถกำ�หนดปัจจัยที่มีผล สังเกตจากหลักกิโลเมตรของกรมทางหลวงที่อยู่ข้างถนน ต่อการตายของสัตว์ป่า ได้แก่ ช่วงเวลา ช่วงฤดูกาล ช่วง พร้อมทั้งบันทึกพิกัดซากสัตว์ป่าด้วยเครื่องหาพิกัดภูมิ- กิโลเมตร ลักษณะพื้นที่ข้างถนน เขตพื้นที่อนุรักษ์และ ศาสตร์ (GPS Garmin 60csx) เขตพื้นที่ชุมชน และปริมาณรถยนต์ 2.5 บันทึกลักษณะพื้นที่ข้างถนนซึ่งอาจมี 2. การสำ�รวจสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับ อิทธิพลต่อการตายของสัตว์ป่าโดยจำ�แนกตามลักษณะ ตายบนทางหลวงหมายเลข 304 โดยสำ�รวจสัตว์ป่าที่ถูก ที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน ได้แก่ พื้นที่ป่าอนุรักษ์และ รถชนตายหรือทับตายบนถนน เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน พื้นที่ที่เป็นลักษณะของชุมชนหรือชุมชนใช้ประโยชน์ ธันวาคม 2561 ถึงเดือนสิงหาคม 2562 โดยสำ�รวจวันละ 3. สำ�รวจจำ�นวนรถยนต์ที่ใช้บนทางหลวง 2 ช่วงเวลา คือ 07.00 น. และ 15.00 น. ใช้รถยนต์เป็น หมายเลข 304 โดยบันทึกจำ�นวนรถยนต์ที่ใช้เส้นทาง พาหนะในการสำ�รวจ ขับด้วยความเร็วไม่เกิน 40 กม./ ผ่านทางหลวงบริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชซึ่ง ชม. ซึ่งเป็นความเร็วที่สามารถสังเกตได้ ทั้งขาไปและ อยู่ริมทางหลวงหมายเลข 304 เป็นจุดนับ ทำ�การนับรถ ขากลับ บันทึกสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับตาย ดังนี้ ทุกคันที่วิ่งผ่านหน้าสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช เริ่ม วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 11-27 (2563) 15

บันทึกตั้งแต่เวลา 06.00-18.00 น. ทำ�การนับรถทุกๆ จาก Shannon and Weaver (1949) จากสูตร s เดือน เดือนละ 1 ครั้ง นับในวันเสาร์ ซึ่งตรงกับวันที่ทำ�การ ∑ pInp H’ = -i=1 i i เก็บข้อมูลซากสัตว์บนถนนเพื่อให้มีความสัมพันธ์กัน โดย เมื่อ H’ = ดัชนีความหลากหลายของสัตว์ป่าที่พบ ทำ�การบันทึกรถทุกคันที่วิ่งผ่าน แยกเป็นขาไปขากลับ บนถนน โดยถ้ารถคันเดียวกันวิ่งผ่าน 2 รอบ ก็นับเป็น 2 คัน และ pi = สัดส่วนกลุ่มสัตว์ i ที่พบบนถนน นำ�ข้อทุติยภูมิของ Sriktrachang (2006) ที่ได้ทำ�การ S = จำ�นวนกลุ่มของสัตว์ที่พบบนถนน สำ�รวจยานพาหนะที่ใช้เส้นทางหลวงสาย 3259 ช่วงที่ ผ่านป่าของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤ ๅไน ซึ่งทำ�การ ผลและวิจารณ์ เก็บข้อมูลจำ�นวนรถยนต์ตลอด 24 ชั่วโมง นำ�มาคิดเป็น จำ�นวนรถต่อ 24 ชั่วโมง เพื่อนำ�ไปใช้ในการศึกษาความ ชนิดและจำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชน จากการศึกษาผลกระทบการคมนาคมบน สัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนซากสัตว์ป่าและจำ�นวนรถยนต์ ทางหลวงหมายเลข 304 ต่อสัตว์ป่า ระหว่างหลักกิโลเมตร 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ที่ 191 ถึง 250 พบจำ�นวนสัตว์ป่าถูกรถชนจำ�นวน 176 4.1 วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ตัว จำ�แนกได้ 41 ชนิด ประกอบด้วย นก 14 ชนิด จำ�นวน (descriptive statistic) ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (mean) และ 79 ตัว คิดเป็นร้อยละ 44.89 ของสัตว์ที่ตายทั้งหมด สัตว์ ร้อยละ (percentage) สำ�หรับนำ�เสนอจำ�นวนชนิดและ เลื้อยคลาน 14 ชนิด จำ�นวน 37 ตัว คิดเป็นร้อยละ 21.02 จำ�นวนตัวของสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับตาย และ ของสัตว์ที่ตายทั้งหมด สัตว์สะเทินนํ้าสะเทิน 6 ชนิด กำ�หนดสถานภาพทางการอนุรักษ์ของสัตว์ป่าแต่ละชนิด จำ�นวน 36 ตัว คิดเป็นร้อยละ 20.45 ของสัตว์ที่ตาย ตาม IUCN Red List (IUCN, 2019) และพระราชบัญญัติ ทั้งหมด และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 6 ชนิด จำ�นวน 25 ตัว สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 คิดเป็นร้อยละ 13.64 ของสัตว์ที่ตายทั้งหมด ผลการ 4.2 วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างการ ศึกษาพบว่า ชนิดของสัตว์ป่าส่วนใหญ่ที่ตายได้รับการ ตายของสัตว์ป่าระหว่างกลางวันและกลางคืน ช่วงฤดูกาล จัดสถานภาพทางการอนุรักษ์ตามสหภาพสากลว่าด้วย ระหว่างฤดูแล้งและฤดูฝน และตามประเภทพื้นที่ ระหว่าง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Inter- พื้นที่ป่าธรรมชาติและพื้นที่ชุมชน โดยการเปรียบเทียบ national Union for Conservation of Nature and ค่าเฉลี่ยด้วยวิธี t-test วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง Natural Resources: IUCN, 2019) จำ�นวน 28 ชนิด การตายของสัตว์ป่าในช่วงกิโลเมตรต่างๆ (6 ช่วง คิดเป็นร้อยละ 68.29 ของชนิดสัตว์ป่าที่ตายจากการถูก กิโลเมตร) และลักษณะพื้นที่ข้างถนน (5 ลักษณะ) โดย รถชนตายหรือทับตายทั้งหมด ประกอบด้วย นก 12 ชนิด ใช้ Chi-square test เพื่อทดสอบความเป็นอิสระต่อกัน คิดเป็นร้อยละ 29.27 ของชนิดสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตาย (test for independent) หรือทับตายทั้งหมด โดยพบว่ามีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ 4.3 วิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์ระหว่าง (Vulnerable: VU) จำ�นวน 1 ชนิด และอยู่ในสถานภาพ จำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชนกับปริมาณรถยนต์ โดยการ เป็นกังวลน้อยที่สุด (Least Concern: LC) จำ�นวน 11 หาความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน จำ�นวน 6 ชนิด คิดเป็นร้อยละ (coefficient of correlation) 14.63 ของชนิดสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายทั้งหมด 4.4 วิเคราะห์ค่าความหลากหลายของสัตว์ โดยพบว่าสัตว์เลื้อยคลานทุกชนิดที่สำ�รวจพบอยู่ใน ป่า โดยการคำ�นวณค่าดัชนีความหลากหลายของ Shannon สถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด (Least Concern: LC) Diversity Index ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่ได้รับการยอมรับและ ทั้งหมด สัตว์สะเทินน้าสะเทินบกํ จำ�นวน 5 ชนิด คิดเป็น นำ�มาใช้อย่างแพร่หลาย มีสูตรในการคำ�นวณโดยอ้างอิง ร้อยละ 12.20 ของชนิดสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับ 16 Thai J. For. 39 (1) : 11-27 (2020)

ตาย พบว่าสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกทุกชนิดอยู่ในสถานภาพ ที่ถูกรถชนตายหรือทับตายทั้งหมด จำ�แนกเป็น นก เป็นกังวลน้อยที่สุด (Least Concern: LC) ทั้งหมด และ จำ�นวน 11 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 26.83 ของชนิดสัตว์ป่า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จำ�นวน 5 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 12.20 ที่ถูกรถชนตายหรือทับตายทั้งหมด สัตว์เลื้อยคลาน ของชนิดสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายทั้งหมด ซึ่ง จำ�นวน 5 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 12.20 ของชนิดสัตว์ป่า พบว่ามีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable: VU) จำ�นวน ที่ถูกรถชนตายหรือทับตายทั้งหมด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 1 ชนิด และอยู่ในสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด (Least จำ�นวน 1 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 2.44 ของชนิดสัตว์ป่าที่ Concern: LC) จำ�นวน 4 ชนิด ถูกรถชนตายหรือทับตายทั้งหมด ในขณะที่สัตว์สะเทินน้าํ สัตว์ป่าที่พบว่าตายเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม สะเทินบก ไม่พบว่าเป็นสัตว์ป่าที่จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และสัตว์ป่าสงวนตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง จำ�นวน 17 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 41.46 ของชนิดสัตว์ป่า สัตว์ป่า พ.ศ. 2562 (Table 1) Table 1 Wildlife species, number of road kills reported, and the conservation status found on Highway 304 between markers 191 and 250 kilometers, studied during December 2018 and August 2019. Number Status * of road Taxon group No. Scientific name Thai name WPPA IUCN kills (2019) (2020) detected Birds 1 Passer sp. นกกระจอก 17 - LC- 2 Anastomus oscitans นกปากห่าง 1 P LC 3 Phaenicophaeus tristis นกบั้งรอกใหญ่ 1 P LC 4 Coracias benghalensis นกตะขาบทุ่ง 3 P LC 5 Acridotheres javanicus นกเอี้ยงหงอน 1 P VU 6 Acridotheres grandis นกเอี้ยงสาลิกา 25 P LC 7 Columba livia นกพิราบ 6 - LC 8 Caprimulgus sp. นกตบยุง 1 P - 9 Zosterops palpebrosus นกแว่นตาขาวสีทอง 1 P LC 10 Copsychus saularis นกกางเขน 3 P LC 11 Centropus sinensis นกกระปูดใหญ่ 6 P LC 12 Ixobrychus cinnamomeus นกยางไฟธรรมดา 1 P LC 13 Bubulcus ibis นกยางควาย 1 P LC 14 Unknown bird spp. - 12 - - Amphibians 1 Duttaphrynus melanostictus คางคกบ้าน 23 - LC 2 Fejervarya limnocharis กบหนอง 2 - LC 3 Rana spp. กบ 4 - - 4 Kaloula pulchra อึ่งอ่าง 3 - LC 5 Ichthyophis kohtaoensis เขียดงูเกาะเต่า 1 - LC 6 Polypedates leucomystax ปาดบ้าน 3 - LC วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 11-27 (2563) 17

Table 1 (continued) Number Status * of road Taxon group No. Scientific name Thai name WPPA IUCN kills (2019) (2020) detected Reptiles 1 Calotes versicolo กิ้งก่าหัวแดง 3 P - 2 Calotes emma กิ้งก่าแก้ว 3 P - 3 Varanus bengalensis ตะกวด 1 P LC 4 Naja kaouthia งูเห่า 1 - LC 5 Xenochrophis flavipunctatus งูลายสอบ้าน 2 - LC 6 Elaphe radiata งูทางมะพร้าว 3 P LC 7 Enhydris bocourti งูไซ 1 - - 8 Chrysopelra ornate งูเขียวพระอินทร์ 3 - - 9 Dendrelaphis pictus งูสายมานพระอินทร์ 1 - - 10 Psammodynastes pulverulentus งูหมอก 1 - - 11 Ptyas korros งูสิง 1 P LC 12 Calloselasma rhodostoma งูกะปะ 1 - LC 13 Gekko gecko ตุ๊กแก 2 - - 14 Unknown sake spp. - 14 - Mammals 1 Callosciurus finlaysoni กระรอกหลากสี 4 - LC 2 Menetes berdmorei กระจ้อน 2 - LC 3 Cynopterus sphinx ค้างคาวขอบหูขาวกลาง 8 - LC 4 Rattus sp. หนู 5 - - 5 Bandicota savilei หนูพุก 2 - LC 6 Arctonyx collaris หมูหริ่ง 1 P VU 7 Unknown Mammals spp. จำ�แนกไม่ได้ 2 - - 176 Remarks: * WPPA (2019): Wildlife Preservation and Protection Act 2019, P: Protected species IUCN (2019) Red List Categories: VU - Vulnerable, LC - Least Concern อย่างไรก็ตาม การศึกษาจำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูก มีการสูญหายไปก่อนการสำ�รวจพบ 3.53 เท่า ซากนกมี รถชนตายหรือทับตายมัก พบว่า มีจำ�นวนสัตว์ป่าน้อย การสูญหายไปก่อนการสำ�รวจพบ 1.94 เท่า ซากสัตว์ กว่าความเป็นจริง เนื่องจากสัตว์ป่าที่ตายบนถนนจาก เลื้อยคลานมีการสูญหายไปก่อนการสำ�รวจพบ 4.44 เท่า รถยนต์บางส่วนมักสูญหายไปโดยการถูกสัตว์กินซาก ถูก และซากสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกมีการสูญหายไปก่อน ผู้คนเก็บซาก หรือถูกรถทับซํ้า Wanghongsa and การสำ�รวจพบ 5.61 เท่า จากความเป็นจริง ดังนั้น ผล Boonkird (2001) ศึกษาการสูญหายของจำ�นวนซาก การศึกษานี้ควรเป็นจำ�นวนตัวของสัตว์ป่าที่ตายที่น้อย สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่าง ที่สุดในพื้นที่ศึกษา ฤ ๅไน จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า ซากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 18 Thai J. For. 39 (1) : 11-27 (2020)

จำ�นวนสัตว์ที่ถูกรถชนตายหรือทับตายตาม เป็นต้น (Chuaynkern, 2001) ความชื้นสัมพัทธ์มีผลต่อ ฤดูกาล พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก โดย ผลการศึกษาพบว่า นก สัตว์เลื้อยคลาน และ มีพฤติกรรมมากขึ้น ระบบย่อยอาหาร และระบบประสาท สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ถูกรถชนตายหรือทับตายมากใน ทำ�งานได้ดีในวันที่มีฝนตก จึงทำ�ให้พบจำ�นวนสัตว์สะเทิน ช่วงฤดูฝนมากกว่าฤดูแล้งอย่างมีนัยสำ�คัญ ในขณะที่ นํ้าสะเทินบกในฤดูฝนมาก (Noble, 1954) จึงส่งผลให้ มีโอกาสถูกรถชนมากกว่าในฤดูแล้ง แต่ไม่พบความ สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกถูกรถชนตายหรือทับตายช่วง แตกต่างดังกล่าวกับสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกและสัตว์ ฤดูแล้งมากกว่าฤดูฝนอย่างมีนัยสำ�คัญ (Figure 1) โดย เลี้ยงลูกด้วยนม (t = 0.204, p = 0.844 และ t = -1.063, จำ�นวนนกและสัตว์เลื้อยคลาน (t = 2.889, p = 0.024 p = 0.323 ตามลำ�ดับ) เนื่องจากสัตว์สะเทินน้าสะเทินบกํ และ t = -3.584, p = 0.009) มีความแตกต่างกันใน มีการโยกย้ายไปยังพื้นที่แหล่งนํ้าแหล่งใหม่สำ�หรับการ แต่ละฤดูกาล ในกรณีของนกที่พบว่าตาย ทั้งหมดเป็น ผสมพันธุ์ ส่วนมากถูกกระตุ้นด้วยปริมาณนํ้าฝน แต่สัตว์ นกที่พบอาศัยหากินตามบ้านเรือน ทั้งนี้เป็นเพราะในช่วง สะเทินนํ้าสะเทินบกจะมีการการโยกย้ายไม่ไกลจากแหล่ง ฤดูฝนการผลิตพืชผลทางการเกษตรโดยเฉพาะข้าว ซึ่ง เดิม (Lauhachinda, 2009) จึงทำ�ให้โอกาสที่จะถูกรถ เป็นฤดูกาลผลิตข้าวนาปีเนื่องจากใช้นํ้าฝนเป็นหลัก ชนตายหรือทับตายระหว่างฤดูฝนและฤดูแล้งไม่มีความ (Bunsong et al., 2015) ส่งผลให้ถิ่นที่อยู่อาศัยของนก แตกต่างกัน สำ�หรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แม้ว่าในฤดูฝน ในบริเวณพื้นที่เกษตรกรรมจะมีความอุดมสมบูรณ์ของ ปริมาณอาหารในธรรมชาติเพิ่มมากขึ้นทั้งพืชอาหาร และ พืชที่เป็นอาหาร (Tarachai, 2010) พืชพรรณทางการ ลูกไม้ แต่มีปริมาณนํ้าฝนในนาข้าวที่มาก ส่งผลให้สัตว์ เกษตรในพื้นที่กำ�ลังงอกงามอย่างสมบูรณ์ทั้งดอกและ เลี้ยงลูกด้วยนมโดยเฉพาะหนูน้อยลง เพราะหนูขาดแคลน ผล ดึงดูดแมลงจำ�นวนมหาศาล จึงเหมาะสมเป็นแหล่ง แหล่งอาศัยแล้วสร้างรัง แต่ในช่วงฤดูแล้งกลับพบหนูมาก อาหารของนก ทั้งนกกินแมลง นกกินเกสรดอกไม้ และ เพราะอาหารเริ่มขาดแคลน หนูจึงอพยพเข้ามาเพื่อหา นกกินสัตว์ที่รวมเป็นฝูงกันอยู่ตามต้นไม้ดอกไม้ (Nadee, อาหาร ดังนั้น พื้นที่ใดมีแหล่งอาหารก็จะพบหนูจำ�นวน 2000) จึงทำ�ให้นกมีโอกาสถูกรถชนตายหรือทับตายมาก มาก นอกจากนี้การที่ระดับนํ้าในนาข้าวลดลงในฤดูแล้ง ขึ้น สำ�หรับสัตว์เลื้อยคลาน ในช่วงฤดูฝนมักมีแหล่ง ย่อมมีที่สำ�หรับซ่อนและสร้างรังมากขึ้น (Boonsong นํ้าขังตามพื้น และสัตว์ในกลุ่มที่วางไข่ในนํ้าขังก็ออกมา et al., 1999) จึงทำ�ให้โอกาสถูกรถชนตายหรือทับตาย 8 จับคู่ผสมพันธุ์ เช่น คางคกบ้าน กบหนอง ปาดบ้าน ระหว่างฤดูฝนและฤดูแล้งไม่มีความแตกต่างกัน 50 40 kills 30 20 Dry season

Number of road 10 Wet season 0 bird reptile amphibian mammal season 1 Figure 1 The number of road kills compared between the wet and the dry seasons on highway 2 No. 304 between markers 191 and 250 kilometers studied during December 2018 and 3 Figure 1 The numberAugust of 2019.road kills compared between the wet and the dry seasons on highway No. 304 4 between markers 191 and 250 kilometers studied during December 2018 and August 2019. 5 6 จํานวนสัตว�ที่ถูกรถชนตายหรือทับตายระหว�างกลางวันและกลางคืน 7 ผลการศึกษาพ บ ว� า ส ัต ว� ป�าส�วนใหญ�ถูกรถชนตายหรือทับตายในเวลากลางคืนมากที่สุด ซึ่งสอดคล�องกับการศึกษาของ 8 Wanghongsa and Boonkird (2001) ท ี่พ บ ว� า สัตว�ป�าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายเกิดขึ้นในช�วงเวลากลางคืน (18.00-06.00 น.) โดย 9 จํานวนนก (t = -3.08, p = 0.007) และสัตว�เลื้อยคลาน (t = -1.52, p = 0.0147) ที่ถูกรถชนมีความแตกต�างระหว�างกลางวันและ 10 กลางคืน (Figure 2) เนื่องจากชนิดนกที่ถูกรถชนส�วนใหญ�เป�นนกที่หากินในช�วงเวลากลางวันและส�วนใหญ�เป�นนกที่หา ก ิน ใ น ช� ว ง เ ช� า ต ร ู� 11 ซึ่งในช�วงพระอาทิตย�ยังไม�ขึ้นส�งผลให�ผู�ขับขี่มองไม�เห็นนก จึงทําให�นกมีโอกาสถูกรถชนตายหรือทับตายมากกว�านกที่หากินในเวลา 12 กลางคืนที่สํารวจพบไม�มาก สําหรับสัตว�เลื้อยคลาน จากการศึกษาพบจํานวนสัตว�เลื้อยคลานที่ถูกรถชนตายหรือทับตายในช�วงเวลา 13 กลางคืนเป�นส�วนใหญ� โดย Chuaynkern (2001) ได�กล�าวว�า สัตว�เลื้อยคลานบางชนิดมีนิสัยหากินกลางคืน และกลางวันหลบซ�อนตัว 14 และยังพบว�าหลายชนิดแม�ว�ามีนิสัยหากิน และมีกิจกรรมในตอนเวลากลางวัน เช�น กิ้งก�าในสกุล Calotes แต�จะพบในเวลากลางคืนเป�น 15 จํานวนตัวมากกว�าเวลากลางวัน ซึ่งการตายของสัตว�ป�าในเวลากลางคืนนั้น สอดคล�องกับ Allen and McCullough (1976) ที่พ บ ว� า 16 สัตว�ป�าส�วนใหญ�ตายมากสุดในช�วงเวลา 2 ชั่วโมง คือ หลังพระอาทิตย�ตกและหลังพระอาทิตย�ขึ้น มีการตายสูงกว�าครึ่งหนึ่งของสัตว�ที่ 17 ตายทั้งหมด แต�ไม�พบความแตกต�างดังกล�าวกับ สัตว�สะเทินน้ําสะเทินบก (t = -1.35, p = 0.195) และสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนม (t = -1.76, 18 p = 0.107) เนื่องจากสัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกมีการเคลื่อนย�ายไปยังพื้นที่แหล�งน้ําแหล�งใหม� ซึ่งถูกกระตุ�นด�วยปริมาณน้ําฝนหรือระดับ 19 อุณหภูมิ เริ่มมีการเคลื่อนย�ายตั้งแต�เวลากลางคืนและเมื่อเกิดขึ้นแล�วอาจต�อเนื่องไปถึงเวลากลางวันถ�าสัตว�ป�ามีประชากรมาก 20 (Lauhachinda, 2009) ดังนั้น โอกาสถูกรถชนตายหรือทับตายจึงไม�แตกต�างกันในแต�ละช�วงเวลา สําหรับสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนม เนื่องจาก 21 ชนิดของซากสัตว�ที่พบเป�นสัตว�ที่หากินในตอนกลางคืน เช�น ค�างคาวขอบหูขาวกลาง และสัตว�ในวงศ� Muridae และสัตว�ที่หากินในตอน 22 กลางวัน เช�น กระรอกหลากสี กระจ�อน มีจํานวนใกล�เคียงกันจึงทําให�ไม�มีความแตกต�างในแต�ละช�วงเวลา 23 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 11-27 (2563) 19

จำ�นวนสัตว์ที่ถูกรถชนตายหรือทับตายระหว่าง กลางวัน เช่น กิ้งก่าในสกุล Calotes แต่จะพบในเวลา กลางวันและกลางคืน กลางคืนเป็นจำ�นวนตัวมากกว่าเวลากลางวัน ซึ่งการตาย ผลการศึกษาพบว่า สัตว์ป่าส่วนใหญ่ถูกรถชน ของสัตว์ป่าในเวลากลางคืนนั้น สอดคล้องกับ Allen and ตายหรือทับตายในเวลากลางคืนมากที่สุด ซึ่งสอดคล้อง McCullough (1976) ที่พบว่า สัตว์ป่าส่วนใหญ่ตาย กับการศึกษาของ Wanghongsa and Boonkird (2001) มากสุดในช่วงเวลา 2 ชั่วโมง คือ หลังพระอาทิตย์ตกและ ที่พบว่า สัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายเกิดขึ้นใน หลังพระอาทิตย์ขึ้น มีการตายสูงกว่าครึ่งหนึ่งของสัตว์ที่ ช่วงเวลากลางคืน (18.00-06.00 น.) โดยจำ�นวนนก ตายทั้งหมด แต่ไม่พบความแตกต่างดังกล่าวกับสัตว์ สะเทินนํ้าสะเทินบก (t = -1.35, p = 0.195) และสัตว์ (t = -3.08, p = 0.007) และสัตว์เลื้อยคลาน (t = -1.52, เลี้ยงลูกด้วยนม (t = -1.76, p = 0.107) เนื่องจากสัตว์ p = 0.0147) ที่ถูกรถชนมีความแตกต่างระหว่างกลางวัน สะเทินนํ้าสะเทินบกมีการเคลื่อนย้ายไปยังพื้นที่แหล่งนํ้า และกลางคืน (Figure 2) เนื่องจากชนิดนกที่ถูกรถชน แหล่งใหม่ ซึ่งถูกกระตุ้นด้วยปริมาณนํ้าฝนหรือระดับ ส่วนใหญ่เป็นนกที่หากินในช่วงเวลากลางวันและส่วน อุณหภูมิ เริ่มมีการเคลื่อนย้ายตั้งแต่เวลากลางคืนและ ใหญ่เป็นนกที่หากินในช่วงเช้าตรู่ ซึ่งในช่วงพระอาทิตย์ เมื่อเกิดขึ้นแล้วอาจต่อเนื่องไปถึงเวลากลางวันถ้าสัตว์ป่า ยังไม่ขึ้นส่งผลให้ผู้ขับขี่มองไม่เห็นนก จึงทำ�ให้นกมีโอกาส มีประชากรมาก (Lauhachinda, 2009) ดังนั้น โอกาส ถูกรถชนตายหรือทับตายมากกว่านกที่หากินในเวลา ถูกรถชนตายหรือทับตายจึงไม่แตกต่างกันในแต่ละช่วง กลางคืนที่สำ�รวจพบไม่มาก สำ�หรับสัตว์เลื้อยคลาน จาก เวลา สำ�หรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เนื่องจากชนิดของซาก การศึกษาพบจำ�นวนสัตว์เลื้อยคลานที่ถูกรถชนตายหรือ สัตว์ที่พบเป็นสัตว์ที่หากินในตอนกลางคืน เช่น ค้างคาว ทับตายในช่วงเวลากลางคืนเป็นส่วนใหญ่ โดย Chuaynkern ขอบหูขาวกลาง และสัตว์ในวงศ์ Muridae และสัตว์ที่ (2001) ได้กล่าวว่า สัตว์เลื้อยคลานบางชนิดมีนิสัยหากิน หากินในตอนกลางวัน เช่น กระรอกหลากสี กระจ้อน มี กลางคืน และกลางวันหลบซ่อนตัว และยังพบว่าหลาย จำ�นวนใกล้เคียงกันจึงทำ�ให้ไม่มีความแตกต่างในแต่ละ 9 ชนิดแม้ว่ามีนิสัยหากิน และมีกิจกรรมในตอนเวลา ช่วงเวลา 60 50 Day 40 30 Night 20 Number of road kills road of Number 10 0 bird reptile amphibian mammal day and night times 1 2 Figure 2 The number of road kills compared between day and night times on highway No. 304 3 Figure 2 The numberbetween of road markers kills compared 191 and 250 between kilometers day studiedand night during times December on highway 2018 No. and 304 August between 2019. markers 4 191 and 250 kilometers studied during December 2018 and August 2019. 5 6 จํานวนสัตว�ป�าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายในแต�ละช�วงกิโลเมตร 7 ผลการศึกษาจํานวนสัตว�ป�าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายในแต�ละช�วงกิโลเมตรของทางหลวงหมายเลข 304 ตั้งแต�บริเวณหน�วย 8 พิทักษ�อุทยานแห�งชาติ ที่ ขญ 7 (ลําพระยาธาร) ถึงบริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดล�อมสะแกราช พบว�า ระหว�างช�วงกิโลเมตรที่ 200-209 เป�น 9 ช�วงกิโลเมตรที่มีสัตว�ป�าถูกรถชนตายหรือทับตายมากที่สุด (Figure 3) มีจํานวนทั้งหมด 65 ตัว คิดเป�นร�อยละ 37.14 ของสัตว�ที่ตาย 10 ทั้งหมด โดยในช�วงกิโลเมตรนี้ได�มีการส ร� า ง แนวเชื่อมต�อผืนป�าขึ้น ในช�วงกิโลเมตรที่ 209+483 ถึง 209+823 ระยะทาง 340 เมตร แต� 11 จํานวนสัตว�ป�าที่ถูกรถชนกับมีจํานวนสูงที่สุด อาจเป�นเพราะในช�วงกิโลเมตรที่ 200-209 พื้นที่ส�วนใหญ�เป�นเขตชุมชนที่มีการทําการ 12 เกษตรกรรม ดึงดูดสัตว�เข�ามาใช�ประโยชน� โดยเฉพาะสัตว�ที่มีพฤติกรรมการตอบสนองต�อมนุษย�ที่ได�ประโยชน�จากการตั้งถิ่นฐานของมนุษย� 13 (Chaiyarat, 2015) จากการศึกษาพบว�า นกเป�นสัตว�ป� า ใ น ก ล ุ�ม ที่ถูกชนมากที่สุดในบริเวณนี้ เนื่องจากนกที่ถูกชนส�วนใหญ�เป�นนกที่อาศัยอยู�ตาม 14 ทุ�งโล�ง แหล�งกสิกรรม หมู�บ�าน และส�วนใหญ�หากินตามพื้นดิน อาจเป�นบริเวณชื้นแฉะ ทุ�งนา ทุ�งหญ�า ริมถนน และบริเวณแหล�งกสิกรรมทั่วไป 15 (khobkhet, 1998) เช�น นกเอี้ยง (Acridotheres tristis) นกพิราบ ซึ่งเป�นชนิดที่สํารวจพบมากที่สุด โดยจํานวนนกที่ถูกรถชน (X2 = 16 0.035, p<0.05) และสัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกที่ถูกรถชน (X2 = 0.017, p<0.05) มีความแตกต�างกันในแต�ละช�วงกิโลเมตร เป� น เ พ ร า ะ 17 ความแตกต�างในด�านอาหารบริเวณข�างถนนและบนถนน เนื่องจากถนนสายนี้ช�วงที่ผ�านเขตชุมชน มีการทําเกษตรกรรมและมีการลําเลียง 18 ผลผลิตบ�อยครั้ง ฉะนั้นจึงมีการร�วงหล�นของผลผลิตทางการเกษตร ดึงดูดให�นกซึ่งส�วนใหญ�มีถิ่นหากินบริเวณชุมชนออกมาใช�ประโยชน� 19 และถูกรถชนตายหรือทับตาย ซึ่งนกพบมากที่สุดถึงร�อยละ 45.41 สําหรับสัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกพบตายมากในบริเวณชุมชนที่มีแหล�งน้ําขัง และ 20 แอ�งน้ําขนาดเล็กริมทาง ซึ่งเป�นแหล�งน้ําที่เกิดขึ้นชั่วคราว สอดคล�องกับการศึกษาของ Nabhitabhata (1988) ที่กล�าวว�า เมื่อปริมาณน้ํา 21 ลดลง ส�งผลให�สัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกมีการเคลื่อนย�ายที่หากินใหม� ซึ่งในบางครั้งมีการเดินทางข�ามถนน จึงมีโอกาสถูกรถชนมากขึ้น แต�ไม� 22 มีความแตกต�างกันในสัตว�เลื้อยคลาน (X2 = 0.518, p>0.05) และสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนม (X2 = 0.456, p>0.05) สําหรับสัตว�เลื้อยคลาน 23 เนื่องจากลักษณะพื้นที่อาศัยและพฤติกรรมที่มีความแตกต�างกันหลากหลายของพื้นที่ที่พบสัตว� และในแต�ละชนิดอาจพบได�มากกว�าลักษณะ 24 พื้นที่เดียว ซึ่งความแตกต�างกันหลากหลายขึ้นกับกิจกรรมและชนิดสัตว�เลื้อยคลาน และรวมทั้งป�จจัยด�านอื่นๆ ของพื้นที่ด�วยที่จะดึงดูดสัตว� 25 ให�ไปอาศัยอยู� ไม�ว�าจะเป�นด�านอาหาร แหล�งน้ํา ความชื้น แสงแดด สิ่งปกคลุม เป�นต�น (Suttanon, 2009) และพื้นที่ท ่ีแ บ� ง เ ป� น แ ต� ล ะ ช� ว ง 26 กิโลเมตรมีสภาพแวดล�อมไ ม� แตกต�างกันมากจึงส�งผลให�การตายของสัตว�เลื้อยคลานในแต�ละช�วงกิโลเมตรไม�มีความแตกต�างกัน ในส�วนของ 27 สัตว�เลี้ยงลูกด�วยนมโดยเฉพาะสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนมขนาดเล็กมีความสามารถในการปรับตัวสูงโดยจะเคลื่อนที่หากินไปมาระหว�างบริเวณที่ถูก 28 คุกคามหรือถูกรบกวนได�ดี (Lynam and Billick, 1999) จึงทําให�สัตว�เลี้ยงลูกด�วยนมหลีกหนีจากการถูกรถชน 29 20 Thai J. For. 39 (1) : 11-27 (2020)

จำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายใน สายนี้ช่วงที่ผ่านเขตชุมชน มีการทำ�เกษตรกรรมและมี แต่ละช่วงกิโลเมตร การลำ�เลียงผลผลิตบ่อยครั้ง ฉะนั้นจึงมีการร่วงหล่นของ ผลการศึกษาจำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือ ผลผลิตทางการเกษตร ดึงดูดให้นกซึ่งส่วนใหญ่มีถิ่นหากิน ทับตายในแต่ละช่วงกิโลเมตรของทางหลวงหมายเลข บริเวณชุมชนออกมาใช้ประโยชน์และถูกรถชนตายหรือ 304 ตั้งแต่บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ขญ 7 ทับตาย ซึ่งนกพบมากที่สุดถึงร้อยละ 45.41 สำ�หรับสัตว์ (ลำ�พระยาธาร) ถึงบริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช สะเทินนํ้าสะเทินบกพบตายมากในบริเวณชุมชนที่มี พบว่า ระหว่างช่วงกิโลเมตรที่ 200-209 เป็นช่วงกิโลเมตร แหล่งน้าขังํ และแอ่งน้าขนาดเล็กริมทางํ ซึ่งเป็นแหล่งน้าํ ที่มีสัตว์ป่าถูกรถชนตายหรือทับตายมากที่สุด (Figure 3) ที่เกิดขึ้นชั่วคราว สอดคล้องกับการศึกษาของ Nabhitabhata มีจำ�นวนทั้งหมด 65 ตัว คิดเป็นร้อยละ 37.14 ของสัตว์ (1988) ที่กล่าวว่า เมื่อปริมาณนํ้าลดลง ส่งผลให้สัตว์ ที่ตายทั้งหมด โดยในช่วงกิโลเมตรนี้ได้มีการสร้างแนว สะเทินนํ้าสะเทินบกมีการเคลื่อนย้ายที่หากินใหม่ ซึ่งใน เชื่อมต่อผืนป่าขึ้น ในช่วงกิโลเมตรที่ 209+483 ถึง บางครั้งมีการเดินทางข้ามถนน จึงมีโอกาสถูกรถชนมาก 209+823 ระยะทาง 340 เมตร แต่จำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูก ขึ้น แต่ไม่มีความแตกต่างกันในสัตว์เลื้อยคลาน (χ2 = 0.518, รถชนกลับมีจำ�นวนสูงที่สุด อาจเป็นเพราะในช่วงกิโลเมตร p>0.05) และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (χ2 = 0.456, p>0.05) ที่ 200-209 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตชุมชนที่มีการทำ�การ สำ�หรับสัตว์เลื้อยคลาน เนื่องจากลักษณะพื้นที่อาศัยและ เกษตรกรรม ดึงดูดสัตว์เข้ามาใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะ พฤติกรรมที่มีความแตกต่างกันหลากหลายของพื้นที่ สัตว์ที่มีพฤติกรรมการตอบสนองต่อมนุษย์ที่ได้ประโยชน์ ที่พบสัตว์ และในแต่ละชนิดอาจพบได้มากกว่าลักษณะ จากการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ (Chaiyarat, 2015) จาก พื้นที่เดียว ซึ่งความแตกต่างกันหลากหลายขึ้นกับกิจกรรม การศึกษาพบว่า นกเป็นสัตว์ป่าในกลุ่มที่ถูกชนมากที่สุด และชนิดสัตว์เลื้อยคลาน และรวมทั้งปัจจัยด้านอื่นๆ ของ ในบริเวณนี้ เนื่องจากนกที่ถูกชนส่วนใหญ่เป็นนกที่อาศัย พื้นที่ด้วยที่จะดึงดูดสัตว์ให้ไปอาศัยอยู่ ไม่ว่าจะเป็นด้าน อยู่ตามทุ่งโล่ง แหล่งกสิกรรม หมู่บ้าน และส่วนใหญ่ อาหาร แหล่งนํ้า ความชื้น แสงแดด สิ่งปกคลุม เป็นต้น หากินตามพื้นดิน อาจเป็นบริเวณชื้นแฉะ ทุ่งนา ทุ่งหญ้า (Suttanon, 2009) และพื้นที่ที่แบ่งเป็นแต่ละช่วงกิโลเมตร ริมถนน และบริเวณแหล่งกสิกรรมทั่วไป (Khobkhet, มีสภาพแวดล้อมไม่แตกต่างกันมากจึงส่งผลให้การตาย 1998) เช่น นกเอี้ยง (Acridotheres tristis) นกพิราบ ของสัตว์เลื้อยคลานในแต่ละช่วงกิโลเมตรไม่มีความ ซึ่งเป็นชนิดที่สำ�รวจพบมากที่สุด โดยจำ�นวนนกที่ถูก แตกต่างกัน ในส่วนของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยเฉพาะ รถชน (χ2 = 0.035, p<0.05) และสัตว์สะเทินนํ้าสะเทิน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กมีความสามารถในการปรับ บกที่ถูกรถชน (χ2 = 0.017, p<0.05) มีความแตกต่าง ตัวสูงโดยจะเคลื่อนที่หากินไปมาระหว่างบริเวณที่ถูก กันในแต่ละช่วงกิโลเมตร เป็นเพราะความแตกต่างใน คุกคามหรือถูกรบกวนได้ดี (Lynam and Billick, 1999) ด้านอาหารบริเวณข้างถนนและบนถนน เนื่องจากถนน จึงทำ�ให้สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลีกหนีจากการถูกรถชน วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 11-27 (2563) 21 10

30

25 bird 20 reptile 15 amphibian

10 mammal Number of road kills road of Number 5

0 191-199 200-209 210-219 220-229 230-239 240-250 kilometers 1 Figure 3 The number of road kills in a 9 kilometer stretch on highway No. 304 between markers 2 Figure 3 The number191 and of 250road kilometers kills in a studied9 kilometer during stretch December on highway 2018 and No. August304 between 2019. markers 191 and 3 250 kilometers studied during December 2018 and August 2019. นกพิราบ จึงทำ�ให้มีรถชนมากกว่าบริเวณอื่น ส่วนสัตว์ 4 จํานวนสัตว�ป�าจำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายในที่ถูกรถชนตายหรือทับตายในแต�ละประเภทที่พบบนเส�นทาง จําแนกตามประเภทพื้นที่ข�างถนน แต่ละประเภทที่พบบนเส้นทาง จำ�แนกตาม เลื้อยคลาน เป็นเพราะมีการขยายตัวของชุมชนรวมถึง 5 ผลการศึกษาจํานวนสัตว�ป�าที่ถูกรถชนตายหรือทับตาย ในพื้นที่ข�างถนนประเภทต�างๆการปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณชุมชน พบว�า สัตว�ป�าถูกรถชนตายหรือ ซึ่งทับตายมาก 6 ที่สุดในพื้นที่ใกล�ชุมชนหรือประเภทพื้นที่ข้างถนนบริเวณพื้นที่กิจกรรมมนุษย� จํานวน 86 ตัว คิดเป�นร�อยละถือว่าเป็นภัยคุกคามจากมนุษย์จึงทำ 48.86 ของสัตว�ที่ตายทั้งหมด�ให้ต้องย้ายที่อยู่ (Figure 4) โดยจํานวนนก ผลการศึกษาจำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือ 2 2 7 ที่ถูกรถชน และสัตว�เลื้อยคลานที่ถูกรถชนมีความแตกต�างกันในพื้นที่ข�างถนนประเภทต�างอาศัย ส่งผลให้เพิ่มโอกาสการถูกรถชนมากขึ้นๆ (X = 0.001, p<0.05) (X = 0.038 ,โดย p< 0.05) เ ป� น ทับตาย ในพื้นที่ข้างถนนประเภทต่างๆ พบว่า สัตว์ป่า 8 เพราะในสภาพพื้นที่ข�างถนนที่มีความแตกต�างในด�านอาหารและสิ่งปกคลุม Lauhachindaซึ่งถือว�าเป�นป�จจัยแรกที่ต�องพิจารณาก�อนองค�ประกอบอื่นในถิ่นที่ (2009) ได้กล่าวว่า สัตว์จำ�พวกตุ๊กแก ถูกรถชนตายหรือทับตายมากที่สุดในพื้นที่ใกล้ชุมชนหรือ 9 อยู�อาศัย (Lauhachinda, 2009) และบางช�วงของถนนสายนี้ได�มีการตัดผ�านเขตชุมชนซึ่งมีการทําเกษตรกรรมและมีการลําเลียงขนส�งผลผลิตได้รับประโยชน์จากหลอดไฟตามบ้านเรือนที่ช่วยดึงดูด บริเวณพื้นที่กิจกรรมมนุษย์ จำ�นวน 86 ตัว คิดเป็นร้อยละ 10 การเกษตรจึงอาจมีการตกหล�น ประกอบกับในบริเวณชุมชนมีการประกอบกิจกรรมบริเวณข�างถนนแมลงเข้ามามากขึ้น แต่ไม่พบความแตกต่างในสัตว์เลี้ยง เช�น ทิ้งขยะเศษอาหาร ซึ่งดึงดูดให�สัตว�เข�า 48.86 ของสัตว์ที่ตายทั้งหมด (Figure 4) โดยจำ�นวนนก 2 11 ม า ใ ช� ประโยชน� โดยเฉพาะนกที่มีแหล�งหากินในบริเวณชุมชน นกเอี้ยง นกกระจอกลูกด้วยนม (χ(Passeridae = 0.106, p>0.05)sp.) นกพิราบ และสัตว์สะเทินน จึงทําให�มีรถชนมากกว�าํ้า ที่ถูกรถชน และสัตว์เลื้อยคลานที่ถูกรถชนมีความแตกต่าง χ2 12 บริเวณอื่น ส�วนสัตว�เลื้อยคลาน เป�นเพราะมีการขยายตัวของชุมชนรวมถึงการปรับเปลี่ยนการใช�ประโยชน�ที่ดินในสะเทินบก ( = 0.405, p>0.05) บริเวณชุมชนอาจเป็นเพราะว่า ซึ่งถือว�าเป�นภัย กันในพื้นที่ข้างถนนประเภทต่างๆ (χ2 = 0.001, p<0.05) 13 ตลอดระยะทางการสำ�รวจมีแหล่งนํ้าขัง และแอ่งนํ้าขนาด คุกคามจากมนุษย�จึงทําให�ต�องย�ายที่อยู�อาศัย(χ2 = 0.038, p<0.05) เป็นเพราะในสภาพพื้นที่ข้างถนน ส�งผลให�เพิ่มโอกาสการถูกรถชนมากขึ้น โดย Lauhachinda (2009) ได�กล�าวว�า สัตว�จําพวกตุ�กแก 14 ได�รับประโยชน�จากหลอดไฟตามบ�านเรือนที่ช�วยดึงดูดแมลงเข�ามามากขึ้นเล็กชั่วคราวกระจายอยู่ในพื้นที่ข้างถนนทุกประเภท แต�ไม�พบความแตกต�างในสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนม (X2 = 0.106, ที่มีความแตกต่างในด้านอาหารและสิ่งปกคลุม ซึ่งถือว่า สอดคล้องกับการศึกษาของ Inger and Voris (2008) 15 p>0.05) และสัตว�สะเทินน้ําสะเทินบก (X2 = 0.405, p>0.05) อาจเป�นเพราะว�าตลอดระยะทางการสํารวจมีแหล�งน้ําขัง และแอ�งน้ําขนาดเล็ก เป็นปัจจัยแรกที่ต้องพิจารณาก่อนองค์ประกอบอื่นในถิ่น ที่พบว่า สภาพนิเวศของแหล่งน้ามีอิทธิพลต่อการกระจายํ 16 ชั่วคราวกระจายอยู�ในพื้นที่ข�างถนนทุกประเภท สอดคล�องกับการศึกษาของ Inger and Voris (2008) ท ี่พ บ ว� า สภาพนิเวศของแหล�งน้ํามี ที่อยู่อาศัย (Lauhachinda, 2009) และบางช่วงของถนน ของสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก จึงทำ�ให้การตายของสัตว์ 17 อิทธิพลต�อการกระจายของสัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกสายนี้ได้มีการตัดผ่านเขตชุมชนซึ่งมีการทำ� เกษตรกรรมจึงทําให�การตายของสัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกไม�มีความแตกต�างระหว�างพื้นที่สะเทินนํ้าสะเทินบกไม่มีความแตกต่างระหว่างพื้นที่ข้าง ข� า ง ถนน 18 ประเภทต�างๆและมีการลำ สําหรับสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนม�เลียงขนส่งผลผลิตการเกษตรจึงอาจมีการ ซึ่งจากการสํารวจพบว�าเป�นสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนมขนาดเล็กถนนประเภทต่างๆ สำ�หรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช�น หนูพุก หมูหริ่ง โดยสัตว�เลี้ยงลูกด�วย ซึ่งจาก 19 นมขนาดเล็กตกหล่นที่อาศัยอยู�ในสภาพธรรมชาตินั้นมีความสามารถในการเคลื่อนย�ายได�อย�างอิสระในสภาพถิ่นที่อยู�อาศัยที่เป�นระบบประชากรแบบ ประกอบกับในบริเวณชุมชนมีการประกอบ การสำ�รวจพบว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก เช่น 20 เป�ด ทําให�ประชากรของสัตว�กลุ�มนี้มีการเปลี่ยนแปลงที่อยู�เสมอกิจกรรมบริเวณข้างถนน เช่น ทิ้งขยะเศษอาหาร ซึ่งดึงดูด (Hamarit, หนูพุก1997) หมูหริ่งจึงทําให�สัตว�เลี้ยงลูกด�วยนมมีการกระจายเคลื่อนย�ายตลอด โดยสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กที่อาศัย 21 เส�นทาง ให้สัตว์เข้ามาใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะนกที่มีแหล่งหากิน อยู่ในสภาพธรรมชาตินั้นมีความสามารถในการเคลื่อน 22 ในบริเวณชุมชน นกเอี้ยง นกกระจอก (Passeridae sp.) ย้ายได้อย่างอิสระในสภาพถิ่นที่อยู่อาศัยที่เป็นระบบ 22 Thai J. For. 39 (1) : 11-27 (2020)

ประชากรแบบเปิด ทำ�ให้ประชากรของสัตว์กลุ่มนี้มีการ เลี้ยงลูกด้วยนมมีการกระจายเคลื่อนย้ายตลอดเส้นทาง 11 เปลี่ยนแปลงที่อยู่เสมอ (Hamarit, 1997) จึงทำ�ให้สัตว์ 40 35 30 bird reptile 25 amphibian 20 mammal 15

Number of road kills road of Number 10 5 0 two sides open one sidespace forest area community water source area space area/construction Roadside habitat types 1 2 Figure 4 The number of road kills compared between different types of habitat along the road on 3 Figure 4 The numberhighway of road No. kill304s comparedbetween markers between 191 different and 250 type kilometerss of habitat studied along during the road December on highway 2018 and August 2019. 4 No. 304 between markers 191 and 250 kilometers studied during December 2018 and August 2019. 5 จํานวนสัตว�ป�าจำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายที่ถูกรถชนตายหรือทับตายแต�ละประเภทกับพื้นที่พื้นที่จากป่าไปเป็นชุมชน แต่การเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น 6 ผลการศึกษาแต่ละประเภทกับพื้นที่จํานวนสัตว�ป�าที่ถูกรถชนตายหรือทับตายในประเภทพื้นที่มีผลดึงดูดสัตว์เลื้อยคลานเข้ามาใช้ประโยชน์โดยเฉพาะ พบว�า สัตว�ป�าส�วนใหญ�ถูกรถชนตายหรือทับตายมาก 7 ที่สุดในเขตพื้นที่อาศัยของมนุษย� ผลการศึกษาจำ จํานวน�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือ 123 ตัว คิดเป�นร�อยละ 69.89 กลุ่มกิ้งก่าและงูของสัตว�ที่ตายทั้งหมด การระบายน (Figureํ้าออกหรือการถมดินใน 5) โดยพบว�า จํานวนนกที่ถูกรถ แหล่งนํ้าธรรมชาติเพื่อตั้งเป็นพื้นที่ชุมชนหรือใช้เป็นพื้นที่ 8 ชนมีความแตกต�างในพื้นที่ในเขตพื้นที่อนุรักษ�และเขตที่อยู�อาศัยของมนุษย�ทับตายในประเภทพื้นที่ พบว่า สัตว์ป่าส่วนใหญ่ถูกรถ (t = 2.579, p = 0.002) และจากการศึกษาพ บ ว� า นกส�วน เกษตรกรรมเป็นอีกกิจกรรมของมนุษย์ที่ทำ�ให้แหล่งผสม 9 ใ ห ญ� ที่พบถูกรถชนตายชนตายหรือทับตายมากที่สุดในเขตพื้นที่อาศัยของมนุษย์หรือทับตายเป�นนกที่มีพื้นที่หากินบริเวณชุมชน และมีพฤติกรรมหากินตามพื้นดินและบนถนน จึงมีโอกาสถูกรถ พันธุ์ของสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกถูกทำ�ลาย ตลอดจน 10 ชนมากกว�านกที่มีพื้นที่หากินในพื้นที่จำ�นวน 123 ตัว คิดเป็นร้อยละป�าซึ่งเป�นเขตอนุรักษ� 69.89 ของสัตว์ที่ตาย แต�ไม�พบความแตกต�างกับสัตว�เลื้อยคลาน (t = 1.685, p = 0.12) สัตว�สะเทินน้ํา ทั้งหมด (Figure 5) โดยพบว่า จำ�นวนนกที่ถูกรถชนมี ทำ�ลายแหล่งอาศัยของสัตว์เลื้อยคลานด้วย กิจกรรม 11 สะเทินบก (t = 2.155, p = 0.49) และสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนม (t = 2.138, p = 0.51) เป�นเพราะในพื้นที่เขตอาศัยของมนุษย�มีการ ความแตกต่างในเขตพื้นที่อนุรักษ์และเขตที่อยู่อาศัย ดังกล่าวอาจเป็นผลดีกับสัตว์บางกลุ่ม การเปลี่ยนแปลง 12 เปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่จากป�าไปเป�นชุมชน แต�การเปลี่ยนแปลงเหล�านั้นมีผลดึงดูดส ัต ว� เลื้อยคลานเข�ามาใช�ประโยชน�โดยเฉพาะกลุ�ม ของมนุษย์ (t = 2.579, p = 0.002) และจากการ แหล่งนํ้าเป็นพื้นที่เกษตรกรรมทำ�ให้สัตว์เลื้อยคลานหลาย 13 กิ้งก�าและงู การระบายน้ําออกหรือการถมดินในแหล�งน้ําธรรมชาติเพื่อตั้งเป�นพื้นที่ชุมชนหรือใช�เป�นพื้นที่เกษตรกรรมเป�นอีกกิจกรรมของ ศึกษาพบว่า นกส่วนใหญ่ที่พบถูกรถชนตายหรือทับตาย ชนิดได้รับประโยชน์ เนื่องจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมใน 14 มนุษย�ที่ทําให�แหล�งผสมพันธุ�ของสัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกถูกทําลายเป็นนกที่มีพื้นที่หากินบริเวณชุมชน และมีพฤติกรรม ตลอดจนทําลายแหล�งอาศัยของสัตว�เลื้อยคลากลุ่มหนูมักอาศัยในพื้นที่เกษตรกรรม งูจึงมีแหล่งอาหารนด� ว ย กิจกรรม 15 ดังกล�าวอาจหากินตามพื้นดินและบนถนนเป�นผลดีกับสัตว�บ า ง ก ล ม ุ� จึงมีโอกาสถูกรถชนมากกว่า การเปลี่ยนแปลงแ ห ล� ง น ้ํา เป�นพื้นที่เกษตรกรรมทําให�สัตว�เลื้อยคลานหลายชนิดได�รับประโยชน�มากขึ้น หรือกิ้งก่า จิ้งเหลน จิ้งจก ตุ๊กแก ชอบอาศัยอยู่ 16 เนื่องจากสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนมในกลุ�มหนูมักอาศัยในพื้นที่เกษตรกรรมนกที่มีพื้นที่หากินในพื้นที่ป่าซึ่งเป็นเขตอนุรักษ์ แต่ไม่พบ งูจึงบริเวณชุมชนเนื่องจากมีแมลงชุกชุมจากแสงไฟในเวลามีแหล�งอาหารมากขึ้น หรือกิ้งก�า จิ้งเหลน จิ้งจก ตุ�กแก ชอบ 17 อาศัยอยู�บริเวณชุมชนเนื่องจากมีแมลงชุกชุมความแตกต่างกับสัตว์เลื้อยคลาน (t จากแสงไฟในเวลากลางคืน= 1.685, p = 0.12) กลางคืน(Lauhachinda (Lauhachinda,, 2009) จึงส�งผลให�สัตว�จําพวกสัตว�เลื้ 2009) จึงส่งผลให้สัตว์จำ�พวกอยคลาน 18 และสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนมสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก ซึ่งส�วนใหญ�ที่สํารวจพบเป�นสัตว�ในกลุ�มหนู (t = 2.155, p = 0.49) และ ขยายพันธุ�เพิ่มจํานวนสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม บางชนิดมีการเคลื่อนย�ายจากพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่ธรรมชาติ 19 เข�ามาสู�เขตที่อยู�อาศัยของมนุษย�มากขึ้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (t = 2.138, จึงมีโอกาสถูกรถชนเพิ่มขึ้นp = 0.51) เป็นเพราะ สําหรัที่สำ�รวจพบเป็นสัตว์ในกลุ่มหนูขยายพันธุ์เพิ่มจำบสัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกแม�ว�ามีการเปลี่ยนแปลงการใช��นวน 20 ประโยชน�ที่ดินจากพื้นที่ธรรมชาติเป�นพื้นที่เกษตรและชุมชนในพื้นที่เขตอาศัยของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงสภาพ มีผลต�อประชากรสัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกบางชนิดมีการเคลื่อนย้ายจากพื้นที่ธรรมชาติเข้ามาสู่เขต ยกตัวอย�างเช�น เมื่อมีการแผ�ว 21 ถางต�นไม�เป�นบริเวณกว�างทําให�สัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกสูญหาย เพราะแสงอาทิตย�ส�องกระทบพื้นผิวดินโดยตรงและเป�นปริมาณมาก 22 อุณหภูมิผิวดินจึงสูงขึ้นทําให�สัตว�สะเทินน้ําสะเทินบกตาย (Lauhachinda, 2009) อย�างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงดังกล�าวทําให�เกิด 23 แหล�งน้ําชั่วคราวซึ่งเกิดจากหลายสาเหตุ เช�น แอ�งน้ําจากรอยล�อรถ แอ�งน้ําขังในพื้นที่เกษตรกรรมเป�ดโล�ง และแหล�งน้ําจากภาชนะกัก 24 เก็บน้ําตามบ�านเรือน ซึ่งเป�นแหล�งอาศัยของสัตว�จําพวกกบ เขียด คางคก อึ่ง (Lerdrungroj and Taksintum, 2018) ส�งผลให�สัตว� 25 สะเทินน้ําสะเทินบกกระจายอยู�ตามพื้นที่ชุมชนเป�นจํานวนมาก จึงทําให�โอกาสตายจากการใช�เส�นทางรถยนต�มากเช�นเดียวกัน การ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 11-27 (2563) 23

ที่อยู่อาศัยของมนุษย์มากขึ้น จึงมีโอกาสถูกรถชนเพิ่มขึ้น เช่น แอ่งนํ้าจากรอยล้อรถ แอ่งนํ้าขังในพื้นที่เกษตรกรรม สำ�หรับสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกแม้ว่ามีการเปลี่ยนแปลง เปิดโล่ง และแหล่งนํ้าจากภาชนะกักเก็บนํ้าตามบ้านเรือน การใช้ประโยชน์ที่ดินจากพื้นที่ธรรมชาติเป็นพื้นที่เกษตร ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์จำ�พวกกบ เขียด คางคก อึ่ง และชุมชน มีผลต่อประชากรสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก (Lerdrungroj and Taksintum, 2018) ส่งผลให้สัตว์ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อมีการแผ้วถางต้นไม้เป็นบริเวณกว้าง สะเทินนํ้าสะเทินบกกระจายอยู่ตามพื้นที่ชุมชนเป็น ทำ�ให้สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกสูญหาย เพราะแสงอาทิตย์ จำ�นวนมาก จึงทำ�ให้โอกาสตายจากการใช้เส้นทางรถยนต์ 12 ส่องกระทบพื้นผิวดินโดยตรงและเป็นปริมาณมาก อุณหภูมิ มากเช่นเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นตาม 1 เปลี่ยนแปลงดังกล�าวเกิดขึ้นตามเส�นทางโดยตลอดเส�นทางสายนี้ในช�วงที่ผ�านป�าผิวดินจึงสูงขึ้นทำ�ให้สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกตาย เส้นทางโดยตลอดเส้นทางสายนี้ในช่วงที่ผ่านป่าจึงมีจึงมีผลต�อพลวัตประชากรสัตว�ป�าและการตายบน 2 เส�นทางเป�นประจําแตกต�างไปตามสภาพแวดล�อม(Lauhachinda, 2009) อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลง ผลต่อพลวัตประชากรสัตว์ป่าและการตายบนเส้นทาง 3 ดังกล่าวทำ�ให้เกิดแหล่งนํ้าชั่วคราวซึ่งเกิดจากหลายสาเหตุ เป็นประจำ�แตกต่างไปตามสภาพแวดล้อม

60 50 human residential areas 40 conservation areas 30 20

Number of road kills road of Number 10 0 bird reptile amphibian mammal Area type 4 Figure 5 The number of wildlife road kills compared between human activities or human residential 5 Figure 5 The numberareas ofand wildlife natural road habitat kills alongcompared the road between on highway human No. activities 304 between or human markers resident 191ial and areas and 6 natural250 habitat kilometers along studiedthe road during on highway December No. 2018 304 andbetween August markers 2019. 191 and 250 kilometers 7 studied during December 2018 and August 2019. ความสัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนสัตว์ป่าที่ถูกรถชน p = 0.03) ซึ่งหมายความว่าจำ�นวนรถยนต์ที่เพิ่มมากขึ้น 8 ความสัมพันธ�ระหว�างจํานวนสัตว�ป�าที่ตายหรือทับตาย กับปริมาณรถยนต์ถูกรถชนตายหรือทับตายมีผลให้สัตว์ป่าตายเพิ่มมากขึ้น กับปริมาณรถยนต� 9 ผลการศึกษาจํานวนรถยนต�บนทางหลวผลการศึกษาจำ�นวนรถยนต์บนทางหลวงงหมายเลข 304 จํานวน 9 ครั้งแม้ว่าปริมาณรถยนต์ที่สัญจรบนเส้นทางหลวงในช�วง 9 เดือน เมื่อนํามาคํานวณเป�นจํานวนรถยนต�ใน 10 รอบวัน หรือหมายเลข 24 ชั่วโมง 304 จำ พบจํานวนรถยนต�ทั้งหมด�นวน 9 ครั้งในช่วง 9 เดือน 558,263 เมื่อนำ�มา คัน และนํามาหาความสัมพันธ�ระหว�างสายนี้มีผลโดยตรงต่อจำ�นวนสัตว์ที่ตายบนถนนจํานวนรถย น ต� ที่ใช�เส�นทางบนทาง แต่ 11 หลวงหมายเลขคำ�นวณเป็นจำ 304 และจํานวนสัตว�ที่ถูกร�นวนรถยนต์ในรอบวันถชนตาย หรือ หรือ24 ชั่วโมงทับตาย โดยคํานวณค�าสัมประสิทธิ์สหสัม พ ัน ธ� พ บ ว� า มีความสัมพันธ�กันแบบมี พฤติกรรมของผู้ใช้เส้นถนนก็เป็นอีกปัจจัยที่มีผลต่อการ 12 นัยสําคัญทางสถิติพบจำ�นวนรถยนต์ทั้งหมด (R = 0.70, p = 0.03558,263) ซึ่งหมายความว�าจํานวนรถยนต�ที่เพิ่มมากขึ้นมีผลให�สัตว�ป�าตายเพิ่มมากขึ้น คัน และนำ�มา ตายของสัตว์ป่า โดยถนนสายนี้มีการขยายช่องทางการ 13 หาความสัมพันธ์ระหว่างจำแม�ว�าปริมาณรถยนต�ที่สัญจรบนเส�นทางหลวงสายนี้มีผลโดยตรง�นวนรถยนต์ที่ใช้เส้นทางบน ต�อจํานวนสัตว�ที่ตายบนถนน แต�พฤติกรรมของผู�ใช�เส�นถนนก็ 14 เป�นอีกป�จจัยที่มีผลต�อการตายของสัตว�ป�าทางหลวงหมายเลข 304 และจำ�นวนสัตว์ที่ถูกรถชนตาย โดยถนนสายนี้มีการขยายช�องทางการจราจรจราจร ทำ�ให้ผู้ใช้ทางส่วนใหญ่ใช้ความเร็ว ทําให�ผู�ใช�ทางส�วนใหญ� จึงง่ายต่อการใ ช� ความเร็ว จึงง�ายต�อ 15 การเกิดอุบัติเหตุหรือทับตาย โดยเฉพาะกับสัตว�ป�าซึ่งไม�คุ�นชินกับพฤติกรรมของมนุษย� โดยคำ�นวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า เกิดอุบัติเหตุ จึงถูกรถชนหรือทับตายเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกับสัตว์ป่าซึ่งไม่คุ้นชินกับพฤติกรรม 16 ดัชนีความหลากหลายมีความสัมพันธ์กันแบบมีนัยสำ (Shannon�คัญทางสถิติ Diversity (R =Index) 0.70, ของมนุษย์ จึงถูกรถชนหรือทับตายเพิ่มมากขึ้น 17 ผลการศึกษาสัตว�ป�าที่ถูกรถชนตายหรือทับตาย พบว�า สัตว�เลื้อยคลานมีค�าดัชนีความหลากหลายสูงที่สุด (H’ = 2.442) รองลงมา 18 คือ นก (H’ = 1.865) สัตว�เลี้ยงลูกด�วยนม (H’ = 1.618) และน�อยที่สุด คือ สัตว�สะเทินน้ําสะเทินบก (H’ = 1.205) ค�าดัชนีความหลากหลาย 19 ของสัตว�ป�าที่ถูกรถชนหรือทับตาย สามารถอธิบายถึงจํานวนชนิดและจํานวนตัวของสัตว�ป�าที่ตายว�ามีความมากน�อยแตกต�างกันตามค�าดัชนี 20 ความหลากหลายที่ปรากฏ ซึ่งค�าดังกล�าวไม�สอดคล�องกับรายงานจํานวนชนิดสัตว�ป�าแต�ละประเภทที่พบบริเวณแนวเชื่อมต�อระหว�างอุทยาน 21 แห�งชาติเขาใหญ�และอุทยานแห�งชาติทับลาน เช�น Safuwong et al. (2012) รายงานจํานวนชนิดนกบริเวณพื้นที่ศึกษาว�ามี 138 ชนิด แต� ท ี่ 22 พบว�าตายจากการถูกรถชนหรือทับตายมีเพียง 41 ชนิด ส�วนใหญ�เป�นชนิดที่อาศัยหากินตามบ�านเรือน พื้นที่เกษตรกรรม อย�างไรก็ตามใน 23 กรณีสัตว�เลี้ยงลูกด�วยนมที่พบว�า ตาย 7 ชนิด จากที่มีรายงานว�าพบในพื้นที่จํานวนมากกว�า 33 ชนิด มีสัตว�ป�าเลี้ยงลูกด�วยนมที่ถูกรถชนหรือ 24 ทับตายที่สําคัญ ไ ด� แ ก� หมูหริ่ง นอกจากนี้มีรายงานการพบหมีควาย ชะมด อีเห็น ถูกรถชนหรือทับตายด�วยเช�นกัน แต�ไม�ได�นํามารวมไว�ใน 25 การศึกษานี้ ในกรณีของสัตว�เลื้อยคลาน พบว�า ตาย 14 ชนิด นับว�าเป�นกลุ�มสัตว�ป�าที่ได�รับผลกระทบมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับจํานวน 26 ชนิดที่มีรายงานว�าพบในพื้นที่ศึกษาว�ามีอย�างน�อย 36 ชนิด ขณะที่สัตว�สะเทินน้ําสะเทินบก พบว�า ตายเพียง 6 ชนิด เมื่อเปรียบเทียบกับ 24 Thai J. For. 39 (1) : 11-27 (2020)

ดัชนีความหลากหลาย (Shannon Diversity 2561 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2562 พบจำ�นวนสัตว์ป่า Index) ถูกรถชนตายหรือทับตายทั้งหมด จำ�นวน 176 ตัว 41 ผลการศึกษาสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตายหรือทับ ชนิด ส่วนใหญ่เป็นนก พบว่า ค่าดัชนีความหลากหลาย ตาย พบว่า สัตว์เลื้อยคลานมีค่าดัชนีความหลากหลาย ของสัตว์เลื้อยคลานที่ถูกรถชนตายหรือทับตายสูงที่สุด สูงที่สุด (H’ = 2.442) รองลงมา คือ นก (H’ = 1.865) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสัตว์เลื้อยคลานเป็นกลุ่มที่ได้รับผล สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (H’ = 1.618) และน้อยที่สุด คือ กระทบจากการใช้เส้นทางสูงที่สุดเมื่อพิจารณาจากค่า สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก (H’ = 1.205) ค่าดัชนีความ ความหลากหลายทั้งจากชนิดและจำ�นวนที่พบ ผลการ หลากหลายของสัตว์ป่าที่ถูกรถชนหรือทับตาย สามารถ ศึกษาพบว่า สัตว์ป่าถูกรถชนตายหรือทับตายเกิดขึ้นใน อธิบายถึงจำ�นวนชนิดและจำ�นวนตัวของสัตว์ป่าที่ตายว่า เวลากลางคืนมากกว่าเวลากลางวันอย่างมีนัยสำ�คัญ มีความมากน้อยแตกต่างกันตามค่าดัชนีความหลากหลาย พบว่า นก สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ถูก ที่ปรากฏ ซึ่งค่าดังกล่าวไม่สอดคล้องกับรายงานจำ�นวน รถชนตายหรือทับตายในช่วงฤดูฝนมากกว่าฤดูแล้งอย่าง ชนิดสัตว์ป่าแต่ละประเภทที่พบบริเวณแนวเชื่อมต่อ มีนัยสำ�คัญ ในขณะที่สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกถูกรถชน ระหว่างอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และอุทยานแห่งชาติ ตายหรือทับตายช่วงฤดูแล้งมากกว่าฤดูฝนอย่างมีนัยสำ�คัญ ทับลาน เช่น Safuwong et al. (2012) รายงานจำ�นวน สัตว์ป่าถูกรถชนตายหรือทับตายมากที่สุดในพื้นที่ใกล้ ชนิดนกบริเวณพื้นที่ศึกษาว่ามี 138 ชนิด แต่ที่พบว่าตาย ชุมชนหรือบริเวณพื้นที่กิจกรรมมนุษย์ โดยพบจำ�นวน จากการถูกรถชนหรือทับตายมีเพียง 41 ชนิด ส่วนใหญ่ สัตว์ป่าตายสูงที่สุดระหว่างช่วงกิโลเมตรที่ 200-209 ขณะ เป็นชนิดที่อาศัยหากินตามบ้านเรือน พื้นที่เกษตรกรรม ที่จำ�นวนรถยนต์ที่ใช้เส้นทางหลวงมีความสัมพันธ์กับการ อย่างไรก็ตามในกรณีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่พบว่า ตาย 7 ตายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอย่างมีนัยสำ�คัญ ชนิด จากที่มีรายงานว่าพบในพื้นที่จำ�นวนมากกว่า 33 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษานี้ การตายของ ชนิด มีสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมที่ถูกรถชนหรือทับตายที่ สัตว์ป่าส่วนใหญ่เป็นสัตว์ขนาดเล็ก ดังนั้น ในการแก้ไข สำ�คัญ ได้แก่ หมูหริ่ง นอกจากนี้มีรายงานการพบหมีควาย ปัญหาเมื่อพิจารณาปัจจัยที่มีผลต่อการตายของสัตว์ป่า ชะมด อีเห็น ถูกรถชนหรือทับตายด้วยเช่นกัน แต่ไม่ได้ แสดงให้เห็นว่าบริเวณชุมชนเป็นพื้นที่ที่สัตว์ป่าถูกรถชน นำ�มารวมไว้ในการศึกษานี้ ในกรณีของสัตว์เลื้อยคลาน ตายมากที่สุด ดังนั้น ควรมีมาตรการในการลดผลกระทบ พบว่า ตาย 14 ชนิด นับว่าเป็นกลุ่มสัตว์ป่าที่ได้รับผล ของสัตว์ป่าที่ถูกรถชนตาย เช่น ควรเพิ่มความเข้มงวด กระทบมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับจำ�นวนชนิดที่มี ระมัดระวังการทำ�กิจกรรมในบริเวณไหล่ทางที่ชักนำ� รายงานว่าพบในพื้นที่ศึกษาว่ามีอย่างน้อย 36 ชนิด ขณะ ดึงดูดให้สัตว์ป่ามาใช้ประโยชน์ เช่น การปลูกพืชอาหาร ที่สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก พบว่า ตายเพียง 6 ชนิด เมื่อ สัตว์ และการทิ้งขยะบริเวณไหล่ทาง การทิ้งขยะของเสีย เปรียบเทียบกับรายงานจำ�นวนชนิดที่อาศัยอยู่ในบริเวณ ที่ดึงดูดสัตว์ป่า การรบกวนทำ�ลายสิ่งแวดล้อม ควรมีการ พื้นที่ศึกษาอย่างน้อย 23 ชนิด ผลการศึกษาครั้งนี้ยืนยัน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เส้นทางของผู้ขับขี่รถยนต์ ว่า สัตว์เลื้อยคลานได้รับผลกระทบในสัดส่วนสูงเมื่อ การควบคุมความเร็วอย่างเข้มงวด เปรียบเทียบกับรายงานจำ�นวนชนิดที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ นอกจากนี้การสร้างทางลอดใต้ถนนสำ�หรับ สัตว์เลื้อยคลานควรต้องมีการดำ�เนินการตลอดระยะความ สรุป ยาวของถนนที่ผ่านพื้นที่ป่า เพื่อลดผลกระทบจากการ การศึกษาผลกระทบการคมนาคมบนทางหลวง ใช้เส้นทางต่อสัตว์ป่ากลุ่มนี้ให้มากที่สุด โดยการก่อสร้าง หมายเลข 304 ต่อสัตว์ป่า กรณีศึกษาระหว่างหลัก ทางลอดใต้ถนนยังมีผลต่อการใช้เป็นทางข้ามของสัตว์ กิโลเมตรที่ 191 ถึง 250 ระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. เลี้ยงลูกด้วยนมโดยเฉพาะสัตว์กินเนื้อ พวกหมูหริ่ง ชะมด วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 11-27 (2563) 25

อีเห็น เสือขนาดเล็กด้วย นอกเหนือจากการก่อสร้างทาง Boonsong, P., S. Hongnark, K. Suasa-ard, Y. ข้าม (overpass) และทางยกระดับ (underpass) สำ�หรับ Khoprasert, P. Promkerd, G. Hamarit, P. สัตว์ป่าขนาดใหญ่ชนิดอื่น Nookarn and T. Jäkel. 1999. Rodent management in Thailand, pp. 338-357. คำ�นิยม In G.R. Singleton, L.A. Hinds, H. Leirs and Z. Zhang, eds. Ecologically-based ขอขอบพระคุณ คุณณรงค์ศักดิ์ ศรีสุวอ และ Management of Rodent Pests. Australian ครอบครัวที่เอื้อเฟื้อสถานที่พักอาศัยและพาหนะในการ Centre for International Agricultural เก็บข้อมูล รวมทั้งขอบคุณคณะทีมงานศึกษาวิจัยที่สละ Research, Canberra. เวลาอันมีค่าในการช่วยเก็บข้อมูลสัตว์ป่าที่ถูกรถชนและ Bunsong, P., S. Charernjiratragul and A. Nissapa. จำ�นวนรถที่ใช้บนทางหลวงหมายเลข 304 2015. Development of Production and Price with the Response to Pricing REFERENCES Policies of Major Rice in Thailand. Allen, R.E. and D.R. McCullough. 1976. Deer-car Parichart Journal, Thaksin University accidents in southern Michigan. Journal 28(3) (Special Edition): 250-267. (in Thai) of Wildlife Management 40(2): 317- Chaiyarat, R. 2015. Wildlife Ecology and 325. Management Vol. 1. Charansanitwong Benítez-Malvido, J. and V. Arroyo-Rodríguez. Printing Co., Ltd., Bangkok. (in Thai) 2008. Habitat fragmentation, edge Chettamart, S., V. Sutthipibul, C. Ampholchantana, effects and biological corridors in tropical P.D. Kappelle, V. Charoensiri and R. ecosystems. In K. Del Claro, P.S. Oliveira, Lukanawarakul. 2006. Dong Phayayen- V. Rico-Gray, A. Ramirez, A.A. Almeida, Khao Yai Forest Complex: Thailand Word Heritage. National Park Office, A. Bonet, F.R. Scarano, F.L. Consoli, F.J. Department of National Parks, Wildlife Morales, J. Naoki, J.A. Costello, M.V. and Plant Conservation, Bangkok. (in Sampaio, M. Quesada, M.R. Morris, M. Thai) Palacios, N. Ramirez, O. Marcal, R.H. Chuaynkern, Y. 2001. Species Diversity of Ferraz, R.J. Marquis, R. Parentoni, S.C. Amphibians and Reptiles at Pang Sida Rodriguez and U. Luttge, eds. Encyclopedia National Park, Sakaeo Province. M.S. of Life Support Systems (EOLSS). Thesis, Kasetsart University. (in Thai) International Commision on Tropical Cox, M.J., P.P. van Dijk, J. Nabhitabhata and K. Biology and Natural Resources. UNESCO, Thirakhupt. 1998. A Photographic Eolss Publishers, Oxford. Guide to Snakes and Other Reptiles Bogaert, J. 2000. Quantifying Habitat of Thailand and Southeast . Asia Fragmentation as a Spatial Process Books Co., Ltd., Bangkok. in a Patch Corridor-Matrix Landscape Department of Highways. 2017. Highway No. Model. Ph.D. Thesis, University of 304, Kabin Buri District – Pak Thong Antwerp. Chai District, the Prototype of the 26 Thai J. For. 39 (1) : 11-27 (2020)

World’s First World Heritage Forest Inger, R.F. and H.K. Voris. 2008. The biogeographical Interconnected Route for the relations of the frogs and snakes of Development of a Highway Network Sundaland. Journal of Biogeography Connecting Neighboring Transportation 28(7): 863-891. to Conserve Natural Resources and IUCN. 2019. The IUCN Red List of Threatened the Environment Sustainably. Available Species Version 2019-2. Available Source: http://www.doh.go.th/content/ Source: https://www.iucnredlist.org/ page/news/45970, February 1, 2020. search?searchType=species, November Díaz, J.A., R. Carbonell, E. Virgós, T. Santos and 25, 2018. J.L. Tellería. 2000. Effects of forest Khobkhet, O. 1998. Birds of Bueng Boraphet. fragmentation on the distribution of Office of Environmental Policy and the lizard Psammodromus algirus. Planning, Bangkok. (in Thai) Conservation 3: 235-240. Lauhachinda, V. 2009. Hepetology. Kasetsart Forman, R.T.T. and L.E. Alexander. 1998. Roads Press Co. Ltd., Bankok. (in Thai) and their major ecological effects. Lekagul, B. and P.D. Round. 1991. A Guide to Annual Review of Ecology and the Birds of Thailand. Saha Karn Bhaet Systematics 29: 207-231. Co., Ltd., Bangkok. Francis, C.M. 2001. A Photographic Guide to Lerdrungroj, K. and W. Taksintum. 2018. Species Mammals of Thailand & South-East diversity and habitats utilization of Asia. Asia Books Co. Ltd., Bangkok. herpetofauna in Bang Saphan district, Frost, D.R. 1985. Amphibian Species of the Prachuap Khiri Khan province. Journal World: A Taxonomic and Geographical of Wildlife in Thailand 25: 1-20. Reference. Allen Press Inc. and the Levins, R. 1969. Some demographic and genetic Association of Systematics Collections, consequences of environmental Lawrence, Kansas. heterogeneity for biological control. Hamarit, G. 1997. Species Diversity and Ecology Bulletin of the Entomological Society of Murid Rodents in Forest and of America 15(3): 237-240. Agricultural Area along Mekhong Lynam, A.J. and I. Billick. 1999. Differential Riverbank, Amphoe Sangkhom, response of small mammals to Changwat Nong Khai. M.S. Thesis, fragmentation in Thailand tropical forest. Kasetsart University. (in Thai) Biological Conservation 91: 191-200. Hermes, C., A. Döpper, H.M. Schaefer and G. Nabhitabhata, J. 1988. Amphibians. The Segelbacher. 2016. Effects of forest Kurusapa Business Organization, Bangkok. fragmentation on the morphological (in Thai) and genetic structure of a dispersal- Nadee, N. 2000. Bird species diversity in Klai limited, endangered bird species. Nature Kangwon Royal Palace. Journal of Conservation 16: 39-58. Wildlife in Thailand 8: 76-85. (in Thai) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 11-27 (2563) 27

Noble, G.K. 1954. The Biology of Amphibia. across Highway No.304 at Km 27-29 Dover Publication, Inc., New York. between Khao Yai National Park and Pardini, R. 2004. Effects of forest fragmentation Thap Lan National Park. Wildlife on small mammals in an Atlantic Forest Yearbook 7: 44-67. (in Thai) landscape. Biodiversity and Conservation Suttanon, N. 2009. Species Diversity and 13: 2567-2586. Distribution of Reptilians in Different Safuwong, M., U. Prayoon, P. Piyasomboon, B. Forest Types and Reasons of Sakaerat Kanchanasaka and K. Hirunkriracha. Environmental Research Station, 2012. Biodiversity, Abundance and Nakhon Ratchasima Province. M.S. Habitat Suitability of the Wildlife in Thesis, Kasetsart University. (in Thai) Habitat Corridor between Khao Yai Tarachai, P. 2010. Bird Habitat Management. National Park and Thap Lan Park. Available Source: http://www.as.mju. Wildlife Research Division, Wildlife ac.th/EBook/t_prapakorn/บทที่%20๖%20 Conservation Bureau, Department of การจัดการถิ่นอาศัยของนก.pdf, February National Park, Wildlife and Plant Conservation, Bangkok. (in Thai) 1, 2020. (in Thai) Shannon, C.E. and W. Weaver. 1949. The Wanghongsa, S. and K. Boonkird. 2001. Road- Mathematical Theory of Communication. kill vertebrates in Khao Ang Rue Nai The University of Illinois Press, Urbana. Wildlife Sanctuary. Wildlife Yearbook Silva, M., L.A. Hartling, S.A. Field and K. Teather. 3: 103-117. (in Thai) 2003. The effects of habitat fragmentation Wilcove, D.S., C.H. McClellan and A.P. Dobson. on amphibian species richness of Prince 1986. Habitat fragmentation in the Edward Island. Canadian Journal of temperate zone, pp. 237-256. In M.E. Zoology 81: 563-573. Soule, ed. Conservation Biology: The Sriktrachang, M. 2006. Survey to determine the Science of Scarcity and Diversity. point and width of the wildlife walkway Sinauer Associates, Sunderland. Thai J. For. 39 (1) : 28-40 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 28-40 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

อิทธิพลของการป้องกันไฟต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมพืชในสวนพฤกษศาสตร์สกุโณทยาน อำ�เภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก The Influence of Fire Protection on Plant Community Changes in Sakunothayan Botanical Garden, Wang Thong District, Phitsanulok Province นิรุต ไผ่เรือง1* Nirut Pairuang1* เชิดศักดิ์ ทัพใหญ่1 Chirdsak Thapyai1 แหลมไทย อาษานอก2 Lamthai Asanok2 1 คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000 Faculty of Agriculture Natural Resources and Environment, Naresuan University, Phitsanulok 65000, Thailand 2 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ แพร่ 54140 Agroforestry, Maejo University Phrae Campus, Phrae 54140, Thailand * Corresponding Author, E-mail: [email protected]. รับต้นฉบับ 24 กันยายน 2562 รับแก้ไข 28 พฤศจิกายน 2562 รับลงพิมพ์ 2 ธันวาคม 2562 ABSTRACT The influence of fire protection on plant community changes was carried out to identify tree species and composition changed by the effect of long term fire protection at Sakunothayan Botanical Garden, Wangthong district, Phitsanulok province. Systematic sampling, in a total of 26 plots of size 20 m x 20 m, was done throughout the study area from March to June, 2017. Tree species, number of individual trees, and girth at breast height (GBH) were measured. Soil samples in each plot were also collected to be analyzed in a laboratory. Seventy nine species, 66 genera, and 34 families of trees were identified and enumerated.Pterocarpus macrocarpus, Millettia leucantha, and Dipterocarpus obtusifolius had the three highest values of IVI as 25.4%, 21.7% and 16.4%, respectively. Cluster analysis (CA) of tree data was used to separate plant communities into 3 groups as deciduous dipterocarp forest (DDF), mixed deciduous forest (MDF), and ecotone area (ECA) or secondary forest. After long term fire protection, the dominant tree species in DDF and ECA were not successful in regenerating because their seedlings and saplings could not establish and survive. Conversely, seedlings and saplings of dominant tree species in MDF were able to establish throughout the forest area. The effected of fire protection made soil moisture in MDF significantly different from DDF. Due to no วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 28-40 (2563) 29 forest fire to destroy them, the seedlings and saplings of MDF species could further survive and establish themselves. Therefore, the dominant species and tree composition of DDF gradually changed to MDF. Long term fire protection was directly responsible in decreasing the area under DDF as the dominant tree species were not able to successfully undergo natural regeneration. Therefore the prescribed burning of forest in Sakunothayan Botanical Garden should be introduced to manage a successful natural regeneration, especially in DDF. Keywords: Forest fire, Plant community, Sakunothayan, Phitsanulok บทคัดย่อ การศึกษาอิทธิพลของการป้องกันไฟต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมพืชในสวนพฤกษศาสตร์สกุโณทยาน อำ�เภอ วังทอง จังหวัดพิษณุโลก มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุชนิดของไม้ต้น และศึกษาโครงสร้างของสังคมพืชที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากอิทธิพลของการกันไฟต่อเนื่องเป็นเวลานาน ด้วยการวางแปลงตัวอย่างแบบเป็นระบบ ขนาด 20x20 เมตร กระจายทั่วพื้นที่ จำ�นวน 26 แปลง ทำ�การเก็บข้อมูลชนิด จำ�นวนต้น และขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของไม้ต้น ระหว่าง เดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน 2560 พร้อมทั้งเก็บตัวอย่างดินในแต่ละแปลง เพื่อตรวจวิเคราะห์สมบัติในห้องปฏิบัติการ ผลการศึกษาพบว่า มีชนิดไม้ต้น 79 ชนิด 66 สกุล 34 วงศ์ โดยประดู่ป่า (Pterocarpus macrocarpus) สาธร (Millettia leucantha) และยางเหียง (Dipterocarpus obtusifolius) เป็นชนิดไม้ที่มีดัชนีค่าความสำ�คัญ (IVI) สูงสุด 3 อันดับแรก เท่ากับร้อยละ 25.4, 21.7 และ 16.4 ตามลำ�ดับ สามารถจัดกลุ่มหมู่ไม้ (CA) ออกเป็น 3 สังคมพืช ได้แก่ สังคมป่าเต็งรัง (DDF) สังคมป่าผสมผลัดใบ (MDF) และบริเวณรอยต่อของป่า (ECA) หรือสังคมป่ารุ่นสอง สำ�หรับความสามารถในการ สืบต่อพันธุ์ของชนิดไม้เด่นแต่ละหมู่ไม้ พบว่า ในสังคมป่าเต็งรังและบริเวณรอยต่อของป่า ไม่ประสบความสำ�เร็จ เนื่องจาก ไม่พบกล้าไม้และไม้รุ่นของชนิดพันธุ์ดังกล่าวในพื้นที่ ต่างจากชนิดพันธุ์เด่นในสังคมป่าผสมผลัดใบ ที่มีการสืบต่อพันธุ์ ได้ดี เพราะว่าพบทั้งกล้าไม้และไม้รุ่นเจริญอยู่เป็นจำ�นวนมาก ผลที่เกิดขึ้นจากการกันไฟป่าต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทำ�ให้ ดินในป่าบริเวณรอยต่อของสังคมพืช มีความชื้นต่างจากป่าเต็งรังอย่างมีนัยสำ�คัญ ส่งผลให้เมล็ดไม้ของพืชในป่าผสม ผลัดใบที่อยู่ใกล้เคียง สามารถรุกลํ้าเข้ามาเจริญเป็นกล้าไม้และตั้งตัวเป็นไม้รุ่นได้มากขึ้น ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงชนิด พันธุ์เด่นและโครงสร้างของสังคมพืชจากป่าเต็งรังและบริเวณรอยต่อของสังคมไปเป็นป่าผสมผลัดใบ เนื่องจากไม่มีไฟป่า เป็นตัวกำ�จัดกล้าไม้และไม้รุ่นของชนิดไม้จากป่าเบญจพรรณที่รุกลํ้าเข้ามาให้หมดไป การป้องกันไฟป่าต่อเนื่องเป็นเวลายาวนาน ส่งผลให้พื้นที่ป่าเต็งรังมีพื้นที่ลดลง เนื่องจากชนิดไม้เด่นในสังคม ไม่ประสบความสำ�เร็จในการสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติ ดังนั้น แนวทางในการอนุรักษ์และจัดการป่าไม้ในพื้นที่สวน พฤกษศาสตร์สกุโณทยาน จึงควรมีการเผาป่าแบบมีการควบคุม เพื่อให้โครงสร้างป่าและชนิดไม้เด่นในสังคมของป่า เต็งรังสามารถสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติได้ตามปกติ คำ�สำ�คัญ: ไฟป่า สังคมพืช สกุโณทยาน พิษณุโลก 30 Thai J. For. 39 (1) : 28-40 (2020)

คำ�นำ� ความรุนแรงและมีความถี่มาก ทำ�ให้ความสามารถใน การแตกหน่อและสืบต่อพันธุ์ของการเกิดของกล้าไม้และ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดขึ้นและดำ�รงอยู่ ไม้รุ่นลดลง (Wanthongchai et al., 2014) ดังนั้น หาก ของป่าไม้และสังคมพืชประเภทต่างๆ ในประเทศไทย มีการป้องกันไฟป่าต่อเนื่องกันนานหลายปี โดยไม่มีไฟป่า ล้วนเป็นปฏิกิริยาร่วมกันระหว่างปัจจัยสิ่งแวดล้อม ได้แก่ เกิดขึ้น ชนิดไม้และโครงสร้างของสังคมพืชในป่าผลัดใบ สภาพอากาศ (climatic factors) สภาพดิน (edaphic ดังกล่าวก็จะเปลี่ยนแปลงไป (Santisuk, 2012) factor) สภาพภูมิประเทศ (topographic factors) และ สวนพฤกษศาสตร์สกุโณทยาน ตั้งอยู่บริเวณ อิทธิพลของสิ่งมีชีวิต (biotic factors) ที่เกี่ยวข้อง สำ�หรับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายพิษณุโลก- ป่าผลัดใบเขตร้อนอย่างเช่นในประเทศไทยแล้ว ปัจจัย หล่มสัก) อำ�เภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก จัดเป็นสวน ทางกายภาพที่เป็นปัจจัยจำ�กัด (limiting factor) ควบคุม พฤกษศาสตร์ขนาดเล็ก มีพื้นที่ประมาณ 814 ไร่ มีลำ�น้าเข็กํ การเปลี่ยนแปลงชนิดและโครงสร้างในสังคมที่สำ�คัญ ก็ ไหลผ่านทางด้านทิศใต้ ทำ�ให้เกิดนํ้าตกและเกาะแก่ง คือ ไฟป่า (forest fire) ที่มีส่วนทำ�ให้ประเภทของป่าไม้ กลางนํ้าหลายจุด ได้รับความนิยมจากประชาชนและนัก และโครงสร้างสังคมพืชเปลี่ยนแปลงไป (Bunyavejchewin ท่องเที่ยวจำ�นวนมาก สภาพป่าไม้ของสวนพฤกษศาสตร์ et al., 2016) รวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสมบัติ ส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง เนื้อดินชั้นบน ของดินและการหมุนเวียนแร่ธาตุ (Wanthongchai เป็นดินร่วนปนทราย ชั้นล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนเศษ et al., 2014) โดยไฟป่าเป็นทั้งผู้สร้างและผู้ทำ�ลาย หินหรือกรวด ชั้นดินตื้น และมักพบชั้นหินในความลึกไม่ กล่าวคือ ช่วยทำ�ให้เศษใบไม้ที่ร่วงหล่นตามพื้นป่า มีการ เกิน 50 เซนติเมตร เนื้อดินส่วนใหญ่สีนํ้าตาล นํ้าตาลปน หมุนเวียนแร่ธาตุได้เร็วขึ้น ช่วยกำ�จัดวัชพืช โรคและแมลง แดง หรือแดงปนเหลือง มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ รวมไปถึงการรักษาโครงสร้างป่า ทำ�ให้หญ้าระบัดเป็น ตํ่า สภาพภูมิประเทศเป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา อาหารของสัตว์ป่า (Seub Nakhasathien Foundation, ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 65 เมตร อุณหภูมิ 2019) แต่ในทางตรงกันข้าม ไฟป่าทำ�ให้อัตราการเติบโต เฉลี่ย 29 องศาเซลเซียส มีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ย 1,100–1,200 ของต้นไม้ลดลง ทำ�ลายสิ่งมีชีวิตในดินที่มีประโยชน์ สาร มิลลิเมตร (Phitsanulok Provincial of Tourism and อาหารบางชนิด ส่งผลให้อัตราการเติบโตของต้นไม้ลด Sports, 2019) ลง หรือทำ�ให้ต้นไม้อ่อนแอ จนโรคและแมลงสามารถเข้า เนื่องจากพื้นที่โดยรอบสวนพฤกษศาสตร์ ทำ�อันตรายได้ (Akaakara, 2000) สกุโณทยาน เป็นชุมชนและพื้นที่ทางการเกษตร ทั้ง อย่างไรก็ตาม พรรณพืชส่วนใหญ่ในป่าไม้ที่มี นาข้าวและสวนผลไม้ ทำ�ให้มีการเผาวัสดุทางการเกษตร ไฟเกิดขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี เช่น พรรณไม้ในป่าเต็งรัง เกิดไฟลุกลามเข้ามาในพื้นที่เป็นสาเหตุของไฟป่าอยู่บ่อย (deciduous dipterocarp forest) และป่าผสมผลัดใบ ครั้ง (Forest Fire Control Division, 2016) สวน (mixed deciduous forest) จะมีการปรับตัวให้อยู่รอด พฤกษศาสตร์จึงทำ�แนวกันไฟโดยรอบสวนพฤกษศาสตร์ จากไฟป่าที่ปกติเป็นไฟผิวดินลุกลามเผาไหม้เศษกิ่งไม้ เพื่อป้องกันไฟป่าไม่ให้เกิดขึ้นและสร้างความเสียหายต่อ และใบไม้ตามพื้นป่าด้วยการสร้างเปลือกที่หนามากขึ้น พื้นที่ป่าไม้ ส่งผลให้ไม่มีไฟป่าเกิดขึ้นในพื้นที่เป็นเวลา มีระบบรากแข็งแรงและเก็บสารอาหารสำ�คัญไว้ใต้ดิน นานต่อเนื่องมากกว่าสิบปี เมื่อคณะผู้วิจัยเข้ามาศึกษา จัดเป็นป่าไม้ประเภทสุดยอดด้วยไฟ (fire climax เรื่องของชนิดไม้และโครงสร้างป่าในสวนพฤกษศาสตร์ community) ดังนั้น พฤติกรรมของไฟป่าทั้งในเรื่องของ สังเกตพบว่าชนิดไม้หลายชนิดที่ปกติเกิดและกระจาย ความถี่และความรุนแรง จึงเป็นปัจจัยสำ�คัญหนึ่งที่ควบคุม พันธุ์ในป่าผสมผลัดใบ เริ่มรุกลํ้าเข้ามาเป็นองค์ประกอบ โครงสร้างของสังคมพืชประเภทนี้ เนื่องจากไฟป่าที่มี หลักในป่าเต็งรัง ทำ�ให้ป่าเต็งรังได้ลดลงไป ดังนั้น เพื่อ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 28-40 (2563) 31

ให้เกิดความเข้าใจถึงสาเหตุสำ�คัญของการเปลี่ยนแปลง เมตร ในบริเวณของป่าผสมผลัดใบ ป่าเต็งรัง และบริเวณ นี้ ทางคณะผู้วิจัยจึงได้ทำ�การวางแปลงตัวอย่าง เพื่อ รอยต่อของป่า พื้นที่ละ 1 แปลง ทำ�การระบุชนิด วัด ศึกษาโครงสร้างป่า องค์ประกอบของชนิดไม้ การสืบต่อ ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก ความสูงและตำ�แหน่งของต้นไม้ พันธุ์ตามธรรมชาติ และเปรียบเทียบความคล้ายคลึง ภายในแปลงตัวอย่าง ระหว่างสังคมพืชที่เกิดขึ้นจากอิทธิพลของการป้องกัน 5. เก็บตัวอย่างดินชั้นบนที่ความลึก 15 ไฟต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อประยุกต์องค์ความรู้ที่ เซนติเมตร บริเวณกึ่งกลางแปลงขนาด 10x10 เมตร ได้รับจากการวิจัยไปใช้ในการจัดการป่าไม้ของสวน จำ�นวน 4 จุด และบริเวณกึ่งกลางแปลงขนาด 20x20 พฤกษศาสตร์สกุโณทยาน อำ�เภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก เมตร อีก 1 จุด รวมเป็นจำ�นวน 5 จุด โดยเก็บตัวอย่าง อย่างยั่งยืนต่อไป ดินจุดละ 500 กรัม เพื่อนำ�ไปวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพ อุปกรณ์และวิธีการ และเคมี ต่อไป การวางแปลงตัวอย่างเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วางแปลงแบบเป็นระบบ (systematic 1. คำ�นวณหาค่าความหนาแน่น (Density: D) sampling) ขนาด 20x20 เมตร ครอบคลุมทั่วทั้งพื้นที่ ความถี่ (Frequency: F) ความเด่น (Dominance: Do) โดยแต่ละแปลงตัวอย่างมีแปลงขนาด 5x5 เมตร ซ้อน และดัชนีค่าความสำ�คัญ (Importance Value Index: ทับที่บริเวณกึ่งกลางของแปลง (Figure 1) ทั้งนี้แปลง IVI) ของไม้ต้นที่พบ ตามวิธีการของ Kutintara (1999) ตัวอย่างต้องอยู่ห่างจากสิ่งรบกวน เช่น เส้นทาง ถนน 2. วิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่ไม้ (cluster แม่นํ้า และสิ่งก่อสร้าง ไม่น้อยกว่า 50 เมตร โดยแต่ละ analysis) ด้วยวิธีการ relative Sorensen distance แปลงตัวอย่างอยู่ห่างกัน 200 เมตร ได้จำ�นวนแปลง และ Ward’s linkage method โดยโปรแกรม PC-ORD 6 ทั้งหมด 26 แปลง (McCune and Mefford, 2011) 2. เก็บข้อมูลไม้ต้น (tree) โดยวัดขนาดเส้น 3. คำ�นวณหาค่าดัชนีความหลากชนิด (species รอบวงเพียงอก (girth at breast height; GBH, ระดับ diversity index) จากสมการของ Shannon-Wiener ความสูง 1.30 เมตร) ที่มีขนาดตั้งแต่ 15 เซนติเมตรขึ้น index และคำ�นวณค่าดัชนีความคล้ายคลึงของแต่ละ ไป ระบุชนิดและจำ�นวนต้นที่พบ หากไม่สามารถระบุ สังคมพืชหรือหมู่ไม้ จากสมการของ Sorensen ตามวิธี ชนิดได้ ทำ�การเก็บตัวอย่างใบ ดอก และผล ของพืชที่ การของ Marod (2011) พบ เพื่อนำ�ไประบุชนิดที่ถูกต้องด้วยการเปรียบเทียบกับ 4. นำ�ตัวอย่างดินทั้ง 5 จุด ในแต่ละแปลง มา ตัวอย่างพรรณไม้แห้ง (herbarium specimens) ที่เก็บ ผสมคลุกเคล้ากัน ให้มีนํ้าหนักประมาณ 1,000 กรัม เพื่อ รักษาไว้ในหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช ร่วมกับการใช้รูปวิธาน (taxonomic key) จาก นำ�ไปวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน ได้แก่ เอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง พีเอช (pH) ความชื้นในดิน (soil moisture) อินทรียวัตถุ 3. เก็บข้อมูลไม้รุ่น (sapling) ที่มีขนาดเส้น (OM) ความหนาแน่นรวมของดิน (bulk density) อนุภาค รอบวงเพียงอกน้อยกว่า 15 เซนติเมตร และกล้าไม้ ทราย (sand) อนุภาคทรายแป้ง (silt) อนุภาคดินเหนียว (seedling) ภายในแปลงขนาด 5x5 เมตร โดยระบุชนิด (clay) ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) ความจุ และนับจำ�นวนต้นที่พบทั้งไม้รุ่นและกล้าไม้รวมกัน ความชื้นที่เป็นประโยชน์ (AWC) รวมไปถึงสารอาหารใน 4. ศึกษาโครงสร้างทางด้านตั้ง (profile ดิน ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม diagram) ของสังคมพืช ด้วยการวางแปลงขนาด 10x50 (K) แคลเซียม (Ca) และแมกนีเซียม (Mg) 32 Thai J. For. 39 (1) : 28-40 (2020)

Figure 1 Location of sampling plots in the study area of Sakunothayan Botanical Garden. Remarks = point of soil collected = sampling plot and plot number

ผลและวิจารณ์ เมื่อนำ�ข้อมูลมาวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่ไม้ที่ ความคล้ายคลึงร้อยละ 25 ในพื้นที่สวนพฤกษศาสตร์ ชนิดพันธุ์เด่นและโครงสร้างสังคมพืช สกุโณทยาน พบว่า สามารถแบ่งออกเป็น 3 สังคม ผลการศึกษาจากการวางแปลงสำ�รวจสังคม (Figure 2) ได้แก่ สังคมป่าเต็งรัง (DDF) สังคมป่าผสม พืชในพื้นที่สวนพฤกษศาสตร์สกุโณทยาน พบชนิดไม้ต้น ทั้งหมด 79 ชนิด 66 สกุล 32 วงศ์ มีจำ�นวนต้นไม้ใน ผลัดใบ (MDF) และสังคมรอยต่อของป่า (ECA) ซึ่งมี แปลงทั้งหมด 714 ต้น มีความหนาแน่น 687 ต้น/เฮกตาร์ ลักษณะเป็นป่ารุ่นสองที่มีการทดแทน โดยป่าเต็งรังพบ และมีพื้นที่หน้าตัด (basal area) รวม 28.3 ตร.ม./ ไม้ต้นทั้งหมด 34 ชนิด 30 สกุล 21 วงศ์ ชนิดไม้ที่มีดัชนี เฮกตาร์ โดยประดู่ป่า (Pterocarpus macrocarpus) ค่าความสำ�คัญสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ประดู่ป่า ยาง และสาธร (Millettia leucantha) เป็นชนิดไม้ที่มีความ เหียง มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) แดง หนาแน่นสูงสุดสองอันดับแรก เท่ากับ 75 และ 63 ต้น/ (Xylia xylocarpa) และเต็ง (Shorea obtusa) เท่ากับ เฮกตาร์ ตามลำ�ดับ แคหัวหมู (Markhamia stipulata) ร้อยละ 49.3, 42.5, 25.5, 16.9 และ 16.2 ตามลำ�ดับ มีความถี่สัมพัทธ์สูงสุดเท่ากับร้อยละ 5.9 ส่วนพื้นที่ ป่าผสมผลัดใบพบไม้ต้นทั้งหมด 52 ชนิด 45 สกุล 25 หน้าตัดรวมของไม้ต้นแต่ละชนิด พบว่า ยางเหียง วงศ์ มีชนิดไม้ที่มีดัชนีค่าความสำ�คัญสูงสุด 5 อันดับแรก (Dipterocarpus obtusifolius) มีค่าสูงสุด เท่ากับ 2.8 ได้แก่ สาธร ประดู่ป่า แคหัวหมู ยมหิน (Chukrasia ตร.ม./เฮกตาร์ (Table 1) tabularis) และตีนนก (Vitex pinnata) เท่ากับ ร้อยละ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 28-40 (2563) 33

40.0, 19.7, 17.6, 16.6 และ 15.3 ตามลำ�ดับ ส่วน แรก ได้แก่ ติ้วขน ตะแบกแดง อะราง พะยอม และแค บริเวณรอยต่อของป่า พบไม้ต้นทั้งหมด 47 ชนิด 44 สกุล หัวหมู โดยมีค่าเท่ากับร้อยละ 28.4, 22.9, 21.0, 19.4 25 วงศ์ มีชนิดไม้ที่มีดัชนีค่าความสำ�คัญสูงสุด 5 อันดับ และ 16.5 ตามลำ�ดับ

Figure 2 The dendrogram of tree species in Sakunothayan Botanical Garden. เมื่อวิเคราะห์การจัดกลุ่มของหมู่ไม้ สามารถ ป่าเต็งรังในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัด แบ่งออกได้เป็น 3 สังคม โดยชนิดไม้ที่มีดัชนีค่าความ อุทัยธานี ที่มีเต็งเป็นชนิดไม้เด่น (Bunyavejchewin, สำ�คัญเป็นอันดับต้นๆ ของสังคมป่าเต็งรังและป่าผสม 2012) โดยสาเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้ยางเหียงและเต็ง เป็น ผลัดใบ คือ ประดู่ป่า เนื่องจากมีความสามารถในการ ชนิดไม้เด่นในสังคมป่าเต็งรัง เนื่องจากไม้ทั้ง 2 ชนิดนี้ ปรับตัว เติบโตได้เร็ว และดำ�รงชีวิตอยู่ได้ในสภาพที่มี สามารถขึ้นได้ดีในพื้นที่แห้งแล้ง ดินมีอนุภาคทราย และ ความแห้งแล้งสูง สอดคล้องกับ Niamrat and Marod ต้องการแสงมาก ที่เป็นลักษณะสำ�คัญของป่าเต็งรังทั่วไป (2005) ที่รายงานว่า ประดู่ป่าเป็นชนิดไม้ที่ต้องการแสง (Gardner et al., 2000) มาก อดทนต่อความแห้งแล้ง ทำ�ให้กระจายพันธุ์ได้ดีใน ป่าผสมผลัดใบมีชนิดไม้เด่น ได้แก่ สาธร ประดู่ พื้นที่ศึกษา ซึ่งการจัดกลุ่มของหมู่ไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ ป่า แคหัวหมู และยมหิน โดย สาธร และยมหิน เป็นชนิด สกุโณทยาน ที่สามารถแบ่งออกเป็น 3 สังคมได้นั้น เพราะ ไม้สำ�คัญของป่าผสมผลัดใบ (Santisuk, 2012) เนื่องจาก มีชนิดไม้เด่นร่วมที่มีความหนาแน่นของจำ�นวนต้นของ เป็นพื้นที่ริมแม่นํ้า ทำ�ให้มีความชุ่มชื้นสูงกว่าบริเวณอื่น การปรากฏต่างกัน ดังนี้ อีกทั้งยังเป็นบริเวณที่มีแม่ไม้ของทั้งสองชนิดอยู่เป็น ป่าเต็งรังแยกออกจากสังคมอื่นได้จากชนิดไม้ จำ�นวนมาก ทำ�ให้เมล็ดไม้มีโอกาสแพร่กระจาย เติบโต เด่นดั้งเดิม คือ ยางเหียง และเต็ง ซึ่งเป็นไม้วงศ์ยางผลัด และตั้งตัวได้ดี สอดคล้องกับการศึกษาของ The Forest ใบที่เป็นไม้ดัชนีของป่าเต็งรังและเป็นชนิดไม้ที่มีดัชนีค่า Herbarium (2013) ที่รายงานว่า สาธร และยมหิน เป็น ความสำ�คัญสูงเป็นอันดับแรกๆ ในป่าเต็งรังหลายพื้นที่ ชนิดไม้เด่นในป่าผสมผลัดใบที่อยู่ใกล้แหล่งนํ้า เนื่องจาก เช่น ป่าเต็งรังในอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง จังหวัด ต้องการความชื้นสูง เช่นเดียวกันกับป่าผสมผลัดใบใน เพชรบูรณ์ ที่มียางเหียงเป็นชนิดไม้เด่น เช่นเดียวกันกับ พื้นที่ศึกษา 34 Thai J. For. 39 (1) : 28-40 (2020)

Table 1 Characteristics of tree community (only the top five species in terms of IVI orders are shown) in Sakunothayan Botanical Garden, Wang Thong district, Phitsanulok province. D BA RD RF RDo IVI No. Species (individual.ha-1) (m2.ha-1) (%) (%) (%) (%) Sukunothayan Botanic Garden 1 Pterocarpus macrocarpus 75 2.5 10.9 5.6 8.9 25.4 2 Millettia leucantha 63 2.1 9.2 4.9 7.5 21.7 3 Dipterocarpus obtusifolius 25 2.8 3.6 2.8 10.0 16.4 4 Markhamia stipulata 44 0.6 6.4 5.9 2.1 14.5 5 Canarium subulatum 26 1.2 3.8 4.5 4.2 12.6 6 Others 453 19.1 66.0 76.2 67.3 209.5 Total 687 28.3 100 100 100 300 Deciduous dipterocarp forest 1 Pterocarpus macrocarpus 161 5.2 22.3 8.6 18.4 49.3 2 Dipterocarpus obtusifolius 82 6.5 11.4 8.6 22.5 42.5 3 Canarium subulatum 64 2.3 8.9 8.6 8.1 25.5 4 Xylia xylocarpa 54 1.1 7.4 5.7 3.8 16.9 5 Shorea obtusa 39 1.4 5.5 5.7 5.02 16.2 6 Others 321 12.1 44.6 62.9 42.2 149.6 Total 721 28.7 100 100 100 300 Ecotone area 1 Cratoxylum formosum 83 2.6 12.6 5.1 10.7 28.4 2 Lagerstroemia calyculata 58 2.0 8.8 6.1 8.0 22.9 3 Peltophorum dasyrachis 53 2.2 7.9 4.1 8.9 21.0 4 Shorea roxburghii 33 2.0 5.0 6.1 8.3 19.4 5 Markhamia stipulata 58 0.6 8.8 5.1 2.6 16.5 6 Others 378 15.1 56.9 73.5 61.4 191.8 Total 664 24.6 100 100 100 300 Mixed deciduous forest 1 Millettia leucantha 138 4.1 20.2 6.8 13.1 40.0 2 Pterocarpus macrocarpus 53 1.9 7.7 5.9 6.1 19.7 3 Markhamia stipulata 50 0.8 7.3 7.6 2.6 17.6 4 Chukrasia tabularis 35 2.3 5.1 4.2 7.2 16.6 5 Vitex pinnata 23 2.5 3.3 4.2 7.8 15.3 6 Others 385 19.9 56.4 71.2 63.2 190.7 Total 683 31.5 100 100 100 300 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 28-40 (2563) 35

บริเวณรอยต่อของป่า มีพรรณไม้เด่น ได้แก่ ริมลำ�ธารที่มีความชุ่มชื้น ส่วนการกระจายของติ้วขนที่ ติ้วขน ตะแบกแดง อะราง พะยอม และแคหัวหมู โดยมี พบทั่วไปในบริเวณรอยต่อของป่านั้น เนื่องจากเป็นบริเวณ ติ้วขน และอะราง เป็นชนิดไม้เบิกนำ� เนื่องจากอยู่ใน ที่มีแม่ไม้จำ�นวนมาก มีกล้าไม้และไม้รุ่น เกิดและตั้งตัว บริเวณใกล้แม่นํ้าและมีความชื้นสูง เหมาะสมต่อการ ได้ดี ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการป้องกันไฟป่ามาเป็นระยะ เติบโต สอดคล้องกับการศึกษาของ Marod et al. (2017) เวลานาน สอดคล้องกับ Bunyavejchewin et al. (2016) ที่พบว่า อะรางเป็นชนิดไม้เบิกนำ�ของป่าผสมผลัดใบ ใน ที่รายงานว่า ป่าเต็งรังในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง สภาพแวดล้อมที่ไม่แห้งแล้งมาก เช่นเดียวกันกับรายงาน ภายหลังจากการป้องกันไฟป่า ทำ�ให้เรือนยอดชั้นล่าง ของ Paoin and Paoin (2011) ที่รายงานว่า อะรางเป็น และพื้นป่าค่อนข้างรกทึบ ส่งผลให้ติ้วขนมีการสืบต่อพันธุ์ ไม้โตเร็วที่ต้องการแสง สามารถเติบโตได้ดีในพื้นที่โล่ง ตามธรรมชาติได้มาก Table 2 Characteristics of seedlings and saplings in Sakunothayan Botanical Garden, Wang Thong district, Phitsanulok province (* only the top 5 species in terms of their IVI values are shown). D RD RF IVI No. Species (individual.ha-1) (%) (%) (%) Deciduous dipterocarp forest 1 Chukrasia tabularis 7,600 20.0 6.0 26.0 2 Polyalthia debilis 6,629 17.4 6.0 23.5 3 Litsea glutinosa 3,543 9.3 6.0 15.4 4 Markhamia stipulata 1,371 3.6 5.2 8.8 5 Zollingeria dongnaiensis 1,029 2.7 5.2 7.9 6 Others 17,829 47.0 71.6 118.4 Total 38,000 100 100 200 Ecotone area 1 Chukrasia tabularis 3,200 14.5 5.8 20.3 2 Sindora siamensis 3,422 15.5 4.7 20.2 3 Markhamia stipulata 1,689 7.7 9.3 17.0 4 Peltophorum dasyrachis 2,933 13.3 3.5 16.8 5 Polyalthia debilis 2,089 9.5 2.3 11.8 6 Others 8,711 39.5 74.4 113.9 Total 22,044 100 100 200 Mixed deciduous forest 1 Chukrasia tabularis 6,240 23.9 7.0 30.9 2 Helicteres viscida 2,880 11.0 2.0 13.0 3 Markhamia stipulata 1,320 5.1 7.0 12.1 4 Polyalthia debilis 2,360 9.0 3.0 12.0 5 Millettia leucantha 960 3.7 7.0 10.7 6 Others 12,360 47.3 74.0 121.3 Total 26,120 100 100 200 36 Thai J. For. 39 (1) : 28-40 (2020)

จากข้อมูลของกล้าไม้และไม้รุ่น (Table 2) ทั้ง ในทางตรงกันข้าม กลับพบว่ากล้าไม้และไม้ 3 สังคม พบว่า ชนิดไม้ที่มีดัชนีค่าความสำ�คัญสูงเป็น รุ่นของชนิดไม้เด่นในป่าเต็งรัง ได้แก่ ยางเหียง มะกอก อันดับแรกๆ เป็นชนิดไม้ในกลุ่มเดียวกัน ได้แก่ ยมหิน เกลื้อน และประดู่ป่า มีจำ�นวนต้นและความหนาแน่น แคหัวหมู และไข่เต่า (Polyalthia debilis) โดยเฉพาะ น้อยมาก ไม่สามารถเป็นชนิดไม้ที่มีดัชนีค่าความสำ�คัญ อย่างยิ่งกล้าไม้และไม้รุ่นของยมหิน ที่มีทั้งจำ�นวนต้น สูงเป็น 5 อันดับแรกได้เลย (Table 2) เนื่องจากการ ความหนาแน่น และความถี่สูงมากที่สุด ทั้ง 3 บริเวณ ป้องกันไฟป่าในพื้นที่ต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลานาน ส่งผล เนื่องจากยมหินมีการติดผลและเมล็ดเป็นจำ�นวนมาก ให้โครงสร้างของป่าเปลี่ยนแปลงไป กล้าไม้และไม้รุ่นของ เมล็ดมีขนาดเล็ก นํ้าหนักเบาและมีปีก ทำ�ให้ปลิวไปตาม ไม้ดัชนีป่าเต็งรังไม่สามารถสืบต่อพันธุ์ได้ เพราะมีสภาพ อ่อนแอและลดจำ�นวนลง สอดคล้องกับการศึกษาของ กระแสลมได้ง่าย นอกจากนี้ยมหินยังเป็นชนิดไม้ที่เติบโต Bunyaveichewin et al. (2016) ที่รายงานว่า ป่าเต็งรัง รวดเร็วมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะกล้าไม้ (The ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ภายหลังจากการกัน Forest Herbarium, 2013) ส่งผลให้ยมหิน ประสบ ไฟป่ามาเป็นเวลานาน จะมีกล้าไม้ของชนิดพันธุ์เด่นจาก ความสำ�เร็จในการสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติได้ดี จนกลาย ป่าผสมผลัดใบ เข้ามาเจริญและตั้งตัวได้มากขึ้น เนื่องจาก เป็นชนิดไม้เด่นของทั้งป่าเต็งรัง ป่าผสมผลัดใบ และ มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเติบโต ดินมีความชื้น บริเวณรอยต่อของป่า ในสวนพฤกษศาสตร์สกุโณทยาน สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่อยู่ริมนํ้า

Figure 3 Tree profile diagrams showing canopy layers in each plant community of Sakunothayan Botanical Garden. จากภาพแสดงโครงสร้างทางด้านตั้งของสังคม เด่นในชั้นเรือนยอดของป่าเต็งรัง ร่วมกับเต็ง ยมหิน และ พืช (Figure 3) ชี้ให้เห็นว่า ยางเหียงยังคงเป็นชนิดพันธุ์ มะกอกเกลื้อน ส่วนบริเวณรอยต่อระหว่างป่าเต็งรังกับ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 28-40 (2563) 37

ป่าผสมผลัดใบ แม้ว่ายางเหียงจะยังเป็นชนิดพันธุ์เด่นใน ต่อป่า มีค่าในระดับปานกลาง แสดงว่า อิทธิพลของการ เรือนยอดชั้นบนก็ตาม แต่พบว่ามีชนิดไม้ของป่าผสมผลัด ป้องกันไฟในพื้นที่ต่อเนื่องเป็นเวลานาน ได้ส่งเสริมให้ ใบหลายชนิด ได้แก่ ตะแบกแดง อินทนิลบก (Lagerstroemia กล้าไม้และไม้รุ่นของชนิดพันธุ์จากป่าผสมผลัดใบ สามารถ macrocarpa) สาธร และประดู่ป่า เจริญรุกลํ้าเข้ามา ตั้งตัวและเติบโตต่อไปได้ เนื่องจากไม่มีไฟป่าเป็นตัวกำ�จัด เป็นพืชเด่นในเรือนยอดชั้นรอง อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณา ให้กล้าไม้และไม้รุ่นพวกนี้หมดไป ตรงกันข้ามกับกล้าไม้ ข้อมูลใน Table 3 ที่พบว่า ค่าดัชนีความคล้ายคลึง และไม้รุ่นของชนิดพันธุ์ในป่าเต็งรังที่จะค่อยๆ หายไป (Sorensen’s similarity index) ของไม้ต้น ไม้รุ่นและ กล้าไม้ ระหว่างพื้นที่ป่าทั้ง 3 บริเวณนี้ พบว่าองค์ประกอบ ดังจะเห็นได้จากข้อมูลของกล้าไม้และไม้รุ่นของทั้ง 3 ของกล้าไม้และไม้รุ่น ระหว่างป่าผสมผลัดใบและป่าเต็งรัง สังคมพืช (Table 2) ที่มีเพียงยมหินและสาธร ซึ่งเป็น มีค่าความคล้ายคลึงกันมากที่สุด รองลงมาคือ ความ ชนิดไม้เด่นของป่าผสมผลัดใบเท่านั้นที่สามารถสืบต่อ คล้ายคลึงระหว่างป่าผสมผลัดใบและบริเวณรอยต่อป่า พันธุ์ตามธรรมชาติได้ดี และตั้งตัวเป็นไม้เด่นที่มีดัชนีค่า แต่ค่าความคล้ายคลึงระหว่างป่าเต็งรังและบริเวณรอย ความสำ�คัญ Table 3 Similarity index based on Sorensen index between 3 forest areas in Sakunothayan Botanic Garden, Wang Thong district, Phitsanulok province. Tree Sapling Plant community DDF ECA MDF DDF ECA MDF T-DDF - 49.38 53.49 50.60 42.67 43.04 T-ECA 50.62 - 48.48 41.61 50.00 43.48 T-MDF 46.51 51.52 - 53.47 47.31 55.67 S-DDF 49.4 58.39 46.53 - 53.33 63.83 S-ECA 57.33 50 52.69 46.67 - 62.79 S-MDF 56.96 56.52 44.33 36.17 37.21 - Remark : the value above diagonal are similarity indices, while below diagonal are dissimilarity indices. ความสัมพันธ์ของสมบัติดินต่อสังคมพืช เมื่อพิจารณาความหนาแน่นรวมของดินทั้ง การวิเคราะห์สมบัติของดินบางประการ เพื่อ 3 บริเวณ พบว่า มีค่าค่อนข้างตํ่า เพียง 1.1–1.3 กรัม/ หาความสัมพันธ์กับสังคมพืช พบว่า ดินในป่าผสมผลัด ลบ.ซม. แสดงว่าพื้นที่ป่าไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ ใบ มีพีเอช อนุภาคดินเหนียว และปริมาณแมกนีเซียม สกุโณทยาน ภายหลังการกันไฟต่อเนื่องเป็นเวลานาน สูงกว่าป่าเต็งรังและบริเวณรอยต่อป่าอย่างมีนัยสำ�คัญ ทำ�ให้มีปริมาณอินทรียวัตถุสะสม ส่งเสริมให้ดินมีความ (p<0.05) ส่วนความชื้นในดินนั้น มีค่ามากกว่าอย่างมี พรุนและความร่วนซุยมากขึ้น สอดคล้องกับการศึกษา นัยสำ�คัญยิ่ง (p<0.01) เนื่องจากอนุภาคดินเหนียวมีพื้นที่ ของ Wattanasuksakul et al. (2012) ที่พบว่า ไฟป่า ผิวมากกว่าอนุภาคดินทราย ทำ�ให้กักเก็บความชื้นไว้ใน จะทำ�ลายซากพืชบริเวณหน้าดิน ส่งผลให้ปริมาณอินทรีย- ดินได้ดีกว่า รวมทั้งองค์ประกอบของชนิดพันธุ์ในป่าผสม วัตถุลดลง เมื่อเกิดฝนตกจะทำ�ให้อนุภาคดินแตกกระจาย ผลัดใบ ยังมีซากพืช (litter) จำ�นวนมากปกคลุมพื้นดิน อุดช่องว่างระหว่างเม็ดดิน ทำ�ให้ดินมีความหนาแน่นมาก ทำ�ให้ความชื้นในดินระเหยช้าลง ขึ้น สำ�หรับปริมาณสารอาหารนั้น พบว่า ไนโตรเจนใน 38 Thai J. For. 39 (1) : 28-40 (2020)

ดินทั้ง 3 สังคม มีค่าระหว่างร้อยละ 0.23–0.26 ซึ่งถือว่า 2010) เนื่องจากมีการปลดปล่อยไนโตรเจนระหว่างการ อยู่ในเกณฑ์สูง สอดคล้องกับปริมาณของอินทรียวัตถุที่ ย่อยสลายของซากพืชโดยเฉพาะส่วนใบ (Kiriratnikom มีค่าสูงเช่นเดียวกัน (Land Development Department, et al., 2016) Table 2 Correlation from the data analyzed between soil characteristics and plant community types in Sakunothayan Botanical Garden, Wang Thong district, Phitsanulok province. Soil characteristics DDF ECA MDF pH* 4.86ab ± 0.44 4.64b ± 0.48 5.55a ± 0.95 Soil moisture (%) ** 16.92b ± 1.12 19.93b ± 4.26 24.80a ± 3.08 Bulk Density (%) 1.14 ± 0.25 1.22 ± 0.28 1.33 ± 0.26 Organic matter (%) 4.72 ± 1.98 5.55 ± 1.02 4.65 ± 1.69 Sand (%) 69.57 ± 13.99 64.78 ± 11.76 59.20 ± 21.28 Silt (%) 22.86 ± 11.60 27.00 ± 10.44 24.78 ± 9.96 Clay (%) * 7.57b ± 2.51 8.22ab ± 2.11 10.56a ± 3.43 CEC (meq/100g Soil) 6.67 ± 3.10 6.44 ± 1.48 7.43 ± 4.44 Available water capacity (%) 8.47 ± 2.17 6.97 ± 2.22 5.96 ± 1.91 Nitrogen (%) 0.24 ± 0.04 0.23 ± 0.03 0.26 ± 0.05 Phosphorus (mg/kg) 11.17 ± 5.52 7.77 ± 7.41 7.73 ± 6.04 Potassium (mg/kg) 69.00 ± 28.59 92.38 ± 24.99 85.63 ± 27.28 Calcium (mg/kg) 326.94 ± 121.43 372.97 ± 168.27 338.28 ± 166.38 Magnesium (mg/kg)* 20.46b ± 13.94 18.10b ± 14.70 48.83a ± 29.35 Remarks: Significance * p<0.05 and ** p<0.01

สรุป ต่อการเติบโต รวมทั้งไม่มีไฟป่าเป็นตัวกำ�จัดกล้าไม้และ ไม้รุ่นของป่าผสมผลัดใบให้หมดไป ดังนั้น หากต้องการ ป่าผลัดใบในสวนพฤกษศาสตร์สกุโณทยาน อนุรักษ์ชนิดไม้เด่นและโครงสร้างของป่าเต็งรังไว้ ควรมี อำ�เภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก สามารถจัดกลุ่มหมู่ไม้ การเผาภายใต้การควบคุมในพื้นที่ป่าเต็งรังตามความ ออกเป็น 3 สังคม ได้แก่ ป่าเต็งรัง ป่าผสมผลัดใบ และ เหมาะสมต่อไป บริเวณรอยต่อป่าหรือสังคมป่ารุ่นสอง มีประดู่ป่า สาธร และติ้วขน เป็นไม้เด่นอันดับแรกของแต่ละสังคม ตาม คำ�นิยม ลำ�ดับ ผลของการป้องกันไฟป่าทำ�ให้ชนิดไม้เด่นในป่า ผู้วิจัยขอขอบคุณ นายพจน์ ชินปัญชนะ หัวหน้า เต็งรัง และบริเวณรอยต่อป่า ประสบปัญหาในการสืบ สวนพฤกษศาสตร์สกุโณทยาน และเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ที่ ต่อพันธุ์ตามธรรมชาติ เนื่องจากกล้าไม้และไม้รุ่นไม่ ให้ความอนุเคราะห์และอำ�นวยความสะดวกในการเข้า สามารถแข่งขันและตั้งตัวได้ มีเพียงชนิดไม้เด่นของป่า ศึกษาวิจัยในพื้นที่ ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ ผสมผลัดใบเท่านั้น ที่ประสบความสำ�เร็จในการสืบต่อ ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตร พันธุ์ เพราะสภาพแวดล้อมภายหลังการกันไฟ ได้แก่ ศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ช่วยเหลือในการวิเคราะห์ ความชื้นและความหนาแน่นของดิน มีความเหมาะสม ตัวอย่างดินในการวิจัยครั้งนี้ จนสำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 28-40 (2563) 39

REFERENCES Land Development Department. 2010. Operating Manual for Chemical Soil Analysis Akaakara, S. 2000. Forest Fire Control for Process. Land Development Department, Thailand. Forest Fire Control Division, Ministry of Agriculture and Cooperatives, Forest Protection and Fire Control Bangkok. (in Thai) Bureau, Royal Forest Department, Marod, D. 2011. Sampling Technique and Bangkok. (in Thai) Plant Community Analysis. Department Bunyavejchewin, S. 2012. Structure and of Forest Biology, Faculty of Forestry, Dynamics of Deciduous Dipterocarp Kasetsart University, Bangkok. (in Thai) Forest. Department of National Parks, , P. Duengkae, J. Thongsawi, W. Wildlife and Plant Conservation, Bangkok. Phumphuang, S. Thinkampheang, A. (in Thai) Kullawong and S. Hermhuk. 2017. Tree , Y. Jamlongrat, R. Buasalee and P. stands clustering and carbon stock Rayanggul. 2016. Trees & forest of assessmentof deciduous dipterocarp Huai Kha Kaeng Wildlife Sanctuary. forest at Kasetsart University Amarin Printing & Publishing, Bangkok. Chalermphrakiat Sakon Nakhon Province (in Thai) Campus, Sakon Nakhon province. Thai Forest Fire Control Division. 2016. Strategies Forest Ecological Research Journal for Solving Forest Fire and Smog 1(1): 1–9. (in Thai) Problems Annual Report 2016. Forest McCune, B. and M.J. Mefford. 2011. PC-ORD. Protection and Fire Control Office, Multivariate Analysis of Ecological Department of National Parks, Wildlife Data Version 6.08. MjM Software. and Plant Conservation, Bangkok. (in Gleneden Beach, Oregon. Thai) Niamrat, W. and D. Marod. 2005. Seedling establishment of climax species under Gardner, S., P. Sidisunthorn and V. Anusarnsunthorn. the eucalyptus plantations and open 2000. A Field Guide to Forest Trees areas. Thai Journal of Forestry 24: . Kobfai Publishing of Northern Thailand 35–47. Project, Bangkok. (in Thai) Paoin, T. and N. Paoin. 2011. Medicine Tree. Kiriratnikom, A., S. Kiriratnikom and T. Sumpunthamit. Offset Place Co., Ltd., Bangkok. (in Thai) 2016. Litter decomposition and nutrient Phitsanulok Provincial of Tourism and Sports. release in Ban Nong-Tin Community 2019. Sakunothayan Botanic Garden. Forest, Phapayom district, Phatthalung Available Source: www.phtsanulokscanme. province. Thaksin Journal 19(2): 33–41. com/Sakunothayan Botanic Garden, (in Thai) September 8, 2019. (in Thai) Kutintara, U. 1999. Ecology Fundamental Santisuk, T. 2012. Forest of Thailand. The Basics in Forestry. Department of Forest Herbarium, Department of National Forest Biology, Faculty of Forestry, Parks, Wildlife and Plant Conservation. Kasetsart University, Bangkok. (in Thai) Prachachon Co., Ltd., Bangkok. (in Thai) 40 Thai J. For. 39 (1) : 28-40 (2020)

Seub Nakhasathien Foundation. 2019. Forest on woody plant structure and composition Protection-Forest Fire. Available in dry dipterocarp forest. Thai Journal Source: https://www.seub.or.th/ of Forestry 33(3): 109–130. bloging, September 8, 2019. (in Thai) Wattanasuksakul, S., S. Khamyong, N. Anongrak The Forest Herbarium. 2013. Tree Species and K. Sri-ngernyuang. 2012. Impacts Selection Guide for Afforestation and of forest fire on soil physico-chemical Flood Prevention: The North East. Department of National Parks, Wildlife properties and nutrient storages in dry and Plant Conservation, Bangkok. (in dipterocarp forest in Takin Silvicultural Thai) Research Station, Chiang Mai province. Wanthongchai, K., J. Bauhus and J. G. Goldammer. Journal of Agriculture 28(1): 19–29. 2014. Effects of past burning frequency (in Thai) Thai J. For. 39 (1) : 41-56 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 41-56 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

การประมาณนํ้าไหลบ่าและของแข็งแขวนลอยทั้งหมดของระบบวนเกษตร แบบสวนไม้ผลผสมที่ไม่ถูกรบกวนจากดินถล่มและที่มีการทดแทนตามธรรมชาติ Estimation of Surface Runoff and Total Suspended Solids of Mixed Fruit Tree-based Agroforestry System As A Result of Landslides and Under Natural Succession จรัณธร บุญญานุภาพ1* Jaruntorn Boonyanuphap1* กัญจน์ชญา เม้าสิ้ว2 Kanchaya Maosew2 ปฑมกร มูลทะสิทธิ์1 Pathamakorn Moolthasit1 พรสวรรค์ ทุมมันตา1 Pornsawan Tummanta1 1คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000 Faculty of Agriculture Natural Resources and Environment, Naresuan University, Phitsanulok 65000, THAILAND 2มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 Thailand Environment Institute Foundation (TEI), Pakkred, Nonthaburi 11120, THAILAND *Corresponding Author, E-mail: [email protected]

รับต้นฉบับ 31 กรกฎาคม 2562 รับแก้ไข 18 ธันวาคม 2562 รับลงพิมพ์ 24 ธันวาคม 2562

ABSTRACT Landslides can cause frequent ecological impacts on upstream watersheds. Areas damaged by landslides accelerate the erosion process, making it more severe, which is also a main cause of soil loss induced by increasing the total suspended solids during each event. This study aimed to estimate the soil loss caused by erosion during both normal condition and 10-year landslide condition in a mixed fruit tree-based agroforestry in Maepoon sub-district, Lablae district, Uttaradit province by analyzing the correlation between rainfall and surface runoff in each rainfall event. The rainfall amounts of a single rain event were collected during the rainy season from January 2016 to October 2016. The study indicated that the amounts of surface runoff were significantly different when compared between fruit tree-based agroforestry and landslide-damaged area with an average of 1.25 mm and 2.37 mm, respectively. Soil loss was higher in landslide-damaged area compared to the mixed fruit tree-based agroforestry with a rate of 65.25 kg rai-1 year-1 or 0.408 ton ha-1 year-1. This study provides a better understanding of landslide-induced hydrological change in the upstream watersheds, which can be essential for decision making in finding the guidelines for soil erosion and sediment control in the future. Keywords: Soil loss, Erosion, Surface runoff, Landslide, Agroforestry system 42 Thai J. For. 39 (1) : 41-56 (2020)

บทคัดย่อ ดินถล่มสามารถส่งผลกระทบเชิงนิเวศอย่างต่อเนื่องต่อพื้นที่ต้นนํ้า พื้นที่เสียหายจากดินถล่มเร่งให้เกิด กระบวนการกร่อนของดินให้รุนแรงยิ่งขึ้น และเป็นสาเหตุหลักของการสูญเสียดินจากการเพิ่มปริมาณของแข็งแขวนลอย ทั้งหมดที่อยู่ในนํ้าไหลบ่าหน้าดินระหว่างฝนตกแต่ละเหตุการณ์ การศึกษาครั้งนี้ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินปริมาณ นํ้าไหลบ่าและปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมดในสวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตรทั้งภายใต้สถานการณ์ปกติที่ไม่เกิด ดินถล่มและภายใต้กระบวนการทดแทนตามธรรมชาติภายหลังจากเกิดดินถล่มมาแล้ว 10 ปี พร้อมทั้งประมาณการ สูญเสียหน้าดินที่เกิดจากการกร่อนของดิน บริเวณพื้นที่ต้นนํ้าของตำ�บลแม่พูล อำ�เภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยที่ กำ�หนดจำ�นวนแปลงทดลอง 3 แปลงสำ�หรับสวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตรแต่ละสถานการณ์ โดยดำ�เนินการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้าฝนแต่ละเหตุการณ์และปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดิน ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ เพียร์สัน ระหว่างเดือนมกราคม 2559 ถึงเดือนตุลาคม 2559 พบว่า ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินของสวนไม้ผลผสมแบบ วนเกษตรและพื้นที่ที่เคยเกิดดินถล่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 1.25 และ 2.37 มิลลิเมตร ของปริมาณนํ้าฝนทั้งหมด ตามลำ�ดับ ปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมดของพื้นที่ที่เคยเกิดดินถล่มมีมากกว่า พื้นที่สวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตร 65.25 กิโลกรัม/ไร่/ปี หรือ 0.408 ตัน/เฮกตาร์/ปี ผลจากการศึกษานี้ทำ�ให้เกิดความ เข้าใจยิ่งขึ้นต่อการเปลี่ยนแปลงทางอุทกวิทยาของพื้นที่แหล่งต้นนํ้าอันเนื่องมาจากดินถล่ม ซึ่งเป็นข้อมูลที่จำ�เป็นต่อการ ตัดสินใจค้นหาแนวทางการควบคุมการกร่อนของดินและลดปริมาณการสูญเสียหน้าดินในอนาคต คำ�สำ�คัญ: การสูญเสียดิน การกร่อน นํ้าไหลบ่าหน้าดิน ดินถล่ม ระบบวนเกษตร คำ�นำ� มีสภาพเป็นภูเขาสูง โดยเฉพาะพื้นที่ลาดเขาที่มีความชัน สูง ดินถล่มสามารถก่อให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์อันเนื่องมาจากกิจกรรม การเพิ่มขึ้นของปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดิน ซึ่งส่งผลให้เกิด ของมนุษย์ รวมถึงกระบวนการทางธรรมชาติอาจส่งผล การทับถมและการสะสมของตะกอนที่เพิ่มมากขึ้นใน ต่อการตอบสนองทางอุทกวิทยา (hydrologic response) ลำ�นํ้าต่างๆ (Crim et al., 2011) เหตุการณ์ดินถล่ม และกระบวนการทางนิเวศวิทยา (ecological process) ตั้งแต่พื้นที่ขนาดเล็กเพียงบริเวณเดียวจนขยายทั่วทั้ง บริเวณพื้นที่แหล่งต้นนํ้าของตำ�บลแม่พูล อำ�เภอลับแล พื้นที่ลุ่มนํ้า (Wigmosta et al., 2009) เส้นลำ�นํ้าใน จังหวัดอุตรดิตถ์ ในปี 2549 ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวส่วนใหญ่ บริเวณตำ�แหน่งทางไหลออกของพื้นที่ลุ่มนํ้า (watershed เป็นสวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตร (mixed fruit tree- outlets) ได้ถูกเชื่อมต่อกันเข้ากับพื้นที่ลุ่มนํ้าตอนล่างที่ based agroforestry) โดยได้รับความเสียหายจาก อยู่ติดกัน (downstream watershed) หากเกิดภาวะ เหตุการณ์ดินถล่มประมาณ 4,992 ไร่ หรือร้อยละ 6.1 รบกวนระบบนิเวศที่เชื่อมต่อกันดังกล่าว จะส่งผลอย่าง ของพื้นที่ตำ�บลแม่พูล อีกทั้งพื้นที่ดังกล่าวยังเป็นแหล่ง มากต่อสมบัติและหน้าที่ของระบบนิเวศแห่งนั้น (Vannote เกษตรเศรษฐกิจที่สำ�คัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดอุตรดิตถ์ et al., 1980) การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศจากสิ่ง (Boonyanuphap, 2013) บริเวณแหล่งต้นนํ้าดังกล่าว รบกวน เช่น การตัดหรือเคลื่อนย้ายพรรณพืชที่ปกคลุม เป็นแหล่งบริการทางนิเวศที่มีความสำ�คัญต่อชุมชน ดินออกจากพื้นที่ การบดอัดดินให้แน่น หรือการเกิด ท้องถิ่นตำ�บลแม่พูล ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมที่มี ดินถล่ม ซึ่งเป็นธรณีพิบัติภัย (geological hazard) ทาง ลักษณะเป็นสังคมเกษตรกรรมแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบท มี ธรรมชาติอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเปลี่ยนแปลง การผสมผสานกันระหว่างความเป็นเมืองที่หลายครัวเรือน ทางธรณีวิทยา พบเห็นได้ทั่วไปในบริเวณภูมิประเทศที่ เริ่มเปลี่ยนไปเป็นครอบครัวเดี่ยวและประกอบอาชีพ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 41-56 (2563) 43

ค้าขายหรือทำ�ธุรกิจ เกษตรกรบางกลุ่มเน้นการใช้สาร ในนํ้าไหลบ่าหน้าดิน (surface runoff) ระหว่างฝนตก เคมีและเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ขณะ แต่ละเหตุการณ์ (Chow et al., 2011) ปริมาณของแข็ง ที่กลุ่มเกษตรกรบางส่วนยังคงมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ทำ�การ แขวนลอยทั้งหมดไม่เพียงส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพนํ้า เกษตรที่ใกล้ชิดและพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติจากแหล่ง ยังทำ�ให้เกิดปัญหาต่อถิ่นอาศัยของสิ่งมีชีวิตในแหล่งนํ้า ต้นนํ้า (Boonyanuphap and Thonglem, 2011) และทัศนียภาพของแหล่งนํ้า นอกจากนี้ ของแข็งแขวนลอย เหตุการณ์ดินถล่มในปี 2549 ได้ส่งผลกระทบ ที่อยู่ในนํ้ายังเป็นตัวกลางในการสะสม เคลื่อนย้าย และ ต่อโครงสร้างของสังคมพืชและองค์ประกอบของชนิด กักเก็บมลพิษต่างๆ ซึ่งรวมถึงสารอาหารและโลหะหนัก พรรณพืช (Boonyanuphap et al., 2019a) ความอุดม ด้วยเช่นกัน (U.S. EPA, 1999) Boonyanuphap et al. สมบูรณ์ของหน้าดิน รวมทั้งทำ�ให้ระบบนิเวศแหล่งต้นน้าํ (2016) กล่าวว่า จากการสำ�รวจพื้นที่แหล่งต้นนํ้าในเขต ในเขตตำ�บลแม่พูลสูญเสียบทบาทหน้าที่ของการบริการ ตำ�บลแม่พูลภายหลังจากเหตุการณ์ดินถล่มครั้งรุนแรง เชิงนิเวศด้านอื่นที่มีต่อชุมชนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องจนถึง ในปี 2549 ระหว่างปี 2550–2556 พบพื้นที่สวนไม้ผล ปัจจุบัน เช่น การสูญเสียชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจใน ผสมและพื้นที่ป่าธรรมชาติหลายแห่งเกิดดินถล่มระดับ ท้องถิ่นที่มีคุณค่าทางนิเวศ การสูญเสียวงจรของธาตุหลัก ตื้นที่ไม่รุนแรงมากซํ้าในบริเวณเดิมและเกิดดินถล่มใน ในดินที่จำ�เป็นต่อการควบคุมความสมดุลของระบบ พื้นที่แห่งใหม่ (shallow and secondary landslides) ธรรมชาติ การลดลงของศักยภาพในการกักเก็บนํ้าในดิน ตามมาอย่างต่อเนื่อง เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นการเร่งให้ และการกักเก็บคาร์บอนของระบบนิเวศแหล่งต้นนํ้า เกิดกระบวนการกร่อนของหน้าดินและส่งผลให้เกิดการ เป็นต้น (Maosew and Boonyanuphap, 2017; สูญเสียดินที่รุนแรงยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังไม่พบรายงาน Wongmun et al., 2017; Maosew et al., 2019a; การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง Maosew et al., 2019b; Wongmun et al., 2019a; ปริมาณนํ้าฝน ปริมาณนํ้าไหลบ่า และปริมาณของแข็ง Wongmun et al., 2019b) นอกจากนี้ การเปิดหน้าดิน แขวนลอยทั้งหมดในระบบนิเวศที่ถูกรบกวนจากภัยพิบัติ ของพื้นที่ดินถล่มบริเวณแหล่งต้นนํ้า ถือได้ว่าเป็นผล ดินถล่มในประเทศไทย ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้ได้ประมาณ กระทบเชิงนิเวศที่สำ�คัญภายหลังจากเหตุการณ์ดินถล่ม ปริมาณนํ้าไหลบ่าและปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด ดังกล่าว โดยเป็นการเร่งกระบวนการชะล้างพังทลายให้ ในสวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตรบริเวณแหล่งต้นนํ้าของ รุนแรงยิ่งขึ้นและเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้เกิดปัญหา ตำ�บลแม่พูล ภายใต้สถานการณ์ปกติและกระบวนการ คุณภาพนํ้าและการทับถมของตะกอนดินในลำ�นํ้าและ ทดแทนตามธรรมชาติภายหลังจากเกิดดินถล่มมาแล้ว แหล่งนํ้าผิวดิน ทำ�ให้แหล่งนํ้าตื้นเขินและเกิดเป็นสันดอน 10 ปี พร้อมทั้งสร้างแบบจำ�ลองความสัมพันธ์ระหว่าง ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อทุนของทรัพยากรนํ้าที่มีอยู่ ปริมาณนํ้าฝนและปริมาณนํ้าไหลบ่า (rainfall-runoff เดิมภายในพื้นที่ลุ่มนํ้าของตำ�บลแม่พูล อำ�เภอลับแล modeling) ซึ่งแบบจำ�ลองความสัมพันธ์ดังกล่าว ทำ�ให้ จังหวัดอุตรดิตถ์ เข้าใจกระบวนการทางอุทกวิทยาและระบบอุทกวิทยา การกร่อนของดิน (soil erosion) เป็นกระบวน ของระบบนิเวศที่ถูกรบกวนจากภัยพิบัติได้ดียิ่งขึ้นเมื่อ การที่เกิดจากการที่มีแรง (เช่น นํ้า หรือ ลม) มากระทำ�ให้ เปรียบเทียบกับระบบนิเวศตามสภาพดั้งเดิม โดยเฉพาะ วัตถุ ธาตุ หรือสารเกิดการแตกออกจากกัน แล้วเกิดการ บริเวณแหล่งต้นนํ้าที่มีสภาพภูมิประเทศสูงชัน ซึ่งมีข้อ เคลื่อนย้ายของอนุภาคดิน สาร หรือวัตถุธาตุไปตกตะกอน จำ�กัดในการติดตั้งเครื่องตรวจวัดข้อมูลทางอุทกวิทยาได้ ทับถมอีกแห่งหนึ่ง (Tangtham, 2002) ทั้งนี้ การสูญเสีย ทั่วทั้งพื้นที่ (ungagged catchment) ผลการศึกษาครั้งนี้ ดินจากกระบวนการกร่อนเป็นการเพิ่มปริมาณของแข็ง ยังเป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ประเมินผลกระทบที่อาจเกิด แขวนลอยทั้งหมด (total suspended solids) ที่อยู่ ขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทางอุทกวิทยาในอนาคต (future 44 Thai J. For. 39 (1) : 41-56 (2020) hydrological change) อันเนื่องมาจากภัยพิบัติดินถล่ม เป็น 2 สถานการณ์ ได้แก่ 1) สวนไม้ผลผสมแบบวน นอกจากนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานที่ เกษตรภายใต้สถานการณ์ปกติที่ไม่เกิดดินถล่มในปี 2549 เกี่ยวข้องสามารถใช้แบบจำ�ลอง rainfall-runoff และ 2) สวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตรภายหลังจากเกิด relationship จากการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลสำ�คัญในการ ดินถล่มมาแล้ว 10 ปี ทั้งนี้ สวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตร ค้นหาแนวทางการควบคุมการสูญเสียหน้าดินที่เกิดจาก ที่เคยเกิดดินถล่มอยู่ภายใต้สภาวะการทดแทนแบบ การกร่อนของดิน และการทับถมของตะกอนดิน (soil ทุติยภูมิ (secondary succession หรือ allogenic erosion and sediment control) เช่น การใช้เทคโนโลยี succession) ที่เคยมีสภาพของสังคมพืชของระบบนิเวศ ชีววิศวกรรมปฐพีด้วยหญ้าแฝก (vetiver-based soil แต่ละประเภทขึ้นปกคลุมอยู่แต่ถูกทำ�ลายจากเหตุการณ์ bio-engineering technology) หรือการเพิ่มเสถียรภาพ ดินถล่มในปี 2549 โดยปัจจุบันอยู่ในขั้นของการเปลี่ยนแปลง ของลาดดินด้วยการปลูกพืช (vegetative slope ทางนิเวศวิทยาระยะที่เป็นสังคมในระหว่างการทดแทน stabilization) เพื่อลดปริมาณนํ้าไหลบ่าและลดการ ที่มีพืชมีท่อลำ�เลียง โดยเฉพาะไม้ยืนต้นเบิกนำ�ชนิดโต สูญเสียดินในพื้นที่แหล่งต้นนํ้าของตำ�บลแม่พูลต่อไป เร็วในท้องถิ่น (local fast-growing pioneer trees species) เช่น ตองแตบ (Macaranga denticulata) อุปกรณ์และวิธีการ ข้าวสารหลวง (Maesa ramentacea A. DC.) มะเดื่อ ปล้องหิน (Ficus semicordata Buch.-Ham. ex Sm.) การกำ�หนดพื้นที่ศึกษาและลักษณะของแปลง และ เต้าหลวง (Macaranga gigantea (Rchb. f. & ทดลอง Zoll.) Müll. Arg.) เป็นต้น ขึ้นเบิกนำ�ปกคลุมพื้นที่ภายหลัง การศึกษาครั้งนี้ดำ�เนินการในพื้นที่ลุ่มนํ้า จากเหตุการณ์ดินถล่มเป็นระยะเวลา 10 ปี (Boonyanuphap แม่พร่อง-แม่พูล ตำ�บลแม่พูล อำ�เภอลับแล จังหวัด et al., 2016; Maosew and Boonyanuphap, 2017) ° ′ ′′ ° ′ ′′ อุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ที่ละติจูด 17 39 10 ถึง 17 48 40 แปลงศึกษานํ้าไหลบ่าและปริมาณของแข็ง ° ′ ′′ ° ′ ′′ เหนือ และลอนจิจูด 99 57 10 ถึง 100 02 10 แขวนลอยทั้งหมดถูกสร้างขึ้นจำ�นวน 3 แปลงทดลอง ตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 116 ตารางกิโลเมตร ความ สำ�หรับสวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตรแต่ละสถานการณ์ สูงของพื้นที่ระหว่าง 80-765 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง การกำ�หนดขนาดและรูปร่างแปลงทดลองพิจารณาตาม ความลาดชันของพื้นที่โดยทั่วไปอยู่ในช่วง 40-75 องศา หลักการของ Chankaew (1996) ซึ่งได้กล่าวว่า การ สภาพภูมิอากาศร้อนชื้นแถบมรสุม (tropical monsoon สร้างแปลงทดลองเพื่อเก็บตะกอนดินโดยทั่วไปใช้ขนาด climate: Am) ปริมาณนํ้าฝนรายปีเฉลี่ย 1,641.24 ของแปลงทดลองในช่วงประมาณ 2x10 ถึง 4x10 เมตร มิลลิเมตร อุณหภูมิรายปีเฉลี่ย 27.4 องศาเซลเซียส อัตรา ซึ่งไม่ควรใช้แปลงที่มีขนาดเล็กกว่าหรือใหญ่กว่านี้ เนื่องจาก การระเหยเท่ากับ 1,601 มิลลิเมตรต่อปี และความชื้นสัมพัทธ์ การศึกษาที่มีขนาดแปลงทดลองที่ใหญ่จะทำ�ให้เกิดข้อ ในอากาศโดยเฉลี่ยร้อยละ 73 (ข้อมูลโดยเฉลี่ยปี 2535 ผิดพลาดจากความไม่สมํ่าเสมอของลักษณะพื้นที่ได้มาก ถึง 2559) (Wongmun et al., 2019b) ขึ้น อีกทั้งถ้ามีขนาดแปลงทดลองที่เล็กจะทำ�ให้ได้ตัวอย่าง แปลงศึกษานํ้าไหลบ่าและปริมาณของแข็ง ที่ไม่เหมาะสมเกินไป อย่างไรก็ตาม แปลงทดลองทั้ง 2 แขวนลอยทั้งหมดถูกติดตั้งในบริเวณเขาม่อนนํ้าชำ�ของ สถานการณ์มีขนาดที่แตกต่างกัน เนื่องจากแปลงศึกษา พื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านผามูบ ตำ�บลแม่พูล ซึ่งบริเวณดังกล่าว ของสวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตรมีระยะปลูกไม้ผล เคยเป็นพื้นที่สวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตรที่เกิดดินถล่ม เศรษฐกิจหลากหลายชนิดที่ไม่สมํ่าเสมอกันในแต่ละพื้นที่ ในเดือนพฤษภาคม ปี 2549 โดยได้กำ�หนดแปลงศึกษา โดยไม้ผลเศรษฐกิจหลักที่ปลูกได้แก่ ทุเรียน (Durio นํ้าไหลบ่าและปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมดออก zibethinus Murray.) และลองกอง (Lansium วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 41-56 (2563) 45 domesticum Corr.) ขณะที่บริเวณที่เกิดดินถล่มส่วน ถล่มมีขนาด 6x4 เมตร (Table 1) อย่างไรก็ตาม ใหญ่มีลักษณะเป็นริ้วตามแนวยาวและพื้นที่ดินถล่มมี Tangtham (1984) ได้กล่าวว่า ความลาดชัน ความยาว ความกว้างของแนวดินถล่มน้อยกว่า 40 เมตร ประกอบ แนวลาดเท และรูปร่างของความลาดเท เป็นปัจจัยที่ กับบริเวณที่เกิดดินถล่มแต่ละแห่งมีความรุนแรงแตกต่าง สำ�คัญที่สุดในการชะล้างพังทลายของดิน เมื่อความลาดเท กัน จึงส่งผลให้ระดับความลาดชัน (slope degree) และ มากขึ้นอัตราการชะล้างพังทลายของดินจะมีมากขึ้น ความโค้งของผิวหน้าภูมิประเทศ (plan curvature) มี เนื่องจากความลาดชันมักทำ�ให้นํ้าไหลบ่าหน้าดินเกิดได้ ลักษณะไม่สมํ่าเสมอกันทั่วทั้งพื้นที่ ซึ่งทำ�ให้เป็นข้อจำ�กัด มาก แต่เมื่อฝนตกแผ่วเบาจนนํ้าไหลบ่าหน้าดินมีอัตรา ของการออกแบบขนาดความกว้างของแปลงศึกษา ดังนั้น คงที่จะมีอิทธิพลมากถ้าฝนตกในช่วงระยะเวลาสั้นๆ แต่ จากบริบทของสภาพจริงในพื้นที่ศึกษา ผู้วิจัยได้กำ�หนด รุนแรง ซึ่งการที่นํ้าไหลบ่าหน้าดินอย่างรวดเร็วนั้นเป็น ขนาดแปลงศึกษาของระบบนิเวศไม้สวนผสมแบบ เพราะขณะที่ฝนตกดินกักเก็บนํ้าได้น้อย ซึ่งทำ�ให้เกิด วนเกษตรในสถานการณ์ปกติมีขนาด 16x4 เมตร และ การชะล้างพังทลายของดินได้อย่างรวดเร็วเช่นกันโดย 12x4 เมตร ขณะที่แปลงศึกษาของพื้นที่ที่เคยเกิดดิน จะพัดพาดินไหลลงสู่ที่ตํ่าได้มาก Table 1 General characteristics, structure of plots, and soil loss assessment. Average No. of dominant tree (DBH>4.5 cm) Plots Plot size Ecosystem slope Aspect code (m2) (degree) D.zib L.dom M.den M.ram F.sem FN01 FN 27 N22 64 1 2 - - - FN02 FN 22.33 N21 48 2 1 - - - FN03 FN 34.66 N21 48 1 2 - - - FS01 FS 32.33 N7 24 - - 1 3 - FS02 FS 24 N7 24 - - 3 1 1 FS03 FS 34.66 N7 24 - - 2 1 1 Remarks: FN: Study plot of mixed fruit tree-based agroforestry, FS: Study plot of mixed fruit tree-based agroforestry under landslide conditions; D.zib : Durio zibethinus Murray.; L.dom : Lansium domesticum Corr.; M.den : Macaranga denticulata; M.ram : Maesa ramentacea A. DC.; F.sem : Ficus semicordata Buch.-Ham. ex Sm. การเก็บรวบรวมข้อมูล ประมาณ 1.20 เมตร โดยติดตั้งในที่โล่งใกล้กับแปลง เก็บรวบรวมปริมาณนํ้าฝน ปริมาณนํ้าไหลบ่า ทดลอง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการบดบังจากเรือนยอดไม้ หน้าดิน และปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด ระหว่าง โดยรอบปากของเครื่อง จะต้องทำ�มุมกับเรือนยอดไม้โดย ฤดูฝนของปี 2559 เป็นเวลา 10 เดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม รอบไม่เกิน 45 องศา จากนั้นเชื่อมต่อการส่งสัญญาณ ถึงเดือนตุลาคม 2559 ข้อมูลปริมาณนํ้าฝนไปยังเครื่องบันทึกข้อมูลอัตโนมัติ 1. ปริมาณนํ้าฝนทั้งหมด (gross rainfall: GR) (data logger) รุ่น WatchDog 1400 Weather station ตรวจวัดด้วยเครื่องวัดปริมาณนํ้าฝน Tipping Bucket (3685WD1) ทั้งนี้ ข้อมูลปริมาณนํ้าฝนที่ใช้ในการศึกษา Rain Collector (Code 3665R) พร้อมกับเสาติดตั้ง ครั้งนี้เป็นทั้งข้อมูลปริมาณนํ้าฝนสะสม (accumulated เครื่องวัดปริมาณนํ้าฝน (POLE0001) สูงจากพื้นดิน rainfall event) และข้อมูลปริมาณนํ้าฝนของแต่ละ 46 Thai J. For. 39 (1) : 41-56 (2020)

เหตุการณ์ฝนตก (individual rainfall event data) ซึ่ง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้าฝนและ ขึ้นอยู่กับชุดข้อมูลปริมาณนํ้าฝนผ่านชั้นเรือนยอดและ ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดิน ปริมาณนํ้าไหลตามลำ�ต้นที่เก็บได้จริงในภาคสนามของ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้าฝน เหตุการณ์ฝนตกแต่ละครั้ง และปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินด้วยการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์ 2. การวัดปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดิน (runoff, สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยใช้โปรแกรม IBM SPSS Rf) จากแปลงศึกษาปริมาณนํ้าไหลบ่า โดยที่ด้านล่างของ Statistics (IBM Corp, 2016) แปลงศึกษาติดตั้งท่อ polyvinyl chloride (PVC) ขนาด 3 นิ้ว เข้ากับรางรับนํ้าไหลบ่า เพื่อรวบรวมนํ้าไหลบ่า ศึกษาอิทธิพลของปริมาณนํ้าฝนต่อปริมาณนํ้า เข้าสู่ถังรองรับนํ้าขนาด 100 ลิตร จากนั้นบันทึกข้อมูล ไหลบ่าหน้าดิน ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดิน และเก็บตัวอย่างของสารละลาย 1. ศึกษาอิทธิพลของปริมาณนํ้าฝนต่อ (นํ้าไหลบ่าและตะกอนดินที่แขวนลอย) ภายหลังเหตุการณ์ ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดิน จากข้อมูลปริมาณนํ้าฝนและ ฝนตกระดับรายวัน ปริมาณนํ้าไหลบ่าของแต่ละเหตุการณ์ที่ฝนตก โดยการ 3. คำ�นวณหาปริมาณของแข็งแขวนลอยในนํ้า วิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย ดังแสดงในสมการ (1) ซึ่ง ไหลบ่า (suspend solids: SS) ของฝนตกแต่ละเหตุการณ์ กำ�หนดให้ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินเป็นตัวแปรตาม ระดับรายวัน โดยนำ�ตัวอย่างของนํ้าไหลบ่ากรองผ่าน และปริมาณนํ้าฝนเป็นตัวแปรอิสระ พร้อมทั้งคำ�นวณ แผ่นกรองใยแก้ว (glass-fiber filter) เบอร์ 3 เส้นผ่าน ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ (standard ศูนย์กลาง 110 มิลลิเมตร นำ�ตะกอนเปียกที่ได้จากการ กรองไปอบแห้งที่อุณหภูมิ 103–105 องศาเซลเซียส เป็น error of estimate: SEE) เวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นชั่งนํ้าหนักของตะกอนแห้งแล้ว Runoff = a + (b Gross Rainfall) ……. (1) นำ�ค่ามาเทียบเป็นนํ้าหนักต่อหน่วยพื้นที่ (Keawpromta, โดยที่ 2003) Runoff = ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินในแต่ละ 4. คำ�นวณหาปริมาณตะกอนหนัก (settleable เหตุการณ์ที่ฝนตก (มิลลิเมตร) solids: Set.S) ซึ่งเป็นของแข็งที่ค้างอยู่ในรางรับนํ้าไหล Gross Rainfall = ปริมาณนํ้าฝนแต่ละเหตุการณ์ บ่าในแต่ละเหตุการณ์ฝนตกระดับรายวัน โดยการเก็บ (มิลลิเมตร) รวบรวมตะกอนหนักในแต่ละแปลงศึกษา ในช่วงต้นฤดู a = ค่าคงที่ (constant) เป็นค่าที่ตัดกับ ฝนและปลายฤดูฝน รวมเป็น 2 ครั้ง ตลอดระยะเวลา แกน Y (Y-intercept) ของการศึกษา จากนั้นนำ�ตะกอนหนักมาดำ�เนินการเช่น b = ความชัน (slope) ของเส้นตรง หรือ เดียวกับข้อ 3 สัมประสิทธิ์การถดถอย (regression 5. การประมาณปริมาณของแข็งแขวนลอย ทั้งหมด (total suspended solid: TSS) คือ ปริมาณ coefficient) ของตัวแปร Rainfall ของแข็งแขวนลอยในนํ้าไหลบ่าจากการกร่อน ซึ่งคำ�นวณ 2. คำ�นวณหาปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินรายปี จากผลรวมของปริมาณของแข็งแขวนลอยในสารละลาย จากข้อมูลปริมาณนํ้าฝนรายวันตลอดปี 2559 (ข้อมูล (SS) กับปริมาณตะกอนหนัก (Set.S) จากนั้นคำ�นวณ จากเครือข่ายเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยดินถล่ม ตำ�บลแม่พูล) นํ้าหนักของแข็งแขวนลอยทั้งหมดต่อเนื้อที่ (หน่วยเป็น โดยใช้สมการ (1) หาค่าปริมาณนํ้าไหลบ่าของแต่ละ ตัน/ไร่) สำ�หรับสวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตรแต่ละ เหตุการณ์ที่ฝนตกรายวันของปี 2559 จากนั้นคำ�นวณ สถานการณ์ ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินทั้งหมดที่เกิดขึ้นในรอบปี 2559 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 41-56 (2563) 47

ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้าไหลบ่า ถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย โดยใช้ข้อมูลปริมาณนํ้าฝนและ หน้าดินและปริมาณของแข็งแขวนลอย ปริมาณของแข็งแขวนลอยในแต่ละเหตุการณ์ ดังสมการ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้า (3) กำ�หนดให้ปริมาณของแข็งแขวนลอยเป็นตัวแปรตาม ไหลบ่าหน้าดินและปริมาณของแข็งแขวนลอยสำ�หรับ และปริมาณนํ้าฝนเป็นตัวแปรอิสระ สถานการณ์ปกติและสถานการณ์ที่เคยเกิดดินถล่ม ด้วย SS = a + (b Gross Rainfall) …..………(3) การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันโดย โดยที่ ใช้โปรแกรม IBM SPSS Statistics (IBM Corp, 2016) SS = ปริมาณของแข็งแขวนลอยในนํ้าไหล บ่าของแต่ละเหตุการณ์ที่ฝนตก (กรัม) ศึกษาอิทธิพลของปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินต่อ Gross Rainfall = ปริมาณนํ้าฝนแต่ละเหตุการณ์ ปริมาณของแข็งแขวนลอย (มิลลิเมตร) 1. ศึกษาอิทธิพลของปริมาณน้าไหลบ่าหน้าดินํ a = ค่าจุดตัดแกน Y (Y-intercept) ต่อปริมาณของแข็งแขวนลอย ด้วยการวิเคราะห์การ b = ค่าความชัน (slope) ของเส้นตรง ถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย ดังสมการ (2) โดยใช้ข้อมูล หรือ ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย นํ้าไหลบ่าหน้าดินและปริมาณของแข็งแขวนลอยในแต่ละ (regression coefficient) ของ เหตุการณ์ที่ได้ทำ�การเก็บข้อมูลภาคสนาม การศึกษา ตัวแปรอิสระ ครั้งนี้ได้กำ�หนดให้ปริมาณของแข็งแขวนลอยเป็นตัวแปร 2. คำ�นวณหาของแข็งแขวนลอยรายปี จาก ตาม และปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินเป็นตัวแปรอิสระ ปริมาณนํ้าฝนรายวันตลอดปี โดยใช้สมการ (3) หาค่า SS = a + (b Runoff) ……...…...……(2) ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินของแต่ละเหตุการณ์ที่ฝนตก โดยที่ รายวันของปี 2559 จากนั้นคำ�นวณปริมาณของแข็ง SS = ปริมาณของแข็งแขวนลอยในแต่ละ แขวนลอยทั้งหมดที่เกิดขึ้นในรอบปี 2559 เหตุการณ์ที่นํ้าไหลบ่าหน้าดิน (กรัม) 3. การหาปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด Runoff = นํ้าไหลบ่าหน้าดินแต่ละเหตุการณ์ คำ�นวณโดยใช้สูตร (มิลลิเมตร) TSS = SS + Set.S a = ค่าจุดตัดแกน Y (Y-intercept) โดยที่ : b = ค่าความชัน (slope) ของเส้นตรง TSS (total suspended solid) คือ ปริมาณ หรือ ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของ ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (กิโลกรัม/ไร่/ปี) ตัวแปรอิสระ SS (suspend solids) คือ ปริมาณของแข็ง 2. คำ�นวณหาปริมาณของแข็งแขวนลอยราย แขวนลอยในนํ้าไหลบ่า (กิโลกรัม/ไร่/ปี) ปี จากนํ้าไหลบ่าหน้าดินของแต่ละเหตุการณ์รายปี โดย Set.S (settleable solids) คือ ปริมาณ ใช้สมการ (2) หาค่าปริมาณของแข็งแขวนลอยของแต่ละ ตะกอนหนัก (กิโลกรัม/ไร่/ปี) เหตุการณ์ที่น้าไหลบ่าหน้าดินรายวันของปีํ 2559 จากนั้น คำ�นวณปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมดที่เกิดขึ้นใน ผลและวิจารณ์ผล รอบปี 2559 ปริมาณนํ้าฝนทั้งหมด (gross rainfall) ใน ศึกษาปริมาณของแข็งแขวนลอยที่สูญเสียทั้งหมด การศึกษานํ้าส่วนเหนือพื้นดิน 1. ศึกษาอิทธิพลของปริมาณนํ้าฝนต่อปริมาณ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้าฝน ของแข็งแขวนลอยในสารละลาย ด้วยการวิเคราะห์การ ทั้งหมดและนํ้าไหลบ่าหน้าดินของระบบนิเวศสวนไม้ผล 7

1 ผลและวิจารณ�ผล 2 ปริมาณ48น้ําฝนทั้งหมด (gross rainfall)Thai ในการศึกษาน้ําส�วนเหนือพื้นดิน J. For. 39 (1) : 41-56 (2020) 3 การศึกษาความสัมพันธ�ระหว�างปริมาณน้ําฝนทั้งหมดและน้ําไหลบ�าหน�าดินของระบบนิเวศสวนไม�ผลผสมแบบวนเกษตร 4 ภายใต�สถานการณ�ปกติและพื้นที่ที่เคยเกิดดินถล�มผสมแบบวนเกษตรภายใต้สถานการณ์ปกติและพื้นที่ ได�ใช�ข�อมูลการเก็บน้ําในส�วนเหนือพื้นดินที่เป�นลักษณะเหตุการณ�ของฝนตกรายวันมีจำ�นวน 23 เหตุการณ์ รวมทั้งหมด 70 เหตุการณ์ ซึ่ง 5 (daily rainfallที่เคยเกิดดินถล่ม event) จํานวน ได้ใช้ข้อมูลการเก็บน 47 เหตุการณ� ขณะที่การเก็บข�อมูลน้ําในส�ํ้าในส่วนเหนือ อยู่ระหว่างวันที่วนเหนือพื้นดินที่เป�นลักษณะเหตุการณ�ของฝนตกสะสมหลาย 14 พฤศจิกายน 2558 ถึง วันที่ 12 6 วัน (accumulativeพื้นดินที่เป็นลักษณะเหตุการณ์ของฝนตกรายวัน rainfall event) มีจํานวน 23 เหตุการณ� (daily รวมทั้งหมด พฤศจิกายน 70 เหตุการณ� 2559 ซึ่ง(Figureอยู�ระหว�างวันที่ 1) เหตุการณ์ฝนตกรายวัน 14 พฤศจิกายน 2558 ถึง 7 วันที่ 12 พฤศจิกายนrainfall event) 2559 จำ �(นวนFigure 47 1 เหตุการณ์) เหตุการณ�ฝนตกรายวัน ขณะที่การเก็บและฝนตกสะสมทั้งและฝนตกสะสมทั้ง 70 เหตุการณ� 70 เหตุการณ์ มีปริมาณน้ําฝนทั้งหมดรวม มีปริมาณนํ้าฝนทั้งหมด 2,048.70 8 มิลลิเมตรข้อมูลน ํ้าในส่วนเหนือพื้นดินที่เป็นลักษณะเหตุการณ์ของ รวม 2,048.70 มิลลิเมตร 9 ฝนตกสะสมหลายวัน (accumulative rainfall event)

140 120 100 80 60 Rainfall (mm) Rainfall 40 20 0 9-Jul-16 9-Jan-16 1-Oct-16 2-Apr-16 6-Feb-16 5-Mar-16 3-Sep-16 6-Aug-16 23-Jul-16 23-Jan-16 15-Oct-16 29-Oct-16 11-Jun-16 25-Jun-16 16-Apr-16 30-Apr-16 20-Feb-16 19-Mar-16 17-Sep-16 12-Dec-15 26-Dec-15 20-Aug-16 14-Nov-15 28-Nov-15 12-Nov-16 14-May-16 28-May-16 Date 10 11 Figure 1 Rainfall data for 47 daily rainfall events, during a period between November 2015 and 12 Figure 1 Rainfall dataNovember for 47 2016.daily rainfall events, during a period between November 2015 and November 2016. 13 ร้อยละ 0.05-0.19 และร้อยละ 0.05-0.41 ของปริมาณ 14 ความสัมพันธ�ระหว�างปริมาณน้ําฝนและปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดินความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้าฝนและปริมาณ นํ้าฝนทั้งหมด ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ นํ้าไหลบ่าหน้าดินมีความ 15 นจํานวนการเก็บข�อมูลน้ําไหลบ�าของแต�ละแปลงศึกษาขึ้นอยู�กับช�วงเวลาของการติดตั้งอุปกรณ�วัดปริมาณน้ําไหลบ�าํ้าไหลบ่าหน้าดิน โดยแต�ละ สัมพันธ์เชิงเส้นทางบวกอย่างสูงกับปริมาณนํ้าฝนที่ตกใน จำ�นวนการเก็บข้อมูลนํ้าไหลบ่าของแต่ละแปลง 16 แปลงติดตั้งอุปกรณ�เสร็จไม�พร�อมกัน การศึกษาครั้งนี้ได�เก็บรวบรวมข�อมูลน้ําไหลบ�าหน�าดินแต่ละเหตุการณ์ ทั้งในพื้นที่สวนไม้ผลผสมแบบวนเกษตร จํานวน 53-62 ครั้ง จากทั้งหมด 70 ศึกษาขึ้นอยู่กับช่วงเวลาของการติดตั้งอุปกรณ์วัด 17 เหตุการณ�ของทั้งเหตุการณ�ฝนตกรายวันและเหตุการณ�ฝนตกสะสมหลายวันสถานการณ์ปกติ ค�าเฉลี่ยของน้ําไหลบ�าหน� (0.883≤r≤0.945; p≤0.01)าดินของแปลงศึกษาใน และพื้นที่ 18 สถานการณ�ปกติปริมาณนและพื้นที่ที่เคยเกิดดินถล�มํ้าไหลบ่า โดยแต่ละแปลงติดตั้งอุปกรณ์เสร็จไม่ อยู�ในช�วงร�อยละ 0.05-0.1ที่เคยเกิดดินถล่ม9 และร�อยละ 0.05 (0.821≤r≤0.901;-0.41 ของปริมาณน้ําฝนทั้งหมด p≤0.01) ดังแสดง ตามลําดับ 19 ทั้งนี้ น้ําไหลบ�าหน�าดินมีความสัมพันธ�พร้อมกัน การศึกษาครั้งนี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลนเชิงเส�นทางบวกอ ย� าํ้าไหล ง สูงกับปริมาณน้ําฝนที่ตกในแต�ละเหตุการณ�ใน Table 2 ค่าเฉลี่ยของปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินภายใน ทั้งในพื้นที่สวนไม�ผลผสมแบบ 20 วนเกษตรสถานการณ�ปกติบ่าหน้าดิน จำ�นวน 53-62(0.883 ครั้ง≤r≤ จากทั้งหมด0.945; p≤ 070.01 เหตุการณ์) และพื้นที่ที่เคยเกิดดินถล�มรอบปี 2559 ของแปลงศึกษาในสถานการณ์ปกติเท่ากับ (0.821≤r≤0.901; p≤0.01) ดังแสดงใน Table 2 21 ค�าเฉลี่ยของปริมาณของทั้งเหตุการณ์ฝนตกรายวันและเหตุการณ์ฝนตกสะสมน้ําไหลบ�าหน�าดินภายในรอบป� 2559 ของแปลงศึกษาในสถานการณ�ปกติ7.99 มิลลิเมตร (S.D. 2.48)เท�ากับ ขณะที่แปลงศึกษาที่เคยเกิด 7.99 มิลลิเมตร (S.D. 2.48) ขณะที่ 22 แปลงศึกษาที่หลายวันเคยเกิดดินถล�ม ค่าเฉลี่ยของนมีปริมาณํ้าไหลบ่าหน้าดินของแปลงศึกษาน้ําไหลบ�าหน�าดินเฉลี่ย 22.01 (S.D.ดินถล่มมีปริมาณน 7.83) ํ้าไหลบ่าหน้าดินเฉลี่ย 22.01 (S.D. 23 ในสถานการณ์ปกติและพื้นที่ที่เคยเกิดดินถล่ม อยู่ในช่วง 7.83) 24 25 26 27 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 41-56 (2563) 49

Table 2 Runoff characteristics related to rainfall amount in the mixed fruit tree-based agroforestry and mix fruit tree-based agroforestry under landslide condition. Mean of S.D. of Number of Total Total Pearson percent percent Plots code runoff data rainfall runoff correlation runoff of runoff of collected (mm) (mm) (r) rainfall (%) rainfall (%) FN01RF 59 1,692.660 8.750 0.883** 0.12 0.26 FN02RF 58 1,726.260 16.279 0.945** 0.19 0.51 FN03RF 62 1,738.390 5.2132 0.934** 0.05 0.12 FS01RF 53 1,488.440 5.6965 0.901** 0.05 0.12 FS02RF 60 1,624.790 31.030 0.821** 0.41 0.78 FS03RF 58 1,356.690 13.807 0.822** 0.16 0.31 Remarks: FN: Study plot of runoff of mixed fruit tree-based agroforestry, FS: Study plot of runoff of mixed fruit tree-based agroforestry under landslide condition; **Correlation is significant at the 0.01 level การศึกษาอิทธิพลของปริมาณนํ้าฝนต่อปริมาณ ระหว่าง 0.672 และ 0.894 ทั้งนี้ ปริมาณน้าฝนมีแนวโน้มํ ที่มีอิทธิพลทางบวกต่อปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินของ นํ้าไหลบ่าหน้าดิน 2 การศึกษาอิทธิพลของปริมาณนํ้าฝนต่อปริมาณ แปลงศึกษาที่ไม่เกิดดินถล่ม (0.780≤R ≤0.894) สูงกว่า 2 นํ้าไหลบ่าหน้าดินในพื้นที่ทำ�การศึกษาสำ�หรับสถานการณ์ แปลงศึกษาที่เคยเกิดดินถล่มเล็กน้อย (0.672≤R ≤0.815) ปกติและสถานการณ์ที่เคยเกิดดินถล่ม ใช้ข้อมูลปริมาณ อย่างไรก็ตาม ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินยังได้รับอิทธิพล นํ้าฝนและปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินในแต่ละเหตุการณ์ หรือเป็นผลจากตัวแปรตัวอื่นที่ไม่ใช่ปริมาณนํ้าฝนที่ตกใน ของฝนตกรายวัน (daily rainfall event) จำ�นวน 47 แต่ละเหตุการณ์ เมื่อทำ�การเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์ เหตุการณ์ ระหว่างวันที่ 14 พฤศจิกายน 2558 ถึง วันที่ การถดถอย (slope, β) โดยค่า slope เป็นค่าที่แสดง 12 พฤศจิกายน 2559 จากผลการวิเคราะห์การถดถอย ประมาณการเปลี่ยนแปลงของนํ้าไหลบ่าหน้าดิน เมื่อ เชิงเส้นอย่างง่าย (simple linear regression analysis) ปริมาณนํ้าฝนทั้งหมดเปลี่ยนไป พบว่า ค่า slope ของ พบว่า ปริมาณนํ้าฝนส่งผลต่อปริมาณไหลบ่าหน้าดินของ แปลงศึกษาทั้งหมด 6 แปลง มีค่าเป็นบวกทั้งหมด โดย ระบบนิเวศทั้งสองประเภทอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทาง (p≤0.05) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจหรือสัมประสิทธิ์ เดียวกันกับปริมาณนํ้าฝนในแต่ละเหตุการณ์ ดังแสดงใน การทำ�นาย (coefficient of determination: R2) Figure 2 8

1 Table 2 Runoff characteristics related to rainfall amount in the mixed fruit tree-based agroforestry and mix fruit 2 tree-based agroforestry under landslide condition. Mean of Number of Total Pearson S.D. of percent Plots Total rainfall percent runoff data runoff correlation runoff of code (mm) runoff of collected (mm) (r) rainfall (%) rainfall (%) FN01RF 59 1,692.660 8.750 0.883** 0.12 0.26 FN02RF 58 1,726.260 16.279 0.945** 0.19 0.51 FN03RF 62 1,738.390 5.2132 0.934** 0.05 0.12 FS01RF 53 1,488.440 5.6965 0.901** 0.05 0.12 FS02RF 60 1,624.790 31.030 0.821** 0.41 0.78 FS03RF 58 1,356.690 13.807 0.822** 0.16 0.31 3 Remarks: FN: Study plot of runoff of mixed fruit tree-based agroforestry, FS: Study plot of runoff of mixed fruit tree- 4 based agroforestry under landslide condition; **Correlation is significant at the 0.01 level 5 การศึกษาอิทธิพลของปริมาณน้ําฝนต�อปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดิน 6 การศึกษาอิทธิพลของปริมาณน้ําฝนต�อปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดินในพื้นที่ทําการศึกษาสําหรับสถานการณ�ปกติและสถ า น ก า ร ณ� 7 ที่เคยเกิดดินถล�ม ใช�ข�อมูลปริมาณน้ําฝนและปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดินในแต�ละเหตุการณ�ของฝนตกรายวัน (daily rainfall event) 8 จํานวน 47 เหตุการณ� ระหว�างวันที่ 14 พฤศจิกายน 2558 ถึง วันที่ 12 พฤศจิกายน 2559 จากผลการวิเคราะห�การถดถอยเชิงเส�นอย�าง 9 ง� า ย ( simple linear regression analysis) พบว�า ปริมาณน้ําฝนส�งผลต�อปริมาณไหลบ�าหน�าดินของระบบนิเวศทั้งสองประเภทอย�างมี 10 นัยสําคัญทางสถิติ (p≤0.05) โดยมีค�าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจหรือสัมประสิทธิ์การทํานาย (coefficient of determination: R2) 11 ระหว�าง 0.672 และ 0.894 ทั้งนี้ ปริมาณน้ําฝนมีแนวโน�มที่มีอิทธิพลทางบวกต�อปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดินของแปลงศึกษาที่ไม�เกิดดิน 12 ถล�ม (0.780≤R2≤0.894) สูงกว�าแปลงศึกษาที่เคยเกิดดินถล�มเล็กน�อย (0.672≤R2≤0.815) อย�างไรก็ตาม ปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดินยัง 13 ได�รับอิทธิพลหรือเป�นผลจากตัวแปรตัวอื่นที่ไม�ใช�ปริมาณน้ําฝนที่ตกในแต�ละเหตุการณ� เมื่อทําการเปรียบเทียบค�าสัมประสิทธิ์การถดถอย 14 (slope, β) โดยค�า slope เป�นค�าที่แสดงประมาณการเปลี่ยนแปลงของน้ําไหลบ�าหน�าดิน เมื่อปริมาณน้ําฝนทั้งหมดเปลี่ยนไป พบว�า ค�า 15 50slope ของแปลงศึกษาทั้งหมด 6 แปลงThai มีค�าเป�นบวกทั้งหมด J. For. 39 (1) โดยปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดินมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศท : 41-56 (2020) างเดียวกันกับ 16 ปริมาณน้ําฝนในแต�ละเหตุการณ� ดังแสดงใน Figure 2 17

9

18 1 Figure19 2 Relationship between rainfall and runoff in the mixed fruit tree-based agroforestry (FN) and mixed fruit Figure 2 Relationship between rainfall and runoff in the mixed fruit tree-based agroforestry (FN) and 2 tree-basedmixed agroforestry fruit tree-based under agroforestry landslide condition under landslides (FS) calculated conditions at (FS) plot calculated scale. at plot scale. 3 Figure 3Figure แสดง ความสัมพันธ�ระหว�างค�าเฉลี่ยของ3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ยปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดิทำ�ให้เกิดนํ้าไหลบ่าหน้าดินของแปลงศึกษาที่ไม่เกิดนกับปริมาณน้ําฝนในแ ต� ล ะ เ ห ต ุ การณ�ที่ฝนตกของ 4 แปลงศึกษาในสถานการณ�ปกติและแปลงศึกษาที่เคยเกิดดินถล�มของปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินกับปริมาณนํ้าฝนในแต่ละ (N=3ดินถล่ม) โดยมี พบว่าค�าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ มีค่า 7.5773 มิลลิเมตรเท�ากับ ขณะที่ค่าเทรส 0.879 และ 0.790 5 ตามลําดับเหตุการณ์ที่ฝนตกของแปลงศึกษาในสถานการณ์ปกติ (p≤0.05) ขณะที่ ค�า slope ของสมการถดถอยของแปลงศึกษาที่ไม�เกิดดินถล�มมีค�าน�อยกว�าแปลงศึกษาที่เกิดดินถล�มโฮลด์ของแปลงศึกษาที่เกิดดินถล่มมีค่า 6.838 มิลลิเมตร โดยมี 6 ค� า slopeและแปลงศึกษาที่เคยเกิดดินถล่ม เ ท� า ก ับ 0.0097 (ซึ่งหมายถึงปริมาณน้ําไหล (N=3) โดยมีค่าบ�าหน�าดินของแปลงศึกษาที่ไม�เกิดดินถล�มสำ�หรับค่าคงที่ (intercept) หรือจะเปลี่ยนแปลงไป จุดตัดแกนตั้ง (Y-intercept) 0.0097 มิลลิเมตร 7 ของทุกๆสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเท่ากับ ครั้งที่ปริมาณน้ําฝนเปลี่ยนไป 0.8791 มิลลิเมตร และ 0.790) นอกจากนี้ ตาม เมื่อคํานวณกลับเพื่อหาค�าเทรสโฮลด�ของสมการถดถอยที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ (threshold) ของน้ําไหลบ�าหน�า ลำ�ดับ (p≤0.05) ขณะที่ ค่า slope ของสมการถดถอย นํ้าฝนกับปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินแสดงค่าติดลบ ซึ่ง 8 ดิน หรือ เป�นค�าปริมาณน้ําฝนต่ําสุดที่เริ่มทําให�เกิดน้ําไหลบ�าหน�าดินของแปลงศึกษาที่ไม�เกิดดินถล�ม พบว�า มีค�า 7.5773 มิลลิเมตร ของแปลงศึกษาที่ไม่เกิดดินถล่มมีค่าน้อยกว่าแปลงศึกษา สอดคล้องกับค่าเทรสโฮลด์ของนํ้าฝนผ่านเรือนยอดของ 9 ขณะที่ค�าเทรสโฮลที่เกิดดินถล่มด� ของแปลงศึกษาที่เกิดดินถล�มมีค�า โดยมีค่า slope เท่ากับ 0.0097 6.838 (ซึ่ง มิลลิเมตรปริมาณน สําหรับค�าคงที่ํ้าไหลบ่าหน้าดินทั้งในแปลงศึกษาที่ไม่เกิด (Intercept) หรือ จุดตัดแกนตั้ง (Y-intercept) 10 ของสมการหมายถึงปริมาณนถดถอยที่แสดงความสัมพันธ�ระหว�างปริมาณน้ําฝนกับํ้าไหลบ่าหน้าดินของแปลงศึกษาที่ ปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดินดินถล่มและแปลงที่เกิดดินถล่มแสดงค�าติดลบ ทั้งนี้ ซึ่งสอดคล�องกับค�า ค่าพารามิเตอร์ของเ ท ร ส โ ฮ ล ด� 11 ของน้ําฝนผ�านเรือนยอดของไม่เกิดดินถล่มจะเปลี่ยนแปลงไปปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดิน 0.0097 มิลลิเมตรทั้งในแปลงศึกษาที่ไม�เกิดดินถล�มและแปลงที่เกิดดินถล�ม ของ แบบจำ�ลองสมการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายที่ใช้อธิบาย ทั้งนี้ ค�าพารามิเตอร�ของ 12 แบบจําลองสมการถดถอยเชิงเส�นอย�างง�ายที่ใช�อธิบายอิทธิพลของปริมาณน้ําฝนต�อปริมาณไหลบ�าหน�าดินของแต�ละเหตุการณ�ที่ฝนตกทุกๆ ครั้งที่ปริมาณน้าฝนเปลี่ยนไปํ 1 มิลลิเมตร) นอกจากนี้ อิทธิพลของปริมาณนํ้าฝนต่อปริมาณไหลบ่าหน้าดินของ 13 แสดงใน เมื่อคำTable�นวณกลับเพื่อหาค่าเทรสโฮลด์ 3 (threshold) ของ แต่ละเหตุการณ์ที่ฝนตกแสดงใน Table 3 14 นํ้าไหลบ่าหน้าดิน หรือ เป็นค่าปริมาณนํ้าฝนตํ่าสุดที่เริ่ม

15 16 Figure 3 Relationship between rainfall and average value of runoff in the mixed fruit tree-based 17 Figure 3 Relationshipagroforestry between (FN; rainfall N=3) andand mixedaverage fruit value tree-based of runoff agroforestry in the mixed under fruit landslide tree-based conditions agroforestry (FN; 18 N=3) and(FS; mixed N=3) calculatedfruit tree-based for each agroforestry ecosystem under type. landslide conditions (FS; N=3) calculated for each 19 ecosystem type. 20 Table 3 Regression coefficients used to estimate the amount of runoff in the mixed fruit tree-based agroforestry 21 system. Standard Landslide Adjusted R Intercept Slope error of F d.f. p-value condition square estimate FN -0.0735 0.0097 0.876 0.095 326.63 46 <0.001 FS -0.1354 0.0198 0.785 0.280 147.11 40 <0.001 22 Remarks: FN: Study plot of runoff of mixed fruit tree–based agroforestry, FS: Study plot of runoff of mixed fruit 23 tree-based agroforestry under landslide conditions 24 25 การศึกษาความสัมพันธ�ระหว�างปริมาณน้ําไหลบ�าหน�าดินและปริมาณของแข็งแขวนลอย วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 41-56 (2563) 51

Table 3 Regression coefficients used to estimate the amount of runoff in the mixed fruit tree- based agroforestry system. Standard Landslide Adjusted Intercept Slope error of F d.f. p-value condition R square estimate FN -0.0735 0.0097 0.876 0.095 326.63 46 <0.001 FS -0.1354 0.0198 0.785 0.280 147.11 40 <0.001 Remarks: FN: Study plot of runoff of mixed fruit tree–based agroforestry, FS: Study plot of runoff of mixed fruit tree-based agroforestry under landslide conditions

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้าไหล ดินถล่ม อยู่ในช่วงร้อยละ 1.718-4.126 และร้อยละ บ่าหน้าดินและปริมาณของแข็งแขวนลอย 1.573-6.199 ของปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดิน ตามลำ�ดับ จากการเก็บข้อมูลปริมาณของแข็งแขวนลอย แสดงให้เห็นว่า ในพื้นที่ที่ไม่เคยเกิดดินถล่มมีปริมาณ จากเหตุการณ์นํ้าไหลบ่าหน้าดินจำ�นวน 5-10 ครั้ง ผล ของแข็งแขวนลอยที่มากับนํ้าไหลบ่าหน้าดินในปริมาณ การศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของปริมาณของแข็งแขวนลอย ที่ตํ่ากว่าพื้นที่ที่เคยเกิดดินถล่ม ดังแสดงรายละเอียดใน ของแปลงศึกษาในสถานการณ์ปกติและพื้นที่ที่เคยเกิด Table 4 Table 4 The characteristics of runoff as a function of suspended solid in mixed fruit tree-based agroforestry and mixed fruit tree-based agroforestry under landslide conditions. Number of suspended Total Pearson Mean of S.D. of Total runoff Plots code solid suspended correlation percent percent (SS) (mm) (SS) data solid (g) (r) (SS) (%) (%) collected FN01RF 5 0.613 5.1543 0.942** 1.718 2.085 FN02RF 9 0.861 11.314 0.995** 2.514 3.854 FN03RF 10 0.888 15.20 0.882** 4.126 7.362 FS01RF 10 0.791 6.2913 0.991** 1.573 1.948 FS02RF 10 2.475 34.093 0.960** 6.199 9.867 FS03RF 10 1.807 27.016 0.963** 4.912 7.6299 Remarks : FN: Study plot of mix fruit tree-based agroforestry, FS: Study plot of mix fruit tree-based agroforestry under landslide conditions; **Correlation is significant at a 0.01 significance level 52 Thai J. For. 39 (1) : 41-56 (2020)

การศึกษาอิทธิพลของปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดิน น้อยกว่าแปลงศึกษาสถานการณ์ที่เกิดดินถล่ม ทั้งนี้ ความ ต่อปริมาณของแข็งแขวนลอย สัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ยของปริมาณของแข็งแขวนลอย ในกรณีความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้าไหล กับค่าเฉลี่ยของปริมาณนํ้าไหลบ่าในแต่ละเหตุการณ์ที่ บ่าหน้าดินและปริมาณของแข็งแขวนลอย พบว่า แปลง ฝนตกของแปลงศึกษาในสถานการณ์ปกติ มีค่าสัมประสิทธิ์ ศึกษา FN02 แสดงค่า R2 สูงที่สุด (R2 = 0.9755) ขณะที่ การตัดสินใจเท่ากับ 0.3698 ซึ่งชี้ให้เห็นว่า ปริมาณนํ้า แปลง FS03 มีค่า R2 ตํ่าสุด (R2 = 0.5343) แสดงให้เห็น ไหลบ่าหน้าดินมีอิทธิต่อปริมาณของแข็งแขวนลอยไม่สูง ว่า ในแต่ละเหตุการณ์ที่เกิดการสูญเสียตะกอนแขวนลอย มากนัก ขณะที่แปลงศึกษาที่เคยเกิดดินถล่มค่าสัมประสิทธิ์ จากนํ้าไหลบ่าหน้าดินนั้น ยังได้รับอิทธิพลหรือเป็นผล การตัดสินใจเท่ากับ 0.8503 (p≤0.05) นอกจากนี้ ค่า จากตัวแปรตัวอื่นที่ไม่ใช่ปริมาณนํ้าไหลบ่าในแต่ละ เฉลี่ยของปริมาณของแข็งแขวนลอยของแปลงศึกษาใน เหตุการณ์ สำ�หรับค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย (slope) สถานการณ์ปกติมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่อนข้างสูง ของแปลงศึกษาทั้งหมด 6 แปลง มีค่าเป็นบวกทั้งหมด ซึ่งจากการสังเกตระหว่างเก็บข้อมูลในภาคสนาม พบว่า โดยปริมาณของแข็งแขวนลอยมีการเปลี่ยนแปลงไปใน การกำ�จัดวัชพืชและพืชปกคลุมดินด้วยการใช้เครื่องตัด ทิศทางเดียวกันกับปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินในแต่ละ หญ้าของเกษตรกรเจ้าของสวน ส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่ม เหตุการณ์ของพื้นที่ทำ�การศึกษาสวนไม้ผลผสมแบบ ขึ้นของปริมาณตะกอนดิน เมื่อเปรียบเทียบกับแปลงศึกษา วนเกษตร ในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์ที่เคยเกิด ที่ยังไม่ได้กำ�จัดวัชพืช (Figure 5) สำ�หรับค่าพารามิเตอร์ ดินถล่ม (Figure 4) ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินของแปลง ของแบบจำ�ลองสมการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายที่ใช้อธิบาย ศึกษาในสถานการณ์ปกติมีแนวโน้มตํ่ากว่าแปลงศึกษา อิทธิพลของปริมาณไหลบ่าหน้าดินที่มีต่อปริมาณของแข็ง ที่เคยเกิดดินถล่ม จึงส่งผลให้มีปริมาณของแข็งแขวนลอย แขวนลอยแสดงใน Table 5 Table 5 Regression coefficients used to estimates the amount of total suspended solid for the mixed fruit tree-based agroforestry system. Standard Landslide Adjusted R Intercept Slope error of F d.f. p-value condition square estimate FN 0.7335 16.877 0.291 2.177 326.63 9 0.062 FS -1.1334 9.0886 0.831 0.737 45.35 9 <0.001 Remarks : FN: Study plot of runoff of mixed fruit tree-based agroforestry, FS: Study plot of runoff of mixed fruit tree–based agroforestry under landslide conditions 11

11 FS -1.1334 9.0886 0.831 0.737 45.35 9 <0.001 1 RemarksFS: FN: Study plot-1.1334 of runoff 9.0886of mixed fruit tree0.831-based agroforestry,0.737 FS: Study plot of45.35 runoff of9 mixed<0.001 fruit tree– 2 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 41-56 (2563) 53 1 Remarksbased: FN agroforestry: Study plot ofunder runoff landslide of mixed fruitcondition tree-baseds agroforestry, FS: Study plot of runoff of mixed fruit tree– 3 2 based agroforestry under landslide conditions 3 FN FS

4 4 – 5 Figure5 Figure 4 FigureRelationship 4 Relationship 4 Relationship between between between runoff runoff and runoff and suspended suspended and suspended solid solid inin solidthethe mixed in the fruit fruitmixed tree tree fruit–based–based tree agroforestry agroforestrybased agroforestry (FN) (FN) and and 6 6 mixedmixed fruit(FN) fruittree and -treebased mixed-based agroforestry fruit agroforestry tree-based under under agroforestrylandslide landslide conditioncondition under landslidess (FS)(FS) calculated calculated conditions at atplot plot(FS) scale scalecalculated. . at plot scale. 7 7

FN FS

8 9 8 Figure 5 Relationship between the average values of runoff and suspended solid in the mixed fruit 9 10 Figure 5 Relationship between the average values of runoff and suspended solid in the mixed fruit tree–based tree–based agroforestry (FN) and mixed fruit tree-based agroforestry under landslide 10 11 agroforestry (FN) and mixed fruit tree-based agroforestry under landslide conditions (FS) calculated for Figure 5 Relationshipconditions between (FS) the calculated average valuesfor each of ecosystem runoff and type. suspended solid in the mixed fruit tree–based 11 12 agroforestryeach ecosystem (FN) and type mixed. fruit tree-based agroforestry under landslide conditions (FS) calculated for 12 13 เปรียบเทียบปริมาณเปรียบเทียบปริมาณของแข็งแขวนลอยระหว่างeach ecosystemของแข็งแขวนลอย type. ระหว�างระบบวนเกษตรแบบสวนไม�ผลผสมไร่/ปี (0.27 ตัน/เฮกตาร์/ปี)และพื้นที่เคยเกิดดินถล�ม เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ 14 ของแข็งแขวนลอยภายในรอบปี 2559 พบว่า แปลง 13 เปรียบเทียบปริมาณระบบวนเกษตรแบบสวนไม้ผลผสมและพื้นที่จากการศึกษาการประเมินการสูญเสียดินของแข็งแขวนลอยระหว�าง ระบบวนเกษตรแบบสวนไม�ผลผสมพบว�า แปลงศึกษา FS03 มีปริมาณการสูญเสียดินมีค�าสูงสุดและพื้นที่เคยเกิดดินถล�ม เท�ากับ 171.64 15 กิโลกรัม/ไร�/ป� รองลงมาได�แก� แปลงศึกษา FS02 มีปริมาณการสูญเสียดินศึกษาที่เคยเกิดดินถล่มมีแนวโน้มของการการสูญเสียดิน 136.29 กิโลกรัม/ไร�/ป� (0.85 ตัน/เฮก ต า ร� / ป� ) ขณะที่แปลง 14 จากการศึกษาการประเมินการสูญเสียดินเคยเกิดดินถล่ม พบว�า แปลงศึกษา FS03 มีปริมาณการสูญเสียดินมีค�าสูงสุด เท�ากับ 171.64 16 ศึกษา FN02 มีปริมาณการสูญเสียดินต่ําสุดจากการศึกษาการประเมินการสูญเสียดิน เท�ากับ 42.52 พบ กิโลกรัม/ไร�/ป�มากกว่าแปลงศึกษาที่ไม่เกิดดินถล่ม (0.27 ตัน/เฮกตาร�/ป�) เมื่อเปรียบ เทียบโดยพื้นที่เคยเกิดปริมาณของแข็ง 15 กิโลกรัม/ไร�/ป� รองลงมาได�แก� แปลงศึกษา FS02 มีปริมาณการสูญเสียดิน 136.29 กิโลกรัม/ไร�/ป� (0.85 ตัน/เฮก ต า ร� / ป� ) ขณะที่แปลง 17 แขวนลอยภายในรอบป�ว่า แปลงศึกษา FS03 2559 มีปริมาณการสูญเสียดินมีค่าสูงสุด พ บ ว� า แปลงศึกษาที่เคยเกิดดินถล�มมี แนวโน�มของการดินถล่มมีค่าเฉลี่ยของปริมาณของแข็งแขวนลอยที่สูญการสูญเสียดินมากกว�าแปลงศึกษาที่ไม�เกิดดินถล�ม 16 ศึกษา FN02 มีปริมาณการสูญเสียดินต่ําสุด เท�ากับ 42.52 กิโลกรัม/ไร�/ป� (0.27 ตัน/เฮกตาร�/ป�) เมื่อเปรียบเทียบปริมาณของแข็ง 18 โดยพื้นที่เคยเกิดดินถล�มมีเท่ากับ 171.64 กิโลกรัม/ไร่/ปีค�าเฉลี่ยของ ปริมาณของแข็งแขวนลอยที่สูญเสียไปจากพื้นที่รองลงมาได้แก่ แปลง เสียไปจากพื้นที่ 119.99 119.99 กิโลกรัม/ไร�/ป� กิโลกรัม/ไร่/ปี (0.75 (0.75ตัน/เฮกตาร�/ป�) ตัน/ 17 19แขวนลอยภายในรอบป� ขณะที่แปลงศึกษาที่ไม�เกิดดินถล�มมีค�าเฉลี่ยของปริมาณของแข็งแขวนลอยศึกษา FS02 มีปริมาณการสูญเสียดิน2559 พ บ ว� า แปลงศึกษา 136.29ที่เคยเกิดดินถล�มมี กิโลกรัม/ แนวโน�มของการเฮกตาร์/ปี) 54.74 กิโลกรัม/ไร�/ป� ขณะที่แปลงศึกษาที่ไม่เกิดดินถล่มมีค่าเฉลี่ยการสูญเสียดินมากกว�า (0.34 ตัน/เฮกตแปลงศึกษาที่ไม�เกิดดินถล�มาร�/ป�) แสดงดัง Table 18 20โดยพื้นที่เคยเกิดดินถล�มมี 5 อย�างไรก็ตามไร่/ปี (0.85 การสูญเสียดินตัน/เฮกตาร์/ปี)ค�าเฉลี่ยของของระบบวนเกษตรแบบสวนไม�ผลผสม ปริมาณของแข็งแขวนลอยที่สูญเสียไปจากพื้นที่ขณะที่แปลงศึกษา FN02 ทั้งของปริมาณของแข็งแขวนลอยในสถานการณ�ปกติและที่เคยเกิดดินถล�ม 119.99 กิโลกรัม/ไร�/ป� 54.74 มาแล�วประมาณ กิโลกรัม/ไร่/ปี(0.75 ตัน/เฮกตาร�/ป�) 10 19 ขณะที่แปลงศึกษาที่ไม�เกิดดินถล�มมีค�าเฉลี่ยของปริมาณของแข็งแขวนลอยมีปริมาณการสูญเสียดินตํ่าสุด เท่ากับ 42.52 กิโลกรัม/ (0.34 54.74 ตัน/เฮกตาร์/ปี) กิโลกรัม/ไร�/ป� แสดงดัง (0.34 ตัน/เฮกต Table 5าร�/ป�) อย่างไรก็ตาม แสดงดัง Table 20 5 อย�างไรก็ตาม การสูญเสียดินของระบบวนเกษตรแบบสวนไม�ผลผสมทั้งในสถานการณ�ปกติและที่เคยเกิดดินถล�มมาแล�วประมาณ 10 54 Thai J. For. 39 (1) : 41-56 (2020)

การสูญเสียดินของระบบวนเกษตรแบบสวนไม้ผลผสม ค่อนข้างชิดกัน (relatively closed canopies) แต่มี ทั้งในสถานการณ์ปกติและที่เคยเกิดดินถล่มมาแล้ว ลักษณะไม่หนาแน่นทึบ ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่มีความ ประมาณ 10 ปี อยู่ในระดับน้อยมาก (ระดับ 0-2 ตัน/ หนาแน่นประมาณ 73.6 ต้น/ไร่ ซึ่งแตกต่างจากสวน ไร่/ปี) ตามเกณฑ์การจำ�แนกชั้นความรุนแรงของการ วนเกษตรที่ไม่เกิดดินถล่ม ที่มีการตัดฟันต้นไม้ป่าขนาด สูญเสียดินของกรมพัฒนาที่ดิน (Land Development ใหญ่ออกเพื่อปลูกไม้ผลเศรษฐกิจที่มีระยะปลูกแตกต่าง Department, 2000) เนื่องจากลักษณะโครงสร้างของ กัน จึงทำ�ให้เกิดช่องว่างหรือมีพื้นที่เปิดภายในสวน เรือนยอด (canopy structure) ในพื้นที่เคยเกิดดินถล่ม วนเกษตร (Boonyanuphap et al., 2018) ดังกล่าว มีสภาพการปกคลุมของเรือนยอดชั้นบนสุด Table 5 The amount of soil loss in the mixed fruit tree-based agroforestry and mixed fruit tree-based agroforestry under landslide conditions during the rainy season of year 2016. Total Total suspended Plot Runoff Plots Runoff Runoff SS Settleable suspended solid (kg/Rai/Year) size (Cu.m/ code (mm) (Cu.m) (kg) solids (kg) solid (m2) Rai/Year) Mean S.D. (kg/Rai/Year) FN01 64 8.750 14.000 350.00 0.4597 2.096 63.90 54.74ns 11.01 FN02 48 16.279 26.046 868.20 0.3503 0.925 42.52 FN03 48 5.260 8.416 280.53 0.2948 1.439 57.81 FS01 24 5.715 9.145 609.67 0.1396 0.641 52.05 119.99ns 61.44 FS02 24 32.392 51.827 3,455.13 0.1883 1.856 136.29 FS03 24 15.602 24.962 1,664.13 0.5907 1.984 171.64 Remarks : Suspended solid: SS; ns: not significant indicated by p=0.074 derived from independent t-test ไปทั้งหมดในรอบปี 2559 ของระบบวนเกษตรแบบสวน สรุป ไม้ผลผสมที่เคยเกิดดินถล่มมาแล้ว 10 ปี มีมากกว่าระบบ ภัยพิบัติดินถล่มเป็นปัจจัยขับเคลื่อนที่สำ�คัญต่อ นิเวศเดียวกันที่ไม่เกิดดินถล่มอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางอุทกวิทยา (hydrological นอกจากปริมาณนํ้าฝนแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นที่มีอิทธิพลต่อ change) ของระบบนิเวศวนเกษตรแบบสวนไม้ผลผสม ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินด้วยเช่นกัน ขณะที่ปริมาณ บริเวณแหล่งต้นนํ้าของพื้นที่ตำ�บลแม่พูล อำ�เภอลับแล ของแข็งแขวนลอยยังได้รับอิทธิพลจากปัจจัยอื่นนอกจาก จังหวัดอุตรดิตถ์ การสร้างแบบจำ�ลองแสดงความสัมพันธ์ ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินเพียงอย่างเดียว เช่น สภาพ ระหว่างปริมาณนํ้าฝน-นํ้าไหลบ่า-ของแข็งแขวนลอย ภูมิประเทศ การปกคลุมเรือนยอดไม้ใหญ่ ความหนาแน่น (rainfall-runoff–suspend solids modeling) ทำ�ให้ ของพืชพื้นล่างหรือสิ่งปกคลุมดิน และการปฏิบัติทางการ สามารถคาดการณ์อิทธิพลของปริมาณนํ้าฝนที่มีต่อ เกษตรที่แตกต่างกันของเจ้าของที่ดิน ความเข้าใจต่อ ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินและปริมาณของแข็งแขวนลอย พลวัตของกระบวนการทางอุทกวิทยาอันเนื่องมาจากดิน ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อกระบวนการกร่อนของดินในพื้นที่ ถล่ม ทำ�ให้ได้ข้อมูลสำ�คัญเพื่อใช้ในการประเมินผลกระทบ ศึกษา ปริมาณนํ้าไหลบ่าหน้าดินและการสูญเสียดิน ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งนำ�ไปสู่การตัดสินใจค้นหา อันเนื่องมาจากปริมาณของแข็งแขวนลอยที่สูญเสีย แนวทางการควบคุมการกร่อนของดินเพื่อลดปริมาณการ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 41-56 (2563) 55

สูญเสียหน้าดินและการทับถมของตะกอนดินระยะยาว and Landslide. Research Report. ในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติดินถล่ม Biodiversity-based Economy Development Office (Public Organization), Bangkok. คำ�นิยม (in Thai) คณะวิจัยขอขอบคุณมหาวิทยาลัยนเรศวรที่ , K. Maosew, A. Wongmun and P. Moolthasit. 2019. Rainfall crown สนับสนุนทุนวิจัย และขอขอบคุณเกษตรกรเจ้าของสวน interception and partitioning in mixed ในการอนุญาตให้ติดตั้งอุปกรณ์เก็บข้อมูลปริมาณนํ้าฝน fruit tree–based agroforestry system in และแปลงศึกษานํ้าไหลบ่าหน้าดินในพื้นที่สวนไม้ผลผสม the landslide area. Thai Journal of แบบวนเกษตรตลอดระยะเวลาการดำ�เนินโครงการวิจัย Forestry 38(2): 56-70. (in Thai) Chankaew, K. 1996. Principles of Watershed REFERENCES Management. Department of Boonyanuphap, J. 2013. Cost-benefit analysis Conservation, Faculty of Forestry, of vetiver system-based rehabilitation Kasetsart University, Bangkok. (in Thai) measures for landslide-damaged Chow, M.F., Z. Yusop and M. Mohamed. 2011. mountainous agricultural lands in the Quality and first flush analysis of lower Northern Thailand. Natural stormwater runoff from a tropical Hazards 69(1): 599-629. commercial catchment. Water Science and P. Thonglem. 2011. Land Evaluation and Technology 63(6): 1211-1216. and Land Readjustment Guideline Crim, J.F., J.E. Schoonover, K.W.J. Williard, J.W. for Zoning of Agro-economic and Groninger, J.J. Zaczek and C.M. Ruffner. Protected Areas in Steep Mountainous 2011. Evaluation of erosion and Upstream Area. Final Research Report. sedimentation associated with tracked Thai Health Promotion Foundation, vehicle training, pp. 375-388. In Bangkok. (in Thai) Proceedings of the 17th Central , P. Thonglem and L. Raksanok. 2016. Hardwood Forest Conference. 5-7 Economic Valuation of Slope April 2010. Lexington, KY; Gen. Tech. Stabilization Methods for Landslide Rep. NRS-P-78. Newtown Square, PA: Prevention in Maepoon Sub-district: U.S. Department of Agriculture, Forest Its Implication on Payment for Service, Northern Research Station. Ecosystem Services. Research Report. IBM Corp. 2016. IBM SPSS Statistics for Windows, The Chai Pattana Foundation, Bangkok. Version 24.0. IBM Corp., Armonk, New (in Thai) York. , W. Punsak and O. Teetawasak. 2018. Keawpromta, S. 2003. Preliminary Study on Water Balance Assessment in Upstream Soil and Water Losses from Different Ecosystems and Guideline for Public Land Uses within Small Watershed Participatory Water Resources at Huai Raeng – Klong Peed Amphoe Management under Climate Change Borai and Amphoe Muang Trat 56 Thai J. For. 39 (1) : 41-56 (2020)

Province. M.S. Thesis, Kasetsart University. United States Environmental Protection Agency (in Thai) [U.S. EPA]. 1999. Preliminary Data Land Development Department. 2000. Soil Summary of Urban Storm Water Best Erosion in Thailand. First Press Limited Management Practices. EPA-821-R-99-012. Partnership, Bangkok. (in Thai) Washinton, D.C. Maosew, K. and J. Boonyanuphap. 2017. Vannote, R.L., G.W. Minshall, K.W. Cummins, J.R. Economic loss in plant diversity of mixed Sedell and C.E. Cushing. 1980. The fruit tree-based agroforestry system river continuum concept. Canadian caused by landslide in Lablae district, Journal of Fisheries and Aquatic Uttaradit province. Khon Kaen Sciences 37(1): 130-137. Agricultural Journal 45(4): 633-644. Wigmosta, M.S., L.J. Lane, J.D. Tagestad and A.M. (in Thai) Coleman. 2009. Hydrologic and erosion , A. Wongmun and J. Boonyanuphap. models to assess land use and 2019a. Change in economic value of management practices affecting soil forest ecosystem services caused by erosion. Journal of Hydrologic landslide in the upstream region of the Engineering 14(1): 27-41. lower northern Thailand. Songklanakarin Wongmun, A., K. Maosew and J. Boonyanuphap. Journal of Science and Technology 41(2): 421-435. 2017. Value of soil ecosystem services in the upstream regions impacted by , K. Thanacharoenchanaphas and J. landslide in Maephoon sub-district, Boonyanuphap. 2019b. Valuation of Lablae district, Uttaradit province. carbon stock in undisturbed natural Thai forest and mixed fruit tree-based Journal of Forestry 36(1): 99-112. (in agroforestry system by landslide and Thai) under natural succession. Thai Journal , K. Maosew and J. Boonyanuphap. of Forestry 38(1): 81-95. 2019a. The available water capacity in Tangtham, N. 1984. Control of Soil Erosion. landslide area. Khon Kean Agricultural Department of Conservation, Faculty Journal 47(2): 211-224. (in Thai) of Forestry, Kasetsart University, Bangkok. , S. Chuenchooklin, S. Choosumrong (in Thai) and J. Boonyanuphap. 2019b. Assessment . 2002. Mathematical Models of Soil of soil water content in landslide- Erosion and Sediment Pollution in damaged upstream ecosystems using Watershed. Department of Conservation, Soil and Water Assessment Tool (SWAT) Faculty of Forestry, Kasetsart University, model. Thai Journal of Forestry 38(1): Bangkok. (in Thai) 96-111. (in Thai) Thai J. For. 39 (1) : 57-70 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 57-70 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

การกักเก็บคาร์บอนในสังคมพืชป่าไม้ชนิดต่างๆ ณ สถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา Carbon Stock of Different Forest Communities at Wang Nam Khiao Forestry Research and Student Training Station, Nakhon Ratchasima Province วสันต์ จันทร์แดง* Wasan Chandaeng ลดาวัลย์ พวงจิตร Ladawan Puangchit นพพร จันเกิด Nopphorn Junkerd นรินธร จำ�วงษ์ Narinthorn Jumwong

คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, Email: [email protected]

รับต้นฉบับ 13 กันยายน 2562 รับแก้ไข 17 ธันวาคม 2562 รับลงพิมพ์ 20 ธันวาคม 2562

ABSTRACT The purpose of this study was to investigate the community structure, species composition, and carbon sequestration of different forest communities at the Wang Nam Khiao Forestry Research and Student Training Station, Nakhon Ratchasima province. The 28 temporary sample plots, 40 m x 40 m size of each, were laid out in dry evergreen forest, dry dipterocarp forest, mixed deciduous forest, and eucalyptus plantation and were 13, 9, 3, and 3 in number, respectively, according to the stratum of forest integrity (high, medium, and low). The data collected were the tree species, diameter at breast height (DBH), and height of trees as well as weight of litter. Subsamples of wood, litter, and soil were collected for analyzing the carbon content. The carbon stocks of 5 pools were analyzed, that included the aboveground biomass, belowground biomass, dead wood, litter, and soil. The study of plant species found that there were a total of 148 species. In the dry evergreen forest, mean total carbon stocks (TCS) were estimated at 104.52 ton C ha-1. Of this amount, soil organic carbon at a depth of 0.30 m, total aboveground biomass, total belowground biomass, and necromass were 43%, 43%, 7%, and 6%, respectively. In the mixed deciduous forest, TCS was 85.89 ton C ha-1 and the soil organic carbon at a depth of 0.30 m accounted for 54% of this amount. The total aboveground biomass represented only 37%, total belowground biomass 6%, and total necromass 58 Thai J. For. 39 (1) : 57-70 (2020)

3% of TCS in the mixed deciduous forest. In the dry dipterocarp forests and eucalyptus plantation, TCS was 65.59 and 67.81 ton C ha-1, respectively. Most of the carbon stocks in soil ranged between 29-50% of the total carbon storage and aboveground biomass ranged between 28-45% of the total carbon storage, indicating that the forest ecosystems are an important carbon sink and the carbon stored in biomass is a large carbon pool and so planting of a mixed forestry should be promoted along with integrated economic plantations to increase the carbon storage sites than monoculture practices. Keywords: Biomass, Carbon stocks, Forest communities, Wang Nam Khiao Forestry Research and Student Training Station

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างสังคมพืชและประเมินศักยภาพในการดูดซับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และประเมินปริมาณคาร์บอนสะสม โดยการวางแปลงตัวอย่างชั่วคราว 40x40 เมตร จำ�นวน 28 แปลง แบบชั้นภูมิ (stratum) กระจายตามระดับความสมบูรณ์ของป่า 3 ระดับ มาก ปานกลาง และน้อย ในพื้นที่ป่าดิบ แล้ง ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และสวนป่ายูคาลิปตัส จำ�นวน 13, 9, 3 และ 3 แปลง ตามลำ�ดับ บริเวณสถานีวิจัยและ ฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา และวัดมิติต่างๆ ของต้นไม้ เพื่อนำ�ไปประมาณหามวลชีวภาพเหนือ พื้นดินและใต้ดินจากสมการแอลโลเมตรี พร้อมกันนี้ได้เก็บตัวอย่างส่วนต่างๆ ของต้นไม้เพื่อวิเคราะห์ความเข้มข้นของ คาร์บอนสำ�หรับประเมินการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพโดยประเมินศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากมวลชีวภาพและปริมาณคาร์บอนที่สะสมอยู่ในระบบนิเวศของป่าชนิดต่างๆ จากผลรวมของคาร์บอนที่สะสมทั้งหมด 5 แหล่ง ได้แก่ 1) แหล่งกักเก็บในมวลชีวภาพเหนือดิน 2) แหล่งกักเก็บในมวลชีวภาพใต้ดิน 3) แหล่งกักเก็บในไม้ตาย 4) แหล่งกักเก็บในซากพืช และ 5) แหล่งกักเก็บในดิน จากการศึกษาพบพรรณไม้ยืนต้น 148 ชนิด ส่วนปริมาณคาร์บอนสะสม พบว่า ป่าดิบแล้งมีปริมาณคาร์บอน สะสมทั้งหมด 104.52 ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็นการกับเก็บคาร์บอนในดิน มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพ ใต้ดิน และไม้ตายกับซากพืช ร้อยละ 43, 43, 7 และ 6 ตามลำ�ดับ ส่วนป่าเบญจพรรณมีปริมาณคาร์บอนสะสมทั้งหมด 85.89 ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็นการกักเก็บคาร์บอนในดิน มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน และไม้ตาย กับซากพืช ร้อยละ 54, 37, 6 และ 3 ตามลำ�ดับ ในขณะที่ป่าเต็งรังมีปริมาณคาร์บอนสะสมทั้งหมดน้อยที่สุดเท่ากับ 65.59 ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ และสวนป่ายูคาลิปตัสมีปริมาณคาร์บอนสะสม 67.81 ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ โดยปริมาณ คาร์บอนสะสมส่วนมากจะอยู่ในแหล่งสะสมในดิน (ร้อยละ 29-50) และมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (ร้อยละ 28-45) จาก ข้อมูลดังกล่าวทำ�ให้ทราบว่าระบบนิเวศป่าไม้ คือ แหล่งกักเก็บคาร์บอนขนาดใหญ่และแหล่งกักเก็บคาร์บอนในมวล ชีวภาพเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนขนาดใหญ่ ดังนั้น จึงควรส่งเสริมการปลูกป่าผสมผสานและสวนป่าเศรษฐกิจแบบผสม ผสานเพื่อเพิ่มพื้นที่เก็บกักคาร์บอนมากกว่าการปลูกแบบเชิงเดี่ยว คำ�สำ�คัญ: มวลชีวภาพ การกักเก็บคาร์บอน สังคมพืชป่าไม้ สถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 57-70 (2563) 59

คำ�นำ� สร้างกลไกและแรงจูงใจต่างๆ เพื่อช่วยลดการปลดปล่อย คาร์บอนจากการทำ�ลายป่าและความเสื่อมโทรมของป่า ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนับ ในพื้นที่ป่าธรรมชาติเพื่อให้เป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอน เป็นประเด็นหลักที่มีการกล่าวถึงในเวทีสำ�คัญต่างๆ ตั้งแต่ รวมทั้งส่งเสริมการปลูกสร้างสวนป่าไม้เศรษฐกิจแบบ ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศไปถึงระดับนานาชาติ เนื่องจาก ผสมผสานที่ให้ความสำ�คัญต่อการอนุรักษ์และส่งเสริม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นล้วนเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับทุก ให้มีโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพรรณพืชค่อนข้าง ภาคส่วน อาทิ ภาคพลังงาน การขนส่ง การพัฒนาเมือง ซับซ้อน มีระบบเรือนรากที่แผ่ซ้อนทับกัน เรือนยอดที่มี และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารจัดการทรัพยากร หลากหลายชั้นมากขึ้น มีซากพืชที่ร่วงหล่นบนพื้นป่าเพื่อ ป่าไม้ ซึ่งเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนที่สำ�คัญ โดยระบบ ช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ทำ�ให้ดินร่วนซุยก่อ นิเวศป่าไม้มีการสะสมคาร์บอนอยู่ทั้งในส่วนของต้นไม้ที่ ให้เกิดนํ้าซึมผ่านผิวดินมากขึ้นและไหลซึมลงดินอย่าง มีชีวิต ไม้ที่ล้มตายและดินผ่านกระบวนการสังเคราะห์ ช้าๆ และเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนที่เพิ่มขึ้นกว่าการปลูก แสงของพืช การหายใจของสิ่งมีชีวิต และการย่อยสลาย แบบเชิงเดี่ยว ของจุลินทรีย์ในรูปของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่ง สถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว Intergovernmental Panel on Climate Change จังหวัดนครราชสีมา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีการฟื้นฟูป่าที่ [IPCC], (2006) ได้กำ�หนดแหล่งสะสมคาร์บอนในสภาพ เสื่อมโทรมอันเนื่องจากการทำ�ไม้ในป่าธรรมชาติโดยการ ธรรมชาติออกเป็น 5 แหล่ง ได้แก่ แหล่งสะสมคาร์บอน ปลูกฟื้นฟูและการจัดการเพื่อให้เกิดการทดแทนตาม เหนือดิน แหล่งสะสมคาร์บอนใต้ดิน แหล่งสะสมคาร์บอน ธรรมชาติ รวมทั้งจัดการปลูกสร้างสวนป่าแบบผสมผสาน ในไม้ยืนต้นตาย แหล่งสะสมคาร์บอนของซากพืช และ เพื่อเพิ่มองค์ประกอบพรรณพืชในพื้นที่แปลงปลูกไม้ยูคา แหล่งสะสมคาร์บอนในดิน ลิปตัส เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนและลดสภาวะโลก ศักยภาพในการกักเก็บคาร์บอนของป่าธรรมชาติ ร้อน ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา มีการแปรผันขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ชนิดป่า ชนิด โครงสร้างสังคมพืชและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ พรรณไม้ที่เป็นองค์ประกอบของป่า ความหนาแน่นของ ที่จัดการเป็นป่าอนุรักษ์และป่าเศรษฐกิจ เพื่อเป็นข้อมูล ป่า สภาพภูมิประเทศ และปัจจัยสิ่งแวดล้อม โดยป่า และแหล่งเรียนรู้ในด้านการจัดการป่าเพื่อส่งเสริมการ ธรรมชาติที่มีความสมบูรณ์ มีความหนาแน่นของไม้ขนาด กักเก็บคาร์บอนต่อไป ใหญ่จำ�นวนมาก ทำ�ให้มีมวลชีวภาพและการกักเก็บ คาร์บอนในมวลชีวภาพสูง ในขณะที่การกักเก็บคาร์บอน ของสวนป่าขึ้นอยู่กับความแตกต่างของมวลชีวภาพเป็น อุปกรณ์และวิธีการ สำ�คัญ ซึ่งมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ชนิดต้นไม้ อายุ ระยะ พื้นที่ศึกษาวิจัย ปลูก และสภาพของท้องที่ ตลอดจนวนวัฒนวิธีที่ใช้ใน สถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว ตั้ง การจัดการ ส่วนใหญ่แล้วระยะปลูกที่แตกต่างกันทำ�ให้ อยู่ในตำ�บลอุดมทรัพย์ อำ�เภอวังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา มีจำ�นวนต้นไม้ต่อพื้นที่แตกต่างกัน ทำ�ให้สวนป่า (อายุ โดยประกอบไปด้วยพื้นที่จำ�นวน 2 ผืน โดยที่พื้นที่ผืน เท่ากัน) ที่มีจำ�นวนต้นต่อพื้นที่มากกว่ามีมวลชีวภาพและ แรกมีขนาดพื้นที่ประมาณ 1.42 ตารางกิโลเมตร (888 การกักเก็บคาร์บอนต่อพื้นที่มากกว่า (Department of ไร่) และพื้นที่ผืนที่ 2 มีขนาดพื้นที่ประมาณ 6.78 ตาราง National Parks, Wildlife and Plant Conservation กิโลเมตร (4,238 ไร่) ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ [DNP], 2009) เป็นที่ราบสลับกับภูเขาขนาดเล็กมีความสูงอยู่ในช่วง จากบทบาทสำ�คัญของระบบนิเวศป่าไม้ในการ ประมาณ 200 ถึง 500 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง ลดสภาวะโลกร้อน ทุกๆ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจึงมีการ มีทิศทางด้านลาดตามแนวทิศใต้ไปยังทิศเหนือ (S-N) 60 Thai J. For. 39 (1) : 57-70 (2020)

และตามแนวตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ มากกว่าหรือเท่ากับ 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป บันทึกข้อมูล (SW-NE) ลักษณะภูมิอากาศ อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 26.4 ได้แก่ ชนิด จำ�นวนที่พบ DBH และความสูงทั้งหมดของ องศาเซลเซียส ปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยรายเดือนรวมตลอด ต้นไม้ วางแปลงย่อยขนาด 4×4 เมตร ที่มุมล่างซ้ายของ ปี 999.5 มิลลิเมตร ช่วงเดือนที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยตํ่ากว่า แปลงขนาด 10×10 เมตร เพื่อทำ�การศึกษาไม้รุ่น 25 องศาเซลเซียส คือ เดือนธันวาคมและเดือนมกราคม (sapling) หรือไม้ที่มี DBH น้อยกว่า 4.5 เซนติเมตร และ ฤดูฝน คือ ช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร ขึ้นไปโดยทำ�การบันทึก ลักษณะดิน ลักษณะของเนื้อดินโดยมากเป็นดินร่วน ข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ชนิดไม้ จำ�นวนที่พบ DBH และความ เหนียวปนทราย (sandy clay loam) หรือดินร่วนปน สูงทั้งหมดของต้นไม้ ทราย (sandy loam) สภาพสังคมพืช ประกอบไปด้วย นอกแปลงตัวอย่าง ทำ�การเจาะเก็บตัวอย่าง รูปแบบการใช้ที่ดิน ได้แก่ พื้นที่ 1 ประกอบด้วย ป่าดิบ เนื้อไม้เพื่อนำ�มาวิเคราะห์ความเข้มข้นคาร์บอนในห้อง แล้ง สวนป่าหรือป่าฟื้นฟู สวนป่ายูคาลิปตัส และพื้นที่ที่ ปฏิบัติการ (IPCC, 2006) โดยบดตัวอย่างเนื้อไม้ให้ละเอียด ไม่ใช่ป่า ขณะที่พื้นที่ 2 ประกอบไปด้วย ป่าเต็งรัง ป่าดิบ ทำ�การวิเคราะห์หาปริมาณคาร์บอนตามวิธีการ Dumas แล้ง สวนป่าหรือป่าฟื้นฟู ป่าเบญจพรรณ สวนยางพารา หรือ dry combustion ด้วยเครื่อง CHNS/O Analyzer และพื้นที่ที่ไม่ใช่ป่า รุ่น PerkinElmer 2400 Series II CHNS/O Elemental การวางแปลงตัวอย่างและการเก็บข้อมูล Analyzer พื้นที่ป่า ณ สถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์ 2. การเก็บข้อมูลซากพืชและไม้พุ่ม วังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ที่ทำ�การศึกษาครั้งนี้ วางแปลงตัวอย่างขนาด 0.5×0.5 เมตร ที่ ได้แก่ พื้นที่ป่าดิบแล้ง (2,350.13 ไร่) ป่าเต็งรัง (1,987.33 มุมนอกแปลงตัวอย่าง ทำ�การเก็บซากพืชและไม้พุ่ม ไร่) ป่าเบญจพรรณ (147.38 ไร่) และสวนป่ายูคาลิปตัส ทั้งหมดที่อยู่บนผิวดิน สุ่มตัวอย่างใส่ถุงเพื่อนำ�มายังห้อง (247.50 ไร่) จากข้อมูลความอุดมสมบูรณ์ของป่าในแผน ปฏิบัติการ แล้วนำ�ตัวอย่างซากพืชและไม้พุ่มที่เก็บจาก พัฒนาป่าสาธิตวังนํ้าเขียว อำ�เภอวังนํ้าเขียว จังหวัด แปลงตัวอย่างมาอบแห้ง เพื่อหานํ้าหนักแห้งของซากพืช นครราชสีมา (Faculty of Forestry, 2015) ในประเภท และไม้พุ่ม จากสูตร ป่าดิบแล้งและป่าเต็งรังทำ�การแบ่งชั้นภูมิ (stratum) นํ้าหนักแห้ง = (100 x นํ้าหนักสด) ออกเป็น 3 ชั้นภูมิ คือ ตามระดับความอุดมสมบูรณ์ของ (100 + ร้อยละความชื้น) ป่า มาก ปานกลาง และน้อย วางแปลงชั่วคราวขนาด ตัวอย่างอีกส่วนหนึ่งนำ�ไปบดให้ละเอียด 40x40 เมตร (1 ไร่) ) กระจายในแต่ละชั้นภูมิ ป่าดิบแล้ง เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณคาร์บอนในซากพืชตามวิธีการ ทั้งหมด 13 แปลง และป่าเต็งรัง 9 แปลง สำ�หรับป่า Dumas หรือ dry combustion ด้วยเครื่อง CHNS/O เบญจพรรณและสวนป่ายูคาลิปตัสวางแปลงตัวอย่าง Analyzer รุ่น PerkinElmer 2400 Series II CHNS/O กระจายทั่วพื้นที่ๆ ละ 3 แปลงตัวอย่างในแต่ระดับความ Elemental Analyzer อุดมสมบูรณ์ รวมทั้งหมด 28 แปลงตัวอย่าง 3. การเก็บข้อมูลดิน 1. การเก็บข้อมูลต้นไม้ ทำ�การเก็บข้อมูลตัวอย่างดิน ด้วยวิธีการ ในแปลงตัวอย่างชั่วคราวขนาด 40×40 เก็บตัวอย่างดินแบบรบกวนดิน (disturbed soil sample) เมตร แต่ละแปลง แบ่งเป็นแปลงย่อยขนาด 10×10 เมตร และแบบไม่รบกวนดิน (undisturbed soil sample) ที่ จำ�นวน 16 แปลง ทำ�การเก็บข้อมูลของไม้ต้น (tree) ทุก ระดับความลึก 0-15 และ 15-30 เซนติเมตร แปลง ต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นผ่าน ตัวอย่างละ 3 จุด แล้วนำ�ตัวอย่างในแต่ละระดับความ ศูนย์กลางเพียงอก (diameter at breast height: DBH) ลึกมารวมกันในแต่ละแปลงตัวอย่าง นำ�ตัวอย่างดินที่เก็บ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 57-70 (2563) 61

ได้มายังห้องปฏิบัติการ โดยตัวอย่างดินที่เก็บแบบไม่ 4. การประเมินการกักเก็บคาร์บอนในแปลง รบกวนดินนำ�ไปวิเคราะห์หาความหนาแน่นรวม ส่วน ตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ ได้จำ�แนกแหล่งกักเก็บคาร์บอน ตัวอย่างดินที่เก็บแบบรบกวนนำ�ไปอบแห้งที่อุณหภูมิ ออกเป็น 5 แหล่ง ตามวิธีการของ (IPCC, 2006) อัน 105 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง หลังจากนั้น นำ� ได้แก่ มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน ไม้ตาย มาบดให้ละเอียดเพื่อนำ�ไปวิเคราะห์หาปริมาณคาร์บอน ซากพืช และในดิน โดยมีรายละเอียดในการประเมินดังนี้ ในดินตามวิธีการ Dumas หรือ dry combustion ซึ่ง 4.1 การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพ เป็นวิธีการวิเคราะห์ปริมาณคาร์บอนทั้งหมด (total เหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน ไม้ตาย และซากพืช คำ�นวณ carbon content) ของดิน (Walkley and Black, 1934) จากสูตร การวิเคราะห์ข้อมูล การกักเก็บคาร์บอน = มวลชีวภาพ x ความเข้มข้น C 1. ดัชนีค่าความสำ�คัญ (importance value (ตันคาร์บอน/เฮกตาร์) (ตัน/เฮกตาร์) (ร้อยละ) index, IVI) โดยได้จากการคำ�นวณหาค่าความหนาแน่น 4.2 การกักเก็บคาร์บอนในดิน คำ�นวณได้ (density, D) ความเด่นด้านพื้นที่หน้าตัด (dominance, จากการนำ�ปริมาณคาร์บอน (ร้อยละโดยนํ้าหนักแห้ง) ที่ Do) และความถี่ (frequency, F) จากนั้นทำ�การหาค่า วิเคราะห์ได้มาคูณด้วยค่าความหนาแน่นรวมของดิน ความสัมพัทธ์ของทั้งสามค่าดังกล่าว คือ ความหนาแน่น (bulk density) แล้วคูณด้วยความลึกของดิน (เซนติเมตร) สัมพัทธ์ (relative density, RD) ความเด่นสัมพัทธ์ ในแต่ละระดับ และปริมาณคาร์บอนที่สะสมในดินต่อ (relative dominance, RDo) และความถี่สัมพัทธ์ พื้นที่นั้น สามารถคำ�นวณได้จากค่าของผลรวมของปริมาณ (relative frequency, RF) ซึ่งผลรวมของค่าความสัมพัทธ์ คาร์บอนต่อหน่วยพื้นที่ในแต่ละระดับความลึกดิน (Bharat, ทั้งสามค่า ก็คือ ค่าดัชนีความสำ�คัญ (IVI) ของพรรณพืช 2007) นั่นเอง (Kutintara, 1999) Soil carbon storage = Carbon percentage 2. ดัชนีความหลากหลายของชนิดพรรณไม้ × Bulk density (species diversity index) ทำ�การศึกษาโดยใช้ดัชนีของ × Soil depth Shannon-Wiener’s index (Krebs, 1999) ซึ่งคำ�นวณ เมื่อ ได้ตามสูตรดังนี้ Soil carbon storage คือ การกักเก็บคาร์บอนในดิน s H′ = - ∑ (Pi ln Pi) ต่อหน่วยพื้นที่ (ตันคาร์บอน/ i=1 เฮกตาร์) เมื่อ H′ = ดัชนีความหลากหลายของชนิด Carbon percentage คือ ปริมาณคาร์บอน (ร้อยละ พรรณไม้ โดยนํ้าหนักแห้ง) S = จำ�นวนชนิดพรรณไม้ทั้งหมด Bulk density คือ ความหนาแน่นรวม (กิโลกรัม/ pi = สัดส่วนของจำ�นวนต้นของไม้ชนิด i ลูกบาศก์เมตร) ต่อจำ�นวนต้นของพรรณไม้ทั้งหมด Soil depth คือ ระดับความลึกของดิน 3. ผลผลิตมวลชีวภาพ ทำ�การประเมินจาก (เซนติเมตร) สมการแอลโลเมตรี (allometry) ที่มีการศึกษาไว้โดย 4.3 การคำ�นวณค่าการกักเก็บคาร์บอนเป็น Ogawa et al. (1965); Tsutsumi et al. (1983); ปริมาณการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สามารถคิด Trephattanasuwan et al. (2008) ในกรณีที่ไม่มีสมการ เทียบเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่พรรณไม้ มวลชีวภาพของราก ใช้อัตราส่วนระหว่างมวลชีวภาพ ดูดซับจากบรรยากาศโดยการคูณด้วยค่าคงที่ (factor of ใต้ดินและมวลชีวภาพเหนือดิน เท่ากับ 0.27 ตามค่า conversion) 3.67 (ค่าคงที่นี้คิดจากนํ้าหนักโมเลกุลของ

กลาง (default value) ของ (IPCC, 2006) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)) (Meepol, 2010) 62 Thai J. For. 39 (1) : 57-70 (2020)

การดูดซับก๊าซ ใบ และราก เท่ากับ 72.03, 21.14, 2.33 และ 16.43 คาร์บอนไดออกไซด์ = การกักเก็บคาร์บอน × 44/12 ตัน/เฮกตาร์ ซึ่งมีค่าน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณ

(ตัน CO2/เฮกตาร์) (ตันคาร์บอน/เฮกตาร์) มวลชีวภาพป่าดิบแล้งสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา มี 4.4 การหาปริมาณคาร์บอนสะสม (carbon ค่าเท่ากับ 437.88 ตัน/เฮกตาร์ (Diloksumpun et al., stocks) ทำ�ได้จากการหาผลรวมของคาร์บอนที่สะสมอยู่ 2005) และป่าดิบแล้งบริเวณอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ในมวลชีวภาพและคาร์บอนที่สะสมอยู่ในดินของแต่ละ มีค่าเท่ากับ 207.70 ตัน/เฮกตาร์ (Nuanurai, 2005) ระบบนิเวศที่ศึกษา ส่วนระบบนิเวศป่าเต็งรังมีปริมาณมวลชีวภาพรวมทั้งหมด เท่ากับ 59.59 ตัน/เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็นส่วนลำ�ต้น กิ่ง ผลและวิจารณ์ ใบ และราก เท่ากับ 43.33, 8.54, 0.04 และ 7.68 ตัน/ สภาพสังคมพืชบริเวณสถานีวิจัยและฝึกนิสิต เฮกตาร์ ซึ่งมีค่าน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับป่าเต็งรัง ใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ วนศาสตร์วังนํ้าเขียว สกลนคร มีค่าเท่ากับ 118.11 ตัน/เฮกตาร์ (Marod จากการศึกษาพบพรรณไม้ทั้งหมด 148 ชนิด et al., 2017) และป่าเต็งรังผสมสน บริเวณสวนพฤกษศาสตร์ โดยป่าดิบแล้งมีจำ�นวนชนิดพรรณไม้มากที่สุด นอกจากนี้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ จังหวัดเชียงใหม่ มีค่าเท่ากับ ป่าดิบแล้งยังมีค่าดัชนีความหลากหลายมากที่สุดเท่ากับ 165.62 ตัน/เฮกตาร์ (Marknoi and Khumbai, 2015) 3.906 รองลงมาคือ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และสวน ในขณะที่ป่าเบญจพรรณมีปริมาณมวลชีวภาพเท่ากับ ป่ายูคาลิปตัส มีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 2.756, 71.49 ตัน/เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็นส่วนลำ�ต้น กิ่ง ใบ และ 2.844 และ 0.465 ตามลำ�ดับ ไม้ต้นที่ปรากฏส่วนใหญ่ ราก เท่ากับ 52.08, 10.87, 0.04 และ 8.49 ตัน/เฮกตาร์ เป็นไม้ในวงศ์ Fabaceae และ Malvaceae และชนิด ซึ่งมีค่ามากกว่าปริมาณมวลชีวภาพป่าเบญจพรรณบริเวณ ไม้ต้นที่เป็นไม้เด่นในพื้นที่ ได้แก่ ประดู่ป่า กระถินยักษ์ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีค่าเท่ากับ 68.53 ตัน/ ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซีส โมกป่า มะค่าแต้ กางขี้มอด เฮกตาร์ (Nuanurai, 2005) แต่ปริมาณมวลชีวภาพน้อย พลับพลา ปอแก่นเทา และกาสามปีก สภาพโครงสร้าง กว่า ป่าเบญจพรรณบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ ของสังคมพืชโดยส่วนใหญ่เป็นป่าเสื่อมโทรมเนื่องจาก ปุย จังหวัดเชียงใหม่ มีค่าเท่ากับ 119.69 ตัน/เฮกตาร์ ผ่านการทำ�ไม้ โครงสร้างด้านตั้งพบเพียงแค่ 1-2 ชั้น (Khamyong, 2009) และป่าเบญจพรรณในพื้นที่ป่า นอกจากนี้ ปัจจุบันยังปรากฏการใช้ประโยชน์พื้นที่จาก อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จ ชาวบ้านท้องถิ่นโดยรอบตลอดทั้งปี เช่น การเลี้ยงปศุสัตว์ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บริเวณเขื่อน การหาเห็ดป่า การหาหน่อไม้ และการล่าสัตว์ ซึ่งกิจกรรม สิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ (อพ.สธ.) มีค่าเท่ากับ 35.90 ดังกล่าวส่งผลต่อการเจริญทดแทนและการทดแทนตาม ตัน/เฮกตาร์ (Papakchan et al., 2017) และสวนป่า ธรรมชาติของไม้ป่าดั้งเดิมและมีผลกระทบต่อการ ยูคาลิปตัสมีปริมาณมวลชีวภาพเท่ากับ 71.28 ตัน/ เปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน โดยเฉพาะการอัดแน่นของ เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็นส่วนลำ�ต้น กิ่ง ใบ และราก เท่ากับ ดินป่าไม้ 46.66, 11.06, 1.86 และ 11.70 ตัน/เฮกตาร์ ซึ่งมีค่า มากกว่าเมื่อเปรียบเทียบมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของ มวลชีวภาพของสังคมพืชบริเวณสถานีวิจัย สวนป่ายูคาลิปตัส คามาลดูเลนซีส อายุ 6 ปี มีค่าเท่ากับ และฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว 26.68 ตัน/เฮกตาร์ (Kietvuttinon et al., 2016) และ จากผลการศึกษาในครั้งนี้ดัง Table 1 พบว่า มวลชีวภาพสวนป่ายูคาลิปตัสอายุ 1–4 ปี บริเวณสวน สังคมพืชป่าดิบแล้งมีปริมาณมวลชีวภาพรวมทั้งหมด ป่ามัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น มีค่าเท่ากับ 9.93-66.85 เท่ากับ 111.92 ตัน/เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็นส่วนลำ�ต้น กิ่ง ตัน/เฮกตาร์ (Jundang, 2010) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 57-70 (2563) 63

ทั้งนี้ เนื่องจากในบริเวณสถานีวิจัยและฝึกนิสิต หนาแน่นตํ่า รวมทั้งต้นไม้ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก ซึ่งเป็น วนศาสตร์วังนํ้าเขียวอยู่ในช่วงการฟื้นตัวจากการทดแทน สาเหตุหลักที่ทำ�ให้ปริมาณมวลชีวภาพของสังคมพืชมี ของพื้นที่ที่เคยโดนบุกรุกแผ้วถาง พื้นที่เคยตั้งเป็นแหล่ง ปริมาณค่อนข้างตํ่าเมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นๆ ชุมชน พื้นที่ไร่ร้าง พื้นที่ปศุสัตว์ จึงทำ�ให้สังคมพืชมีความ

Table 1 Field tree biomass estimation in each cover type. Biomass (ton/ha) Total biomass Forest type Aboveground Belowground (ton/ha) Stem Branch Leaf Total Root DEF 72.03 21.14 2.33 95.49 16.43 111.92 DDF 43.33 8.54 0.04 51.91 7.68 59.59 MDF 52.08 10.87 0.04 63.00 8.49 71.49 Eucalypt Plantation 46.66 11.06 1.86 59.58 11.70 71.28 Remarks: DEF = dry evergreen forest, DDF = dry dipterocarp forest, MDF = mixed deciduous forest การกักเก็บคาร์บอน เช่นเดียวกับมวลชีวภาพเหนือดิน โดยสังคมพืชป่าดิบแล้ง 1. แหล่งกักเก็บในมวลชีวภาพเหนือดิน มีค่าเฉลี่ยการกักเก็บคาร์บอนเหนือดินเท่ากับ 52.71 ในการศึกษาครั้งนี้ทำ�การสุ่มเก็บตัวอย่าง ตัน/เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็นส่วนของลำ�ต้น กิ่ง และใบ ส่วนต่างๆ ของพรรณไม้เด่นในพื้นที่ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง เท่ากับ 33.97, 9.90 และ 1.11 ตัน/เฮกตาร์ ตามลำ�ดับ ป่าเบญจพรรณ และสวนป่ายูคาลิปตัส จำ�นวน 10 ชนิด ป่าเต็งรังมีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยเท่ากับ 28.06 โดยอ้างอิงจากการศึกษาโครงสร้างสังคมพืชบริเวณสถานี ตัน/เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็นส่วนของลำ�ต้น กิ่ง และใบ วิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียวของ Faculty of เท่ากับ 20.44, 4.00 และ 0.02 ตัน/เฮกตาร์ ตามลำ�ดับ Forestry (2015) เพื่อมาวิเคราะห์หาปริมาณความเข้มข้น ป่าเบญจพรรณมีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยเท่ากับ ของคาร์บอน พบว่า ปริมาณความเข้มข้นของคาร์บอน 33.67 ตัน/เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็นส่วนของลำ�ต้น กิ่ง และ ในส่วนของลำ�ต้น กิ่ง และใบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ ใบ เท่ากับ 24.57, 5.09 และ 0.02 ตัน/เฮกตาร์ ตาม 47.17, 46.82 และ 47.80 ของนํ้าหนักแห้ง ตามลำ�ดับ ลำ�ดับ ในขณะที่สวนป่ายูคาลิปตัส มีปริมาณการกักเก็บ (Table 2) คาร์บอนเฉลี่ยเท่ากับ 33.57 ตัน/เฮกตาร์ โดยแบ่งเป็น จากการประเมินการกักเก็บคาร์บอน พบว่า ส่วนของลำ�ต้น กิ่ง และใบ เท่ากับ 22.01, 5.18 และ การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือดินมีแนวโน้ม 0.89 ตัน/เฮกตาร์ 64 Thai J. For. 39 (1) : 57-70 (2020)

Table 2 Carbon content (%) in each part of the dominant tree species at Wang Nam Khiao Forestry Research and Student Training Station, Nakhon Ratchasima province. Carbon content (%) Tree species Stem Branch Leaf Holarrhena pubescens Wall. ex G. Don 48.27 48.11 48.77 Vitex peduncularis Wall. ex Schauer 47.71 46.86 45.85 Millettia xylocarpa Miq. 45.16 45.35 46.86 Xylia xylocarpa (Roxb.) W. Theob. 46.54 47.29 51.12 Pterocarpus macrocarpus Kurz 48.10 47.19 48.85 Grewia eriocarpa Juss. 45.77 45.17 45.77 Microcos tomentosa Sm. 46.67 47.60 46.59 Sindora siamensis Teijsm. ex Miq. 48.88 47.25 48.83 Albizia odoratissima (L. f.) Benth. 47.08 46.35 45.81 Eucalyptus sp. 47.50 47.07 49.53 Average 47.17 46.82 47.80

เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการกักเก็บคาร์บอน ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเท่ากับ 81.17 ตันคาร์บอน/ ในมวลชีวภาพบริเวณสถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์ เฮกตาร์ (Marod et al., 2003) วังนํ้าเขียว พบว่า มีค่าค่อนข้างตํ่าเมื่อเทียบกับป่าดิบแล้ง 2. แหล่งกักเก็บในมวลชีวภาพใต้ดิน บริเวณสะแกราชที่มีปริมาณคาร์บอนสะสมเท่ากับ 223.66 สำ�หรับการประเมินการกักเก็บคาร์บอนใน ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ (Diloksumpun et al., 2005) มวลชีวภาพใต้ดินในการศึกษาครั้งนี้ ได้ใช้ค่ากลางของ และป่าดิบแล้งบริเวณอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มี IPCC (2006) เท่ากับร้อยละ 47 ของนํ้าหนักแห้ง เป็น ค่าเท่ากับ 103.85 ตัน/เฮกตาร์ (Nuanurai, 2005) ค่าความเข้มข้นของคาร์บอนในราก เนื่องจากไม่สามารถ เช่นเดียวกันกับป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และสวนป่า เก็บตัวอย่างของรากเพื่อมาวิเคราะห์คาร์บอนได้ ยูคาลิปตัสที่ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนที่ตํ่าเมื่อเปรียบ เมื่อนำ�ค่าปริมาณความเข้มข้นของคาร์บอน เทียบกับป่าชนิดเดียวกันในพื้นที่อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นป่า และมวลชีวภาพของรากมาประเมินการกักเก็บคาร์บอน เบญจพรรณในบริเวณเขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โดย ของมวลชีวภาพใต้ดิน พบว่า ป่าดิบแล้งมีค่าเฉลี่ยการกัก มีปริมาณคาร์บอนของต้นไม้รวม เท่ากับ 105.44 ตัน คาร์บอน/เฮกตาร์ และป่าเบญจพรรณบริเวณอุทยาน เก็บคาร์บอนใต้ดินเท่ากับ 7.72 ตัน/เฮกตาร์ ป่าเต็งรังมี แห่งชาติดอยสุเทพ–ปุย จังหวัดเชียงใหม่ มีปริมาณการ ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยเท่ากับ 3.61 ตัน/เฮกตาร์ สะสมคาร์บอน เท่ากับ 80.32 ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ ป่าเบญจพรรณมีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยเท่ากับ (Khamyong, 2009) ป่าเต็งรัง ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3.99 ตัน/เฮกตาร์ ในขณะที่สวนป่ายูคาลิปตัสมีปริมาณ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร มีปริมาณการกักเก็บ การกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยเท่ากับ 5.50 ตัน/เฮกตาร์ คาร์บอน 55.51±4.37 ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ (Marod 3. แหล่งกักเก็บในไม้ตาย et al., 2017) และป่าเต็งรังในพื้นที่โครงการก่อสร้าง จากการศึกษาพบว่า ป่าดิบแล้งมีปริมาณ เขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์และกำ�แพงเพชร มี การกักเก็บคาร์บอนในไม้ตายเท่ากับ 3.65 ตัน/เฮกตาร์ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 57-70 (2563) 65

ป่าเต็งรังมีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในไม้ตายเท่ากับ 5. แหล่งกักเก็บในดิน 0.37 ตัน/เฮกตาร์ ส่วนป่าเบญจพรรณมีปริมาณการกัก จากการเก็บตัวอย่างดินที่ระดับความลึก เก็บคาร์บอนในไม้ตายเท่ากับ 0.21 ตัน/เฮกตาร์ ในขณะ 0-15 และ 15-30 เซนติเมตร เพื่อวิเคราะห์หาความเข้มข้น ที่สวนป่ายูคาลิปตัสมีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนใน ของคาร์บอนในดิน พบว่า ดินที่ระดับความลึก 0-15 ไม้ตายเท่ากับ 0.36 ตัน/เฮกตาร์ เซนติเมตร มีค่าอยู่ระหว่างร้อยละ 0.86-1.59 ของน้าหนักํ 4. แหล่งกักเก็บในซากพืช แห้ง และดินที่ระดับความลึก 15-30 เซนติเมตร มีค่า จากการสุ่มเก็บตัวอย่างปริมาณซากพืชบน ความเข้มข้นของคาร์บอนอยู่ระหว่างร้อยละ 0.68-1.09 ผิวดินในพื้นที่ศึกษาบริเวณสถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์ ของนํ้าหนักแห้ง วังนํ้าเขียว พบว่า ป่าดิบแล้งมีค่าเฉลี่ยปริมาณซากพืช จากการประเมินปริมาณการกักเก็บคาร์บอน เฉลี่ยเท่ากับ 7.00±4.67 ตัน/เฮกตาร์ ป่าเต็งรังมีค่าเฉลี่ย ในดิน พบว่า ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในดินที่ระดับ ของซากพืชเท่ากับ 3.97±0.890 ตัน/เฮกตาร์ ป่า ความลึก 0-15 เซนติเมตร มากกว่าปริมาณการกักเก็บ เบญจพรรณมีค่าเฉลี่ยของซากพืชเท่ากับ 3.98±0.39 คาร์บอนในดินที่ระดับความลึก 15-30 เซนติเมตร การ ตัน/เฮกตาร์ และสวนป่ายูคลิปตัสมีค่าเฉลี่ยของซากพืช กักเก็บคาร์บอนในดินรวมของป่าเบญจพรรณเท่ากับ เท่ากับ 10.095±1.897ตัน/เฮกตาร์ โดยปริมาณซากพืช 50.50 ตัน/เฮกตาร์ แบ่งเป็นระดับความลึก 0-15 และ ในการศึกษาครั้งนี้ มีค่ามากกว่าปริมาณซากพืชบนผิว 15-30 เซนติเมตร เท่ากับ 30.46 และ 20.04 ตัน/เฮกตาร์ ดินในบริเวณโครงการหลวงบ้านวัดจันทร์ ที่มีค่าเท่ากับ ตามลำ�ดับ ป่าดิบแล้งเท่ากับ 45.34 ตัน/เฮกตาร์ แบ่ง 5.50±2.50 - 7.97±2.49 ตัน/เฮกตาร์ (Puangchit เป็นระดับความลึก 0-15 และ 15-30 เซนติเมตร เท่ากับ et al., 2013) ทั้งนี้ปริมาณซากพืชแตกต่างกันไปตาม 27.19 และ 18.15 ตัน/เฮกตาร์ ตามลำ�ดับ ส่วนป่าเต็งรัง ชนิดของหมู่ไม้ อายุของหมู่ไม้ ความหนาแน่นของหมู่ไม้ และสวนป่ายูคาลิปตัส มีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนใน สภาพภูมิอากาศ (Bray and Gorham, 1964) ความ ดินรวมเท่ากับ 35.51 และ 29.28 ตัน/เฮกตาร์ ตาม อุดมสมบูรณ์ของดิน และทิศทางในการรับแสงสว่าง ลำ�ดับ (Tsutsumi et al., 1983) รวมทั้งการจัดการที่แตกต่าง เมื่อเปรียบเทียบการกักเก็บคาร์บอนในดิน กัน กับสังคมพืชชนิดเดียวกันกับพื้นที่อื่นๆ ที่มีการศึกษาไว้ ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำ�การสุ่มตัวอย่าง แล้ว พบว่า การกักเก็บคาร์บอนในดินบริเวณสถานีวิจัย ซากพืชมาเพื่อมาวิเคราะห์ปริมาณความเข้มข้นของ และฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว มีค่าค่อนข้างน้อยเมื่อ คาร์บอน โดยได้ค่าเฉลี่ยของปริมาณความเข้มข้นของ เปรียบเทียบกับป่าดิบแล้งสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา คาร์บอนในซากพืชเท่ากับร้อยละ 41.31 ของนํ้าหนัก และป่าเบญจพรรณผสมไผ่บริเวณลุ่มนํ้าแม่กลอง จังหวัด แห้ง ซึ่งสูงกว่าค่ากลางของ IPCC ที่กำ�หนดให้ปริมาณ กาญจนบุรี มีการสะสมคาร์บอนในดินที่ระดับความลึก ความเข้มข้นของคาร์บอนในซากพืชมีค่าเท่ากับร้อยละ 0-100 เซนติเมตร เท่ากับ 241.8 และ 195.4 ตัน/เฮกตาร์ 37 ของนํ้าหนักแห้ง (IPCC, 2006) เมื่อคำ�นวณการ (Janmahasatien et al., 2004) และป่าดิบแล้ง จังหวัด กักเก็บคาร์บอนในซากพืชในป่าดิบแล้งบริเวณสถานีวิจัย นครราชสีมา มีการสะสมคาร์บอนในดินที่ระดับความลึก และฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0-50 เซนติเมตร เท่ากับ 118.0 ตัน/เฮกตาร์ (Chidthaisong 2.83±1.882 ตัน/เฮกตาร์ ป่าเต็งรังมีปริมาณการกักเก็บ and Lischaikul, 2005) แต่มีค่ามากกว่าป่าเต็งรังแคระ คาร์บอนในซากพืชเท่ากับ 1.65±0.369 ตัน/เฮกตาร์ บริเวณสวนป่ามัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น มีการสะสม ส่วนป่าเบญพรรณและสวนป่ายูคาลิปตัสมีค่าเท่ากับ คาร์บอนในดินที่ระดับความลึก 0-40 เซนติเมตร เท่ากับ 1.51±0.149 และ 4.60±0.864 ตัน/เฮกตาร์ ตามลำ�ดับ 26.6 ตัน/เฮกตาร์ (Jundang, 2010) โดยปริมาณการ 66 Thai J. For. 39 (1) : 57-70 (2020)

กักเก็บคาร์บอนในดินจะเปลี่ยนไปตามระดับความลึก พืชพรรณ ภูมิอากาศตลอดจนลักษณะดินและความลึก ของดิน โดยจะมีปริมาณลดลงเมื่อความลึกของดินเพิ่ม ของชั้นดิน ขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ Janmahasatien เมื่อทำ�การเปรียบเทียบกับสังคมพืชชนิด et al. (2004); Poolsiri (2005) นอกจากนี้ ยังมีผลเนื่อง เดียวกันในพื้นที่อื่นๆ พบว่า ปริมาณคาร์บอนที่สะสม มาจากพืชพรรณที่ขึ้นอยู่ สภาวะภูมิอากาศ และการใช้ และปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูดซับบริเวณสถานี ประโยชน์ที่ดินที่แตกต่างกันที่มีผลอย่างมากต่อปริมาณ วิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียวมีค่าค่อนข้างตํ่า คาร์บอนที่เก็บสะสมไว้ในดิน (Chidthaisong and Diloksumpun et al. (2005) ได้ศึกษาวัฏจักรคาร์บอน Lischaikul, 2005) ในป่าดิบแล้งสะแกราชและป่าเบญจพรรณลุ่มนํ้าแม่กลอง 6. ปริมาณคาร์บอนที่สะสมและปริมาณก๊าซ ป่าดิบแล้งสะแกราชมีปริมาณคาร์บอนสะสมทั้งหมด คาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูดซับ เท่ากับ 350.58 และ 434.55 ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ หรือ จากการศึกษาการกักเก็บคาร์บอน ซึ่ง คิดเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เท่ากับ กระจายอยู่ตามแหล่งต่างๆ 5 แหล่ง ในบริเวณสถานีวิจัย 1,285.46 และ 1,593.35 ตัน CO2/เฮกตาร์ ตามลำ�ดับ และฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว พบว่า ป่าดิบแล้งมี และจากการรายงานของ Panuthai et al. (2008) พบว่า ปริมาณคาร์บอนสะสมทั้งหมดเท่ากับ 104.52 ตัน ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และสวนป่าไม้ คาร์บอน/เฮกตาร์ หรือคิดเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส อายุระหว่าง 5-7 และ 13-15 (CO2) เท่ากับ 383.25 ตัน CO2/เฮกตาร์ ส่วนป่าเบญจพรรณ ปี มีการสะสมคาร์บอน เท่ากับ 1,618.83, 1,299.25, มีปริมาณคาร์บอนสะสมทั้งหมดเท่ากับ 85.89 ตัน 497.60, 416.20 และ 562.58 ตัน CO2/เฮกตาร์ ตาม คาร์บอน/เฮกตาร์ หรือคิดเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลำ�ดับ ซึ่งความแตกต่างของศักยภาพในการตรึงเอาก๊าซ

(CO2) เท่ากับ 314.92 ตัน CO2/เฮกตาร์ ในขณะที่ป่า คาร์บอนไดออกไซด์ดังกล่าวนี้อาจจะมีสาเหตุมาจาก เต็งรังมีปริมาณคาร์บอนสะสมทั้งหมดน้อยที่สุดเท่ากับ ปัจจัยต่างๆ ได้แก่ 1) ลักษณะโครงสร้างสังคมพืช 65.59 ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ หรือคิดเป็นปริมาณก๊าซ 2) ลักษณะโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมของเรือนยอด

คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เท่ากับ 240.51 ตัน CO2/ ได้แก่ ขนาด รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของส่วนต่างๆ เฮกตาร์ และสวนป่ายูคาลิปตัสมีปริมาณคาร์บอนสะสม ของต้นไม้ ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้โดยค่าดัชนีพื้นที่ใบ ทั้งหมดน้อยที่สุดเท่ากับ 67.81 ตันคาร์บอน/เฮกตาร์ 3) ศักยภาพของการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของ

หรือคิดเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เท่ากับ พรรณไม้ และ 4) ลักษณะทางชีพลักษณ์ของต้นไม้ที่เป็น

248.65 ตัน CO2/เฮกตาร์ ซึ่งสอดกับการศึกษาของ องค์ประกอบของป่า หรืออาจกล่าวได้ว่า โครงสร้างสังคม Tangtham and Tantasirin (1997) ที่พบว่า ป่าดงดิบ พืชที่แน่นทึบกว่า ค่าดัชนีพื้นที่ใบที่สูงกว่า และลักษณะ มีการสะสมคาร์บอนในมวลชีวภาพมากที่สุด รองลงมา ทางชีพลักษณ์ที่ไม่มีการผลัดใบในฤดูแล้ง น่าจะเป็น คือ ป่าเบญจพรรณ ในขณะที่ป่าเต็งรังมีการสะสมคาร์บอน สาเหตุที่ทำ�ให้สังคมพืชนั้นๆ มีศักยภาพในการดูดซับก๊าซ ในมวลชีวภาพตํ่าที่สุดโดยที่ปัจจัยหลักที่ทำ�ให้ปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ได้สูงกว่า (Diloksumpun et al., คาร์บอนสะสมในระบบนิเวศต่างๆ แตกต่างกัน คือ 2005) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 57-70 (2563) 67

Table 3 Field tree carbon stock estimation in each cover type. Carbon stock of trees (ton C /ha) CO Forest 2 type AGB BGB Dead Litter Soil Total (ton CO2 / Wood ha) DEF 44.99 7.72 3.65 2.83 45.34 104.52 383.25 DDF 24.45 3.61 0.37 1.65 35.51 65.59 240.51 MDF 29.68 3.99 0.21 1.51 50.50 85.89 314.92 Eucalypt 28.08 5.50 0.36 4.60 29.28 67.81 248.65 Plantation Averagr 31.80 5.21 1.15 2.64 40.16 80.95 296.83 Remarks: DEF = dry evergreen forest, DDF = dry dipterocarp forest, MDF = mixed deciduous forest สรุป ขณะเดียวกัน เมื่อป่าไม้เหล่านี้ถูกรบกวนหรือถูกทำ�ลาย คาร์บอนที่เก็บสะสมอยู่เหล่านี้ก็จะถูกปล่อยออกสู่ 1. การศึกษาปริมาณคาร์บอนที่สะสมและ บรรยากาศเช่นกัน ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูดซับของสังคมพืช บริเวณสถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังนํ้าเขียว พบ REFERENCES ว่า ป่าดิบแล้งมีการสะสมคาร์บอนและปริมาณก๊าซ Bharat, M.S. 2007. Land Use and Land Use คาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูดซับมากที่สุด รองลงมาคือ ป่า Changes Effects on Organic Carbon เบญจพรรณ สวนป่ายูคาลิปตัส ในขณะที่ป่าเต็งรังมีการ Pools, Soil Aggregate Associated Carbon สะสมคาร์บอนตํ่าที่สุด โดยแหล่งสะสมคาร์บอนในดิน and Soil Organic Matter Quality in a และมวลชีวภาพเหนือดินเป็นแหล่งที่มีการกักเก็บคาร์บอน Watershed of . Ph.D. Thesis, ที่มีบทบาทมากที่สุด ในขณะที่แหล่งไม้ตายและแหล่ง Norwegian University of Life Sciences. Bray, J.R. and E. Gorham. 1964. Litter production ซากพืชมีบทบาทในการกักเก็บคาร์บอนน้อยมาก ซึ่ง in forests of the world. Advances in การแปรผันของการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพของ Ecological Research 2: 101-157. ป่าธรรมชาติหรือสวนป่า ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับความแตกต่าง Chidthaisong, A. and N. Lichaikul. 2005. Carbon ของมวลชีวภาพของป่าหรือสวนป่ามากกว่าปริมาณ stock and emission in dry evergreen คาร์บอนที่สะสม ดังนั้น ป่าธรรมชาติหรือสวนป่าที่มีมวล forest, reforestation and agricultural ชีวภาพมากจะมีการกักเก็บคาร์บอนมากด้วยเช่นกัน soils, pp. 95-105. In Proceedings of 2. จากผลการศึกษา ทำ�ให้ทราบว่าไม่ว่าจะ Climate Change in the Forest Sector “The Potential of Forests to Support เป็นป่าไม้ในสภาพธรรมชาติหรือสวนป่าไม้เศรษฐกิจก็ the Kyoto Protocol”. 4-5 August 2005. ทำ�หน้าที่เป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอน ดังนั้น เมื่อมีการ Department of National Parks, Wildlife อนุรักษ์และลดความเสื่อมโทรมของป่า หรือการปลูกป่า and Plant Conservation, Bangkok. (in ก็จะทำ�ให้มีพื้นที่ที่เป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนเพิ่มขึ้น ใน Thai) 68 Thai J. For. 39 (1) : 57-70 (2020)

Department of National Parks, Wildlife and Plant Forest and Eucalypt Plantation at Conservation [DNP]. 2009. Master Plan Mancha Khiri Plantation, Khon Kaen on Climate Change. Department of Province. M.S. Thesis, Kasetsart University. National Parks, Wildlife and Plant (in Thai) Conservation, Bangkok. (in Thai) Khamyong, N. 2009. Plant Species Diversity, Diloksumpun, S., T. Visaratana, S. Panuthai, P. Soil Characteristics and Carbon Ladpala, S. Janmahasatien and S. Sumran. Accumulation in Different Forests, 2005. Carbon cycling in the Sakaerat Doi Suthep-Pui National Park, Chiang dry evergreen and the Maeklong mixed Mai Province. M.S. Thesis, Chiang Mai deciduous forests, pp. 77-94. In University. (in Thai) Proceedings of Climate Change in Kietvuttinon, B., P. Kanna and A. Phonleesangsuwan. the Forest Sector “The Potential of 2016. Estimation of Biomass and Forests to Support the Kyoto Protocol”. Above-ground Carbon Storage of 4-5 August 2005. Department of National 6-Year-Old Eucalyptus Plantations. Parks, Wildlife and Plant Conservation, Royal Forest Department, Bangkok. (in Bangkok. (in Thai) Thai) Faculty of Forestry. 2015. 2 Master Plan on Krebs, C.J. 1999. Ecological Methodology. nd Wang Nam Khiao Demonstration Edition, Benjamin Cummings, Menlo Park. Forest, Wang Nam Khiao District, Kutintara U. 1999. Ecology fundamental basics Nakhon Ratchasima Province. Faculty in forestry. Kasetsart University, Bangkok of Forestry, Kasetsart University, Bangkok. (Thailand). (in Thai) (in Thai) Intergovernmental Panel on Climate Change Marknoi, C. and T. Khumbai. 2015. Carbon [IPCC]. 2006. IPCC Guidelines for storage and nutrient accumulation in National Greenhouse Gas Inventories. pine-deciduous dipterocarp forest in International Panel on Climate Change. Queen Sirikit Botanic Garden, Chiang IGES, Japan. Mai province, pp. 262-267. In Proceedings th Janmahasatien, S., S. Phopinit and W. of the 4 Thai Forest Ecological Wichiennopparat. 2004. Study on soil Research Network, Naresuan University. carbon in dry evergreen and mixed 22-23 January 2015. Faculty of Agriculture, deciduous forest ecosystems, pp. 321- Natural Resource and Environment, 343. In Proceedings of Climate change Naresuan University, Phitsanulok. (in in the Forest Sector “The Potential Thai) of Forests to Support the Kyoto Marod, D., S. Sungkaew and L. Asanok. 2003. Protocol”. 16-17 August 2004. Department Study on Plant Social Structure in of National Parks, Wildlife and Plant Kaeng Krachan National Park Phetchaburi Conservation, Bangkok. (in Thai) Province - Prachuap Khiri Khan Province. Jundang, W. 2010. Evaluation of Carbon Faculty of Forestry, Kasetsart University, Sequestration in Dry Dipterocarp Bangkok. (in Thai) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 57-70 (2563) 69

, P. Duengkae, J. Thongsawi, W. maize cropping at Mae Khum Mee Phumphuang, S. Thinkampaeng and S. watershed, Phrae province, pp. 123-131. Hermhuk. 2017. Tree stands clustering In Proceedings of the 6th Thai Forest and carbon stock assessment of deciduous Ecological Research Network, Mahodol dipterocarp forest at Kasetsart University University. 19-20 November 2017. Chalermphrakiat Sakonnakhon Province Faculty of Environment and Resource Campus, Sakon Nakhon province. Thai Studies, Mahidol University, Nakhon Forest Ecological Research Journal Pathom. (in Thai) 1(1): 1-9. (in Thai) Poolsiri, R. 2005. Soil carbon and nitrogen in Meepol, W. 2010. carbon sequestration of plantations of exotic tree species on mangrove forests at ranong biosphere highland soils in northern Thailand, pp. reserve. Journal of Forest Management 107-115. In Proceedings of Climate 4(7): 33-47. (in Thai) Change in the Forest Sector “The Nuanurai, N. 2005. Comparison of Leaf Area Potential of Forests to Support the Index, Above-Ground Biomass and Kyoto Protocol”. 4-5 August 2005. Carbon Sequestration of Forest Department of National Parks, Wildlife Ecosystems by Forest Inventory and and Plant Conservation, Bangkok. (in Thai) Remote Sensing at Kaeng Krachan Puangchit, L., K. Suntrakorn, S. Na Lampang and National Park, Thailand. M.S. Thesis, K. Jindawong. 2013. Enhancement of Chulalongkorn University. ( in Thai) Carbon Stock in Degraded Forest for Ogawa, H., K. Yoda, K. Ogino and T. Kira. 1965. Climate Change Mitigation in Ban Wat Comparative ecological studies on three Chan Royal Project Area. Final Report: main types of forest vegetation in Navamin Research Fund 2013. National Thailand. II. Plant biomass. Nature Research Council of Thailand, Bangkok. and Life in Southeast Asia 4: 49-80. (in Thai) Panuthai, S., S. Janmahasatien, C. Viriyabancha, Tangtham, N. and C. Tantasirin. 1997. An P. Ladpala, T. Visaratana, S. Diloksumpun assessment of policies to reduce carbon and D. Marod. 2008. The Potential emissions in the Thai forestry sector of Conservation Forests and Economic with emphasis on forest protection and Forests to Absorb Carbon Dioxide. reforestation for conservation, pp. 100- Department of National Parks, Wildlife 121. In C. Khemnark, B. Thaiutsa, L. and Plant Conservation, Bangkok. (in Thai) Puangchit and S. Thammincha, eds. Papakchan, N., L. Asanok and C. Tapyai. 2017. Proceedings of FORTROP’96 International Plant community and environmental Conference: “Tropical Forestry in the factors influence on the natural 21st Century Volume 2: Global Changes regeneration of tree in the forest edge in the Tropical Contexts”. 25-28 of deciduous dipterocarp forest and November 1996. Faculty of Forestry, mixed deciduous forest after highland Kasetsart University, Bangkok. 70 Thai J. For. 39 (1) : 57-70 (2020)

Trephattanasuwan, P., S. Dlioksumpun, D. Staporn An Experiment at Nam Phrom, and C. Ratanakaew. 2008. Carbon Northeast Thailand, and Its Implications Dioxide Uptake of Some Tree Species for Upland Farming in the Monsoon at the PuParn, Royal Development Tropics. A Report of A Cooperative Study Centre, Sakon Nakhon Province. Research Between Thai-Japanese Department of National Parks, Wildlife Universities. and Plant Conservation, Bangkok. (in Thai) Walkley, A. and I.A. Black. 1934. An examination Tsutsumi, T., K. Yoda, P. Sahunaru, P. Dhanmanonda of Degtjareff method for determining and B. Prachaiyo. 1983. Forest: burning soil organic matter, and a proposed and regeneration. pp 13-62. In K. Kyuma modification of the chromic acid titration and C. Pairintra, eds. Shifting Cultivation, method. Soil Science 37(1): 29-37. Thai J. For. 39 (1) : 71-85 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 71-85 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

การเติบโตของชนิดไม้ที่ปลูกฟื้นฟูความหลากหลายในป่าพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช Growth of Tree Species as Enrichment Planting at Khuan Khreng Swamp Forest, Nakhon Si Thammarat Province สุธาสินี นุ่นสังข์1,2 Sutasinee Nunsung1,2 กอบศักดิ์ วันธงไชย2* Kobsak Wanthongchai2* สมพร แม่ลิ่ม2 Somporn Maelim2 1สำ�นักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 Office of the Mangrove Conservation, Department of Marine and Coastal Resources, Laksi, Bangkok 10210, Thailand 2คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, E-mail: [email protected]

รับต้นฉบับ 4 กุมภาพันธ์ 2562 รับแก้ไข 28 ตุลาคม 2562 รับลงพิมพ์ 4 พฤศจิกายน 2562

ABSTRACT The objectives of this study were to find survival rate, height growth, and diameter at root collar growth of each tree species planted through different methods. The study was conducted in 3 patterns of burned areas: 1) mounded with 50% Melaleuca cajuputi thinning, 2) mounded with 30% Melaleuca cajuputi thinning, and 3) mounded with 10% Melaleuca cajuputi thinning; and 4 patterns of unburned areas: 1) unmounded, 2) mounded, 3) mounded with small gap opening (2.2 m radius), and 4) mounded with a large gap opening (4.6 m radius). Nine tree species were selected randomly, spaced at a distance 4 m x 4 m, and 100 trees in each area. The study found that the overall survival rate and the survival rate of each tree species, both in unburned and burned areas, were not significantly different. The height and diameter at root collar growth at the age of 2 years, both in unburned and burned areas, were not significantly different between each type of planting in most species. However, in unburned areas, Fagraea fragrans had a highly significant difference (p<0.01) in their diameter at root collar, while Horsfieldia irya had a significant difference (p<0.05). Considering the relative height and diameter at root collar growth rate, Eugenia polyantha and Polyalthia glauca had highly significant difference (p<0.01), which had highest relative growth rate in mounded area with 10% Melaleuca cajuputi thinning. In burned areas, it was found that Fagraea fragrans, Eugenia grandus, and Horsfieldia irya had a significant differences (p<0.05) in height and 72 Thai J. For. 39 (1) : 71-85 (2020) diameter at root collar. Considering the relative height and diameter at root collar growth rate, it appeared that Eugenia polyantha, Fagraea fragrans, Eugenia grandus, and Horsfieldia irya had a significant differences (p<0.05), which had the highest relative growth rate in mounded areas. In summary, the mounded areas had a higher survival rate, relative height growth, and relative diameter at root collar growth for most plants. Planting in unburned areas appeared to have a higher survival rate than planting in burned areas. Keywords: Growth, Enrichment planting, Khuan Khreng swamp forest

บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาอัตราการรอดตาย การเติบโตทางด้านความสูง และขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางคอรากของพรรณไม้แต่ละชนิดที่ปลูกในรูปแบบแตกต่างกัน ดำ�เนินการศึกษาในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ จำ�นวน 3 รูปแบบการปลูก ได้แก่ 1) ปลูกแบบยกโคก ในพื้นที่ตัดต้นเสม็ดขาวออกร้อยละ 50 2) ปลูกแบบยกโคก ในพื้นที่ตัดต้น เสม็ดขาวออกร้อยละ 30 3) ปลูกแบบยกโคก ในพื้นที่ตัดต้นเสม็ดขาวออกร้อยละ 10 และพื้นที่ถูกไฟไหม้ จำ�นวน 4 รูปแบบการปลูก ได้แก่ 1) ปลูกแบบไม่ยกโคก 2) ปลูกแบบยกโคก 3) ปลูกแบบยกโคก และเปิดช่องว่างขนาดเล็ก (รัศมี 2.2 เมตร) และ 4) ปลูกแบบยกโคก และเปิดช่องว่างขนาดใหญ่ (รัศมี 4.6 เมตร) โดยปลูกพรรณไม้ 9 ชนิด สุ่มคละกัน ทั่วแปลง ระยะปลูก 4x4 เมตร จำ�นวน 100 ต้นต่อแปลง จากการศึกษาพบว่า อัตราการรอดตายโดยรวม และอัตรา การรอดตายแต่ละชนิดพันธุ์ ในแต่ละรูปแบบการปลูก ทั้งในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ และในพื้นที่ถูกไฟไหม้ มีความแตกต่าง อย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ ในส่วนของการเติบโตทางด้านความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลางคอรากที่อายุ 2 ปี ทั้งในพื้นที่ ไม่ถูกไฟไหม้ และในพื้นที่ถูกไฟไหม้ พบว่า พรรณไม้ส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดในแต่ละรูปแบบการปลูก มีความแตกต่าง อย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ พบว่า ต้นกันเกรามีการเติบโตทางด้านเส้นผ่านศูนย์กลาง คอรากแตกต่างอย่างมีนัยสำ�คัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ในขณะที่ต้นกรวยแตกต่างอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (p<0.05) และเมื่อพิจารณาอัตราการเติบโตสัมพัทธ์ทางด้านความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลางคอราก พบว่า ต้นแพและต้นตาราแตกต่าง อย่างมีนัยสำ�คัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) โดยที่มีอัตราการเติบโตสัมพัทธ์สูงสุดในการปลูกแบบยกโคกในพื้นที่ตัดต้นเสม็ดขาว ออกร้อยละ10 ส่วนในพื้นที่ถูกไฟไหม้ พบว่า ต้นกันเกรา ต้นชะเมานํ้า และต้นกรวย มีการเติบโตทางด้านความสูงและ เส้นผ่านศูนย์กลางคอรากแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (p<0.05) และเมื่อพิจารณาอัตราการเติบโตสัมพัทธ์ พบว่า ต้นแพ ต้นกันเกรา ต้นชะเมานํ้า และต้นกรวย มีอัตราการเติบโตสัมพัทธ์ทางด้านความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลางคอราก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (p<0.05) โดยที่มีอัตราการเติบโตสัมพัทธ์สูงสุดในการปลูกแบบยกโคก ซึ่งจากผล การศึกษาทั้งหมด พบว่า การปลูกแบบยกโคก พรรณไม้ส่วนใหญ่จะมีอัตราการรอดตาย อัตราการเติบโตด้านความสูง และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางคอรากสูงกว่าการปลูกแบบไม่ยกโคก และการปลูกฟื้นฟูในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้จะมีอัตราการ รอดตายที่สูงกว่าการปลูกในพื้นที่ถูกไฟไหม้ คำ�สำ�คัญ: การเติบโต การปลูกฟื้นฟูความหลากหลาย ป่าพรุควนเคร็ง วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 71-85 (2563) 73

คำ�นำ� ระบบนิเวศป่าพรุเพื่อเพิ่มความหลากชนิดของพรรณไม้ ด้วยการปลูกพรรณไม้ป่าพรุเดิมในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งการ ป่าพรุ เป็นป่าชุ่มนํ้าประเภทหนึ่ง ที่มีต้นไม้ขึ้น อยู่บนชั้นของซากพืชหรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า พีท ฟื้นฟูระบบนิเวศป่าพรุนั้นจำ�เป็นต้องใช้เทคนิควิธีการ (peat) ซึ่งในพื้นที่จะมีนํ้าขังเกือบทั้งปี จัดเป็นป่าดงดิบ ปลูกที่แตกต่างไปจากการฟื้นฟูป่าประเภทอื่น (Nuyim, ชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว (Nuyim, 2004) 1995) และในต่างประเทศได้เริ่มปลูกกันมานานแล้ว เช่น ป่าพรุให้ประโยชน์ที่หลากหลายแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ ในประเทศเยอรมนี ได้เริ่มปลูกตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 19 โดยรอบ เป็นแหล่งหาสัตว์นํ้า แหล่งหาของป่า ทั้งเพื่อ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจะนำ�เนื้อไม้ที่ปลูกมาใช้ประโยชน์ การบริโภคและสร้างรายได้ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และที่ และเพื่อการฟื้นฟูป่าพรุเสื่อมโทรม (Schuch and อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด อีกทั้งยังเป็นแหล่งกักเก็บ Zollner, 1996) และอีกหลายประเทศในแถบอเมริกาเหนือ คาร์บอนที่สามารถช่วยควบคุมระบบนิเวศของโลก ที่มีการปลูกป่าพรุกันอย่างกว้างขวาง (Johnson et al., (Lappalainen, 1996) เช่น ในประเทศอินโดนีเซียที่มี 1996) ส่วนในประเทศไทยนั้น Nuyim et al. (2002) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าพรุซึ่งมีพื้นที่ถึง 16.5-27.0 ล้าน ได้ทำ�การปลูกฟื้นฟูโดยใช้พรรณไม้ป่าพรุในพื้นที่ป่าพรุ เฮกตาร์ สามารถกักเก็บคาร์บอนสูงถึง 0.01-0.03 กิกะตัน โต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส และทำ�การศึกษาการเติบโต คาร์บอนต่อปี ซึ่งแสดงให้เห็นว่าป่าพรุเป็นระบบนิเวศที่ ของพรรณไม้ที่ปลูก พบว่า พรรณไม้ป่าพรุส่วนใหญ่จะมี มีความสำ�คัญในการลดปริมาณคาร์บอนในชั้นบรรยากาศ การเติบโตได้ดีในการปลูกแบบยกโคก ซึ่งการปลูกฟื้นฟู (Sorensen, 1993) ดังนั้น ป่าพรุจึงเป็นพื้นที่ที่มีความ ระบบนิเวศป่าพรุจำ�เป็นต้องมีการศึกษาและติดตามการ สำ�คัญทั้งในด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ แต่เนื่องจาก เติบโตของชนิดพรรณไม้ที่ปลูก เพื่อจะได้ทราบถึงการ ป่าพรุเป็นป่าที่มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงและจะ เติบโตในด้านต่างๆ ว่าเป็นไปในทิศทางใด จะได้เป็น เสื่อมโทรมได้ง่าย (Phitthayakhachornwut et al., ประโยชน์ในการปลูกฟื้นฟูระบบนิเวศในพื้นที่อื่นๆ ต่อไป 1994) ทำ�ให้ประเทศไทยเหลือพื้นที่ป่าพรุที่อยู่ในสภาพ ได้ในอนาคต สมบูรณ์ประมาณ 56,450 ไร่ (Chookhwamdee et al., งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการ 1999; Yoshino et al., 2010) ซึ่งสาเหตุความเสื่อมโทรม รอดตาย การเติบโตทางด้านความสูง และเส้นผ่าน ส่วนใหญ่เกิดจากไฟป่า (Suzuki and Hara, 1995) โดย ศูนย์กลางคอราก ของพรรณไม้ป่าพรุแต่ละชนิด ในรูปแบบ เฉพาะป่าพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีการ การปลูกที่แตกต่างกัน ในพื้นที่ขอใช้ประโยชน์ของมูลนิธิ เกิดไฟป่าอย่างต่อเนื่องจนถึงปี พ.ศ. 2555 มีพื้นที่ป่าพรุ ชัยพัฒนาบริเวณป่าพรุควนเคร็ง ตำ�บลการะเกด อำ�เภอ ถูกไฟไหม้ไปถึง 12,179 ไร่ (Forest Fire Control เชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช Division, 2012) รวมถึงในบริเวณพื้นที่ซึ่งมูลนิธิชัยพัฒนา ขอใช้ประโยชน์จากกรมป่าไม้ถูกไฟไหม้ไปหลายร้อยไร่ ทำ�ให้ต้นเสม็ดล้มตายเป็นจำ�นวนมาก ซึ่งหากปล่อยไว้ อุปกรณ์และวิธีการ โดยไม่ดำ�เนินการใดๆ พื้นที่เหล่านี้ก็จะมีไม้เสม็ดขึ้นกลับ พื้นที่ปลูกและจัดการ มาครอบครองพื้นที่ได้ดังเดิม นอกจากนี้ ในพื้นที่ป่าที่ ทำ�การศึกษาในพื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง ตำ�บล ไม่ถูกไฟไหม้ก็ยังคงมีเพียงไม้เสม็ดเท่านั้นที่ขึ้นยึดครอง การะเกด อำ�เภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ พื้นที่ (Wanthongchai and Sanguantham, 2016) มูลนิธิชัยพัฒนาได้ขอใช้ประโยชน์จากกรมป่าไม้ เพื่อ และหากพื้นที่นั้นถูกทดแทนเป็นป่าเสม็ด จะส่งผลให้ ทำ�การศึกษาทดลองการปลูกและใช้ไม้เสม็ดแบบครบ พื้นที่นั้นฟื้นตัวกลับสู่ป่าดั้งเดิมได้ยาก (Phengklai et al., วงจร มีสภาพทั่วไปเป็นป่าที่มีไม้เสม็ดขาวขึ้นเป็นหมู่ไม้ 1991) ดังนั้น จึงมีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฟื้นฟู ชนิดเดียวล้วน อันเป็นผลมาจากพื้นที่ป่าพรุดั้งเดิมถูก 74 Thai J. For. 39 (1) : 71-85 (2020)

รบกวน เผาทำ�ลายมาอย่างต่อเนื่อง โดยเลือกพื้นที่ใน 2 การทดลองปลูกพรรณไม้เพื่อคัดเลือกชนิดไม้สำ�หรับใช้ ลักษณะ ได้แก่ ในการปลูกฟื้นฟูป่าพรุเสื่อมโทรมในจังหวัดนราธิวาส 1. พื้นที่ป่าเสม็ดไม่ถูกไฟไหม้ สภาพพื้นที่โดย (Nuyim, 2004) ซึ่งชนิดพรรณที่เลือกใช้ในการปลูกฟื้นฟู ทั่วไปมีความหนาแน่นของต้นเสม็ดขาวในภาพรวม มีค่า มี 9 ชนิด ได้แก่ 1) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) เท่ากับ 219.67 ต้น/ไร่ มีร้อยละการปกคลุมเรือนยอด 2) กันเกรา (Fagraea fragrans) 3) ระไมป่า (Baccaurea และค่าดัชนีพื้นที่ผิวใบเท่ากับ 79.6 และ 2.03 ตามลำ�ดับ bracteata) 4) ตารา (Polyalthia glauca) 5) เสม็ด มวลชีวภาพส่วนที่อยู่เหนือพื้นดินทั้งหมด 9.14 ตัน/ไร่ แดงใบมน (Eugenia spicata) 6) ชะเมานํ้า (Eugenia และมีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดิน 4.16 ตัน grandus) 7) แพ (Eugenia polyantha) 8) หว้านา คาร์บอน/ไร่ (Forestry Research Center, 2016) (Eugenia pseudosubtilis) 9) กรวย (Horsfieldia ทำ�การกำ�หนดรูปแบบการปลูกที่แตกต่างกัน 3 รูปแบบ irya) โดยนำ�พรรณไม้ทั้ง 9 ชนิด ปลูกแบบสุ่มคละกัน ได้แก่ 1) ปลูกแบบยกโคก ในพื้นที่ตัดต้นเสม็ดขาวออก ทั่วแปลง โดยกำ�หนดระยะปลูก 4x4 เมตร จำ�นวน 100 ร้อยละ 50 2) ปลูกแบบยกโคก ในพื้นที่ตัดต้นเสม็ดขาว ต้นต่อแปลง โดยการยกโคกปลูก ในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ ออก ร้อยละ 30 และ 3) ปลูกแบบยกโคก ในพื้นที่ตัด ประกอบด้วย ตะเคียนทอง 18 ต้น กันเกรา 12 ต้น ต้นเสม็ดขาวออก ร้อยละ 10 ซึ่งปริมาณต้นเสม็ดขาวที่ ระไมป่า 17 ต้น ตารา 18 ต้น เสม็ดแดงใบมน 15 ต้น ตัดออกจะคำ�นวณจากพื้นที่หน้าตัด โดยวางแปลงขนาด ชะเมานํ้า 5 ต้น แพ 5 ต้น หว้านา 5 ต้น และกรวย 5 40x40 เมตร จำ�นวน 3 ซํ้า รวมทั้งหมด 9 แปลง ต้น ส่วนในพื้นที่ถูกไฟไหม้ ประกอบด้วย ตะเคียนทอง 2. พื้นที่ถูกไฟไหม้ ในปี พ.ศ. 2553 และ 2555 10 ต้น กันเกรา 10 ต้น ระไมป่า 10 ต้น ตารา 10 ต้น พื้นที่ขอใช้ประโยชน์ของมูลนิธิชัยพัฒนาถูกไฟไหม้เสียหาย เสม็ดแดงใบมน 10 ต้น ชะเมานํ้า 20 ต้น แพ 10 ต้น ไปประมาณ 700 ไร่ ส่งผลให้ความหนาแน่นของต้น หว้านา 10 ต้น และกรวย 10 ต้น ซึ่งดำ�เนินการปลูกเมื่อ เสม็ดขาวในภาพรวมมีค่าเท่ากับ 151.27 ต้น/ไร่ ร้อยละ เดือนกันยายน พ.ศ. 2559 ภายใต้โครงการวิจัยสาธิต การปกคลุมเรือนยอดและค่าดัชนีพื้นที่ผิวใบเท่ากับ 66.4 การฟื้นฟูและปรับปรุงโครงสร้างระบบนิเวศป่าพรุควนเคร็ง และ 1.29 ตามลำ�ดับ มวลชีวภาพส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งหมด 4.62 ตัน/ไร่ ซึ่งน้อยกว่ามวลชีวภาพรวมในพื้นที่ ไฟไม่ไหม้กว่าเท่าตัว ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือ การเก็บข้อมูล พื้นดิน 2.28 ตันคาร์บอน/ไร่ (Forestry Research นับจำ�นวนต้นที่รอดตาย ตรวจวัดความสูง Center, 2016) ทำ�การกำ�หนดรูปแบบการปลูกที่แตกต่าง (height, H) โดยใช้เทปวัดระยะ (measuring tape) และ กัน 4 รูปแบบ ได้แก่ 1) ปลูกแบบไม่ยกโคก 2) ปลูกแบบ วัดเส้นผ่านศูนย์กลางคอราก (diameter at root collar, ยกโคก 3) ปลูกแบบยกโคกและทำ�การเปิดช่องว่างขนาด D0) โดยใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ (vernier caliper) ของ เล็ก (ขนาดรัศมี 2.2 เมตร) และ 4) ปลูกแบบยกโคกและ พรรณไม้ทั้งหมดที่รอดตาย แยกเป็นรายชนิด ในแต่ละ ทำ�การเปิดช่องว่างขนาดใหญ่ (ขนาดรัศมี 4.6 เมตร) โดย รูปแบบการปลูก ทั้งพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ และพื้นที่ถูกไฟไหม้ วางแปลงขนาด 40x40 เมตร จำ�นวน 3 ซํ้า รวมทั้งหมด โดยทำ�การเก็บข้อมูลเมื่อต้นไม้อายุครบ 1 ปี เมื่อเดือน 12 แปลง กันยายน พ.ศ. 2560 และอายุครบ 2 ปี เมื่อเดือนกันยายน การคัดเลือกชนิดไม้และการดำ�เนินการปลูก พ.ศ. 2561 ในปัจจุบันป่าพรุควนเคร็งมีไม้เสม็ดขาวเป็นไม้ การวิเคราะห์ข้อมูล ชนิดเดียวในพื้นที่ ดังนั้น ในการคัดเลือกชนิดไม้เพื่อปลูก 1. วิเคราะห์หาอัตราการรอดตายเฉลี่ยโดย ฟื้นฟู พิจารณาจากไม้ป่าพรุดั้งเดิมที่เคยมีในพื้นที่ ซึ่งได้ รวม และอัตราการรอดตายเฉลี่ยรายชนิด เพื่อศึกษา จากการสอบถามจากชาวบ้านในพื้นที่ และอ้างอิงจาก อัตราการรอดตายในรูปแบบการปลูกที่แตกต่างกัน โดย วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 71-85 (2563) 75

แยกพื้นที่เป็น พื้นที่ป่าเสม็ดไม่ถูกไฟไหม้ และพื้นที่ถูก และ 63.00 ตามลำ�ดับ (Table 1) ทั้งนี้ เนื่องจากการ ไฟไหม้ ตัดต้นเสม็ดขาวออกเพียงบางส่วน จะเป็นการเปิดช่องว่าง 2. วิเคราะห์หาการเติบโตเฉลี่ย และอัตราการ ที่ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป ทำ�ให้กล้าไม้ได้รับร่มเงาจาก เติบโตสัมพัทธ์ (relative growth rate, RGR) ทางความ ไม้ใหญ่เพื่อช่วยประคับประคองส่งผลให้มีอัตราการรอด สูงและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางคอราก ในแต่ละรูปแบบ ตายได้ดีในระยะแรก ซึ่งสอดคล้องกับ Kuerkool (1996) การปลูกของพรรณไม้แต่ละชนิด เพื่อศึกษาการเติบโต ที่ได้กล่าวไว้ว่า ในระยะแรกของการปลูกฟื้นฟู กล้าไม้ ของพรรณไม้แต่ละชนิดในรูปแบบการปลูกที่แตกต่างกัน ต้องการร่มเงาจากไม้ใหญ่เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความร้อน เนื่องจากชนิดไม้ที่ใช้ในการปลูกฟื้นฟูมีขนาดเริ่มต้นที่ จากแสงแดดเผาไหม้ และจากการศึกษาของ Rusmana แตกต่างกัน อัตราการเติบโตสัมพัทธ์ ใช้หลักวิเคราะห์ et al. (2014) ที่เกาะกาลีมันตัน ประเทศอินโดนีเซีย ก็ การเติบโตของพืชซึ่งขึ้นจะอยู่กับขนาดเริ่มต้นของพืช พบว่า ในระยะแรกของปลูกฟื้นฟูป่าพรุ กล้าไม้ส่วนใหญ่ และเวลา โดยคำ�นวณจากสมการของ Hoffmann and จะต้องการร่มเงาช่วยในการเติบโต ดังนั้น การปลูกฟื้นฟู Poorter (2002) ดังนี้ โดยทำ�การยกโคกก่อนปลูกและให้ร่มเงาแก่กล้าไม้ใน InW2 - InW1 ปริมาณที่พอดีจะช่วยให้กล้าไม้มีการตั้งตัวได้ดีในระยะแรก RGR = t - t 2 1 พื้นที่ถูกไฟไหม้ พบว่า อัตราการรอดตาย เมื่อ W1 คือ ความสูง หรือเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยรวมเฉลี่ยของแต่ละรูปแบบการปลูก มีความแตกต่าง คอราก ที่วัดครั้งแรก (ซม.) อย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ โดยการปลูกแบบยกโคกที่ W2 คือ ความสูง หรือเส้นผ่านศูนย์กลาง ไม่เปิดช่องว่าง มีอัตราการรอดตายเท่ากับร้อยละ 35.33 คอราก ที่วัดครั้งหลัง (ซม.) ในขณะที่การปลูกแบบไม่ยกโคก จะมีอัตราการรอดตาย t1 คือ อายุต้นไม้ที่วัดครั้งแรก (ปี) เพียงร้อยละ 9.33 (Table 2) ทั้งนี้ เนื่องจากพื้นที่ป่าพรุ t2 คือ อายุต้นไม้ที่วัดครั้งหลัง (ปี) มีสภาพนํ้าท่วมขังตลอดทั้งปี การยกโคกก่อนทำ�การปลูก 3. วิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติ เปรียบเทียบ จะช่วยให้กล้าไม้มีอัตราการรอดตายได้ดีกว่าการไม่ ระหว่างรูปแบบการปลูกของพรรณไม้แต่ละชนิด ด้วยวิธี ยกโคก เนื่องจากการยกโคกจะทำ�ให้ดินมีการระบายนํ้า การวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance; และระบายอากาศได้ดีขึ้นจึงทำ�ให้มีอัตราการรอดตายสูง ANOVA) หากตัวอย่างมีความแตกต่างจะใช้วิธี Duncan’s กว่าไม่ยกโคก (Nuyim et al., 2002) Multiple Range Test จัดกลุ่มตัวอย่าง ด้วยโปรแกรม เมื่อพิจารณาอัตราการรอดตายโดยรวมที่ สำ�เร็จรูปทางสถิติ อายุ 2 ปี ของทั้งสองพื้นที่ พบว่า พื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ จะ มีอัตราการรอดตายอยู่ที่ร้อยละ 50-65 ในขณะที่พื้นที่ ผลและวิจารณ์ ถูกไฟไหม้ มีอัตราการรอดตายเพียงร้อยละ 9-35 เท่านั้น อัตราการรอดตาย ทั้งนี้เนื่องจากช่วงที่ทำ�การศึกษามีฝนตกหนักเกือบทั้งปี 1. อัตราการรอดตายเฉลี่ยโดยรวมที่อายุ 2 ปี ซึ่งบริเวณพื้นที่ถูกไฟไหม้มีลักษณะเป็นแอ่ง ทำ�ให้มีนํ้า ในแต่ละรูปแบบการปลูก ท่วมขังเป็นเวลานาน ส่งผลให้กล้าไม้ ซึ่งมีระบบรากที่ยัง พื้นที่ป่าเสม็ดไม่ถูกไฟไหม้ พบว่า อัตราการ ไม่แข็งแรง ไม่สามารถอยู่รอดได้ ประกอบกับเคยเป็น รอดตายเฉลี่ยโดยรวมของแต่ละรูปแบบการปลูก มี พื้นที่ที่ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์ไฟไหม้เมื่อปี ความแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ โดยการปลูก พ.ศ. 2553 และ 2555 มาก่อน ทำ�ให้พื้นที่มีลักษณะเปิด แบบยกโคกที่ตัดต้นเสม็ดขาวออกร้อยละ 50, 30 และ โล่ง มีแสงสว่างส่องถึงมากกว่าพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ กล้าไม้ 10 นั้น มีอัตราการรอดตายเท่ากับร้อยละ 54.67, 65.00 ที่ปลูกในช่วงแรกอาจจะได้รับแสงมากจนเกินไป และมี 76 Thai J. For. 39 (1) : 71-85 (2020) ns irya 0.196 Horsfieldia 26.67±11.55 46.67±11.55 53.33±23.09 ns 0.445 Eugenia 80.00±34.64 73.33±23.09 53.33±11.55 pseudosubtilis ns 0.729 Eugenia polyantha 73.33±30.55 73.33±11.55 86.67±23.09 ns 0.63 Eugenia grandus 93.33±11.55 100.00±0.00 93.33±11.55 ns 0.673 spicata Eugenia 46.67±0.00 51.11±13.88 62.22±34.21 ns Survival rate among species (%) 0.739 glauca Polyalthia 48.15±11.56 59.26±22.45 46.30±27.40 ns 0.634 bracteata 43.14±3.40 Baccaurea 54.90±17.97 64.71±42.42 ns 0.266 Fagraea fragrans 86.11±4.81 72.22±12.73 86.11±12.73 ns 0.56 Hopea odorata 48.15±16.04 59.26±19.51 66.67±24.22 ns (%) rate Total Total 0.527 survival 54.67±10.07 65.00±11.00 63.00±12.49 ns = non-significant difference Survival rate of each of the 2 years old seedling species in unburned areas, Khuan Khreng swamp forest, Nakhon Si Thammarat province. Thammarat Si Nakhon forest, swamp Khreng Khuan areas, unburned in species seedling old years 2 the of each of rate Survival

p-value Type of Type planting Mounded with 50% thinned Mounded with 30% thinned Mounded with 10% thinned Remark : Table 1 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 71-85 (2563) 77 ns irya 0.619 0.00±0.00 Horsfieldia 13.33±23.09 20.00±26.46 10.00±10.00 ns Thammarat province. 0.231 Eugenia 23.33±32.15 73.33±30.55 60.00±36.06 70.00±17.32 pseudosubtilis ns 0.719 Eugenia 0.00±0.00 polyantha 30.00±51.96 36.67±55.08 33.33±41.63 ns 0.549 Eugenia grandus 25.00±21.79 73.33±33.29 40.00±51.96 51.67±48.05 ns 0.102 spicata Eugenia 0.00±0.00 20.00±20.00 50.00±17.32 36.67±35.12 ns Survival rate among species (%) 0.453 glauca 0.00±0.00 Polyalthia 10.00±10.00 16.67±20.82 16.67±15.28 ns 0.579 0.00±0.00 6.67±5.77 bracteata Baccaurea 13.33±23.09 13.33±11.55 ns 0.647 Fagraea fragrans 10.00±17.32 53.33±50.33 40.00±52.92 43.33±40.41 ns 0.788 Hopea odorata 0.00±0.00 10.00±17.32 10.00±17.32 13.33±23.09 ns (%) rate Total 0.501 survival 9.33±8.62 35.33±23.12 32.67±33.23 34.00±20.81 ns = non-significant difference Survival rate of each the 2 years old seedling species in burned areas, Khuan Khreng swamp forest, Nakhon Si

p-value Type of Type planting Unmounded Mounded Mounded with small gap opening Mounded with large gap opening Remark : Table 2 78 Thai J. For. 39 (1) : 71-85 (2020)

ร่มเงาจากไม้ใหญ่มาช่วยประคับประคองการเติบโตน้อย ดินทำ�ให้มีความเป็นกรดสูง (The Chaipattana ในระยะแรก อีกทั้งพื้นที่ศึกษามีวัชพืชปกคลุมเป็นจำ�นวน Foundation, n.d.) จึงอาจเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ส่งผลให้ มาก และมีการกำ�จัดวัชพืชที่ไม่สมํ่าเสมอ จึงอาจเป็น พรรณไม้ทุกชนิด มีอัตราการรอดตายตํ่า ซึ่งหากจะทำ�การ สาเหตุที่ส่งผลให้พื้นที่ถูกไฟไหม้มีอัตราการรอดตายที่ตํ่า ฟื้นฟูควรมีการปรับสมบัติของดินก่อนที่จะทำ�การปลูก กว่าบริเวณพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ ด้วยอีกทางหนึ่ง 2. อัตราการรอดตายเฉลี่ยแต่ละชนิดพรรณ การเติบโตทางด้านความสูง และเส้นผ่านศูนย์กลาง ในแต่ละรูปแบบการปลูก คอรากที่อายุ 2 ปี พื้นที่ป่าเสม็ดไม่ถูกไฟไหม้ พบว่า อัตราการ ในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ พบว่า การเติบโตทางด้าน รอดตายเฉลี่ยของพรรณไม้ทุกชนิดในแต่ละรูปแบบการ ความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลางคอรากที่อายุ 2 ปี ของ ปลูก มีความแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ แต่จะ พรรณไม้ส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดในแต่ละรูปแบบการปลูก เห็นได้ว่าการปลูกแบบยกโคกในพื้นที่ตัดต้นเสม็ดขาว มีความแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ ยกเว้น ต้น ออก ร้อยละ 10 อัตราการรอดตายเฉลี่ยของ ตะเคียนทอง กันเกรา จะมีการเติบโตทางด้านเส้นผ่านศูนย์กลางคอราก เท่ากับร้อยละ 66.67 กันเกรา ร้อยละ 86.11 ระไมป่า แตกต่างอย่างมีนัยสำ�คัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ซึ่งมีค่า ร้อยละ 64.71 ตารา ร้อยละ 46.30 เสม็ดแดงใบมน ร้อยละ สูงสุดเท่ากับ 4.28 เซนติเมตร ในการปลูกแบบยกโคก 46.67 ชะเมานํ้า ร้อยละ 93.33 แพ ร้อยละ 86.67 ในพื้นที่ตัดต้นเสม็ดขาวออกร้อยละ 50 แต่ต้นกรวย หว้านา ร้อยละ 53.33 และกรวย ร้อยละ 53.33 ซึ่ง แตกต่างอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (p<0.05) ซึ่งมีค่าสูงสุด พรรณไม้ส่วนใหญ่จะมีอัตราการรอดตายค่อนข้างสูง เท่ากับ 2.11 เซนติเมตร ในการปลูกแบบยกโคกในพื้นที่ (Table 1) ทั้งนี้ เนื่องจากการตัดต้นเสม็ดขาวออกเพียง ตัดต้นเสม็ดขาวออกร้อยละ 30 (Table 3) แต่เมื่อพิจารณา แค่ร้อยละ 10 จะเป็นการเปิดช่องว่างในปริมาณน้อย อัตราการเติบโตสัมพัทธ์แล้ว พบว่า ต้นแพ และต้นตารา ทำ�ให้กล้าไม้ได้รับร่มเงาจากไม้ใหญ่เพื่อช่วยให้มีอัตรา จะมีอัตราการเติบโตสัมพัทธ์ทางด้านความสูงและเส้น การรอดตายได้ดีในระยะแรก ส่งผลให้กล้าไม้มีอัตราการ ผ่านศูนย์กลางคอรากแตกต่างอย่างมีนัยสำ�คัญยิ่งทาง รอดตายค่อนข้างสูง สถิติ (p<0.01) โดยที่ต้นแพ มีอัตราการเติบโตสัมพัทธ์ พื้นที่ถูกไฟไหม้ พบว่า อัตราการรอดตาย ทางด้านความสูง และเส้นผ่านศูนย์กลางคอรากสูงสุด เฉลี่ยของพรรณไม้ทุกชนิดในแต่ละรูปแบบการปลูก มี เท่ากับร้อยละ 47.52 และ 56.17 ต่อปี ตามลำ�ดับ ส่วน ความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ แต่จะเห็น ต้นตารามีอัตราการเติบโตสัมพัทธ์ทางด้านเส้นผ่าน ได้ว่า การยกโคกก่อนปลูกในทุกรูปแบบ พรรณไม้ส่วน ศูนย์กลางคอรากสูงสุด เท่ากับร้อยละ 35.33 ต่อปี ซึ่งมี ใหญ่จะมีอัตราการรอดตายสูง ในขณะที่การปลูกแบบ อัตราการเติบโตสัมพัทธ์สูงสุดในการปลูกแบบยกโคกใน ไม่ยกโคก พรรณไม้ทุกชนิดจะมีอัตราการรอดตายตํ่า ซึ่ง พื้นที่ตัดต้นเสม็ดขาวออกร้อยละ 10 (Table 4) สอดคล้อง ส่วนใหญ่จะมีอัตราการรอดตายเป็นศูนย์ (Table 2) กับผลการศึกษาของ Graham (2013) ที่พบว่า การตัด เนื่องจากสภาพพื้นที่ในช่วงที่ทำ�การศึกษามีฝนตกหนัก เปิดช่องว่างที่มากเกินไปจะส่งผลในทางลบต่อการปลูก เกือบทั้งปี ประกอบกับพื้นที่มีลักษณะเป็นแอ่ง ส่งผลให้ ฟื้นฟูป่าพรุ ทั้งนี้ เนื่องจากกล้าไม้ที่ปลูกใหม่ยังต้องการ มีนํ้าขังตลอดทั้งปี ทำ�ให้การปลูกแบบไม่ยกโคกมีอัตรา ร่มเงาบางส่วนจากไม้ใหญ่ที่เป็นเสมือนไม้พี่เลี้ยงที่คอย การรอดตายต่าํ อีกทั้งพื้นที่ดังกล่าวเคยได้รับความเสียหาย ประคับประคองการเติบโตในช่วงแรก ดังนั้น การเปิด จากไฟไหม้ในปี พ.ศ. 2553 และ 2555 ซึ่งส่งผลต่อสภาพ ช่องว่างในปริมาณที่ไม่มากจนเกินไปจึงทำ�ให้กล้าไม้ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 71-85 (2563) 79

สามารถเติบโตได้ดีในช่วงแรก (Forestry Research 42.73 ต่อปี ส่วนต้นกันเกรา ต้นชะเมานํ้า และต้นกรวย Center, 2016) มีอัตราการเติบโตสัมพัทธ์ทางด้านเส้นผ่านศูนย์กลาง ในพื้นที่ถูกไฟไหม้ พบว่า การเติบโตทางด้าน คอรากสูงสุด เท่ากับร้อยละ 76.11, 55.27 และ 100.20 ความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลางคอรากที่อายุ 2 ปี ของ ต่อปี ตามลำ�ดับ (Table 6) ดังนั้น หากจะเลือกรูปแบบ พรรณไม้ส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดในแต่ละรูปแบบการปลูก การปลูกที่จะช่วยลดต้นทุนและลดเวลาในการเตรียม มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ ยกเว้น แปลง จึงควรเลือกการปลูกแบบยกโคก ซึ่งสอดคล้องกับ ต้นกันเกรา ต้นชะเมานํ้า และต้นกรวย จะมีการเติบโต ผลการศึกษาของ Nuyim et al. (2002) ที่พบว่า การ ทางด้านความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลางคอรากแตกต่าง ยกโคกจะทำ�ให้ดินมีการระบายนํ้าและระบายอากาศดี กันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (p<0.05) โดยที่มีการเติบโต ขึ้น มีสภาพเหมาะสมต่อการหายใจของรากพืชและการ สูงสุดในการปลูกแบบยกโคก ซึ่งต้นกันเกรามีการเติบโต ย่อยสลายของอินทรียวัตถุ ที่สามารถปลดปล่อยสาร ทางด้านความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลางคอรากสูงสุด อาหารให้แก่พืชได้เพิ่มขึ้น ทำ�ให้กล้าไม้มีการเติบโตได้ดี เท่ากับ 222.69 และ 3.63 เซนติเมตร ตามลำ�ดับ (Table กว่าการปลูกแบบไม่ยกโคก และไม่จำ�เป็นต้องทำ�การ 5) ส่วนต้นชะเมานํ้า และต้นกรวย มีการเติบโตทางด้าน เปิดช่องว่างใดๆ อีก เนื่องจากพื้นที่ถูกไฟไหม้ที่ทำ�การ เส้นผ่านศูนย์กลางคอรากสูงสุดเท่ากับ 2.05 และ 3.15 ศึกษาเป็นพื้นที่ขอใช้ประโยชน์ของมูลนิธิชัยพัฒนาที่ เซนติเมตร ตามลำ�ดับ และเมื่อพิจารณาอัตราการเติบโต ได้รับความเสียหายจากการถูกไฟไหม้เมื่อปี พ.ศ. 2553 สัมพัทธ์แล้ว พบว่า ต้นแพ ต้นกันเกรา ต้นชะเมานํ้า และ และ 2555 ดังนั้น ความหนาแน่นของต้นเสม็ดขาวเดิม ต้นกรวย จะมีอัตราการเติบโตสัมพัทธ์ทางด้านความสูง ในพื้นที่ถูกไฟไหม้จึงมีน้อย ส่งผลให้การปกคลุมเรือนยอด และเส้นผ่านศูนย์กลางคอรากแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญ น้อยไปด้วย จึงไม่จำ�เป็นต้องทำ�การการตัดเพื่อเปิดช่อง ทางสถิติ (p<0.05) โดยที่มีอัตราการเติบโตสัมพัทธ์สูงสุด ว่างเพิ่ม จะได้เป็นการลดต้นทุนและเวลาในการปลูกฟื้นฟู ในการปลูกแบบยกโคกเช่นเดียวกัน ซึ่งต้นแพ มีอัตรา อีกทางหนึ่งด้วย การเติบโตสัมพัทธ์ทางด้านความสูงสูงสุด เท่ากับร้อยละ 80 Thai J. For. 39 (1) : 71-85 (2020) a b . ab * ns irya 0.038 0.237 1.51±0.43 2.11±0.41 1.78±0.35 Horsfieldia 144.50±24.77 169.14±33.40 136.75±41.70 ns ns ammarat province 0.438 0.071 Eugenia 2.73±0.93 2.10±0.41 2.08±0.70 190.67±35.62 173.55±24.80 184.00±33.42 pseudosubtilis ns ns 0.150 0.092 Eugenia 1.83±0.66 1.61±0.43 2.10±0.48 polyantha 148.73±37.42 140.36±38.59 175.77±55.90 ns ns ** = highly significant difference (p<0.01) 0.308 0.448 Eugenia grandus 2.26±0.63 2.49±0.84 2.17±0.53 177.29±45.92 207.67±55.35 192.64±55.46 ns ns 0.077 0.055 spicata Eugenia 0.92±0.32 0.85±0.23 1.10±0.49 79.74±30.49 64.93±14.68 81.62±38.01 ns ns 0.183 0.394 glauca 1.14±0.39 1.11±0.47 0.99±0.37 Polyalthia 87.88±36.93 86.56±26.66 72.24±37.72 ns ns 0.610 0.602 1.82±0.81 1.97±0.65 1.82±0.48 bracteata Baccaurea 139.73±51.48 149.71±38.51 139.91±39.52 a a b ** ns * = significant difference (p<0.05) 0.008 0.063 Fagraea fragrans 4.28±1.23 4.17±0.92 3.50±0.91 222.35±51.20 237.68±40.17 210.00±46.06 ns ns 0.576 0.313 Hopea odorata 2.40±0.69 2.25±0.71 2.11±0.74 159.04±38.97 147.78±46.74 147.36±52.92 p-value p-value Mounded with 50% thinned Mounded with 30% thinned Mounded with 10% thinned Mounded with 50% thinned Mounded with 30% thinned Mounded with 10% thinned Different superscript letters (a, b) indicate significant differences (ANOVA, p<0.05) in height (Duncan’s Multiple Range Test) Different superscript letters (a, b) indicate significant differences ns = non-significant difference Growth of each the 2 years old seedling species in unburned areas, Khuan Khreng swamp forest, Nakhon Si Th Type of planting Type (cm) (cm) Height root collar Diameter at Table 3 Remarks: วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 71-85 (2563) 81 ns ns irya 0.288 0.447 26.96±4.58 Horsfieldia 26.98±13.34 37.44±19.89 23.38±17.36 37.89±21.02 29.00±10.24 ns ns 0.194 0.377 Eugenia 23.69±9.52 38.45±28.83 43.03±22.14 44.31±24.60 34.95±15.23 33.09±15.78 pseudosubtilis a a a a b b ** ** 0.002 0.000 Eugenia polyantha 23.10±17.00 26.85±14.21 25.95±15.50 28.36±15.35 47.52±16.54 56.17±16.05 ns ns ** = highly significant difference (p<0.01) 0.242 0.856 Eugenia grandus 48.69±32.54 38.51±17.54 39.81±14.94 50.16±25.62 43.19±26.47 45.95±18.58 ns ns 0.382 0.558 spicata Eugenia 33.82±20.41 35.25±19.06 27.45±17.44 32.46±24.70 36.34±23.84 41.44±26.59 a a b b ab ab ** ns 0.006 0.064 glauca Polyalthia 16.28±11.59 20.52±10.85 34.12±29.83 35.33±29.13 26.33±18.07 27.11±16.93 ns ns 0.176 0.885 bracteata Baccaurea 32.25±20.93 32.70±19.14 28.37±16.92 29.89±17.71 37.76±24.22 29.99±26.67 ns ns * = significant difference (p<0.05) 0.431 0.267 Fagraea fragrans 37.15±13.01 32.49±14.73 34.25±12.57 49.29±21.41 54.74±20.44 59.02±24.82 ns ns 0.726 0.451 Hopea odorata 36.33±28.94 33.91±23.22 31.20±23.53 49.61±26.09 42.52±18.41 47.17±21.39 Mounded with 50% thinned Mounded with 30% thinned Mounded with 10% thinned p-value Mounded with 50% thinned Mounded with 30% thinned Mounded with 10% thinned p-value Different superscript letters (a, b) indicate significant differences (ANOVA, p<0.05) in height growth (Duncan’s Multiple Range Test) Different superscript letters (a, b) indicate significant differences ns = non-significant difference Relative growth rate (RGR) of each seedlings in unburned ar eas, Khuan Khreng swamp forest, Nakhon Si Thammarat province.

4 Type of planting Type

Diameter at root collar (% per year) Remarks: Table Height (% per year) 82 Thai J. For. 39 (1) : 71-85 (2020) a b ab * ns N/A N/A irya 0.016 0.084 3.15±0.42 1.72±0.35 2.73±1.24 Horsfieldia 183.75±14.93 136.33±33.40 179.33±46.06 ns ns 0.277 0.057 mmarat province. Eugenia 1.23±0.24 2.41±0.84 1.86±0.68 2.17±1.52 144.14±50.83 189.86±56.64 158.22±49.61 175.48±82.70 pseudosubtilis ns ns N/A N/A 0.055 0.082 Eugenia 3.24±0.74 2.67±0.68 2.51±0.72 polyantha 228.22±48.86 195.45±69.29 164.10±40.02 a b b b ** ns 0.000 0.309 Eugenia grandus 0.99±0.25 2.05±0.85 2.00±0.66 1.99±1.11 128.73±32.96 155.93±52.88 155.42±41.46 158.10±66.39 ns ns N/A N/A 0.872 0.613 spicata Eugenia 1.10±0.44 0.99±0.37 1.14±0.40 88.67±26.58 88.93±35.13 94.73±23.20 ns ns N/A N/A 0.552 0.420 glauca 0.90±0.44 1.98±1.69 1.34±0.40 Polyalthia 132.00±4.36 141.60±85.14 100.00±43.30 ns ns N/A N/A 0.532 0.117 1.75±0.21 1.38±0.22 1.00±0.50 bracteata Baccaurea 113.00±52.33 140.50±19.23 103.25±60.11 b b b a a b b b * * 0.022 0.019 Fagraea fragrans 0.93±0.31 3.63±1.25 3.15±1.10 3.16±1.56 115.00±8.66 222.69±51.64 212.75±50.22 192.31±65.25 ns ns N/A N/A 0.508 0.703 Hopea odorata 1.83±0.12 2.30±1.13 2.15±0.47 140.00±12.00 144.00±42.46 164.00±23.58 p-value p-value Unmounded Mounded Mounded with small gap opening Mounded with large gap opening Unmounded Mounded Mounded with small gap opening Mounded with large gap opening Different superscript letters (a, b) indicate significant differences (ANOVA, p<0.05) in diameter at root collar (Duncan’s Multiple Range Test) Different superscript letters (a, b) indicate significant differences ns = non-significant difference * significant (p< 0.05) N/A not applicable ** highly differen ce (p<0.01) Growth of each the 2 years old seedling species in burned areas, Khuan Khreng swamp forest, Nakhon Si Tha

Type of planting Type (cm) (cm) Height root collar Diameter at Table 5 Remarks : วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 71-85 (2563) 83 b a a * ns N/A N/A irya 0.010 0.153 28.45±7.87 13.52±8.91 58.86±9.53 Horsfieldia 20.90±17.31 39.46±30.77 100.20±17.58 a b ab ab ns ns 0.158 0.051 Eugenia 32.13±13.90 44.27±28.63 31.44±21.42 48.46±28.92 36.38±29.95 64.60±38.88 42.29±18.95 60.41±30.75 pseudosubtilis a a b * ns N/A N/A 0.026 0.183 Eugenia polyantha 59.59±26.40 41.99±13.38 49.88±21.31 25.50±12.23 23.07±19.45 42.73±15.98 a b ab ab ns 0.031* 0.563 Eugenia grandus 25.16±15.18 31.79±18.66 30.77±15.44 27.60±17.53 38.78±16.49 55.27±20.94 49.68±25.39 47.86±23.85 a b ab ns ns N/A N/A 0.117 0.337 spicata Eugenia 33.93±10.84 49.65±34.28 55.56±25.62 19.65±10.99 37.38±15.03 31.74±18.57 ns ns N/A N/A 0.929 0.389 glauca 25.30±5.97 12.27±3.35 Polyalthia 19.54±19.37 39.80±39.43 39.44±15.02 44.98±22.54 ns ns N/A N/A 0.12 0.473 bracteata Baccaurea 22.11±11.32 39.48±17.06 28.75±17.64 73.43±37.37 34.60±12.48 30.38±21.63 b b ab a * ns 0.029 0.137 Fagraea fragrans 14.42±2.64 65.80±23.70 76.11±33.92 43.09±12.34 75.16±36.42 42.17±19.40 46.26±30.23 36.64±14.88 ns ns N/A N/A 0.583 0.742 Hopea odorata 32.13±5.85 23.38±11.20 40.42±33.59 63.11±45.63 57.29±23.85 45.45±19.44 Unmounded Mounded Mounded with small gap opening Mounded with large gap opening p-value Unmounded Mounded Mounded with small gap opening Mounded with large gap opening p-value Different superscript letters (a, b) indicate significant differences (ANOVA, p<0.05) in diameter at root collar growth (Duncan’s Multiple Range Test) Range Multiple (Duncan’s growth collar root at diameter in p<0.05) (ANOVA, differences significant indicate b) (a, letters superscript Different ns = non-significant difference * significant (p< 0.05) N/A not applicable ** highly (p<0.01) Relative growth rate (RGR) of each seedling species in burned areas, Khuan Khreng swamp forest, Nakhon Si Thammarat provin ce. 6

Type of planting Type Height (% per year) Diameter at root collar (% per year) Table Remarks : 84 Thai J. For. 39 (1) : 71-85 (2020)

สรุป Forestry Research Center. 2016. Demonstration of Restoration and Restructuring อัตราการรอดตายโดยรวมในแต่ละรูปแบบการ Ecosystems in Khuan Khreng Swamp ปลูกมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ ทั้ง Forest, Nakhon Si Thammarat Province. ในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ และในพื้นที่ถูกไฟไหม้ ในส่วนของ Faculty of Forestry, Kasetsart University, อัตราการรอดตายแต่ละชนิดพรรณ อัตราการเติบโต Bangkok. (in Thai) สัมพัทธ์ทางด้านความสูง และอัตราการเติบโตสัมพัทธ์ Graham, L.L.B. 2013. Restoration from Within: ทางด้านเส้นผ่านศูนย์กลางคอราก ทั้งในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ An Interdisciplinary Methodology for และในพื้นที่ถูกไฟไหม้ พรรณไม้ส่วนใหญ่ในแต่ละรูปแบบ Tropical Peat Swamp Forest Restoration การปลูกก็มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ in . Ph.D. Thesis, University แต่ในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ พรรณไม้ส่วนใหญ่จะมีค่าสูงใน of Leicester. การปลูกแบบยกโคกและตัดต้นเสม็ดขาวออก ร้อยละ 10 Hoffmann, W.A. and H. Poorter. 2002. Avoiding ส่วนในพื้นที่ถูกไฟไหม้ พรรณไม้ส่วนใหญ่จะมีค่าสูงใน bias in calculations of relative growth การปลูกแบบยกโคก ซึ่งหากจะเลือกรูปแบบที่จะช่วยลด rate. Annals of Botany 90(1): 37-42. ต้นทุนและลดเวลาในการเตรียมแปลงก่อนที่จะดำ�เนิน Johnson, K.W., T.J. Malterer and C.C. Maly. 1996. การปลูกในพื้นที่ไม่ถูกไฟไหม้ ควรจะเป็นการปลูกแบบ Peat-based compost amendment for ยกโคก และตัดต้นเสม็ดขาวออกร้อยละ 10 และในพื้นที่ commercial forest seedling production, ถูกไฟไหม้ ควรจะเป็นการปลูกโดยมีการยกโคกซึ่งไม่ pp. 151-161. In Proceedings of the th จำ�เป็นต้องมีการตัดเปิดช่อง เพื่อจะได้ลดต้นทุนและลด 10 International Peat Congress Vol. เวลาในการเตรียมแปลงก่อนที่จะดำ�เนินการปลูก และ 2. 27 May-2 June 1996. Bremen. พบว่า ต้นแพ ต้นกันเกรา ต้นตารา ต้นชะเมานํ้า และต้น Kuerkool, P. 1996. Forest Nursery Techniques. 2nd ed. Royal Forest Department, กรวย มีการเติบโตที่น่าสนใจ ซึ่งต้องติดตามในระยะยาว Bangkok. (in Thai) ต่อไป Lappalainen, E. 1996. Global peat resources, pp. 80-86. In Proceedings of the 10th REFERENCES International Peat Congress Vol. 2. Chookhwamdee, J., A. Anansiriwat, W. Meephon, 27 May-2 June 1996. Bremen. J. Jittanukul and S. Hawanon. 1999. A Nuyim, T. 1995. Peat swamp forest rehabilitation study of distribution of peat swamp study in Thailand, pp. 125-132. In forests in Thailand. Journal of Thai Annual Conference Report on Forestry Forestry Research 1(1): 23-32. for 1994. Royal Forest Department, Forest Fire Control Division. 2012. Forest Fire Bangkok. (in Thai) Situation at Khuan Kreng in Fiscal . 2004. Guideline on Peat Swamp Year 2012. Forest Protection and Fire Forests Rehabilitation and Planting Control Office, Department of National in Thailand. Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation. Parks, Wildlife, and Plant Conservation, Bangkok. (in Thai) Bangkok. วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 71-85 (2563) 85

, C. Nilnond and P. Kaewwongsri. 2002. Peat Congress Vol. 2. 27 May-2 June Effect of mound and unmound on soil 1996. Bremen. environment and growth of some Sorensen, K.W. 1993. Indonesian peat swamp peatswamp plants in deteriorated peat forests and their role as a carbon sink. land, pp. 79-103. In Proceedings of Chemosphere 27(6): 1065-1082. the Symposium of 2 Centuries Suzuki, K. and K. Hara. 1995. Ecological Phikultong. Phikulthong Study and rehabilitation of the tropical swamp Development Center, Royal Initiative forest, pp. 17-24. In P. Vijarnsorn, ed. Project, Narathiwat. (in Thai) A Tropical Swamp Forest Ecosystem Phengklai, C., C. Niyomdham and W. Uejirakarn. and its Greenhouse Gas Emission. 1991. Peat Swamp Forest Plant Species Nodai Research Institute, Tokyo University of Narathiwat. Phikulthong Study and of Agriculture, Tokyo. Development Center, Royal Initiative The Chaipattana Foundation. n.d. Soil. Available Project, Narathiwat. (in Thai) Source: http://www.chaipat.or.th/ Phitthayakhachornwut, P., C. Niyomtham, C. publication/publish-document/tips/36- Urapiphatthanaphong and T. Sinna. 2015-04-03-10-16-17.html, February 24, 1994. Manual for Nature’s Study 2019. (in Thai) Trails in the Peat Swamp Forest. New Wanthongchai, K. and P. Sanguantham. 2016. Thammada Printing Ltd., Bangkok. (in Damage evaluation of Khuan Kreng Thai) swamp forest fire in 2012, pp. 168-169. Rusmana, D.R., P.B. Santosa, T.W. Yuwati and In P. Sunthornhao, ed. 8 Decades of L.L.B. Graham. 2014. Response of peat Forestry, the Science of Life. Faculty swamp forest species seedlings to light of Forestry, Kasetsart University, Bangkok. intensity, pp. 2-14. In Tropical Peat (in Thai) Swamp Forest Silviculture in Central Yoshino, K., T. Ishida, T. Nagano and Y. Setiawan. Kalimantan. Kalimantan Forests and 2010. Landcover pattern analysis of Climate Partnership, Jakarta. tropical peat swamp lands in Southeast Schuch, M. and A. Zollner. 1996. Peatland in Asia, pp. 941-946. In International Bavaria: use and conservation, global Archives of the Photogrammetry, peat resources, pp. 107-113. In Remote Sensing and Spatial Information Proceedings of the 10th International Science Vol. 38 Part 8. Kyoto, Japan. Thai J. For. 39 (1) : 86-96 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 86-96 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ในสวนสันติภาพ กรุงเทพมหานคร Carbon Dioxide Sequestration and Carbon Storage in Trees at the Santiphap Park, Bangkok

ถิรายุ เกลี้ยงสอาด1,2* Thirayu Kliangsaard1,2* ลดาวัลย์ พวงจิตร1 Ladawan Puangchit1 วาทินี สวนผกา1 Wathinee Suanpaga1 1คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand 2กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, E-mail: [email protected] รับตันฉบับ 19 มิถุนายน 2562 รับแก้ไข 30 กรกฎาคม 2562 รับลงพิมพ์ 31 กรกฎาคม 2562

ABSTRACT The study on carbon dioxide sequestration and carbon storage of trees was conducted in Santiphap Park, Bangkok. The objectives of this study were to estimate carbon stock and potential of carbon dioxide sequestration in trees planted at Santiphap Park and to utilize this knowledge to manage the park for carbon dioxide sequestration. Diameter at breast height (DBH) and height of every tree were measured and used for estimating biomass, carbon stock, and potential of trees in sequestering carbon dioxide. The results showed that there were 626 trees in 46 species and 17 families. Albizia saman (Jacq.) Merr. had the largest size with an average DBH and height of 84.75 cm and 17.75 m, respectively and an average highest carbon stock of 4,238.49 kg tree-1. In addition, it was found that Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer ex K. Heyne had the highest total carbon stock of 22,167.07 kg. The study also showed that Alstonia scholaris (L.) R. Br. had the highest current annual increment of carbon stock and carbon dioxide sequestration of 68.88 and 252.79 kg tree-1 year-1, followed by Phyllanthus emblica L., Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer ex K. Heyne, Dolichandrone serrulata (Wall. Ex DC.) Seem., Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman. In order to increase the potential carbon dioxide sequestration of trees planted in the Park following the guidelines of urban tree planting in Bangkok, another 218 trees could be planted to reach the recommended density. The additional trees planted could be fast growing species which have a high potential วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 86-96 (2563) 87 in carbon dioxide sequestration and suitable for urban areas, such as, Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer ex K. Heyne, Albizia saman (Jacq.) Merr., Millingtonia hortensis L.f, Alstonia scholaris (L.) R. Br., and Terminalia catappa L. Keywords: Carbon storage, Carbon dioxide sequestration, Santiphap Park

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ในสวนสันติภาพ และศักยภาพ การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของไม้ต้นในเขตเมือง รวมทั้งเสนอแนะแนวทางในการจัดการสวนสันติภาพเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยทำ�การเก็บข้อมูลการเติบโตของต้นไม้ทุกต้น ได้แก่ เส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอก และความสูงของต้นไม้ เพื่อนำ�มาประเมินหามวลชีวภาพ การกักเก็บคาร์บอน และศักยภาพในการดูดซับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ผลการศึกษา พบว่า สวนสันติภาพ มีต้นไม้ทั้งสิ้น 626 ต้น 46 ชนิด 17 วงศ์ โดยจามจุรี มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกเฉลี่ย ความสูงเฉลี่ย และการกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยต่อต้น มากที่สุด เท่ากับ 84.75 เซนติเมตร 17.75 เมตร และ 4,238.49 กิโลกรัม/ต้น ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ ยังพบว่า นนทรี มีค่าการกักเก็บคาร์บอนรวม มากที่สุด เท่ากับ 22,167.07 กิโลกรัม จากการศึกษายังพบว่า สัตบรรณ มีอัตราความเพิ่มพูนรายปีของการกักเก็บคาร์บอน และ ศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มากที่สุด เท่ากับ 68.88 และ 252.79 กิโลกรัม/ต้น/ปี รองลงมาคือ มะขามป้อม นนทรี แคขาว และมะกัก ตามลำ�ดับ สำ�หรับแนวทางการจัดการสวนสันติภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพในการดูด ซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ให้สอดคล้องกับแนวทางในการกำ�หนดระยะปลูกไม้ยืนต้นของกรุงเทพมหานคร สวนสันติภาพ สามารถปลูกต้นไม้เพิ่มได้อีก 218 ต้น ในบริเวณที่มีความหนาแน่นของต้นไม้ไม่มากนัก โดยการปลูกไม้โตเร็วซึ่งมีศักยภาพ ในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูง และเป็นชนิดพรรณไม้ที่เหมาะสมกับการปลูกในเขตเมือง เช่น นนทรี จามจุรี ปีบ อโศกเซนคาเบรียล สัตบรรณ และหูกวาง เป็นต้น คำ�สำ�คัญ: การกักเก็บคาร์บอน การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สวนสันติภาพ

คำ�นำ� governmental Panel on Climate Change [IPCC]) โดย สามารถนำ�ศักยภาพของการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ประเทศไทยได้ลงนามให้สัตยาบันเพื่อเข้าร่วม มาคำ�นวณเพื่อจัดทำ�บัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแห่ง เป็นภาคีในกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ ชาติได้ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นก๊าซเรือนกระจก UNFCCC) ซึ่งประเทศไทยถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศนอก (greenhouse gases) ชนิดหนึ่งที่มีปริมาณมากที่สุด ภาคผนวกที่ 1 (Non-Annex 1) และต้องจัดทำ�รายงาน ในบรรยากาศ และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยเป็นส่วนหนึ่งของ โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตเมืองที่มีอัตราการปล่อยก๊าซ รายงานแห่งชาติ (National Communication) ซึ่งใน คาร์บอนไดออกไซด์ที่ค่อนข้างสูง ซึ่งแนวทางหนึ่งในการ การจัดทำ�รายงานปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแห่ง ลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ คือ การเพิ่มพื้นที่ ชาตินั้น ให้จัดทำ�ในแนวทางของคณะกรรมาธิการระหว่าง สีเขียว ซึ่งการเพิ่มพื้นที่สีเขียวนั้นสามารถดำ�เนินการได้ รัฐบาลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Inter- 4 รูปแบบ คือ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อบริการสาธารณะ 88 Thai J. For. 39 (1) : 86-96 (2020)

การเพิ่มพื้นที่สีเขียวบริเวณเส้นทางสัญจร การเพิ่มพื้นที่ สวนในปี พ.ศ. 2540 ถือเป็นสวนสาธารณะที่มีความ สีเขียวเพื่ออรรถประโยชน์ และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อ สำ�คัญ และมีผู้มาใช้ประโยชน์เป็นประจำ� สวนสันติภาพ เศรษฐกิจชุมชน (Office of Natural Resources and เปิดให้บริการเป็นทางการเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2541 Environmental Policy and Planning, 2010) ในการ การเก็บข้อมูลภาคสนาม ศึกษาครั้งนี้ เลือกศึกษาในพื้นที่ที่มีการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ทำ�การสำ�รวจพื้นที่ปลูกต้นไม้ภายในสวน เพื่อบริการสาธารณะ เนื่องจากมีความหลากชนิดของ สันติภาพ กรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2559 เพื่อติดตาม พรรณไม้ยืนต้นเป็นจำ�นวนมาก สามารถเป็นแหล่งดูดซับ การเปลี่ยนแปลงของชนิดและจำ�นวนของพรรณไม้ทั้งหมด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเขตเมือง และเป็นพื้นที่ที่ จากการสำ�รวจครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 โดย Sanpop ประชาชนมีการเข้าไปใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย อีก (2011) โดยการบันทึกชนิดพรรณไม้ และวัดขนาดของ ทั้งยังเป็นพื้นที่ที่มีทัศนียภาพสวยงามตามรูปแบบการ ต้นไม้ทุกต้นที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 1.30 จัดการของสวนสาธารณะ แต่ยังมีการศึกษาน้อยมาก เมตรจากพื้นดิน หรือ เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (diameter งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณ at breast height, DBH) มากกว่า 4.5 เซนติเมตร โดย การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพ รวมทั้งอัตราความ เก็บข้อมูลเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก ด้วยเทปวัดเส้น เพิ่มพูนรายปีของการเติบโต และอัตราการดูดซับก๊าซ ผ่านศูนย์กลาง (diameter tape) และวัดความสูงของ คาร์บอนไดออกไซด์ของไม้ต้นทั้งหมดในสวนสันติภาพ ต้นไม้ (height, H) ด้วยเครื่องมือวัดความสูง (haga เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการสวนสันติภาพเพื่อเพิ่ม altimeter) ศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเขตเมือง การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ข้อมูลด้านการเติบโต และความ อุปกรณ์และวิธีการ เพิ่มพูนรายปีของต้นไม้ ได้แก่ เส้นผ่านศูนย์กลางเพียง พื้นที่ศึกษา อก (DBH) และความสูงของต้นไม้ (H) จำ�แนกรายชนิด ทำ�การศึกษาในพื้นที่สวนสันติภาพ ซึ่งเป็นสวน 2. นำ�ข้อมูลการเติบโตมาคำ�นวณมวลชีวภาพ สาธารณะระดับหมู่บ้าน ตั้งอยู่ระหว่างถนนราชวิถี และ เหนือพื้นดินของพรรณไม้ในสวนสันติภาพ โดยอาศัย ถนนรางนํ้า แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ความสัมพันธ์ในรูปของสมการแอลโลเมตรี ดังนี้ พรรณไม้ มีพื้นที่ทั้งหมด 20 ไร่ 80 ตารางวา สร้างขึ้นบนที่ดินซึ่ง พื้นเมืองที่มีถิ่นกำ�เนิดในป่าดิบแล้ง ใช้สมการแอลโลเมตรี กรุงเทพมหานครเช่าจากสำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระ ของป่าดิบแล้ง (Tsutsumi et al., 1983) พรรณไม้ มหากษัตริย์หลังจากผู้เช่าเดิม คือ การเคหะแห่งชาติ พื้นเมืองที่มีถิ่นกำ�เนิดในป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณใช้ จัดสรรเป็นที่อยู่อาศัยของประชาชนมานานได้หมดสัญญา สมการแอลโลเมตรีของป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ เช่าลง ด้วยที่ตั้งของที่ดินผืนกว้างแห่งนี้อยู่ในศูนย์กลาง (Ogawa et al., 1965) สำ�หรับพรรณไม้ในเมืองชนิด ธุรกิจใจกลางเมือง เป็นพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่เพื่อ อื่นๆ ใช้สมการแอลโลเมตรีที่มีผู้รายงานไว้ดังรายละเอียด สาธารณประโยชน์ กรุงเทพมหานครเล็งเห็นความสำ�คัญ ใน Table 1 ดังกล่าว จึงนำ�มาจัดสร้างเป็นสวนสาธารณะ เริ่มก่อสร้าง วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 86-96 (2563) 89

Table 1 Allometric equations used for estimating biomass of trees planted in Santiphap Park. Species Allometric equations References Ws = 0.0509 D2H0.919 Dry evergreen forest Wb = 0.00893 D2H0.977 Tsutsumi et al. (1983) Wl = 0.0140 D2H0.669 Ws = 0.0396 D2H0.9326 Dry dipterocarp forest and mixed Wb = 0.003487 D2H1.0270 Ogawa et al. (1965) deciduous forest Wl = (28.0/Wtc + 0.025)-1 Cerbera odollam Gaertn. Millingtonia hortensis L.f Mimusops elengi L. Plumeria rubra L. Y = exp[-2.289 + 2.649 (ln (DBH) Roseodendron donnell-smithii (Rose) IPCC (2003) – 0.021 (ln DBH))2] Miranda Spathodea campanulata P. Beauv. Syzygium cumini (L.) Skeels Tabebuia rosea (Bertol.) DC. Albizia saman (Jacq.) Merr. Y = 0.1142 (DBH)2.4451 Hung et al. (2012) Cassia fistulaL. Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer Y = 0.1245 DBH2.4163 Hung et al. (2012) ex K. Heyne Polyalthia longifolia (Benth.) Hook. f. Y = 0.2270 (DBH)2.3519 (WD)1.2211 Dung et al. (2012) Lagerstroemia floribunda Jack Lagerstroemia loudonii Teijsm & Binn. Y = 0.1277 DBH2.3943 Hung et al. (2012) Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. Pterocarpus indicus Willd. Dypsis madagascariensis (Becc.) Beentje & J. Dransf. Roystonea oleracea (Jacq.) O. F. Cook Licuala grandis H. Wendl. Saribus rotundifolius (Lam.) Blume Elaeis guineensis Jacq. Y = 6.666 + 12.826(H)0.5x ln (H) Pearson et al. (2005) Pritchardia pacificaSeem. & H. Wendl. Wodyetia bifurcate A. K. Irvine Prychosperma macarthurii (H. J. Veitch) H. Wendl. Ex Hook. F. Adonidia merrillii (Becc.) Becc. Remarks : Y: Total above ground biomass (kg), WD : Wood density (0.51 g cm-3), DBH = Diameter at breast height (cm), H = Height (m), Ws = Biomass of stems (kg tree-1), Wb = Biomass of branches (kg tree-1), Wl = Biomass of leaves (kg tree-1), Wtc = Biomass of stems and branches (kg tree-1). 90 Thai J. For. 39 (1) : 86-96 (2020)

3. วิเคราะห์มวลชีวภาพรวมของพรรณไม้จาก 7. วิเคราะห์การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อัตราส่วนระหว่างมวลชีวภาพใต้ดินและมวลชีวภาพเหนือ ของพรรณไม้แต่ละชนิดจากข้อมูลความเพิ่มพูนการกัก พื้นดิน ดังนี้ เก็บคาร์บอน (Faculty of Forestry, 2010) ดังนี้

WT = WA + (WA B) ศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยที่ WT = มวลชีวภาพรวม (กิโลกรัม/ต้น) (กิโลกรัม/ต้น/ปี) WA = มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (กิโลกรัม/ต้น) = 3.67 x ความเพิ่มพูนในการกักเก็บคาร์บอน B = อัตราส่วนระหว่างมวลชีวภาพใต้ดิน (กิโลกรัม/ต้น/ปี) และมวลชีวภาพเหนือพื้นดินซึ่ง Faculty of Forestry (2010) ได้กำ�หนด ผลและวิจารณ์ อัตราส่วนระหว่างมวลชีวภาพใต้ดิน และมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (root/ จำ�นวนและชนิดของพรรณไม้ shoot ratio) ของพรรณไม้ที่ปลูกใน ในพื้นที่สวนสันติภาพ พบพรรณไม้ทั้งหมด เขตเมือง เท่ากับ 0.28 และพรรณไม้ 626 ต้น 46 ชนิด 17 วงศ์ เป็นพรรณไม้ในวงศ์ปาล์ม วงศ์ปาล์ม เท่ากับ 0.41 9 ชนิด โดยพรรณไม้ที่พบมากที่สุดในพื้นที่ คือ อโศก 4. วิเคราะห์ความเพิ่มพูนของการเติบโตและ เซนคาเบรียล (Polyalthia longifolia (Benth.) Hook. มวลชีวภาพในรูปของความเพิ่มพูนรายปี (current f.) มีจำ�นวน 332 ต้น ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 53 ของจำ�นวน annual increment, CAI) ของเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง ต้นไม้ทั้งหมด โดยมีการปลูกเป็นแนวยาวตั้งแต่บริเวณ อก ความสูง และมวลชีวภาพ จำ�แนกตามชนิดพรรณไม้ ริมรั้วฝั่งถนนราชวิถี ถึงฝั่งถนนรางนํ้า ระยะทางประมาณ โดยใช้ข้อมูลการเติบโตของต้นไม้ในสวนสันติภาพในปี 400 เมตร รองลงมาคือ ตะแบก (Lagerstroemia พ.ศ. 2554 ของ Sanpop (2011) floribunda Jack) (ร้อยละ 6) ปาล์มขนนก (Dypsis 5. ประเมินการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดิน madagascariensis (Becc.) Beentje & J. Dransf.) และใต้ดินของต้นไม้ทั้งหมดในสวนสันติภาพ โดยใช้ค่า (ร้อยละ 5) และนนทรี (Peltophorum pterocarpum สัดส่วนของคาร์บอนในมวลชีวภาพตาม IPCC (2006) (DC.) Backer ex K. Heyne) (ร้อยละ 4) ตามลำ�ดับ ซึ่ง เท่ากับ 0.47 ดังนี้ พรรณไม้ทั้ง 4 ชนิดนี้ มีสัดส่วนจำ�นวนต้นคิดเป็นร้อยละ การกักเก็บคาร์บอน (กิโลกรัม) 68 ของจำ�นวนต้นไม้ทั้งหมด ส่วนพรรณไม้ชนิดอื่นๆ = มวลชีวภาพของต้นไม้ (กิโลกรัม) ปลูกกระจายอยู่ทั่วไปภายในสวน คิดเป็นร้อยละ 32 โดย x สัดส่วนคาร์บอนในมวลชีวภาพเฉลี่ย (0.47) มีสัดส่วนของชนิดพรรณไม้ ดังแสดงใน Figure 1 ซึ่งเมื่อ 6. วิเคราะห์ความเพิ่มพูนรายปีในการกักเก็บ พิจารณาจากข้อมูลต้นไม้ทั้งหมดภายในสวนสันติภาพ คาร์บอนในมวลชีวภาพของพรรณไม้แต่ละชนิด ดังนี้ พบว่า มีจำ�นวนลดลงจากปี พ.ศ. 2554 ซึ่งมีต้นไม้ทั้งหมด ความเพิ่มพูนรายปีการกักเก็บคาร์บอน 720 ต้น 58 ชนิด 17 วงศ์ (Sanpop, 2011) เนื่องมาจาก (กิโลกรัม/ต้น/ปี) หลายสาเหตุ เช่น ต้นอโศกเซนคาเบรียลบริเวณริมรั้ว = ปริมาณการกักเก็บคาร์บอน ฝั่งถนนราชวิถี ถึง ถนนรางน้าํ มีการตาย การเปิดพื้นที่โล่ง (กิโลกรัม/ต้น/ปี) บริเวณสนามหญ้า และการปรับภูมิทัศน์บริเวณห้องสุขา (ปี พ.ศ. 2559 – ปี พ.ศ. 2554) หลังเก่า โดยต้นไม้ที่มีจำ�นวนลดลง เช่น อโศกเซนคาเบรียล 5 ตีนเป็ดทะเล (Cerbera odollam Gaertn.) หมากเขียว 5

1 ความเพิ่มพูนร า ย ป� การกักเก็บคาร�บอน = ปริมาณการกักเก็บคาร�บอน (กิโลกรัม/ต�น/ป�) 2 (กิโลกรัม/ต�น/ป�) (ป� พ.ศ.2559 – ป� พ . ศ . 2554) 3 5 4 7. วิเคราะห�การดูดซับก�าซคาร�บอนไดออกไซด�ของพรรณไม�แต�ละชนิดจากข�อมูลความเพิ่มพูนการกักเก็บคาร�บอน (Faculty 5 of Forestry, 2010) ดังนี้ 6 ศักยภาพในการดูดซับก�าซคาร�บอนไดออกไซด� (กิโลกรัม/ต�น/ป�) = 3.67 x ความเพิ่มพูนในการกักเก็บคาร�บอน (กิโลกรัม/ต�น/ป�) 7 8 ผลและวิจา ร ณ� 9 จํานวนและชนิดของพรรณไม� 10 ในพื้นที่สวนสันติภาพ พบพรรณไม�ทั้งหมด 626 ต� น 46 ชนิด 17 วงศ� เป�นพรรณไม�ในวงศ�ปาล�ม 9 ชนิด โดยพรรณไม�ที่พบมาก 11 ที่สุดในพื้นที่ คือ อโศกเซนคาเบรียล (Polyalthia longifolia (Benth.) Hook. f.) มีจํานวน 332 ต�น ซึ่งคิดเป�นร�อยละ 53 ของจํานวน 12 ต�นไม�ทั้งหมด โดยมีการปลูกเป�นแนวยาวตั้งแต�บริเวณริมรั้วฝ��งถนนราชวิถี ถึงฝ��งถนนรางน้ํา ระยะทางประมาณ 400 เมตร รองลงมาคือ 13 ตะแบก (Lagerstroemia floribunda Jack) (ร�อยละ 6) ปาล�มขนนก (Dypsis madagascariensis (Becc.) Beentje & J. Dransf.) 14 ( ร� อ ย ล ะ 5) และนนทรี (Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer ex K. Heyne) (ร�อยละ 4) ตามลําดับ ซึ่งพรรณไม�ทั้ง 4 ชนิดนี้ 15 มีสัดส�วนจํานวนต�นคิดเป�นร�อยละ 68 ของจํานวนต�นไม�ทั้งหมด ส�วนพรรณไม�ชนิดอื่นๆ ปลูกกระจายอยู�ทั่วไปภายในสวน คิดเป�นร�อยละ 32 16 โดยมีสัดส�วนของชนิดพรรณไม� ดังแสดงใน Figure 1 ซึ่งเมื่อพิจารณาจากข�อมูลต�นไม�ทั้งหมดภายในสวนสันติภาพ พบว�า มีจํานวนลดลงจาก 17 ป� พ.ศ. 2554 ซึ่งมีต�นไม�ทั้งหมด 720 ต� น 58 ชนิด 17 ว ง ศ� ( Sanpop, 2011) เนื่องมาจากหลายสาเหตุ เช�น ต�นอโศกเซนคาเบรียลบริเวณ 18 ริมรั้วฝ��งถนนราชวิถี ถึง ถนนรางน้ํา มีการตาย การเป�ดพื้นที่โล�งบริเวณสนามหญ�า และการปรับภูมิทัศน�บริเวณห�องสุขาหลังเก�า โดย 19 ต�นไม�ที่มีจํานวนลดลง เช�น อโศกเซนคาเบรียล วารสารวนศาสตร์ไทยตีนเป�ดทะเล (Cerbera odollam 39 (1) Gaertn.: 86-96) หมากเขียว(2563) (Prychosperma macarthurii91 (H. 20 J. Veitch) H. Wendl. Ex Hook. F.) นอกจากนี้ยังมีการนําต�นไม�เข�ามาปลูกเพิ่มภายในสวนสันติภาพ เช�น รวงผึ้ง สัก (Tectona grandis L. 21 f.) เป�นต�น (Prychosperma macarthurii (H. J. Veitch) H. ปลูกเพิ่มภายในสวนสันติภาพ เช่น รวงผึ้ง สัก (Tectona 22 Wendl. Ex Hook. F.) นอกจากนี้ยังมีการนำ�ต้นไม้เข้ามา grandis L. f.) เป็นต้น

Polyalthia longifolia (53%)

Lagerstroemia floribunda (6%) 32%

53% Dypsis madagascariensis (5%) 4% 5% 6% Peltophorum pterocarpum (4%)

Other (32%)

23 Figure 1 Composition of the four major tree species planted in Santiphap Park, Bangkok. 24 Figure 1 Composition of the four major tree species planted in Santiphap Park, Bangkok. การเติบโตของพรรณไม้ในสวนสันติภาพ แนวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน เนื่องมาจากธรรมชาติของ ต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก จามจุรีเป็นพรรณไม้ที่โตเร็ว (Public Parks Office, (DBH) ใหญ่ที่สุด คือ จามจุรี (Albizia saman (Jacq.) 2004) และมีขนาดใหญ่ ซึ่งมีผลการศึกษาไปในทางเดียว Merr.) มีขนาดเท่ากับ 115.30 เซนติเมตร และเป็น กับการศึกษาของ Sanpop (2011) พรรณไม้ที่มี DBH เฉลี่ยมากที่สุดคือ เท่ากับ 84.75 ± เมื่อวิเคราะห์ความเพิ่มพูนรายปีของการเติบโต 43.20 เซนติเมตร รองลงมาคือ มะกัก (Spondias ของพรรณไม้ในสวนสันติภาพ มะขามป้อม มีความเพิ่มพูน bipinnata Airy Shaw & Forman) หูกวาง (Terminalia รายปีของ DBH มากที่สุด มีค่าเท่ากับ 3.72 เซนติเมตร catappa L.) ไทรย้อย (Ficus benjamina L.) และ ต่อปี รองลงมาคือ สัก โพศรีมหาโพ มะฮอกกานีใบใหญ่ มะขามป้อม (Phyllanthus emblica L.) ตามลำ�ดับ (Swietenia macrophylla King) และสัตบรรณ (Alstonia การเติบโตของความสูง (H) เฉลี่ยมากที่สุด คือ จามจุรี scholaris (L.) R. Br.) ตามลำ�ดับ (Table 2) เมื่อพิจารณา มีค่าเท่ากับ 17.75±1.06 เมตร รองลงมาคือ นนทรี จากข้อมูลแล้ว สัก มีความเพิ่มพูนรายปีของการเติบโต ปาล์มขวด (Roystonea oleracea (Jacq.) O. F. Cook) ของ DBH และ H ที่ค่อนข้างสูง (3.5 เซนติเมตร/ปี และ หูกวาง และโพศรีมหาโพ (Ficus religiosa L.) ตามลำ�ดับ 0.9 เมตร/ปี) เนื่องจากมีการปลูกเพิ่มใหม่ภายในสวน (Table 2) เมื่อพิจารณาจากค่า DBH เฉลี่ย จะเห็นได้ว่า สันติภาพ ซึ่งสักเป็นพรรณไม้ที่มีการเติบโตในช่วงแรก จามจุรี ที่มีจำ�นวน 2 ต้น มีความแตกต่างของขนาด DBH ค่อนข้างเร็ว ใกล้เคียงกับกลุ่มไม้โตเร็ว (Faculty of ค่อนข้างมาก โดยในภาพรวมแล้ว ค่า DBH และ H มี Forestry, 2011) 92 Thai J. For. 39 (1) : 86-96 (2020)

Table 2 Species with the highest growth and current annual increment in Santiphap Park, Bangkok. Number Growth CAI Species of DBH H DBH H trees (cm) (m) (cm/year) (m/year) Albizia saman (Jacq.) Merr. 2 84.75±43.20 17.75±1.06 0.20±0.26 0.45±0.21 Spondias bipinnata Airy Shaw 1 55.70 11.00 1.65 0.20 & Forman Terminalia catappa L. 4 53.25±5.02 14.75±1.71 1.02±0.26 0.30±0.12 Ficus benjamina L. 1 46.60 7.50 0.42 0.20 Phyllanthus emblica L. 1 45.70 14.00 3.72 0.20 Peltophorum pterocarpum (DC.) 28 44.79±8.90 17.66±2.81 1.24±0.87 0.06±0.30 Backer ex K. Heyne Ficus religiosa L. 2 42.50±2.88 14.33±0.58 2.97±0.01 0.37±0.16 Mangifera indica L. 2 38.84±2.25 8.00±0.00 0.22±0.41 0.10±0.14 Alstonia scholaris (L.) R. Br. 3 38.65±4.03 9.50±0.71 1.74±0.90 0.40±0.28 Tabebuia rosea (Bertol.) DC. 3 38.10±8.31 12.33±3.06 0.47±0.33 0.33±0.12 Mimusops elengi L. 2 27.80±5.09 7.50±0.71 1.07±0.43 0.20±0.00 Swietenia macrophylla King 2 25.30±1.27 8.00±0.00 1.97±0.21 0.15±0.07 Cerbera odollam Gaertn. 13 20.91±9.14 7.31±3.54 1.68±1.50 0.32±0.53 Tectona grandis L. f. 2 10.05±5.59 7.50±0.71 3.53±0.44 0.90±0.99 มวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอน ยอดใหญ่กว่าอโศกเซนคาเบรียล ซึ่งมีลักษณะลำ�ต้นเพรียว การศึกษาปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บ สูง แสดงว่าขนาดของต้นไม้มีผลต่อปริมาณมวลชีวภาพ คาร์บอนของพรรณไม้ในสวนสันติภาพ พบว่า นนทรี มี และการกักเก็บคาร์บอน (Table 3) ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนสูงสุด มีค่า เมื่อพิจารณาเป็นรายต้น พบว่า ปริมาณมวล เท่ากับ 47,163.97 และ 22,167.07 กิโลกรัม รองลงมา ชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนมากที่สุด ในต้นจามจุรี คือ ปีบ (Millingtonia hortensis L.f) จามจุรี แคขาว มีค่าเท่ากับ 9,018.06 และ 4,238.49 กิโลกรัมต่อต้น (Dolichandrone serrulata (Wall. Ex DC.) Seem.) รองลงมาคือ ชมพูพันธุ์ทิพย์ (Tabebuia rosea (Bertol.) และหว้า (Syzygium cumini (L.) Skeels) ตามลำ�ดับ DC). สัตบรรณ นนทรี และแคขาว ตามลำ�ดับ เนื่องมาจาก เมื่อพิจารณาจากข้อมูลปริมาณมวลชีวภาพและการ จามจุรี มีค่า DBH และ H มากที่สุด (Table 3) กักเก็บคาร์บอน จะเห็นได้ว่า นนทรี มีปริมาณมวลชีวภาพ เมื่อพิจารณาปริมาณมวลชีวภาพและการกัก และการกักเก็บคาร์บอนมากที่สุด ทั้งที่มีจำ�นวนต้นเพียง เก็บคาร์บอนรวม และแยกเป็นรายต้น พบว่า มีความ 28 ต้น ในขณะที่อโศกเซนคาเบรียล ที่มีจำ�นวนถึง 332 แตกต่างกัน เช่น ปีบ มีปริมาณมวลชีวภาพและการกัก ต้น แต่กลับมีปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอน เก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพรวม อยู่ในลำ�ดับที่สอง แต่ เป็นลำ�ดับที่หก เนื่องจากนนทรี มีขนาดลำ�ต้นและเรือน เมื่อพิจารณาเป็นรายต้น พบว่าอยู่ในลำ�ดับที่สิบสอง ทั้งที่ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 86-96 (2563) 93 2 CO 1.50 75.66 78.28 16.51 93.38 72.42 22.71 62.08 86.65 153.17 109.46 132.26 252.79 108.90 239.80 117.00 100.60 sequestration (kg/tree/year) angkok. CAI 0.41 4.50 6.19 41.74 20.62 29.83 36.04 21.33 25.44 19.73 16.91 68.88 29.67 65.34 31.88 27.41 23.61 (kg/tree/year) 11.53 704.97 416.29 648.10 463.78 304.19 214.32 451.91 129.53 729.73 721.62 590.73 505.15 491.58 323.06 457.92 Average 4,238.49 (kg/tree) Carbon storage (kg) Total 505.15 491.58 646.12 9,696.65 5,201.01 4,684.69 3,828.30 3,650.24 3,572.34 3,281.00 3,238.33 2,189.19 2,931.39 2,362.92 1,373.77 22,167.07 12,108.78 CAI 0.87 9.57 88.80 43.86 63.46 76.68 45.38 54.14 41.98 13.16 35.99 63.13 67.83 58.32 50.24 146.55 139.02 (kg/tree/year) Biomass 24.53 885.72 986.76 647.21 456.00 961.51 275.60 687.37 974.30 Average 1,499.93 9,018.06 1,378.93 1,552.62 1,535.35 1,256.87 1,074.79 1,045.92 (kg/tree) (kg) Total 9,967.42 8,145.32 7,766.46 7,600.72 6,980.84 6,890.07 4,657.85 6,237.00 5,027.49 1,074.79 1,045.92 1,374.73 2,922.91 47,163.97 25,763.36 20,631.16 11,065.98 2 6 6 2 3 3 4 1 1 2 3 28 28 13 13 25 332 of trees Number (DC.) Backer (Wall. Ex DC.) . P. Beauv. (L.) Pers. L.f (Benth.) Hook. f. L. L. Willd. Airy Shaw & Forman Gaertn. (L.) R. Br. L. (L.) Skeels Species (Bertol.) DC (Jacq.) Merr L. Species with the highest biomass, carbon storage, and dioxide sequestration of trees in Santiphap Park, B Peltophorum pterocarpum ex K. Heyne Millingtonia hortensis Albizia saman Dolichandrone serrulata Seem. Syzygium cumini Polyalthia longifolia Pterocarpus indicus Cerbera odollam Ficus religiosa Lagerstroemia speciosa rosea Tabebuia Alstonia scholaris catappa Terminalia Phyllanthus emblica Spondias bipinnata Mimusops elengi Spathodea campanulata Table 3 94 Thai J. For. 39 (1) : 86-96 (2020)

มีจำ�นวน 28 ต้นเท่ากับนนทรี เนื่องมาจากปีบมีขนาด ที่มีค่าเท่ากับ 12 กิโลกรัม/ต้น/ปี ทั้งนี้เนื่องมาจากสวน ลำ�ต้นที่เล็กกว่านนทรีค่อนข้างมาก เช่นเดียวกับอโศก สันติภาพมีการดูแลต้นไม้ที่ดี และมีระยะปลูกที่ห่าง ซึ่ง เซนคาเบรียล ที่เมื่อพิจารณาเป็นรายต้น พบว่า มีปริมาณ เมื่อพิจารณาศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอน 24.53 และ 11.53 จะเห็นว่า เป็นไปในทิศทางเดียวกับความเพิ่มพูนรายปี กิโลกรัม/ต้น ตามลำ�ดับ ของการเติบโต และความเพิ่มพูนรายปีของการกักเก็บ จากผลการศึกษาดังกล่าวสรุปได้ว่า ปัจจัยที่ คาร์บอนในมวลชีวภาพ เนื่องมาจากไม้โตเร็วจะมีค่าการ มีผลต่อปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอน ใน ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าไม้โตช้า (Masahiko มวลชีวภาพ คือ DBH และ H ทั้งนี้ มวลชีวภาพของต้นไม้ et al., 2016) แต่ละชนิด มีการแปรผันขึ้นอยู่กับปัจจัยทางพันธุกรรม แนวทางการจัดการสวนสันติภาพเพื่อเพิ่ม และปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเติบโต และอายุ ศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ของต้นไม้ชนิดนั้นๆ ด้วย (Nualngam, 2002) สวนสันติภาพ มีพื้นที่ทั้งหมด 20 ไร่ 80 ตาราง อัตราความเพิ่มพูนรายปีของการกักเก็บคาร์บอน วา ซึ่งสามารถแบ่งพื้นที่ได้เป็น 2 ส่วน คือ พื้นที่บริการ ในมวลชีวภาพ และสิ่งอำ�นวยความสะดวกต่างๆ มีพื้นที่ 6.70 ไร่ (ร้อยละ การศึกษาความเพิ่มพูนรายปีของการกักเก็บ 33.2) และพื้นที่ของส่วนปลูกต้นไม้ มีพื้นที่ 13.50 ไร่ คาร์บอน พบว่า สัตบรรณ มีความเพิ่มพูนรายปีของการ (ร้อยละ 66.8) ประกอบไปด้วยต้นไม้ชนิดต่างๆ จำ�นวน กักเก็บคาร์บอนมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 68.88 กิโลกรัม/ 626 ต้น โดยเมื่อพิจารณาตามหลักเกณฑ์แนวทางการ ต้น/ปี รองลงมาคือ มะขามป้อม นนทรี แคขาว และ กำ�หนดระยะปลูกไม้ยืนต้นของกรุงเทพมหานคร ใช้ระยะ มะกัก ตามลำ�ดับ (Table 3) เนื่องมาจาก สัตบรรณ เป็น ปลูกตั้งแต่ 4-8 เมตร ขึ้นอยู่กับชนิดของต้นไม้ (Public พรรณไม้ที่ชอบความชุ่มชื้นสูง ซึ่งถ้าได้รับปริมาณเพียง Parks Office, 2010) ซึ่งเมื่อเฉลี่ยแล้วสามารถปลูกต้นไม้ พอจะทำ�ให้การเติบโตรวดเร็วยิ่งขึ้น (Chamnankit, ได้ 62.5 ต้น/ไร่ สำ�หรับสวนสันติภาพมีการปลูกต้นไม้ 1985) อีกทั้งเป็นพรรณไม้ที่มีความเพิ่มพูนรายปีของ ทั้งหมด 626 ต้น คิดเป็นสัดส่วน 46.3 ต้น/ไร่ มีศักยภาพ DBH และ H ค่อนข้างสูง (1.74±0.90 เซนติเมตร/ปี และ ในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์รวม 19,373.13 0.40±0.28 เมตร/ปี) (Table 2) ทำ�ให้มีความเพิ่มพูน กิโลกรัม เมื่อพิจารณาจากระยะปลูกที่เหมาะสมแล้ว รายปีของมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในมวล สามารถปลูกต้นไม้เพิ่มได้อีก 16.2 ต้น/ไร่ หรือทั้งหมด ชีวภาพสูงด้วย 218 ต้น ซึ่งหากมีการปลูกชนิดพรรณไม้ที่เหมาะสมจะ ศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทำ�ให้มีศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ จากการศึกษาศักยภาพในการดูดซับก๊าซ สูงสุดประมาณ 55,100 กิโลกรัม/ปี คาร์บอนไดออกไซด์ของพรรณไม้ในสวนสันติภาพ สำ�หรับชนิดพรรณไม้ที่ควรนำ�มาปลูก เพื่อเพิ่ม พบว่า ชนิดพรรณไม้ที่มีศักยภาพในการดูดซับก๊าซ ศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ควร คาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุด คือ สัตบรรณ มีค่าเท่ากับ เป็นพรรณไม้โตเร็ว และมีศักยภาพในการดูดซับก๊าซ 252.79 กิโลกรัม/ต้น/ปี รองลงมาคือ มะขามป้อม นนทรี คาร์บอนไดออกไซด์สูง เช่น สัตบรรณ มะขามป้อม นนทรี จามจุรี แคขาว และมะกัก ตามลำ�ดับ (Table 3) โดย แคขาว มะกัก จามจุรี หูกวาง พิกุล (Mimusops elengi เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ L.) ตีนเป็ดทะเล แคแสด (Spathodea campanulata ของพรรณไม้ พบว่า มีค่าเท่ากับ 47.31 กิโลกรัม/ต้น/ปี P. Beauv.) หว้า ปีบ โพศรีมหาโพ ชมพูพันธุ์ทิพย์ ซึ่งค่อนข้างแตกต่างกับการศึกษาของ Masahiko et al. มะฮอกกานีใบใหญ่ และหูกระจง (Terminalia ivorensis (2016) ที่ได้ทำ�การศึกษาต้นไม้ริมถนนของกรุงเทพมหานคร A. Chev.) ซึ่งพรรณไม้ดังกล่าว มีค่าการดูดซับก๊าซ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 86-96 (2563) 95

คาร์บอนไดออกไซด์อยู่ในระดับดีมาก (มากกว่า 39.9 สำ�หรับความเพิ่มพูนของการกักเก็บคาร์บอน พบว่า กิโลกรัม/ต้น/ปี) ตามหลักเกณฑ์ของ Office of Natural สัตบรรณ มีความเพิ่มพูนของการกักเก็บคาร์บอนมาก Resources and Environmental Policy and Planning ที่สุด เท่ากับ 68.88 กิโลกรัม/ต้น/ปี และมีศักยภาพใน (2014) นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ Public Parks Office การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุด เท่ากับ (2007) ที่ได้เสนอแนะกลุ่มของพรรณไม้ยืนต้นที่เหมาะสม 252.79 กิโลกรัม/ต้น/ปี ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับ สำ�หรับปลูกให้ร่มเงาในสวนสาธารณะ คือ นนทรี จามจุรี ความเพิ่มพูนของการเติบโต และความเพิ่มพูนของการ ปีบ อโศกเซนคาเบรียล สัตบรรณ และหูกวาง เป็นต้น กักเก็บคาร์บอน ซึ่งหากต้องการเพิ่มศักยภาพในการ เมื่อพิจารณาจากความหนาแน่นของพื้นที่ ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของสวนสันติภาพ ปลูกต้นไม้ในแต่ละโซนของสวนสันติภาพ จะพบว่า พื้นที่ พรรณไม้ที่ควรนำ�มาปลูกเพิ่มควรเป็นพรรณไม้โตเร็ว มี ปลูกต้นไม้บริเวณส่วนกลางของสวนสันติภาพ มีความ ศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูง และ หนาแน่นของต้นไม้ค่อนข้างน้อย พรรณไม้ส่วนใหญ่เป็น มีความเหมาะสมในการปลูกในสวนสาธารณะ เช่น พรรณไม้ยืนต้น เช่น นนทรี อินทนิลนํ้า อีกทั้งพื้นที่ปลูก สัตบรรณ มะขามป้อม นนทรี และหูกวาง ต้นไม้บริเวณนี้ มีการเข้ามาใช้บริการในการพักผ่อน หย่อนใจของประชาชนค่อนข้างมากกว่าบริเวณอื่น ดังนั้น REFERENCES จึงเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมสำ�หรับการปลูกต้นไม้เพิ่มเติม Chamnankit, S. 1985. Alstonia scholaris, pp. โดยปลูกพรรณไม้โตเร็วและไม้ยืนต้น ดังที่ได้กล่าว 85-104. In Forest Conference 1985. ไปข้างต้น เพื่อให้สวนสันติภาพมีค่าการดูดซับก๊าซ Royal Forest Department, Bangkok. (in คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น และยังให้ร่มเงาเพื่อประโยชน์ Thai) ในการพักผ่อนหย่อนใจของประชาชนที่เข้ามาใช้บริการ Dung, N.T., P.M. Toai, V.T. Hung, L.T. Anh and ภายในสวนสันติภาพอีกด้วย P.V. Khoa. 2012. Tree allometric equations in evergreen broadleaf and สรุป bamboo forests in the North Central สวนสันติภาพ มีพรรณไม้ทั้งหมด 626 ต้น 46 region, Viet Nam. In A. Inoguchi, M. ชนิด 17 วงศ์ โดยพรรณไม้ที่พบมากที่สุดในพื้นที่ คือ Henry, L. Birigazzi and G. Sola, eds. Tree อโศกเซนคาเบรียล มีจำ�นวน 332 ต้น ซึ่งคิดเป็นร้อยละ Allometric Equation Development 53 ของจำ�นวนต้นไม้ทั้งหมด สำ�หรับการเติบโตของ for Estimation of Forest Above-ground . UN-REDD พรรณไม้ พบว่า จามจุรี มีการเติบโตของ DBH และ H Biomass in Viet Nam Programme, Hanoi, Viet Nam. มากที่สุด เท่ากับ 84.75±43.20 เซนติเมตร และ Faculty of Forestry. 2010. Study of the 17.75±1.06 เมตร สำ�หรับปริมาณมวลชีวภาพและการ Characteristics of Plants Greenhouse กักเก็บคาร์บอน พบว่า นนทรี มีค่ามากที่สุด เท่ากับ Gas Adsorption and Suitable Area 47,163.97 และ 22,167.07 กิโลกรัม ตามลำ�ดับ หาก Size for CDM. Final Report. Thailand พิจารณาปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอน Greenhouse Gas Management Organization เฉลี่ยต่อต้น พบว่า จามจุรี มีค่ามากที่สุด เท่ากับ 9,018.06 (Public Organization), Bangkok. (in Thai) และ 4,238.49 กิโลกรัม/ต้น ตามลำ�ดับ สำ�หรับความ . 2011. Guide to the Potential of เพิ่มพูนของการเติบโต พบว่า มะขามป้อม มีความเพิ่มพูน Plants for CDM. Siam letter printing, รายปีของ DBH มากที่สุด เท่ากับ 3.72 เซนติเมตร/ปี Bangkok. (in Thai) 96 Thai J. For. 39 (1) : 86-96 (2020)

Hung, N.D., N.V. Bay, N.D. Binh and N.C. Tung. main types of forest vegetation in 2012. Tree allometric equations in Thailand. II. Plant biomass. Nature evergreen broadleaf, deciduous, and and Life in Southeast Asia 4: 49-80. bamboo forest in the South East region, Pearson, T., S. Walker and S. Brown. 2005. Viet Nam. In A. Inoguchi, M. Henry, L. Source Book for LULUCF Projects. Birigazzi and G. Sola, eds. Tree Allometric Winrock International, Arlington, Virginia. Equation Development for Estimation Public Parks Office. 2004. Plant Operation of Forest Above-ground Biomass in and Maintenance Manual. Public Viet Nam. UN-REDD Programme, Hanoi, Parks Office Department of Social Viet Nam. Welfare, Bangkok Metropolitan IPCC. 2003. Good Practice Guidance for Land Administration, Bangkok. (in Thai) Use, Land – Use Change and Forestry. . 2007. Garden and Trees. Public IPCC Nation Greenhouse Gas Inventories Parks Office Environment Department, Programme. IGES, Hayama, Japan. Bangkok Metropolitan Administration, . 2006. IPCC Guidelines for National Bangkok. (in Thai) Greenhouse Gas Inventories. International Panel on Climate Change. IGES, Hayama, . 2010. Design of urban green spaces Japan. and parks. In Training Documents to Masahiko, F., L. Puangchit, F. Sugaware, D. Promote Knowledge for Personnel Sripraram, W. Jiamjeerakul and H. Kato. Agriculture and Parks for Office Official 2016. Carbon sequestration estimation Parks and district offices at Lumpini of urban trees in parks and streets of Park, Bangkok. 28-29 January 2010. Bangkok Metropolitan, Thailand. Thai Public Parks Office Lumpini Park, Bangkok. Journal of Forestry 35(3): 30-41. (in Thai) Nualngam, S. 2002. Role of Reforestation on Sanpop, C. 2011. Cabon Storage in Biomass Cabon Sink at Reafforestation Research of Trees Planted in Santiphap Park, and Training Station, Changwat Nakhon Bangkok. M.S. Thesis, Kasetsart University. Ratchasima. M.S. Thesis, Kasetsart (in Thai) University. (in Thai) Tsutsumi, T., K. Yoda, P. Sahunalu, P. Dhanmanonda Office of Natural Resources and Environmental and B. Prachaiyo. 1983. Forest: burning Policy and Planning. 2010. Thailand and regeneration. In K. Kyuma and C. Greenhouse Gas Accounting. Bangkok. Pairintra, eds. Shifting Cultivation, An (in Thai) Experiment at Nam Phrom, Northeast . 2014. Green Area Standards in The Thailand, and Its Implications for City and Types of Plants Suitable for Upland Farming in the Monsoon Green Areas. Bangkok. (in Thai) Tropics. A report of a cooperative Ogawa, H., K. Yoda, K. Ogino and T. Kira. 1965. research between Thai-Japanese Comparative ecological studies on three Universities. Thai J. For. 39 (1) : 97-109 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 97-109 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

การตรวจสอบ และการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ Detection and Prediction of Land-Use Changes at Doi Suthep-Pui National Park, Chiang Mai Province สุธีระ เหิมฮึก1* Sutheera Hermhuk1* ดอกรัก มารอด2 Dokrak Marod2

1คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ 50290 Faculty of Agricultural Production, Maejo University, Chiang Mai 50290, Thailand 2คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand * Corresponding Author; E-mail: [email protected]

รับต้นฉบับ 25 กรกฎาคม 2562 รับแก้ไข 24 ตุลาคม 2562 รับลงพิมพ์ 28 ตุลาคม 2562

ABSTRACT The study about land-use changes, especially in conserved forests, is necessary to determine the processes of management and protection of the area. This study aimed to detect land-use changes between 2000, 2008, and 2016 and predict the situation in the year 2024 in the Doi Suthep- Pui National Park, Chiang Mai province. Landsat–5TM (2000) and Landsat–8TM (2008 and 2016) satellite images were analyzed to predict the land–use changes around 2024 combined with an analysis between geographic information system (GIS) and CA–Markov model using the geospatial monitoring and modeling program. Temporary plots of 30 m x 30 m size (similar to satellite image resolution), were established in each land-use type to check the ground accuracy. The results showed that the forest area in Doi Suthep-Pui National Park decreased during the study period (16 years). Through the first period (2000-2008), 2.19 km2 and second period (2008- 2016), 5.05 km2 of forest changed to either agriculture or urban lands, especially mixed deciduous forest and lower montane forest. There was a similar trend in the 2024 prediction, showing an effect on the distribution of forest patches. A habitat loss would be expected to result in a biodiversity, thus, a management plan in the future should be developed to practice sustainable land-use changes. Keywords: Human disturbance, Land-use/land cover changes, Protected area 98 Thai J. For. 39 (1) : 97-109 (2020)

บทคัดย่อ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่อนุรักษ์ เป็นสิ่งจำ�เป็นต่อการกำ�หนดรูปแบบการ จัดการและการป้องกันพื้นที่ เพื่อการลดการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าไม้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการ เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. 2543, 2551 และ 2559 และคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงไปในปี 2567 โดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 5-TM (2543) และ 8-TM (2551, 2559) ในการศึกษา โดยวิเคราะห์ร่วมระหว่างโปรแกรมสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (ArcGIS ver. 10.1) และโปรแกรม Geospatial Monitoring and Modeling (ver. 9.2) ด้วยวิธีการแบบจำ�ลองของมาร์คอฟ ผนวกกับการ เข้าวางแปลงขนาด 30x30 เมตร (ขนาดเท่ากับความละเอียดของภาพถ่ายดาวเทียม) สำ�รวจพื้นที่จริงในแต่ละรูปแบบ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่ป่าในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย มีการลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาการ ศึกษา ในช่วง 16 ปี กล่าวคือ ช่วงแรก (พ.ศ. 2543-2551) และช่วงที่ 2 (พ.ศ. 2551-2559) พื้นที่ป่าเปลี่ยนเป็นพื้นที่ เกษตรกรรมและชุมชนประมาณ 2.19 ตร.กม. และ 5.70 ตร.กม. ตามลำ�ดับ โดยเฉพาะป่าผสมผลัดใบ และป่าดิบเขา ระดับตํ่า และมีแนวโน้มคล้ายกันในการคาดการณ์ในปี พ.ศ. 2567 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงผลกระทบของการกระจายตัวของ หย่อมป่า จากการสูญเสียพื้นที่ป่าข้างต้นอาจส่งผลต่อการสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจะทำ�ให้ความหลากหลาย ทางชีวภาพลดลง ดังนั้น แผนการจัดการควรได้รับการพัฒนาเพื่อการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืนต่อไป คำ�สำ�คัญ: การรบกวนโดยมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่อนุรักษ์ คำ�นำ� สามารถบังคับใช้กฎหมายในการจัดการพื้นที่ที่มีความ เสี่ยงต่อการบุกรุกต่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดย ชีวภาพเป็นวัตถุประสงค์หลัก อย่างไรก็ตามยังมีข้อที่ เฉพาะในพื้นที่ป่าไม้เปลี่ยนเป็นพื้นที่เกษตรกรรมนับเป็น ปฏิเสธไม่ได้ว่าวัฒนธรรมการตั้งถิ่นฐาน และการทำ�การ ปัญหาหลักของป่าเขตร้อน (Boonkird et al., 1984; เกษตรของกลุ่มชนพื้นเมือง หรือกลุ่มชาติพันธุ์ในภาค Sahana et al., 2016) โดยเฉพาะทางภาคเหนือของ เหนือของประเทศไทยมีรูปแบบการเกษตรเดิมเป็นการ ประเทศไทย (Rerkasem et al., 2002; Hermhuk ทำ�ไร่เลื่อนลอย (shifting cultivation) เป็นหลัก (Boonkird et al., 2019) อาจกล่าวได้ว่า เป็นผลพวงของการพัฒนา เศรษฐกิจในด้านเพิ่มพื้นที่เกษตรกรรมเพื่อผลผลิตทางการ et al., 1984) ประกอบกับการทำ�การเกษตรแบบอื่นๆ เกษตร หรือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ที่เริ่มมีการสนับสนุนในปัจจุบัน เช่น การทำ�สวนผลไม้ (Trisurat, 2010) เช่น การเชื่อมต่อเส้นทางคมนาคม หรือพืชผักเมืองหนาว ทั้งนี้การตั้งถิ่นฐานตามขอบป่า หรือการพัฒนาการท่องเที่ยวในบางพื้นที่ ทั้งนี้หน่วยงาน (forest edge) หรือใจกลางพื้นที่ป่าไม้ ถือว่าเป็นการเริ่ม ที่รับผิดชอบในการดูแลพื้นที่อนุรักษ์ เช่น กรมป่าไม้ และ บุกรุกพื้นที่ป่าไม้จากการทำ�ไร่เลื่อนลอยข้างต้น และบาง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในปัจจุบันมี พื้นที่ยังมีการขยายหรือเคลื่อนย้ายพื้นที่ไปเรื่อยๆ จนเกิด การกำ�หนด และปรับปรุงกฎหมายให้เข้ากับสถานการณ์ หย่อมป่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ การอนุรักษ์โดยเฉพาะการแก้ไขการให้ใช้ประโยชน์ของ (Yimyam et al., 2016; Hermhuk et al., 2019) ร่วม ชุมชนในพื้นที่ป่า ตลอดจนการมีมาตรการป้องกันหรือ กับเหตุผลอื่นของการเข้าถึงพื้นที่อนุรักษ์ เช่น การมีถนน ประกาศพื้นที่อนุรักษ์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อป้องกันหรือ เชื่อมเส้นทางคมนาคม ทำ�ให้พื้นที่ป่าไม้เกิดการแบ่งส่วน วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 97-109 (2563) 99

ชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการสูญเสียความ แห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นที่ หลากหลายทางชีวภาพได้ ที่มีความหลากหลายทางระบบนิเวศป่าไม้ และเป็นพื้นที่ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการประโยชน์ที่ดิน ต้นนํ้าสำ�คัญซึ่งพื้นที่ส่วนหนึ่งอยู่ในเขตสงวนชีวมณฑล ในอดีตถึงปัจจุบัน และคาดการณ์ในอนาคต มีความสำ�คัญ แม่สา-คอกม้า (Marod and Duengkae, 2019) ผนวก ในด้านการวางแผนการอนุรักษ์ การวางแนวทางการ กับอุทยานแห่งชาตินี้มีการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ ป้องกัน และจัดการพื้นที่นั้นๆ ซึ่งเป็นที่นิยมใช้ควบคู่กับ เดิมตั้งแต่ก่อนประกาศจัดตั้งอุทยาน (Yarnvudhi การร่างนโยบายอนุรักษ์ในพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆ ทั้งในระดับ et al., 2016) จึงนำ�ไปสู่วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการ ประเทศและภูมิภาค ในปัจจุบันมีการพัฒนารูปแบบการ เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินระหว่างปี พ.ศ. 2543, วิเคราะห์การคาดการณ์โดยโปรแกรมทางสถิติร่วมกับ 2551 และ 2559 และการคาดการณ์ในปี พ. ศ. 2564 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนการจำ�ลอง เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ ป้องกัน จัดการ และ สถานการณ์ต่างๆ (López et al., 2001; Halmy ฟื้นฟูพื้นที่ดังกล่าวในอนาคต et al., 2015) เข้ามาเพื่อสามารถคาดการณ์สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้หลายรูปแบบ (Halmy อุปกรณ์และวิธีการ et al., 2015) อย่างไรก็ตาม รูปแบบการเปลี่ยนแปลงและ การคาดการณ์การใช้ที่ดินในอนาคตตามห่วงโซ่ของ พื้นที่ศึกษา มาคอฟ (Markov chain) ถือได้ว่าเป็นทฤษฎีที่คาดการณ์ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ตามแนวทางการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในอดีต และ มีที่ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 18°30’30”-19°7’30” เหนือ มีความแม่นยำ�ในพื้นที่ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจาก และลอนจิจูดที่ 98°48’20”-98°57’10” ตะวันออก สถานการณ์อื่นๆ เข้ามาร่วม ผนวกกับปัจจุบันมีการ (Figure 1) มีพื้นที่ทั้งหมด 256.69 ตารางกิโลเมตร โดย เพิ่มเติมการระบุพื้นที่การเปลี่ยนแปลงในระบบสารสนเทศ ร้อยละ 85 เป็นพื้นที่ป่าไม้ และอีกร้อยละ 15 เป็นพื้นที่ ทางภูมิศาสตร์ร่วมด้วยที่เรียกว่า Cellular Automata เกษตรกรรม และชุมชน (Charnsungnern and Markov Chain (CA Markov) (Yang et al., 2015) จึง Tantanasarit, 2017) ซึ่งพื้นที่ป่าไม้พบทั้งหมด 4 ถือได้ว่ามีความแม่นยำ�ในการคาดการณ์ และสามารถ ชนิดป่า ได้แก่ ป่าเบญจพรรณหรือป่าผสมผลัดใบ (mixed ประยุกต์ใช้ในการวางแผนอนุรักษ์ได้อย่างดียิ่ง deciduous forest) ป่าเต็งรัง (deciduous dipterocarp การศึกษาครั้งนี้ได้ทำ�การศึกษาด้วยแผนที่การ forest) ป่าดิบเขาระดับตํ่า (lower montane forest) ใช้ประโยชน์ที่ดินและการสำ�รวจภาคสนามในพื้นที่อุทยาน และป่าสนเขา (pine forest) (Hermhuk et al., 2019) 100 Thai J. For. 39 (1) : 97-109 (2020)

Figure 1 Location of study area; Doi Suthep-Pui National Park, Chiang Mai province, Thailand. การจัดทำ�ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินและการ เงื่อนไขทางเลือก รูปแบบการใช้ที่ดินปี พ.ศ. 2543, 2551 วิเคราะห์ข้อมูล และ 2559 ต้องเป็นค่าจริง (Pathanakiat, 2003) จากนั้น วิเคราะห์และจำ�แนกรูปแบบการใช้ที่ดินของ จึงสร้างตารางไขว้แบบไพโวท (pivot table) ซึ่งติดตั้ง ปี พ.ศ. 2543, 2551 และ 2559 โดยการแปลตีความ อยู่ในโปรแกรมไมโครซอฟท์เอกเซล โดยผลลัพธ์ที่ได้จาก จากข้อมูลปี พ.ศ. 2543 ด้วยข้อมูลภาพจากดาวเทียม การสร้างตารางไขว้ เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการ แลนด์แซท-5 (LANDSAT TM Band 5) ข้อมูลปี พ.ศ. ใช้ที่ดินในรอบ 8 ปี คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2543 (อยู่ใน 2551 และ 2559 จากดาวเทียมแลนด์แซท-8 (LANDSAT แกนที่เป็นแถว) และปี พ.ศ. 2551 (อยู่ในแกนที่เป็น TM Band 8) ซึ่งข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบของข้อมูลเชิง สดมภ์) และ ปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2559 ซึ่งเป็นช่วงที่ 2 พื้นที่ หรือแผนที่ที่สามารถอ้างอิงพิกัดในทางภูมิศาสตร์ ตามลำ�ดับ จากนั้นเลือกการยืดภาพเพื่อเน้นความชัดเจน นำ�ภาพทั้งหมดทำ�การตรึงค่าพิกัด (Georeferancing) โดย (contrast stretch type) แบบ linear with saturation ใช้รูปแบบพิกัดกริดแบบยูทีเอ็ม (Universal Transverse point 2.5% ซึ่งสามารถกำ�หนดรูปแบบพื้นที่ศึกษาให้ Mercator zone 47N) จากนั้นทำ�การ enhancement ทั้งสองแกนมีรูปแบบการใช้ที่ดิน 7 รูปแบบ (Table 1) และ map composition ระหว่าง Bands โดยใช้สีผสม ผนวกกับการเข้าสำ�รวจพื้นที่จริง (ground-check/ คือ Blue, Green, Red ตามลำ�ดับ และวิเคราะห์รูปแบบ ground truth) ในพื้นที่ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นด้วยวิธีซ้อนทับ (overlay รูปแบบการใช้ที่ดินนั้นๆ อนึ่งถ้ามีการปรับแก้การรูปแบบ technique) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในรูปแบบของ การใช้ที่ดินนั้นๆ จะทำ�การปรับแก้แผนที่ในปี พ.ศ. 2559 ยูเนียน (union) ตามหลักปฏิบัติการของบูล (Boolean โดยใช้ค่าร้อยละความถูกต้องเป็นตัวกำ�หนด จากการ operator) ซึ่งเป็นตัวปฏิบัติการเชิงตรรกะที่ใช้ในการก่อ ตรวจสอบภาคสนามจำ�นวนอย่างน้อยรูปแบบการใช้ รูปของนิพจน์แบบบูล (Boolean expression) ตัวปฏิบัติ ประโยชน์ที่ดินละ 10 จุด กล่าวคือ พื้นที่ป่าเบญจพรรณ การแบบบูลที่ใช้เป็นแบบหรือ (OR) ซึ่งเจาะจงรายการ ป่าเต็งรัง และป่าดิบเขาระดับตํ่า รูปแบบละ 20 จุด วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 97-109 (2563) 101

Table 1 Land-use class definitions. Land-use class Code Description Mixed deciduous forest MDF Natural deciduous forest with undergrowth bamboos, elevation range 300-800 m above mean sea level Lower montane forest LMF Natural evergreen forest and recovered or secondary forest with elevation higher than 1,000 m above mean sea level Deciduous dipterocarp forest DDF Natural deciduous forests, comprising Dipterocarpaceae species with a pine subtype elevation range 300-950 m above mean sea level Pine forest PF Natural evergreen forest, comprising Pinus spp. elevation range 900-1,200 m above mean sea level Agricultural land AG Lychee and orange orchards, shifting cultivation, vegetable, and upland rice Urban lands U Settlements and villages of local communities Water resources W Natural and man-made water resources (waterfall, stream, and swamp)

ป่าสนเขา พื้นที่เกษตรกรรม รูปแบบละ 15 จุด และพื้นที่ โดย Si and Sj คือ พื้นที่ของรูปแบบการใช้ ชุมชน 12 จุด รวมเป็น 102 จุดสำ�รวจ และนำ�มาปรับ ประโยชน์ที่ดิน รูปแบบที่ i แก้การวิเคราะห์ โดยจุดสำ�รวจทำ�การวางแปลงขนาด และ j ในช่วงเริ่มต้นศึกษา 30x30 เมตร (เท่าความละเอียดของภาพถ่ายดาวเทียม) และปัจจุบัน ตามลำ�ดับ เพื่อสำ�รวจองค์ประกอบของพรรณไม้ว่าเป็นสังคมพืช ∆Si-j คือ พื้นที่รวมของรูปแบบการใช้ ชนิดนั้นหรือไม่ ผนวกกับค่าความเชื่อมั่นตามรูปแบบ ประโยชน์ที่ดินนั้นๆ เปลี่ยน ของ Koppa index (Han et al., 2015) ที่ได้จากการ คาดการณ์แบบจำ�ลองมาร์คอฟ (Markov model) จาก เป็นรูปแบบการใช้ที่ดินอื่นๆ ช่วงเวลา 8 ปีแรก คือช่วง ปี พ.ศ. 2543 และปี พ.ศ. t คือ ระยะเวลาศึกษา 2551 เป็นแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินจากการคาดการณ์ ในการศึกษาครั้งนี้ประยุกต์แบบจำ�ลองมาร์คอฟ ปี พ.ศ. 2559 เปรียบเทียบกับแผนที่การใช้ประโยชน์ (Markov model) บูรณาการกับแบบจำ�ลองเซลล์ลูลา ที่ดินจริงในปี พ.ศ. 2559 ออโตมาตา (cellular automata model) หรือเรียก พลวัตของการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ สั้นๆ ว่า แบบจำ�ลอง ซีเอ-มาร์คอฟ การประยุกต์แบบ ที่ดินระหว่างระยะเวลาศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 และ จำ�ลองซีเอ-มาร์คอฟ ในการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลง ปี พ.ศ. 2559 ใช้การคำ�นวณตามสูตรการพัฒนาของ การใช้ที่ดิน มีองค์ประกอบที่สำ�คัญ คือ ค่าความน่าจะ Wang and Bao (1999) ดังนี้ เป็นของการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินเชิงปริมาณที่ได้จาก n S = [Ë ij (∆ Si – j/Sj] x (1/t) x 100 แบบจำ�ลองห่วงโซ่ของมาร์คอฟ กฎการเปลี่ยนแปลงของ 102 Thai J. For. 39 (1) : 97-109 (2020)

แบบจำ�ลอง ซึ่งได้จากการรวบรวมและจัดเก็บ แผนที่ เปลี่ยนแปลง) แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลง ความน่าจะเป็นของการใช้ที่ดินเชิงพื้นที่แต่ละประเภท มาก (เนื่องจากเป็นพื้นที่อนุรักษ์) คือ พื้นที่เกษตรกรรม เข้าด้วยกัน ซึ่งได้จากการวิเคราะห์แบบการประเมิน และพื้นที่ชุมชน/เมือง มีค่า 14.70 และ 4.67 ตามลำ�ดับ หลากหลายเงื่อนไข (multi criteria evaluation) และ เมื่อพิจารณาความถูกต้องของการวิเคราะห์ตีความ การใช้แบบจำ�ลองเซลล์ลูลาออโตมาตา โดยใช้ตัวกรอง ภาพถ่ายดาวเทียมร่วมกับการสำ�รวจพื้นที่ พบว่า พื้นที่ ข้อมูล (CA filter) ขนาด 5x5 เมตร ซึ่งแบบจำ�ลองเซลล์ เกษตรกรรม แหล่งนํ้า และพื้นที่ชุมชนหรือเมือง มีความ ลูลาออโตมาตานั้น สามารถแสดงความน่าจะเป็นออก ถูกต้องร้อยละ 100 รองลงมาได้แก่ พื้นที่ป่าดิบเขา เป็นรูปแบบเชิงพื้นที่ได้ (Yang et al., 2015) ในการ ระดับตํ่า และป่าสนเขา มีความถูกต้องร้อยละ 84 และ กรองข้อมูลทีละเซลล์ในพื้นที่ศึกษา โดยการศึกษาครั้งนี้ พื้นที่ป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณมีค่าความถูกต้องน้อย ใช้ข้อมูลการใช้ที่ดินปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2559 เป็น ที่สุด คือ ร้อยละ 72 อาจสืบเนื่องมาจากโครงสร้างและ ฐาน เพื่อต้องการคาดการณ์การใช้ที่ดินอีก 8 ปีข้างหน้า องค์ประกอบของสังคมพืชมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน คือ ปี พ.ศ. 2567 จะอยู่ในรูปแบบข้อมูลเชิงพื้นที่หรือ ประกอบกับมีการกระจายของพื้นที่ป่าซ้อนทับกัน แผนที่ ทำ�ให้สามารถระบุพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ (Trisurat, 2010; Hermhuk et al., 2019) ดังนั้น โดยใช้โปรแกรมทางภูมิสารสนเทศ TerrSet Geospatial จึงอาจเกิดข้อผิดพลาดจากการตีความภาพถ่ายข้างต้น Monitoring and Modeling (version 9.2 software และเมื่อนำ�มาปรับแก้การแปลภาพถ่ายดาวเทียมของ package) ในการวิเคราะห์ และจัดทำ�แผนที่ ปี พ.ศ. 2559 ร่วมกับการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์ความถูกต้องของรูปแบบการใช้ ช่วงแรก กล่าวคือ ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมปี พ.ศ. 2543 ประโยชน์ที่ในปี พ.ศ. 2559 โดยใช้ค่า Kappa index และปี พ.ศ. 2551 เพื่อคาดการณ์ปี พ.ศ. 2559 พบว่า coefficient (Pontius et al., 2001) จากภาพการ มีค่าความถูกต้องตามดัชนีของ Kappa index 0.92 คาดการณ์ช่วงที่ 1 ซ้อนทับกับการวิเคราะห์ภาพถ่ายทาง เมื่อเทียบกับการแปลภาพถ่ายจริงปี พ.ศ. 2559 ถือ อากาศจริงในปี พ.ศ. 2559 ได้ว่ามีค่าความถูกต้องสูงในด้านการยอมรับของการแปล ภาพถ่ายดาวเทียม ผลและวิจารณ์ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน เมื่อพิจารณาพื้นที่ตามรูปแบบการใช้ประโยชน์ พื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุยตามแผนที่ ที่ดินในแต่ละช่วงปีมีรายละเอียด คือ พื้นที่การใช้ประโยชน์ รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน 7 รูปแบบ คือ ป่าเบญจพรรณ ที่ดินในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ปี พ.ศ. 2543 พบ (mixed deciduous forest) ป่าดิบเขาระดับตํ่า (lower พื้นที่ป่าเบญจพรรณ มีพื้นที่มากที่สุด คือ 111.79 ตาราง montane forest) ป่าเต็งรัง (deciduous dipterocarp กิโลเมตร (ตร.กม.) รองลงมาได้แก่ ป่าดิบเขาระดับตํ่า forest) ป่าสนเขา (pine forest) พื้นที่เกษตรกรรม ป่าเต็งรัง พื้นที่เกษตรกรรม เมืองหรือชุมชน ป่าสนเขา (agricultural land) เมืองหรือชุมชน (urban land) และแหล่งนํ้า ตามลำ�ดับ สอดคล้องกับพื้นที่ครอบคลุม และแหล่งนํ้า (water resources) โดยค่าพลวัตของการ ในปี พ.ศ. 2551 การใช้ประโยชน์ที่ดินช่วงที่ 1 ในระหว่าง เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินระหว่างปี พ.ศ. 2543 ปี พ.ศ. 2543-2551 ดังแสดงใน Table 2 และ Figure 2 ถึงปี พ.ศ. 2559 มีค่า 2.85 ซึ่งถือว่ามีการเปลี่ยนแปลง (A, B) พบว่า ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีพื้นที่มาก การใช้ที่ดินจากเดิมไม่มาก (จากค่าพลวัตของการ ขึ้นหรือมีการขยายพื้นที่มากขึ้น ได้แก่ พื้นที่เกษตรกรรม วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 97-109 (2563) 103

เพิ่มขึ้นมากที่สุด 1.61 ตร.กม. รองลงมาคือ ป่าสนเขา การจำ�แนกประเภทการใช้ที่ดินออกได้ทั้งหมด 7 ประเภท และเมืองหรือชุมชน ตามลำ�ดับ (0.81 และ 0.10 ตร.กม.) ข้างต้น ได้แก่ พื้นที่ป่าดิบเขาระดับตํ่า พื้นที่ป่าเต็งรัง ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีพื้นที่ลดลง ได้แก่ ป่า พื้นที่ป่าเบญจพรรณ พื้นที่ป่าสนเขา พื้นที่เกษตรกรรม เบญจพรรณมีพื้นที่ลดลงมากที่สุด 2.62 ตร.กม. รองลงมา พื้นที่ชุมชนหรือเมือง และแหล่งนํ้า จาก Table 2 และ คือ ป่าดิบเขาระดับตํ่า ลดลง 0.80 ตร.กม. ตามลำ�ดับ Figure 2 (C) พบว่า พื้นที่ป่าเบญจพรรณเป็นพื้นที่ส่วน และจากซ้อนทับกันของแผนที่ช่วงแรกสามารถยืนยันได้ ใหญ่ของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย มีพื้นทั้งหมด ว่าพื้นที่ป่าทั้งสองชนิดข้างต้นเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่ 104.52 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 40.72 ของพื้นที่ทั้งหมด เกษตรกรรมมากที่สุด (Table 3) รองลงมาคือ พื้นที่เกษตรกรรม (52.85 ตร.กม. คิดเป็น อัตราการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ร้อยละ 20.59 ของพื้นที่ทั้งหมด) ป่าเต็งรัง (45.05 ตร.กม. ช่วงที่ 2 ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2559 การใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 17.55 ของพื้นที่ทั้งหมด) ป่าดิบเขาระดับ ที่ดิน ในระหว่างปี พ.ศ. 2551-2559 แสดงใน Table 2 และ Figure 2 (B, C) พบว่า พื้นที่ป่าเบญจพรรณมีพื้นที่ ตํ่า (43.84 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 17.08 ของพื้นที่ มากที่สุด แต่เมื่อเทียบกับช่วงปี พ.ศ. 2543 พบว่า มี ทั้งหมด) ป่าสนเขา (8.19 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 3.19 พื้นที่ลดลง โดยประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีพื้นที่ ของพื้นที่ทั้งหมด) ชุมชนหรือเมือง (3.07 ตร.กม. คิดเป็น มากขึ้น ได้แก่ พื้นที่เกษตรกรรม เพิ่มขึ้นมากที่สุด 3.10 ร้อยละ 1.19 ของพื้นที่ทั้งหมด) และแหล่งนํ้า (0.16 ตร.กม. รองลงมาคือ เมืองหรือชุมชน ป่าเต็งรัง ป่าสนเขา ตร.ม. คิดเป็นร้อยละ 0.06 ของพื้นที่ทั้งหมด) ตามลำ�ดับ และแหล่งนํ้า ตามลำ�ดับ (1.18, 0.29 และ 0.09 ตร.กม.) (Table 2) ส่วนประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีพื้นที่ลดลง ได้แก่ อัตราการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ป่าดิบเขาระดับตํ่า มีพื้นที่ลดลงมากที่สุด 4.47 ตร.กม. พ.ศ. 2559-2567 ในระยะเวลา 8 ปี พบว่า ประเภทการ รองลงมาคือ ป่าเบญจพรรณ ลดลง 0.85 ตร.กม. และ ใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ได้แก่ พื้นที่ ป่าสนเขา ลดลง 0.24 ตร.กม. และจากซ้อนทับกันของ เกษตรกรรม เพิ่มขึ้นมากที่สุด 4.43 ตร.กม. รองลงมา แผนที่ช่วงแรกสามารถยืนยันได้ว่าพื้นที่ป่าเกือบทุกชนิด คือ พื้นที่ชุมชน และป่าสนเขา เพิ่มขึ้น 0.90 และ 0.04 ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขาระดับตํ่า และป่าสนเขา ตร.กม. ตามลำ�ดับ ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีพื้นที่ มีเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่เกษตรกรรมประมาณ 5.7 ตร.กม. ลดลงทั้งหมดเป็นพื้นที่ป่าไม้ และแหล่งนํ้าตามธรรมชาติ (Table 4) ได้แก่ ป่าเบญจพรรณมีพื้นที่ลดลงมากที่สุด 3.80 ตร.กม. การคาดการณ์การใช้ประโยชน์ที่ดินในปี พ.ศ. 2567 รองลงมาคือ ป่าดิบเขาระดับตํ่า ป่าเต็งรัง และแหล่งนํ้า การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ (0.70, 0.58 และ 0.06 ตร.กม.) ตามลำ�ดับ ที่ดินในช่วง 8 ปี คือ พ.ศ. 2559 - พ.ศ. 2567 ตามรูปแบบ 104 Thai J. For. 39 (1) : 97-109 (2020) -3.80 -0.70 -0.58 -0.06 +0.04 +4.43 +0.90 Area change period 3 -0.85 -4.47 +0.41 +0.24 +3.89 +1.16 +0.10 Area k, Thailand. change period 2 0 0 -2.20 -0.80 +0.81 +2.18 +0.01 Area change period 1 % 100 3.19 1.19 0.06 40.72 17.08 17.55 20.20 8.19 3.07 0.16 Area 43.84 45.05 51.85 2024 (B.E. 2567) 104.52 256.69 % 100 3.26 0.85 0.10 42.22 17.35 17.74 18.48 8.37 2.19 0.26 Area 44.51 45.51 47.43 2016 (B.E. 2559) 108.32 256.69 % 100 3.35 0.39 0.07 42.53 19.08 17.62 16.96 8.61 1.01 0.17 Area 48.98 45.22 43.53 2008 (B.E. 2551) 109.17 256.69 % 100 3.05 0.39 0.06 43.55 19.39 17.62 15.94 7.82 0.99 0.16 Area 49.78 45.23 41.92 2000 (B.E. 2543) 111.79 256.69 Land-use class: MDF = Mixed deciduous forest, LMF Lower mont ane DDF = Deciduous dipterocarp forest, PF Pine AG = Agricultural land, U Urban and W Water Period 1 = 2000 to 2008, period 2 2008 2016 and 3 2024 Change in land-use area (square kilometers) and percentage (%) from 2000 to 2024 Doi Suthep-Pui National Par class Land-use MDF LMF DDF PF AG U W Total Table 2 Table Remarks: วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 97-109 (2563) 105

Figure 2 Simulation of land-use in Doi Suthep-Pui National Park during different years; (A) 2000, (B) 2008, and (C) 2015.

Table 3 The direction of transfer in LULC area change during 2000-2008 in Doi Suthep-Pui National Park, Thailand. 2000 Area (square kilometers) 2008 LMF DDF MDF PF AG U W Total LMF 47.56 0 0.1 1.2 0.9 0.02 0 49.78 DDF 0.01 45.22 0 0 0 0 0 45.23 MDF 0 0 105.7 0 5.96 0.13 0 111.79 PF 0.83 0 0 6.89 0.1 0 0 7.82 AG 0.39 0 2.58 0.52 36.56 0.86 0.01 40.92 U 0.1 0 0.88 0 0.01 0 0 0.99

Area (square kilometers) W 0 0 0 0 0 0 0.16 0.16 Total 48.98 45.22 109.17 8.61 43.53 1.01 0.17 256.69 106 Thai J. For. 39 (1) : 97-109 (2020)

Table 4 The direction of transfer in LULC area change during 2008-2015 in Doi Suthep-Pui National Park, Thailand. 2008 Area (square kilometers) 2015 LMF DDF MDF PF AG U W Total LMF 42.39 0.02 0 2.14 3.12 1.31 0 48.98 DDF 0.21 45.01 0 0 0 0 0 45.22 MDF 0.01 0.19 104.3 0 4.52 0.07 0 109.2 PF 0.8 0 0 5.11 2.7 0 0 8.61 AG 1.1 0.29 3.19 1.12 37.07 0.76 0 43.53 U 0 0 0.84 0 0.02 0.05 0.09 1.01

Area (square kilometers) W 0 0 0 0 0 0 0.17 0.17 Total 44.51 45.51 108.3 8.37 47.43 2.19 0.26 256.69 Remarks : Land-use class: MDF = Mixed deciduous forest, LMF = Lower montane forest, DDF = Deciduous dipterocarp forest, PF = Pine forest, AG = Agricultural land, U = Urban and W = Water

เห็นได้ว่า รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินจาก อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เรียกว่าระบบไร่เหล่า (fallow period) การวิเคราะห์คำ�นวณภาพถ่ายดาวเทียม ผนวกกับการ (Yarnvudhi et al., 2016; Charnsungnern and ติดตามการเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดินโดยการลงพื้นที่ Tantanasarit, 2017) ที่เป็นการพักพื้นที่เมื่อได้เวลาของ จริง มีความสอดคล้องกันถึงการเพิ่มขึ้นของพื้นที่เกษตรกรรม รอบหมุนเวียนก็จะกลับมาทำ�การเกษตรในพื้นที่เดิมอีก และพื้นที่เมืองหรือชุมชนจากกิจกรรมของมนุษย์ทั้งหมด ครั้งซึ่งอาจจะใช้เวลา 15-20 ปี (Boillat et al., 2015) โดยเฉพาะการสูญเสียพื้นที่ป่าเบญจพรรณมากที่สุดใน ซึ่งจากการลงพื้นที่สำ�รวจ พบว่า ยังมีการลักลอบขยาย ช่วงแรก (พ.ศ. 2543-2551) อาจสืบเนื่องมาจากพื้นที่ พื้นที่เกษตรเป็นหย่อมๆ ทำ�ให้เกิดหย่อมป่า (forest ป่าดังกล่าวมีพื้นที่ปกคลุมมากที่สุด และพื้นที่ส่วนใหญ่ patches) จำ�นวนมาก ซึ่งปัจจุบันพบการเปิดพื้นที่เพื่อ ติดกับพื้นที่ชุมชน ประกอบกับมีการตัดเส้นทางคมนาคม ปลูกผักและผลไม้เมืองหนาว ได้แก่ สตอเบอรี่ มะเขือเทศ ผ่าน ตลอดจนพื้นที่ป่าชนิดนี้มีโครงสร้างเป็นกลุ่มไม้ และกีวี่ นอกเหนือพื้นที่ที่อุทยานฯ ได้กันพื้นที่ไว้เพื่อ เศรษฐกิจ (Marod and Kutinara, 2009; Santisuk, การเกษตรของชุมชนดั้งเดิม ซึ่งการที่เกิดกลุ่มหย่อมของ 2012) อาจเป็นผลให้เกิดการบุกรุกง่ายกว่าพื้นที่ป่าชนิด พื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้นอาจเกิดความสูญเสียทาง อื่น อย่างไรก็ตาม พื้นที่ป่าเต็งรัง และป่าดิบเขาระดับตํ่า ด้านความหลากหลายทางชีวภาพในระยะเวลาข้างหน้า ก็มีพื้นที่ลดลงอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในพื้นที่สูงที่มาก ซึ่งสามารถคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินใน กว่า 1,000 เมตรจากระดับทะเลเฉลี่ยปานกลาง โดย อนาคตได้ เฉพาะอย่างยิ่งในช่วงปี พ.ศ. 2551-2559 พื้นที่ป่าดิบ อย่างไรก็ตาม อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย เขาระดับตํ่าลดลงอย่างมาก อาจเนื่องมาจากการขยาย ได้มีการกำ�หนดพื้นที่ปลูกป่าฟื้นฟูในพื้นที่ที่สามารถฟื้นฟู พื้นที่เกษตรกรรมโดยเฉพาะรูปแบบการเกษตร แบบการ ได้ โดยใช้ไม้สนสามใบ (Pinus kersiya) เป็นหลักในการ ทำ�ไร่เลื่อนลอย (shifting cultivation) ของชาวม้งที่ ฟื้นฟูป่า และปล่อยให้พรรณไม้อื่นๆ เข้ามาทดแทนโดย วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 97-109 (2563) 107

เฉพาะพื้นที่ไร่เลื่อนลอยเดิม หรือพื้นที่รอยต่อของป่าเต็ง อนุรักษ์ต้นนํ้าลำ�ธาร เป็นสิ่งรบกวนที่สำ�คัญที่ส่งผลต่อ รังและป่าดิบเขาระดับตํ่าที่ได้รับผลกระทบของไฟป่าจาก การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศป่าไม้ ซึ่งส่งผลต่อเนื่องกับ ป่าเต็งรัง ซึ่งอยู่ในพื้นที่สูงจากระดับทะเลปานกลาง การสูญเสียถิ่นอาศัยที่มีความสำ�คัญในการรักษาความ มากกว่า 1,000 เมตร จึงเห็นได้ว่าตลอดระยะเวลาการ หลากหลายทางชีวภาพ ผลจากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้ ศึกษาช่วงที่ 1 พื้นที่ป่าสนเขา มีพื้นที่เพิ่มขึ้นจากเดิม เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในอุทยานแห่งชาติ สอดคล้องกับการรายงานของ Elliott and Kuaraksa ดอยสุเทพ-ปุย มีการแปรผันตามกิจกรรมของมนุษย์ (2008) ที่ระบุว่า พื้นที่ไร่เลื่อนลอยที่มีการเลิกใช้จากกลุ่ม ตลอดระยะเวลา 16 ปี พื้นที่ป่าลดลงอย่างต่อเนื่อง โดย เฉพาะป่าเบญจพรรณ และป่าดิบเขาระดับตํ่าที่เปลี่ยน ชาติพันธุ์ท้องถิ่นในพื้นที่ดอยสุเทพ มีการฟื้นฟูด้วยสน ไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรม หรือเพื่อการตั้งถิ่นฐานของ สามใบซึ่งเป็นไม้โตเร็วเป็นหลักในอดีต ชุมชน นอกจากนี้ ยังมีแนวโน้มที่คล้ายกันในการ การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของการใช้ คาดการณ์ในปี พ.ศ. 2567 ดังนั้น การสร้างแบบจำ�ลอง ประโยชน์ที่ดินปี พ.ศ. 2567 พบว่า มีแนวโน้มในรูปแบบ การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน จึงมีประโยชน์ คล้ายคลึงกับที่ผ่านมา คือ มีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ สำ�หรับนักวิชาการป่าไม้ในการสร้างแผนการจัดการเพื่อ เกษตรกรรมมากขึ้น โดยส่วนใหญ่ขยายจากขอบพื้นที่ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และความเป็นอยู่ เกษตรกรรมและชุมชนเดิม ซึ่งอาจเป็นแนวทางในการ ที่ดีของกลุ่มคนที่มีส่วนได้ส่วนเสียในทรัพยากรดังกล่าว จัดการ หรือควบคุม ดูแลรักษาพื้นที่ดังกล่าวอย่างเข้มข้น ให้ดีขึ้นในอนาคต ตลอดจนการเร่งดำ�เนินนโยบายการฟื้นฟูป่าในพื้นที่ เสื่อมโทรมเดิมเพื่อเร่งกระบวนการทดแทนตามธรรมชาติ คำ�นิยม ผนวกกับปัจจุบันมีนโยบายของรัฐที่มีการผ่อนปรนการ ขอขอบคุณหัวหน้าและเจ้าหน้าที่ของอุทยาน ใช้ที่ดินในเขตป่ามากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในป่าอนุรักษ์ แห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย และโครงการการบริการระบบ คือ การปรับปรุงพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติฉบับ นิเวศพื้นที่สงวนชีวมณฑลแม่สา-ห้วยคอกม้า จังหวัด ใหม่ เป็นฉบับพุทธศักราช 2562 เพื่อครอบคลุมมติคณะ เชียงใหม่ ภายใต้การสนับหนุนการวิจัยของสำ�นักงาน กรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) เมื่อวันที่ 30 เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) มิถุนายน พุทธศักราช 2541 และ 17 มิถุนายน พุทธศักราช 2557 ที่กล่าวเกี่ยวกับการอนุโลมให้ใช้ที่ดินแก่บุคคล REFERENCES Boillat, S., C. Stich, J. Bastide, M. Epprecht, S. ที่ทำ�การเกษตรในเขตป่าก่อนประกาศ และตรวจสอบ Thongmanivong and A. Heinimann. หากมีการศึกษารูปแบบการเปลี่ยนแปลงและการคาด 2015. Do relocated villages experience การณ์การใช้ที่ดินผนวกเข้ากับการสำ�รวจพื้นที่จริงนั้น more forest cover change? Resettlements, ข้อมูลรายได้ประชากร และชั้นคุณภาพลุ่มนํ้าตามกฎหมาย shifting cultivation and forests in the อาจเป็นผลดี และย่นระยะเวลาในการตรวจสอบต่อ Lao PDR. Environments 2: 250-279. แนวทางการป้องกันได้ถูกต้องและแม่นยำ�ในอนาคต Boonkird, S.A., E.C.M. Fernandes and P.K.R. Nair. 1984. Forest villages: an agroforestry approach to rehabilitating forest land สรุป degraded by shifting cultivation in กิจกรรมของมนุษย์ เช่น การขยายพื้นที่ Thailand. Agroforestry Systems 2: การเกษตรกรรมในพื้นที่ป่าไม้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ 87-102. 108 Thai J. For. 39 (1) : 97-109 (2020)

Charnsungnern, M. and S. Tantanasarit. 2017. of Long-term Research Field Stations Environmental sustainability of highland to Monitor Environmental Changes agricultural land use patterns for Mae and Ecosystem Responses in Asian Raem and Mae Sa watersheds, Chiang Forests. The University of Tokyo Forests Mai province. Kasetsart Journal of Press, Bunkyo, Tokyo. Social Sciences 38(2): 169-174. and U. Kutintara. 2009. Forest Ecology. Elliott, S. and C. Kuaraksa. 2008. Producing Aksorn Siam Publ., Bangkok. (in Thai) framework tree species for restoring Pathanakiat, S. 2003. Geo-informatics in forest ecosystems in northern Thailand. Ecology and Environment. United- Small-scale Forestry 7: 403-415. production Co., Ltd., Bangkok. (in Thai) Halmy, M.W.A., P.E. Gessler, J.A. Hicke and B.B. Pontius Jr., R.G., J.D. Cornell and C.A.S. Hall. Salem. 2015. Land use/land cover 2001. Modeling the spatial pattern of change detection and prediction in land-use change with GEOMOD2: thenorth-western coastal desert of application and validation for Costa Egypt using Markov-CA. Applied Rica. Agriculture, Ecosystems and 85(1-3): 191-203. Geography 63: 101-112. Environment Rerkasem, K., N. Yimyam, C. Korsamphan, C. Han, H. C. Yang and J. Song. 2015. Scenario Thong-Ngam and B. Rerkasem. 2002. simulation and the prediction of land Agrodiversity lessons in mountain land use and land cover change in Beijing, management. Mountain Research . Sustainability 7(4): 4260-4279. and Development 22(1): 4-9. Hermhuk, S., A. Chaiyes, S. Thinkampheang, N. Sahana, M.J., J.J. Jennifer and S. Vanmathy. Danrad and D. Marod. 2019. Land use 2016. Land use/land cover change and above-ground biomass changes in prediction using CLUE-S model. a mountain ecosystem, northern Thailand. International Journal of Engineering Journal of Forestry Research. https:// Science and Technology 6(3): 176-182. doi.org/10.1007/s11676-019-00924-x. Santisuk, T. 2012. Forest of Thailand. Department López, E., G. Bocco, M. Mendoza and E. Duhau. of National Parks, Wildlife and Plant 2001. Predicting land-cover and land- Conservation, Bangkok. (in Thai) use change in the urban fringe: A case Trisurat, Y. 2010. Land use and forested in Morelia city, Mexico. Landscape landscape changes at Sakaerat and Urban Planning 55(4): 271-285. Environmental Research Station in Marod, D. and P. Duengkae. 2019. Montane Nakhon Ratchasima province, Thailand. forest dynamics based on long-term Ekologia (Bratislava) 29(1): 99-109. ecological research at Kog Ma watershed Wang, X. and Y. Bao. 1999. Study on the area in northern Thailand, pp. 143-156. methods of land use dynamic change In N. Kamata, K. Kuraji, T. Owari and research. Progress in Geography 18(1): B.T. Guan, eds. Developing a Network 81-87. วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 97-109 (2563) 109

Yang, Y., S. Zhang, J. Yang, X. Xing and D. Wang. Doi Pui village in Doi Suthep-Pui National 2015. Using a cellular automata-Markov Park, Chiang Mai province. Thai Journal model to reconstruct spatial land-use of Forestry 35(3): 136-146. patterns in Zhenlai County, Northeast Yimyam, N., S. Lordkaew and B. Rerkasem. 2016. China. Energies 8(5): 3882-3902. Carbon storage in mountain land use Yarnvudhi, A., S. Sungkaew, S. Hermhuk, P. systems in northern Thailand. Mountain Sunthornhao and S. Onprom. 2016. Research and Development 36(2): Plant diversity and utilization on 183-192. ethnobotany of local people at Hmong Thai J. For. 39 (1) : 110-124 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 110-124 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

การติดตามตรวจสอบและการคาดการณ์แนวโน้มการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยใช้ Land Change Modeler ในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ Monitoring and Predicting Land Use Tendency Using Land Change Modeler at Doi Suthep-Pui National Park, Chiang Mai Province ชลิต สินโรจน์ธนากร1,2* Chalit Sinrodtanakorn1,2* วันชัย อรุณประภารัตน์1 Wanchai Arunpraparut1 นันทชัย พงศ์พัฒนานุรักษ์1 Nantachai Pongpattananurak1 1คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand 2กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Department of National Park, Wildlife and Plant Conservation, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, Email: [email protected]

รับต้นฉบับ 9 กรกฎาคม 2562 รับแก้ไข 30 กรกฎาคม 2562 รับลงพิมพ์ 31 กรกฎาคม 2562

ABSTRACT The objectives of this study were the identification of land use change patterns in Doi Suthep-Pui National Park during 2009-2013 and 2013-2017 from Thai Chote satellite imagery. The land use tendency in 2021 was also predicted using Geographic Information System (GIS) and Land Change Modeler (LCM). Land use was classified based on environmental drivers affecting the land use changes which included slope, water bodies, transportation route, communities, and built-up area, distance from road, and distance from water bodies. It was found that land use patterns of Doi Suthep-Pui National Park in 2017 were divided between forest, fruit tree/perennial, integrated farming, communities and built-up area, water bodies, and miscellaneous area as 85.48%, 9.77%, 0.91%, 1.61%, 0.11%, and 2.12%, respectively. The overall accuracy of land use classification in form of a confusion matrix was 91.91%. The total land use change, during 2009-2013, was 8.24 sq.km. The forest area, integrated farming, communities, and built-up area, and water bodies increased by 32.89%, 3.03%, 13.47%, and 0.61%, respectively. Meanwhile, miscellaneous and fruit tree/perennial decreased by 7.29% and 42.71%, respectively. The total change in land use, during 2013-2017, was 17.46 sq.km. The fruit tree/perennial, integrated farming, communities and built-up area, and water bodies increased by 46.45%, 0.74%, 2.69%, and 0.12%, respectively. Meanwhile forest and miscellaneous area decreased by 44.16% and 5.84%, respectively. วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 110-124 (2563) 111

Based on the predicted land use changes in 2021, the total land use change during 2017- 2021 was 9.70 sq.km. The fruit tree/perennial, integrated farming, communities and built-up area, miscellaneous, and water bodies increased by 38.35%, 3.09%, 4.54%, 3.81%, and 0.10%, respectively. Meanwhile, the forest area decreased by 50.11%. By overlaying the political boundaries and village locations on the predicted land use change during 2017-2021, it was found that the most risky change in forest area to agricultural area was located along the buffer zone between Doi Suthep-Pui National Park and surrounding communities. These included Ban Nong Bua Luang and Ban Iag in Tambon San Pa Yang, Ban Mae Ram (Nong Hoi) and Ban Thung Tan in Tambon Mae Ram, Ban Nong Hoi Kao, Ban Nong Hoi (Sam Lang), Ban Pong Yaeng Nai, Ban Pong Yaeng Nok, Ban Muang Kham and Ban Maesa Noi in Tambon Pong Yaeng, Ban Pang Yang, Ban Huai Luek and Ban Kao Due in Tambon Ban Pong. Therefore, smart patrol activities are important and needed to increase the efficiency of deterring to prevent the offense of forestry Keywords: Land change modeler, GIS, Thaichote satellite imagery

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำ�แนกรูปแบบการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตอุทยาน แห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงปี พ.ศ. 2552-2556 และ พ.ศ. 2556-2560 และเพื่อคาดการณ์แนวโน้ม การใช้ประโยชน์ที่ดินในปี พ.ศ. 2564 ด้วยวิธีการแปลตีความจากข้อมูลดาวเทียมไทยโชต และประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ รวมทั้งแบบจำ�ลองการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land Change Modeler หรือ LCM) โดยกำ�หนด ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นตัวแปรขับเคลื่อน (driver variables) ประกอบด้วย ความลาดชัน แหล่งนํ้า เส้นทางคมนาคม ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ระยะห่างจากเส้นทาง คมนาคม ระยะห่างจากแหล่งนํ้า จากการศึกษาพบว่า ในปี พ.ศ. 2560 รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ประกอบ ด้วยพื้นที่ป่าไม้ ไม้ผล/ไม้ยืนต้น เกษตรผสมผสาน ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่เบ็ดเตล็ด และแหล่งนํ้า ร้อยละ 85.48, 9.77, 0.91, 1.61, 2.12 และ 0.11 ตามลำ�ดับ โดยมีค่าความถูกต้องรวมของการจำ�แนกในรูปแบบของ confusion matrix คิดเป็นร้อยละ 91.91 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในช่วงปี พ.ศ. 2552-2556 มีการเปลี่ยนแปลงของ พื้นที่ทั้งหมด 8.24 ตารางกิโลเมตร (ตร.กม.) โดยพื้นที่ป่าไม้ เกษตรผสมผสาน ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง และแหล่งนํ้า มี พื้นที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.89, 3.03, 13.47 และ 0.61 ตามลำ�ดับ ส่วนพื้นที่เบ็ดเตล็ดและไม้ผล/ไม้ยืนต้น ลดลงร้อยละ 7.29 และ 42.71 ตามลำ�ดับ ในขณะที่การใช้ประโยชน์ที่ดินในช่วงปี พ.ศ. 2556-2560 มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ ทั้งหมด 17.46 ตร.กม. โดยพื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น เกษตรผสมผสาน ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง และแหล่งน้าํ เพิ่มขึ้นร้อยละ 46.45, 0.74, 2.69 และ 0.12 ตามลำ�ดับ ส่วนพื้นที่ป่าไม้และพื้นที่เบ็ดเตล็ด ลดลงร้อยละ 44.16 และ 5.84 ตามลำ�ดับ จากการคาดการณ์แนวโน้มการใช้ประโยชน์ที่ดินปี พ.ศ. 2564 พบว่า ในช่วงปี พ.ศ. 2560-2564 มีแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ทั้งหมด 9.70 ตร.กม. โดยพื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น เกษตรผสมผสาน ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่เบ็ดเตล็ด และแหล่งนํ้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.35, 3.09, 4.54, 3.81 และ 0.10 ตามลำ�ดับ ในขณะที่พื้นที่ป่าไม้ลดลง ร้อยละ 50.11 ทั้งนี้ เมื่อนำ�ชั้นข้อมูลขอบเขตการปกครองระดับตำ�บลและชั้นข้อมูลที่ตั้งหมู่บ้าน/ชุมชนมาซ้อนทับ 112 Thai J. For. 39 (1) : 110-124 (2020)

บนชั้นข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน พ.ศ. 2560–2564 พบว่า อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จะต้องเฝ้าระวังพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและอื่นๆ บริเวณรอยต่อระหว่าง หมู่บ้านกับแนวเขตอุทยานแห่งชาติ ได้แก่ บ้านหนองบัวหลวง บ้านเอียก ของตำ�บลสันป่ายาง บ้านแม่แรม (หนองหอย) และบริเวณบ้านทุ่งแท่น ของตำ�บลแม่แรม บ้านหนองหอยเก่า บ้านหนองหอย (สามหลัง) บ้านโป่งแยงใน บ้านโป่งแยงนอก บ้านม่วงคำ� และบ้านแม่สาน้อย ของตำ�บลโป่งแยง บ้านปางยาง บ้านห้วยลึก และบ้านเก๊าเดื่อ ของตำ�บลบ้านปง ดังนั้น กิจกรรมการลาดตระเวนเชิงคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำ�คัญและจำ�เป็นเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการป้องกันรักษาป่า คำ�สำ�คัญ: แบบจำ�ลองการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ข้อมูลดาวเทียมไทยโชต

คำ�นำ� ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินใน เขตอุทยานแห่งชาติ (Yardmak, 2012) สอดคล้องกับ การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าอนุรักษ์อาจมี Grainger (1990) ที่กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงการใช้ การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและต่อเนื่อง กระบวนการ ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินเป็นผลมาจากกิจกรรมต่างๆ ของ เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเกิดขึ้นได้ทั้งเป็นไป มนุษย์มากกว่าการเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มักจะเป็น ตามธรรมชาติและเกิดขึ้นจากการกระทำ�ของมนุษย์ การ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินที่มีสภาพจากป่าไม้ พัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนที่ช่วย ไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ไปเป็นเมือง หรือไปเป็นแหล่งน้าํ เร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น การเพิ่มขึ้นของ ซึ่งมีสาเหตุสำ�คัญมาจากความต้องการในการใช้ที่ดินและ จำ�นวนประชากร การขยายตัวของเมือง การเติบโตทาง สิ่งปกคลุมดินของมนุษย์ การบริหารจัดการพื้นที่อุทยาน ภาคอุตสาหกรรมและความต้องการอาหาร สินค้า แห่งชาติจึงจำ�เป็นต้องมีข้อมูลและเครื่องมือที่สามารถ การเกษตรที่มากขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยให้เกิดการ ติดตาม ตรวจสอบ สถานภาพ ของทรัพยากรป่าไม้ใน เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน พื้นที่ที่มีประสิทธิภาพ สามารถค้นหาคำ�ตอบได้รวดเร็ว (Turner et al., 1995; Lambin et al., 2001) และแม่นยำ� ข้อมูลดาวเทียมที่ได้จากการสำ�รวจระยะไกล อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย เป็นพื้นที่ที่ Campbell (1996) กล่าวถึงการจำ�แนกประเภทวัตถุ กำ�หนดให้เป็นป่าอนุรักษ์ มีแผนที่แนบท้ายพระราช- หรือพื้นที่ลงไปในชั้นข้อมูล ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของสิ่งที่ กฤษฎีกาตามกฎหมาย ทั้งยังมีพื้นที่สงวนชีวมณฑล ปรากฏในข้อมูลภาพนั้น สามารถแบ่งตามระดับความ แม่สา-ห้วยคอกม้า ซึ่งเป็น 1 ใน 4 เขตสงวนชีวภาคของ ถูกต้องได้ 3 ระดับ คือ 1) Detection ระดับการตัดสินใจ ประเทศไทย โดยได้รับการประกาศจากองค์การ UNESCO ว่าปรากฏหรือไม่ปรากฏของวัตถุ 2) Recognition ระดับ ให้เป็นพื้นที่สงวนชีวภาคแห่งหนึ่งของโลก เมื่อปี พ.ศ. การรู้จักวัตถุ รูปร่าง สามารถที่จะกำ�หนดทำ�การแบ่งแยก 2520 (Boonyawat, 1997) การที่เป็นป่าอนุรักษ์และ ตามชั้นของการจำ�แนกได้ และ 3) Identification ระดับ เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ตั้งอยู่ใกล้เขตเมือง การพิสูจน์ถึงวัตถุหรือรูปร่างที่สามารถเจาะจงถึง รายล้อมรอบด้วยชุมชน เส้นทางคมนาคม มีการทำ� รายละเอียดของวัตถุได้ จึงเป็นที่นิยมนำ�มาใช้ในการ เกษตรกรรมบนที่สูง มีการให้บริการท่องเที่ยวโดยชุมชน จำ�แนกสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินใน ท้องถิ่นและผู้ประกอบการจากต่างถิ่น (Wannavichit, พื้นที่ป่าไม้ เนื่องจากดาวเทียมจะโคจรมาบันทึกข้อมูล 2005) มีการบุกรุกยึดถือครอบครองซื้อขายเปลี่ยนมือ บนพื้นดินอย่างสมํ่าเสมอตามรอบระยะเวลาของดาวเทียม ที่ดินในเขตป่าอนุรักษ์โดยมิชอบทั้งจากนายทุน ผู้มีอิทธิพล ดวงนั้นๆ ทำ�ให้มีข้อมูลหลากหลายช่วงเวลาให้ใช้ในการ และประชาชนในพื้นที่ การก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างผิด ติดตามและตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ วัตถุประสงค์ของพื้นที่ การออกเอกสารสิทธิโดยมิชอบ ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 110-124 (2563) 113

การวางแผนการอนุรักษ์และการจัดการพื้นที่ ทั้งนี้ อ้างอิงประเภทของการใช้ประโยชน์ที่ดินจากแผนที่ คุ้มครองจำ�เป็นต้องมีความเข้าใจในเชิงลึกเกี่ยวกับ การใช้ประโยชน์ที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน ภาพดาวเทียม โครงสร้างทางด้านภูมิภาพของพื้นที่ รวมถึงการได้รับการ ของกูเกิลเอิร์ธ และการสำ�รวจรวบรวมข้อมูลภาคสนาม สนับสนุนข้อมูลเชิงพื้นที่อย่างเพียงพอเพื่อใช้เป็นเครื่องมือ การประเมินความถูกต้องของการจำ�แนกสภาพ ในการตัดสินใจให้แก่นักจัดการ (Pongpattananurak, 2014) การศึกษาครั้งนี้จึงได้ประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ทำ�การประเมินความถูกต้องของการจำ�แนก สารสนเทศในการศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลงสภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ในช่วงปี พ.ศ. 2552-2560 และ โดยเปรียบเทียบผลของการจำ�แนกข้อมูลจุดพิกัดภาค คาดการณ์แนวโน้มการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในปี พ.ศ. 2564 พื้นดินที่ได้จากการบันทึกด้วยเครื่องกำ�หนดตำ�แหน่งบน โดยเลือกใช้ Land Change Modeler ในการวิเคราะห์ พื้นโลกด้วยดาวเทียม (Global Positioning System, โดยกำ�หนดปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่คาดว่าส่งผลต่อการ GPS) แล้วคำ�นวณหาค่าความถูกต้องโดยใช้วิธี confusion เปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นตัวแปร matrix สำ�หรับการประเมินความถูกต้องของการจำ�แนก ขับเคลื่อน (driver variable) (Clark Lab, 2013) ได้แก่ ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. ความลาดชัน แหล่งนํ้า เส้นทางคมนาคม ชุมชนและ 2556 ซึ่งเป็นข้อมูลในอดีต การประเมินความถูกต้อง สิ่งปลูกสร้าง ระยะห่างจากเส้นทางคมนาคม ระยะห่าง เป็นการประเมินด้วยสายตาเปรียบเทียบกับแผนที่การ จากแหล่งนํ้า ผลของการศึกษาจะสามารถนำ�มาใช้เป็น ใช้ประโยชน์ที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน และภาพดาวเทียม ข้อมูลสนับสนุนในการบริหารจัดการทรัพยากรในเขต ของกูเกิลเอิร์ธ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ให้บรรลุ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการจัดการได้อย่างมี ประโยชน์ที่ดิน ประสิทธิภาพ ทำ�การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552-2556 และ อุปกรณ์และวิธีการ ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2556-2560 โดยใช้เทคนิคการซ้อน การจัดเตรียมข้อมูล ทับ ด้วยโปรแกรมประมวลผลข้อมูลระบบสารสนเทศ จัดเตรียมข้อมูลดาวเทียมไทยโชตที่บันทึกข้อมูล ภูมิศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2552, 2556 และ 2560 เป็นข้อมูลแบบหลาย การคาดการณ์แนวโน้มการใช้ประโยชน์ที่ดินปี ช่วงคลื่น (multispectral) ความละเอียดจุดภาพ 15 พ.ศ. 2564 เมตร ทำ�การปรับแก้เชิงคลื่นและเรขาคณิต (radiometric 1. การจัดเตรียมข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ and geometric correction) โดยตรึงพิกัดกับแผนที่ ด้วย Land Change Modeler L7018 เป็นพิกัด UTM บนพื้นหลักฐานและทรงกลมรี 1.1 การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงแบ่งออก แบบ WGS 1984 เป็นสองช่วงเวลา คือ ช่วงปี พ.ศ. 2552-2556 และช่วง การประมวลผลข้อมูลดาวเทียมเพื่อจำ�แนก ปี พ.ศ. 2556-2560 โดยวิเคราะห์พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินในแต่ละประเภท ดำ�เนินการจำ�แนกรูปแบบการใช้ประโยชน์ ในแต่ละช่วงปี ที่ดิน ปี พ.ศ. 2552, 2556 และ 2560 โดยการแปล 1.2 การประเมินศักยภาพในการเปลี่ยนแปลง ตีความข้อมูลดาวเทียมด้วยสายตาผสมผสานกับการ ใช้ปัจจัยหรือตัวแปรที่มีผลเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง จำ�แนกข้อมูลแบบกำ�กับดูแล (supervised classification) ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยใช้ multi-layer perceptron 114 Thai J. For. 39 (1) : 110-124 (2020)

1.3 ใช้ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมเป็นตัวแปร ป่าไม้ คิดเป็นพื้นที่ 235.32 ตารางกิโลเมตร (ตร.กม.) ขับเคลื่อน (driver variable) ได้แก่ ความลาดชัน แหล่งน้าํ หรือ ร้อยละ 87.34 ของพื้นที่ศึกษา รองลงมาเป็นพื้นที่ เส้นทางคมนาคม พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ระยะห่าง ไม้ผล/ไม้ยืนต้น พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูก จากเส้นทางคมนาคม และระยะห่างแหล่งนํ้า สร้าง พื้นที่เกษตรผสมผสาน และแหล่งนํ้า คิดเป็นพื้นที่ 2. การคาดการณ์แนวโน้มการใช้ประโยชน์ 18.81, 10.25, 2.75, 2.07 และ 0.24 ตร.กม. หรือ ที่ดินปี พ.ศ. 2564 ร้อยละ 6.98, 3.80, 1.02, 0.77 และ 0.09 ของพื้นที่ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ ศึกษา ตามลำ�ดับ รายละเอียดดัง Table 1 และ Figure 1 ประโยชน์ที่ดินในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2556-2560 ปี พ.ศ. 2556 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าไม้ โดยใช้ Land Change Modeler ร่วมกับปัจจัยแวดล้อม คิดเป็นพื้นที่ 238.02 ตร.กม. หรือ ร้อยละ 88.34 ของ ที่เป็นตัวแปรขับเคลื่อน (driver variable) ได้แก่ ความ พื้นที่ศึกษา รองลงมาเป็นพื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น พื้นที่ ลาดชัน แหล่งน้าํ เส้นทางคมนาคม ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่เกษตร ระยะห่างจากเส้นทางคมนาคม ระยะห่างจากแหล่งนํ้า ผสมผสาน และแหล่งนํ้า คิดเป็นพื้นที่ 18.21, 6.73, 3.86, 2.32 และ 0.29 ตร.กม. หรือ ร้อยละ 6.76, 2.50, แล้วประมวลผลคาดการณ์สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน 1.43, 0.86 และ 0.11 ของพื้นที่ศึกษา ตามลำ�ดับ ในปี พ.ศ. 2564 รายละเอียดดัง Table 1 และ Figure 1 ปี พ.ศ. 2560 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าไม้ ผลและวิจารณ์ คิดเป็นพื้นที่ 230.02 ตร.กม. หรือ ร้อยละ 85.48 ของ การประมวลผลข้อมูลดาวเทียมเพื่อจำ�แนกสภาพ พื้นที่ศึกษา รองลงมาเป็นพื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น พื้นที่ การใช้ประโยชน์ที่ดิน เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่เกษตร ผลการวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดินจากข้อมูล ผสมผสาน และแหล่งนํ้า คิดเป็นพื้นที่ 26.32, 5.71, ภาพดาวเทียมไทยโชตครอบคลุมบริเวณพื้นที่ศึกษา โดย 4.33, 2.45 และ 0.31 ตร.กม. หรือ ร้อยละ 9.77, 2.12, เลือกข้อมูลภาพที่บันทึกข้อมูล พ.ศ. 2552, 2556 และ 1.61, 0.91 และ 0.11 ของพื้นที่ศึกษา ตามลำ�ดับ 2560 พบว่า ในปี พ.ศ. 2552 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ รายละเอียดดัง Table 1 และ Figure 1 Table 1 Land use categorization at Doi Suthep-Pui National Park in 2009, 2013, and 2017. Unit: sq.km 2009 2013 2017 Land Use Type Area Percentage Area Percentage Area Percentage Forest 235.32 87.34 238.02 88.34 230.32 85.48 Perennial orchard 18.81 6.98 18.21 6.76 26.32 9.77 Integrated farm 2.07 0.77 2.32 0.86 2.45 0.91 Urban and built-up land 2.75 1.02 3.86 1.43 4.33 1.61 Miscellaneous land 10.25 3.80 6.73 2.50 5.71 2.12 Water body 0.24 0.09 0.29 0.11 0.31 0.11 Total 269.44 100 269.44 100 269.44 100 5 1 ของพื้นที่ศึกษา ตามลําดับ รายละเอียดดัง Table 1 และ Figure 1 2 ป� พ.ศ. 2556 พื้นที่ส�วนใหญ�เป�นพื้นที่ป�าไม� คิดเป�นพื้นที่ 238.02 ตร.กม. หรือ ร�อยละ 88.34 ของพื้นที่ศึกษา รองลงมาเป�น 3 พื้นที่ไม�ผล/ไม�ยืนต�น พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร�าง พื้นที่เกษตรผสมผสาน และแหล�งน้ํา คิดเป�นพื้นที่ 18.21, 6.73, 3.86, 4 2.32 และ 0.29 ตร.กม. หรือ ร�อยละ 6.76, 2.50, 1.43, 0.86 และ 0.11 ของพื้นที่ศึกษา ตามลําดับ รายละเอียดดัง Table 1 และ Figure 1 5 ป� พ.ศ. 2560 พื้นที่ส�วนใหญ�เป�นพื้นที่ป�าไม� คิดเป�นพื้นที่ 230.02 ตร.กม. หรือ ร�อยละ 85.48 ของพื้นที่ศึกษา รองลงมาเป�น 6 พื้นที่ไม�ผล/ไม�ยืนต�น พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร�าง พื้นที่เกษตรผสมผสาน และแหล�งน้ํา คิดเป�นพื้นที่ 26.32, 5.71, 4.33, 7 2.45 และ 0.31 ตร.กม. หรือ ร�อยละ 9.77, 2.12, 1.61, 0.91 และ 0.11 ของพื้นที่ศึกษา ตามลําดับ รายละเอียดดัง Table 1 และ Figure 1 8 9 Table 1 Land use categorization at Doi Suthep-Pui National Park in 2009, 2013, and 2017. Unit: sq.km 2009 2013 2017 Land Use Type Area Percentage Area Percentage Area Percentage Forest 235.32 87.34 238.02 88.34 230.32 85.48 Perennial Orchard 18.81 6.98 18.21 6.76 26.32 9.77 Integrated farm 2.07 0.77 2.32 0.86 2.45 0.91 Urban and Built-up land 2.75 1.02 3.86 1.43 4.33 1.61 Miscellaneous land 10.25 3.80 6.73 2.50 5.71 2.12 Water body 0.24 0.09 0.29 0.11 0.31 0.11 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 110-124 (2563) 115 Total 269.44 100 269.44 100 269.44 100 10

11 2009 2013 2017 12 FigureFigure 1 Land1 Land use use categories categories in 2009, in 2009, 2013, 2013 and, and2017 2017 at Doi at Suthep-Pui Doi Suthep National-Pui National Park. Park.

การประเมินความถูกต้องของการจำ�แนกสภาพ จุด แล้วคำ�นวณหาค่าความถูกต้องโดยใช้ตาราง confusion การใช้ประโยชน์ที่ดิน matrix ได้จำ�แนกข้อมูลทั้งหมด 6 ประเภท คือ 1) พื้นที่ ป่าไม้ จำ�นวน 157 จุด 2) ไม้ผล/ไม้ยืนต้น จำ�นวน 31 ประเมินความถูกต้องสภาพการใช้ประโยชน์ จุด 3) เกษตรผสมผสาน จำ�นวน 19 จุด 4) ชุมชนและ ที่ดินครอบคลุมบริเวณพื้นที่ศึกษาโดยเปรียบเทียบผล สิ่งปลูกสร้าง จำ�นวน 22 จุด 5) พื้นที่เบ็ดเตล็ด จำ�นวน การจำ�แนกข้อมูลในปี พ.ศ. 2560 กับผลของการจำ�แนก 25 จุด 6) แหล่งนํ้า จำ�นวน 18 จุด สามารถหาความ ข้อมูลจุดพิกัดภาคพื้นดินที่ได้จากการบันทึกด้วยเครื่อง ถูกต้องของผลการจำ�แนกโดยรวม (overall accuracy) กำ�หนดตำ�แหน่งบนพื้นโลกด้วยดาวเทียม ทั้งหมด 272 ร้อยละ 91.91 ดัง Table 2 116 Thai J. For. 39 (1) : 110-124 (2020)

Table 2 Accuracy assessment of land use categorization with Thaichote satellite images of 2017 at Doi Suthep-Pui National Park. Reference data Land use type User’s FL PO IF UBL ML WB Total accuracy (%) FL 154 4 0 0 0 0 158 91.96 PO 2 23 0 0 0 0 25 92.00 IF 0 1 19 0 0 0 20 95.00 UBL 0 3 0 20 0 0 23 86.96 ML 1 0 0 1 25 0 27 92.59 Classification data WB 0 0 0 1 0 18 19 94.74 Total 157 31 19 22 25 18 272 - Producer’s accuracy (%) 93.05 74.19 100.00 90.91 100.00 100.00 - 91.91 Remarks : FL = Forest Land, PO = Perennial Orchard, IF = Integrated Farm, UBL = Urban and Built-up Land, ML = Miscellaneous Land, WB = Water Body การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ 2.71 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 32.89 ของพื้นที่ที่มี ประโยชน์ที่ดิน เปลี่ยนแปลงทั้งหมด รองลงมาคือ พื้นที่ชุมชนและสิ่ง การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ช่วงปี ปลูกสร้าง เพิ่มขึ้น 1.11 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 13.47 พ.ศ. 2552-2556 พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ พื้นที่เกษตรผสมผสาน เพิ่มขึ้น 0.25 ตร.กม. คิดเป็น ทั้งหมด 8.24 ตร.กม. โดยพื้นที่เบ็ดเตล็ด ลดลงมากที่สุด ร้อยละ 3.03 และพื้นที่แหล่งนํ้า เพิ่มขึ้น 0.05 ตร.กม. 3.52 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 42.71 รองลงมาคือ พื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 0.61 ดัง Table 3, Figure 2 และ ไม้ผล/ไม้ยืนต้น ลดลง 0.60 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 7.29 Figure 3 ส่วนพื้นที่ที่มีการเพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ พื้นที่ป่าไม้ เพิ่มขึ้น Table 3 Land use change during 2009 and 2013 at Doi Suthep-Pui National Park. Unit: sq.km Land use type Land use area in 2013 FL PO IF UBL ML WB Total FL 221.11 11.18 0.31 0.79 1.92 0.01 235.32 PO 12.04 6.29 0.03 0.28 0.17 18.81 IF 0.13 0.21 1.43 0.15 0.09 0.06 2.07 UBL 0.54 0.20 0.27 1.43 0.25 0.06 2.75 ML 4.16 0.33 0.27 1.18 4.29 0.02 10.25

Land use area in 2009 WB 0.02 0.01 0.03 0.04 0.14 0.24 Total 238.00 18.22 2.34 3.87 6.72 0.29 269.44 Remarks : FL = Forest Land, PO = Perennial Orchard, IF = Integrated Farm, UBL = Urban and Built-up Land, ML = Miscellaneous Land, WB = Water Body 7 Land use FL PO IF UBL ML WB type Total FL 221.11 11.18 0.31 0.79 1.92 0.01 235.32

PO 12.04 6.29 0.03 0.28 0.17 18.81 IF 0.13 0.21 1.43 0.15 0.09 0.06 2.07 UBL 0.54 0.20 0.27 1.43 0.25 0.06 2.75

Land use area inLand area use 2009 ML 4.16 0.33 0.27 1.18 4.29 0.02 10.25 WB 0.02 0.01 0.03 0.04 0.14 0.24 Total 238.00 18.22 2.34 3.87 6.72 0.29 269.44 1 Remarks: FL = Forest Land, PO = Perennial Orchard, IF = Integrated Farm, UBL = Urban and Built-up Land, 2 ML = Miscellaneous วารสารวนศาสตร์ไทยLand, WB = Water Body 39 (1) : 110-124 (2563) 117 3 4 5 6 32.89 7 8 13.47 3.03 0.61 9 7.29 10 11 12 42.71 13 14 FigureFigure 2 Percentage 2 Percentage of land land use use change change during during 2009-2013 2009-2013 at Doiat DoiSuthep Suth-Puiep- PuiNational National Park. Park. 8 15

1 2 FigureFigure 3 3 Land Land use use change change during during 2009 2009-2013-2013 at at Doi Doi Sut Suthep-Puihep-Pui National National Par Park.k. 3 4 การเปลี่ยนแปลงการใช�ประโยชน�ที่ดิน การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ช�วงป� พ.ศ. ช่วง2556-2560 เพิ่มขึ้นมากที่สุดพ บ ว� า มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ทั้งหมด คือ พื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น เพิ่มขึ้น 17.46 8.11 ตร.กม. โดย 5 พื้นที่ป�าไม� ปีลดลงมากที่สุด พ.ศ. 2556-2560 7.71 พบว่า ตร.กม. มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ คิดเป�นร�อยละ 44.16 ของพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 46.45 รองลงมาคือ รองลงมาคือ พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชน ลดลง 6 1.02 ตร.กม.ทั้งหมด คิดเป�นร�อยละ 17.46 ตร.กม. 5.84 ส�วนพื้นที่ที่มีการเพิ่มขึ้นมากที่สุดโดยพื้นที่ป่าไม้ ลดลงมากที่สุด คือ พื้นที่ไม�ผล/ไม�ยืนต�นและสิ่งปลูกสร้าง เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น 0.47 8.11 ตร.กม. ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ คิดเป�นร�อยละ 46.45 7 รองลงมาคือ7.71 พื้นที่ชุม ตร.กม.ชนและสิ่งปลูกสร�าง คิดเป็นร้อยละ 44.16 เพิ่มขึ้น ของพื้นที่ที่มีการ 0.47 ตร.กม. คิดเป�นร�อยละ2.69 พื้นที่เกษตรผสมผสาน 2.69 พื้นที่เกษตรผสมผสาน เพิ่มขึ้น 0.13เพิ่มขึ้น ตร.กม. 0.13 คิดตร.กม. คิด 8 เป�นร�อยละเปลี่ยนแปลงทั้งหมด 0.74 และพื้นที่แหล�งน้ํา รองลงมาคือ เพิ่มขึ้น พื้นที่เบ็ดเตล็ด0.02 ตร.กม. คิดเป�นร�อยละ ลดลง เป็นร้อยละ0.12 ดัง Table 0.74 และพื้นที่แหล่งน4, Figure 4 และํ้า เพิ่มขึ้นFigure 0.02 5 ตร.กม. 9 1.02 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 5.84 ส่วนพื้นที่ที่มีการ คิดเป็นร้อยละ 0.12 ดัง Table 4, Figure 4 และ Figure 5 10 Table 4 Land use change during 2013 and 2017 Doi Suthep-Pui National Park. Unit: sq.km Land use area in 2017 Land use

type FL PO IF UBL ML WB Total FL 219.67 14.52 0.68 0.83 2.30 0.01 238.01

PO 6.05 11.18 0.30 0.49 0.17 0.01 18.20 IF 0.31 0.02 1.09 0.20 0.65 0.05 2.32 UBL 0.56 0.48 0.25 2.38 0.18 0.03 3.88

Land use area inLand area use 2013 ML 3.74 0.11 0.10 0.40 2.38 0.01 6.74 WB 0.03 0.04 0.02 0.20 0.29 Total 230.33 26.31 2.45 4.34 5.70 0.31 269.44 11 Remarks: FL = Forest Land, PO = Perennial Orchard, IF = Integrated Farm, UBL = Urban and Built-up Land,

118 Thai J. For. 39 (1) : 110-124 (2020)

Table 4 Land use change during 2013 and 2017 Doi Suthep-Pui National Park. Unit: sq.km Land use Land use area in 2017 type FL PO IF UBL ML WB Total FL 219.67 14.52 0.68 0.83 2.30 0.01 238.01 PO 6.05 11.18 0.30 0.49 0.17 0.01 18.20 IF 0.31 0.02 1.09 0.20 0.65 0.05 2.32 UBL 0.56 0.48 0.25 2.38 0.18 0.03 3.88 ML 3.74 0.11 0.10 0.40 2.38 0.01 6.74 9 Land use area in 2013 WB 0.03 0.04 0.02 0.20 0.29 1 Total 230.33 ML = Miscellaneous26.31 Land,2.45 WB = Water4.34 Body 5.70 0.31 269.44 9 Remarks2 : FL = Forest Land, PO = Perennial Orchard, IF = Integrated Farm, 1 ML =UBL Miscellaneous = Urban and Land,Built-up WB Land, = Water ML =Body Miscellaneous Land, WB = Water Body 3 2 4 46.45 3 5 4 6 5 0.74 2.69 0.12 7 6 5.84 8 7 9 8 10 44.16 9 11 Figure 4 Percentage land use change during 2013-2017 at Doi Suthep-Pui National Park. 10 12Figure 4 Percentage of land use change during 2013-2017 at Doi Suthep-Pui National Park. 11 Figure 4 Percentage land use change during 2013-2017 at Doi Suthep-Pui National Park. 12

13 Figure 5 Land use change during 2013-2017 at Doi Suthep-Pui National Park. 14 Figure 5 Land use change during 2013-2017 at Doi Suthep-Pui National Park. 13 15 14 Figure 5 Land use change during 2013-2017 at Doi Suthep-Pui National Park. 16 15 การคาดการณ�แนวโน�มการใช�ประโยชน�ที่ดินป� พ.ศ. 2564 17 การคาดการณ�การใช�ประโยชน�ที่ดินและสิ่งปกคลุมในอนาคตด�วยแบบจําลอง Land Change Modeler (LCM) ใช�ข�อมูลการ 16 การคาดการณ�แนวโน�มการใช�ประโยชน�ที่ดินป� พ.ศ. 2564 18 17 การคาดการณ�การใช�ประโยชน�ที่ดินและสิ่งปกคลุมในอนาคตด�วยแบบจําลองใช�ประโยชน�ที่ดินและสิ่งปกคลุมของป� พ.ศ. 2556 และ 2560 โดยมีป�จจัยที่ใช�ในการวิเคราะห� Land Change Modeler (driver variable)(LCM) ใช�ข�อมูลการ ได�แก� ความลาดชัน 19 พื้นที่น้ํา เส�นทางคมนาคม พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร�าง ระยะห�างจากเส�นทางคมนาคม และระยะห�างจากพื้นที่น้ํา ดัง Figure 6 18 ใช�ประโยชน�ที่ดินและสิ่งปกคลุมของป� พ.ศ. 2556 และ 2560 โดยมีป�จจัยที่ใช�ในการวิเคราะห� (driver variable) ได�แก� ความลาดชัน 19 พื้นที่น้ํา20 เส�นทางคมนาคม พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร�าง ระยะห�างจากเส�นทางคมนาคม และระยะห�างจากพื้นที่น้ํา ดัง Figure 6

20 21

21 22

22

วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 110-124 (2563) 119

การคาดการณ์แนวโน้มการใช้ประโยชน์ที่ดินปี ปกคลุมของปี พ.ศ. 2556 และ 2560 โดยมีปัจจัยที่เป็น พ.ศ. 2564 ตัวแปรขับเคลื่อน (driver variable) ได้แก่ ความลาดชัน การคาดการณ์การใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่ง พื้นที่นํ้า เส้นทางคมนาคม พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ปกคลุมในอนาคตด้วยแบบจำ�ลอง Land Change ระยะห่างจากเส้นทางคมนาคม และระยะห่างจากพื้นที่ Modeler (LCM) ใช้ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่ง นํ้า ดัง Figure 6 10 1

2

3

4

5 6

7

8

9 10

11

12 slope water body urban and built-up land

13

14 15 road distance to road distance to water body

16 FigureFigure 6 Driver6 Factor variable driver variableprediction pre ofdiction land of use land at useDoi atSuthep–Pui Doi Suthep –NatioPui Nationalnal Park Park in 2021. in 2021.

17 ในการคาดการณ�แนวโน�มการใช�ประโยชน�ที่ดินในอนาคต ป� พ.ศ. 2564 มีพื้นที่ป�าไม�มากที่สุด คิดเป�นพื้นที่ 225.48 ตร.กม. 18 หรือ ร�อยละ 83.68 ของพื้นที่ศึกษา รองลงมาเป�นไม�ผล/ไม�ยืนต�น พื้นที่เบ็ดเตล็ด ชุมชนและสิ่งปลูกสร�าง เกษตรผสมผสาน และแหล�ง 19 น้ํา คิดเป�นพื้นที่ 30.04, 6.08, 4.77, 2.75 และ 0.32 ตร.กม. หรือ ร�อยละ 11.15, 2.26, 1.77, 1.02 และ 0.12 ของพื้นที่ศึกษา 20 ตามลําดับ รายละเอียดดัง Table 5 และ Figure 7

120 Thai J. For. 39 (1) : 110-124 (2020)

ในการคาดการณ์แนวโน้มการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นพื้นที่ 30.04, 6.08, 4.77, 2.75 และ 0.32 ตร.กม. ในอนาคต ปี พ.ศ. 2564 มีพื้นที่ป่าไม้มากที่สุด คิดเป็น หรือ ร้อยละ 11.15, 2.26, 1.77, 1.02 และ 0.12 ของ พื้นที่ 225.48 ตร.กม. หรือ ร้อยละ 83.68 ของพื้นที่ พื้นที่ศึกษา ตามลำ�ดับ รายละเอียดดัง Table 5 และ 11 ศึกษา รองลงมาเป็นไม้ผล/ไม้ยืนต้น พื้นที่เบ็ดเตล็ด ชุมชน Figure 7 1 และสิ่งปลูกสร้างTable 5 Prediction เกษตรผสมผสาน of land use in และแหล่งน 2021 at Doiํ้า Suthepคิด -Pui National Park. 2 Table 5 Prediction of land use in 2021 at Doi Suthep-Pui National Park. 2021 Land use type 2021 Land use type Area Percentage Area Percentage Forest Land 225.48 83.68 Forest land 225.48 83.68 Perennial Orchard 30.04 11.15 Perennial orchard Integrated Farm 30.042.75 1.02 11.15 Integrated farm Urban and Built-up Land 4.772.75 1.77 1.02 Urban and built-upMiscellaneous Land Land 6.084.77 2.26 1.77 Miscellaneous landWater Body 0.326.08 0.12 2.26 Water body Total 269.440.32 100.00 0.12 3 Total 269.44 100.00 4

5 Figure 7 Prediction of land use in 2021 at Doi Suthep-Pui National Park. 6 Figure 7 Prediction of land use in 2021 at Doi Suthep-Pui National Park.

7

12 1 การเปลี่ยนแปลงการใช�ประโยชน�ที่ดิน ช�วงป� พ.ศ. 2560-2564 พ บ ว� า มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ทั้งหมด 9.70 ตร.กม. โดย 2 พื้นที่ป�าไม�ลดลง 4.86 ตร.กม. คิดเป�นร�อยละ 50.11 ของพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งหมด ส�วนพื้นที่ที่มีการเพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ พื้นที่ 3 ไม�ผล/ไม�ยืนต�น เพิ่มขึ้น 3.72 ตร.กม. คิดเป�นร�อยละ 38.35 รองลงมาคือ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร�าง เพิ่มขึ้น 0.44 ตร.กม. คิดเป�นร�อยละ 4 4.54 พื้นที่เบ็ดเตล็ด เพิ่มขึ้น 0.37 ตร.กม. คิดเป�นร�อยละ 3.81 พื้นที่เกษตรผสมผสาน เพิ่มขึ้น 0.30 ตร.กม. คิดเป�นร�อยละ 3.09 และ 5 พื้นที่แหล�งน้ํา เพิ่มขึ้น 0.01 ตร.กม. คิดเป�นร�อยละ 0.10 ดัง Table 6, Figure 8 และ Figure 9 121 6 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 110-124 (2563) 7 Table 6 Land use change during 2017 and 2021 at Doi Suthep-Pui National Park. การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ช่วงปี 38.35 รองลงมาคือ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างUnit: เพิ่มขึ้น sq.km พ.ศ. 2560-2564 พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ 0.44 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 4.54 พื้นที่เบ็ดเตล็ด Land use area in 2021 ทั้งหมด 9.70 ตร.กม.Land useโดยพื้นที่ป่าไม้ลดลง 4.86 ตร.กม. เพิ่มขึ้น 0.37 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 3.81 พื้นที่เกษตร

คิดเป็นร้อยละ 50.11type ของพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลง FL PO ผสมผสานIF เพิ่มขึ้นUBL 0.30 ตร.กม. ML คิดเป็นร้อยละ WB 3.09 ทั้งหมด ส่วนพื้นที่ที่มีการเพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ พื้นที่ และพื้นที่แหล่งนํ้า เพิ่มขึ้น 0.01 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละTotal ไม้ผล/ไม้ยืนต้น เพิ่มขึ้นFL 3.72 211.52ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ14.02 0.830.10 ดัง Table0.98 6, Figure 2.958 และ Figure0.03 9 230.33

Table 6 Land usePO change during9.66 2017 and15.40 2021 at Doi0.38 Suthep-Pui 0.63 National 0.24Park. 0.01 26.32 Unit: sq.km Land use IF 0.39 0.03 Land use1.12 area in 20210.22 0.64 0.05 2.45 type UBL FL 0.73PO 0.51IF 0.29UBL 2.55ML 0.20WB 0.04Total 4.32 FL 211.52 14.02 0.83 0.98 2.95 0.03 230.33

Land use area inLand use area 2017 ML 3.16 0.08 0.09 0.33 2.04 0.01 5.71 PO 9.66 15.40 0.38 0.63 0.24 0.01 26.32 IF WB 0.39 0.010.03 1.12 0.040.22 0.050.64 0.02 0.05 0.19 2.45 0.31 UBL Total 0.73 225.470.51 30.040.29 2.752.55 4.760.20 6.09 0.04 0.33 4.32269.44 8 ML 3.16 0.08 0.09 0.33 2.04 0.01 5.71 Land use area in 2017 WB 0.01 0.04 0.05 0.02 0.19 0.31 9 Remarks: FL = Forest Land, PO = Perennial Orchard, IF = Integrated Farm, UBL = Urban and Built-up Land, Total 225.47 30.04 2.75 4.76 6.09 0.33 269.44 10 ML = Miscellaneous Land, WB = Water Body 11 Remarks : FL = Forest Land, PO = Perennial Orchard, IF = Integrated Farm, 12 UBL = Urban and Built-up Land, ML = Miscellaneous Land, WB = Water Body 13

38.35

3.09 4.54 3.81

50.11

14 Figure 8 Percentage of land use change during 2017-2021 at Doi Suthep-Pui National Park. 15 Figure 8 Percentage land use change during 2017-2021 at Doi Suthep-Pui National Park.

122 Thai J. For. 39 (1) : 110-124 (2020) 13 1

2 3 FigureFigure 9 9 Land Land use use change change during during 2017 2017-2021-2021 at at Doi Doi Sut Suthep-Puihep-Pui National National Park. Park. 4 บริเวณที่พบการเปลี่ยนแปลงมากและเป็นจุด หอยเก่า ในตำ�บลแม่แรมและบริเวณตอนบนของบ้าน 5 บริเวณที่พบการเปลี่ยนแปลงมากและเป�นจุดเสี่ยง เพื่อเป�นข�อมูลสนับสนุนในการวางแผน และบริหารจัดการหน�วยงานที่ เสี่ยง สามารถใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการวางแผน และ ปางยาง ในตำ�บลโป่งแยง เพิ่มเติมจากเดิม 6 เกี่ยวข�อง ในการเฝ�าระวังตรวจตราอย�างเข�มข�นแบ�งออกเป�นในส�วนพื้นที่ตอนเหนือของพื้นที่ศึกษาบริเวณรอยต�อของบ�านหนองบัวหลวง บริหารจัดการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง 7 และบ�านเอียกตรวจตราอย่างเข้มข้น ตําบลสันป�ายางกับแนวเขตอุทยานฯ แบ่งออกเป็นในส่วนพื้นที่ตอน สําหรับในส�วนพื้นที่ตอนกลางของพื้นที่ศึกษาทางด�านทิศตะวันออกบริเวณรอยต�อของสรุป 8 บ�านแม�แรม (หนองหอย) และบริเวณบ�านทุ�งแท�น ตําบลแม�แรมกับแนวเขตอุทยานฯ ส�วนด�านทิศตะวันตกมีการเปลี่ยนแปลงค�อนข�าง เหนือของพื้นที่ศึกษาบริเวณรอยต่อของบ้านหนองบัว ผลการจำ�แนกและการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ 9 เ ข� ม ข� น บริเวณบ�านหนองหอยเก�าหลวงและบ้านเอียก ตำ�บลสันป่ายางกับแนวเขตอุทยานฯ บ�านหนองหอย (สามหลัง) บ�านโป�งแปงในประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินจากการใช้ข้อมูลภาพถ่าย บ�านโป�งแยงนอก บ�านม�วงคํา และบ�านแม�สาน�อย ตําบล 10 โป�งแยง เหตุสําคัญประการหนึ่งมาจากพื้นที่ดังกล�าวยังไม�มีหน�วสำ�หรับในส่วนพื้นที่ตอนกลางของพื้นที่ศึกษาทางด้านยพิทักษ�อุทยานฯดาวเทียมในเขตอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย หรือจุดสกัด และในส�วนพื้นที่ตอนล�างของพื้นที่ศึกษา 11 บริเวณรอยต�อของบ�านปางยางทิศตะวันออกบริเวณรอยต่อของบ้านแม่แรม บ�านห�วยลึก และบ�านเก�าเดื่อ (หนองหอย) ตําบลบ�านปงกับแนวเขตอุทยานฯ จังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงปี สําหรับข�อเสนอการจัดตั้งหน�วยพิทักษ� พ.ศ. 2552, 2556 และ 2560 12 อุทยานแห�งชาติหรือจุดสกัดในตําแหน�งที่เหมาะสมและบริเวณบ้านทุ่งแท่น ตำ�บลแม่แรมกับแนวเขต เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพในกาพบว่า การใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินส่วนใหญ่รยับยั้งป�องกันการกระทําผิดด�านการป�าไม� เห็นควรใน 13 บริเวณพื้นที่ที่เหมาะสมของดอยคอมรองอุทยานฯ ส่วนด้านทิศตะวันตกมีการเปลี่ยนแปลง บ�านหนองหอยเก�า ในตําบลแม�แรมและจัดตั้งจุดสกัดบริเวณตอนบนของบ�านปางยางคือ พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ ในตําบล 14 โป�งแยง เพิ่มเติมจากเดิมค่อนข้างเข้มข้น บริเวณบ้านหนองหอยเก่า บ้านหนองหอย ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่แหล่งนํ้า สำ�หรับการ 15 (สามหลัง) บ้านโป่งแปงใน บ้านโป่งแยงนอก บ้านม่วงคำ� เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินช่วงปี พ.ศ. 2552-2556 และบ้านแม่สาน้อย ตำ�บลโป่งแยง สาเหตุสำ�คัญประการ พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่เกษตรผสม 16 สรุป หนึ่งมาจากพื้นที่ดังกล่าวยังไม่มีหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ผสาน และพื้นที่แหล่งนํ้า มีพื้นที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.89, 17 ผลการจําแนกและการวิเคราะห�ข�อมูลการใช�ประโยชน�ที่ดินและสิ่งปกคลุมหรือจุดสกัด และในส่วนพื้นที่ตอนล่างของพื้นที่ศึกษา 3.03, 13.47ดินจากการใช�ข�อมูลภาพถ�ายดาวเทียม และ 0.61 ตามลำ�ดับ ส่วนพื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ป�าไม�ใน 18 เขตอุทยานแห�งชาติดอยสุเทพบริเวณรอยต่อของบ้านปางยาง-ปุย จังหวัดเชียงใหม� บ้านห้วยลึก ในช�วงป� และบ้าน พ.ศ. 2552, 2556และพื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น และ 2560 พบว�า การใช�ประโยชน�ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน มีพื้นที่ลดลงร้อยละ 7.29 และ 19 ส�วนใหญ� คือเก๊าเดื่อ พื้นที่ป�าไม� ตำ�บลบ้านปงกับแนวเขตอุทยานฯ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่เบ็ดเตล็ด ข้อเสนอใน พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร�าง42.71 ตามลำ�ดับ ขณะที่การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ และพื้นที่แหล�งน้ํา ตามลําดับ สําหรับการ 20 เปลี่ยนแปลงการใช�ประโยชน�ที่ดินช�วงป�การจัดตั้งหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติหรือจุดสกัดใน พ.ศ. 2552-2556 พื้นที่ป�าไม� พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร�างที่ดินช่วงปี พ.ศ. 2556-2560 พื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้นพื้นที่เกษตรผสมผสาน พื้นที่ และพื้นที่ 21 แ ห ล� งน้ํา มีพื้นที่เพิ่มขึ้นตำ�แหน่งที่เหมาะสมร� อ ย ล ะ 32.89,เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพใน 3.03, 13.47 และ 0.61 ตามลําดับชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ส�วนพื้นที่เบ็ดเตล็ดและพื้นที่ไม�ผล/ไม�ยืนต�น พื้นที่เกษตรผสมผสาน และพื้นที่ มีพื้นที่ลดลง 22 ร� อ ย ล ะ 7.29การยับยั้งป้องกันการกระทำ และ 42.71 ตามลําดับ ขณะที่�ผิดด้านการป่าไม้การเปลี่ยนแปลงการใช�ประโยชน�ที่ดินช�วงป� เห็นควร แหล่งนํ้า มีพื้นที่เพิ่มขึ้นร้อยละ พ.ศ. 2556-2560 พื้นที่ไม�ผล/ไม�ยืนต�น 46.45, 0.74, 2.69 และพื้นที่ชุมชน 23 และสิ่งปลูกสร�างจัดตั้งในบริเวณที่เหมาะสมของดอยคอมรอง พื้นที่เกษตรผสมผสาน และพื้นที่แหล�งน้ํา บ้านหนอง มีพื้นที่เพิ่มขึ้นร�0.12 อ ย ล ะตามลำ 46.45,�ดับ 0.74, ส่วนพื้นที่ป่าไม้ 2.69 และและพื้นที่เบ็ดเตล็ด 0.12 ตามลําดับ ส�วนพื้นที่ป�าไม� มีพื้นที่ 24 และพื้นที่เบ็ดเตล็ด มีพื้นที่ลดลงร� อ ย ล ะ 44.16 และ 5.84 ตามลําดับ พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นมาก คือ พื้นที่ไม�ผล/ไม�ยืนต�น 25 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร�าง ส�วนใหญ�เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ป�าไม�และพื้นที่เบ็ดเตล็ด โดยค�าความถูกต�องของการจําแนกประเภท

วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 110-124 (2563) 123

ลดลงร้อยละ 44.16 และ 5.84 ตามลำ�ดับ พื้นที่ที่มีการ ตรวจแก้ไขข้อบกพร่อง จนงานวิจัยครั้งนี้สำ�เร็จลุล่วงไป เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นมาก คือ พื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น พื้นที่ ด้วยดี ขอขอบคุณหัวหน้ากริชสยาม คงสตรี ผู้ช่วยหัวหน้า ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงมาจาก อานนท์ กุลนิล พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติดอย พื้นที่ป่าไม้และพื้นที่เบ็ดเตล็ด โดยค่าความถูกต้องของ สุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ที่อำ�นวยความสะดวกในการ การจำ�แนกประเภทข้อมูลปี พ.ศ. 2560 เท่ากับร้อยละ เข้าสำ�รวจและเก็บข้อมูล ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 91.91 และผลการคาดการณ์แนวโน้มการใช้ประโยชน์ที่ดิน ทุกท่านที่ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่นี้ ในการสนับสนุนและ ในปี พ.ศ. 2564 โดยใช้ Land Change Modeler พบว่า คอยเป็นกำ�ลังใจอย่างดียิ่ง ตลอดระยะเวลาการศึกษา การใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปลูกคลุมดินส่วนใหญ่ คือ วิจัยครั้งนี้ พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชน และสิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่แหล่งนํ้า ตามลำ�ดับ สำ�หรับ REFERENCES การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินช่วงปี พ.ศ. 2560- Boonyawat, S. 1997. Mae Sa - Kog Ma Biosphere 2564 คือ พื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง Reserve, pp. 26-35. In Proceedings of พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่เกษตรผสมผสาน และพื้นที่แหล่งน้าํ the Biodiversity Conservation in the มีพื้นที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.35, 3.09, 4.54, 3.81 และ Biosphere Reserve. Office of Natural 0.10 ตามลำ�ดับ ส่วนพื้นที่ป่าไม้ มีพื้นที่ลดลงร้อยละ Resources and Environmental Policy 50.11 ของพื้นที่เปลี่ยนแปลง and Planning, Bangkok. (in Thai) เมื่อนำ�ชั้นข้อมูลขอบเขตการปกครองระดับ Campbell, J.B. 1996. Introduction to Remote ตำ�บลและชั้นข้อมูลที่ตั้งหมู่บ้าน/ชุมชนมาซ้อนทับบนชั้น Sensing. Taylor & Francis, London. ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน พ.ศ. Clark, Lab. 2013. IDRISI Spotlight: The Land 2560-2564 พบว่า อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จะ Change Modeler. Clark University, ต้องเฝ้าระวังพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ Worcester, MA. ไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและอื่นๆ บริเวณรอยต่อระหว่าง Grainger, A. 1990. Modeling deforestation in หมู่บ้านกับแนวเขตอุทยานแห่งชาติ ได้แก่ บ้านหนองบัว the humid tropics, pp. 51-67. In M. Palo หลวง บ้านเอียก ของตำ�บลสันป่ายาง บ้านแม่แรม (หนอง and G. Mery, eds. Deforestation or หอย) และบริเวณบ้านทุ่งแท่น ของตำ�บลแม่แรม บ้าน Development in the Third World? หนองหอยเก่า บ้านหนองหอย (สามหลัง) บ้านโป่งแยง Vol. 3 Bulletin No. 349. Finnish Forest ในบ้านโป่งแยงนอก บ้านม่วงคำ� และบ้านแม่สาน้อย ของ Research Institute, Helsinki. ตำ�บลโป่งแยง บ้านปางยาง บ้านห้วยลึก และบ้านเก๊าเดื่อ Lambin, E.F., B.L. Turner, H.J. Geist, S.B. Agbola, A. Angelsen, J.W. Bruce, O.T. Coomes, ของตำ�บลบ้านปง R. Dirzo, G. Fischer, C. Folke, P.S. George, K. Homewood, J. Imbernon, R. Leemans, คำ�นิยม X. Li, E.F. Moran, M. Mortimore, P.S. ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.วันชัย Ramakrishnan, J.F. Richards, H. Skånes, อรุณประภารัตน์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก W. Steffen, G.D. Stone, U Svedin, T.A. และ ผศ.ดร.นันทชัย พงศ์พัฒนานุรักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษา Veldkamp, C. Vogel and J. Xu. 2001. วิทยานิพนธ์ร่วม สำ�หรับคุณูปการในช่วยเหลือ วางแผน The causes of land-use and land-cover งานวิจัยฉบับนี้ ตลอดจนการให้คำ�ปรึกษา แนะนำ� และ change: moving beyond the myths. 124 Thai J. For. 39 (1) : 110-124 (2020)

Global Environmental Change 11: Wannavichit, N. 2005. Transportation 261-269. Development and Land Use Dynamics Pongpattananurak, N. 2014. Prioritizing forest in Chiang Mai Urban Fringe. M.S. Thesis, complexes of Thailand using landscape Chiang Mai University. (in Thai) metrics. Thai Journal of Forestry 33(2): Yardmak, P . 2012. Guideline for Ecological 61-76. (in Thai) Landuse the Adjacent Area to Doi Turner Ii, B.L., D. Skole, S. Sanderson, G. Fischer, Suthep - Pui National Park, Amphoe L. Fresco and R. Leemans. 1995. Land- Mueang and Amphoe Hang Dong use and land-cover change, science/ Chiang Mai Province. M.S. Thesis, research plan. IGBP Report No. 35/ Kasetsart University. (in Thai) HDP Report No. 7. Stockholm. Thai J. For. 39 (1) : 125-134 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 125-134 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

การประเมินภาระงานทางกายของคนงานทำ�ไม้ในสวนป่าไม้สักจังหวัดแพร่ An Assessment of Physical Workload of Timber Harvesting Workers in Teak Plantation, Phrae Province ชาคริต ณ ตะกั่วทุ่ง* Chakrit Na Takuathung* ปิยวัตน์ ดิลกสัมพันธ์ Piyawat Diloksumpun

คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, Email: [email protected]

รับต้นฉบับ 24 กันยายน 2562 รับแก้ไข 6 ธันวาคม 2562 รับลงพิมพ์ 9 ธันวาคม 2562

ABSTRACT The study on assessment of physical workload of timber harvesting workers in teak plantation aimed to determine the level of physical workload in various types of work during the harvesting operation. Data were collected from 93 workers from 18 types of labor in 4 plantations of the Forest Industry Organization, including Wang Chin, Mae Saroi, Khun Mae Khamme, and Mae Khampong in Phrae province. Body mass index (BMI) and heart rate were used for analysis. The results showed that 67.74% of the workers had a BMI in the normal range, 6.45% were underweight, and 25.81% were overweight. According to physiological parameters related to heart rate, the physical workloads of workers were categorized as light and medium level. The average resting heart rate was 87.57 beats per minute (bpm), while the average working heart rate was 108.73 bpm. The average relative heart rate at work was 22.52%. The average ratio of working heart rate to resting heart rate was 1.25 and the average ratio of working heart rate to 50% level of heart rate reserve was 0.75. These data could be used for planning and management in assigning specific tasks to the workers to get the most effective results while decreasing chances of injury and accident from task overload. Keywords: Physical workload, Timber harvesting worker, Teak plantation, Heart rate, Body mass index 126 Thai J. For. 39 (1) : 125-134 (2020)

บทคัดย่อ การศึกษาภาระงานทางกายของคนงานทำ�ไม้ในสวนป่าไม้สักจังหวัดแพร่ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับ ภาระงานทางกายของงานประเภทต่างๆ ในขั้นตอนการทำ�ไม้สัก โดยศึกษาในคนงานจำ�นวน 93 คน 18 ประเภทงาน ในสวนป่าวังชิ้น สวนป่าแม่สรอย สวนป่าขุนแม่คำ�มี และสวนป่าแม่คำ�ปอง ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ในพื้นที่ จังหวัดแพร่ โดยใช้ข้อมูลดัชนีมวลกายและอัตราการเต้นของหัวใจในการวิเคราะห์ จากการศึกษาพบว่า คนงานมีดัชนี มวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ 67.74 น้อยกว่าปกติร้อยละ 6.45 และมากกว่าปกติร้อยละ 25.81 สำ�หรับค่าทาง สรีรวิทยาที่เกี่ยวกับอัตราการเต้นของหัวใจ เมื่อนำ�มาคำ�นวณเป็นค่าภาระงานทางกาย พบว่า อยู่ในเกณฑ์ตํ่าและ ปานกลาง โดยมีค่าต่างๆ ประกอบด้วย อัตราการเต้นของหัวใจขณะพักเฉลี่ยเท่ากับ 87.57 ครั้งต่อนาที อัตราการเต้น ของหัวใจขณะทำ�งานเฉลี่ยเท่ากับ 108.73 ครั้งต่อนาที อัตราการเต้นของหัวใจสัมพัทธ์ขณะทำ�งานเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 22.52 สัดส่วนอัตราการเต้นหัวใจขณะทำ�งานต่ออัตราการเต้นของหัวใจขณะพักเฉลี่ยเท่ากับ 1.25 และสัดส่วนอัตรา การเต้นของหัวใจขณะพักต่อค่าครึ่งหนึ่งของอัตราการเต้นของหัวใจสำ�รองเฉลี่ยเท่ากับ 0.75 ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำ� ไปใช้วางแผนในการบริหารจัดการประเภทงานให้เหมาะสมกับสมรรถนะของคนงาน เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพ และลดปัญหาการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุที่เกิดจากการทำ�งานที่หนักเกินไป คำ�สำ�คัญ: ภาระงานทางกาย คนงานทำ�ไม้ สวนป่าไม้สัก อัตราการเต้นของหัวใจ ดัชนีมวลกาย คำ�นำ� พลังงานอาหารให้เป็นพลังงานกล เมื่อต้องใช้แรงในการ ทำ�งานมากขึ้น กล้ามเนื้อยิ่งต้องการออกซิเจนจากการ ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าเศรษฐกิจที่มีแนวโน้ม สูบฉีดโลหิตมากขึ้นเพื่อมาใช้ในปฏิกิริยาดังกล่าว เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 15 ของพื้นที่ทั้งหมด ตามเป้าหมาย (Grandjean, 1982) ดังนั้น ภาระงานทางกายจึงสามารถ ในแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (Royal Thai Government Gazette, 2018) โดยไม้สักถือเป็นชนิดไม้เศรษฐกิจที่ ประเมินได้จากภาระงานทางสรีรวิทยาที่เพิ่มขึ้น (Melemez สำ�คัญ มีพื้นที่สวนป่าส่วนใหญ่อยู่ภายใต้การดำ�เนินงาน and Tunay, 2010) ปัจจุบันมีการศึกษาในเรื่องของ ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ การทำ�ไม้สักในปี พ.ศ. ภาระงานทางกายมากขึ้น โดยใช้เครื่องวัดอัตราการเต้น 2561 ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ มีมูลค่าสูงถึง ของหัวใจเป็นเครื่องวัด และแสดงค่าภาระงานออกมา 501.45 ล้านบาท (Forest Industry Organization, เป็นร้อยละของอัตราการเต้นของหัวใจขณะทำ�งานสัมพัทธ์ 2019) โดยการทำ�งานในพื้นที่ยังเป็นลักษณะของการใช้ (%relative heart rate at work) เพื่อใช้ในการประเมิน แรงงานคนเป็นหลักร่วมกับเครื่องจักรขนาดใหญ่ เช่น ระดับความหนักเบาตามเกณฑ์ที่กำ�หนดและการปรับปรุง รถสกิดเดอร์ (skidder) ทั้งนี้ งานป่าไม้ถือว่าเป็นงานที่ งาน (Kirk and Sullman, 2001; Garet et al., 2005; หนักสำ�หรับคนงาน เพราะเป็นงานที่สถานที่ทำ�งานมี Melemez and Tunay, 2010; Magagnotti and ลักษณะเฉพาะ คือ ทำ�งานได้ยาก สกปรกและอันตราย Spinelli, 2012) แม้จะมีข้อจำ�กัดเนื่องจากอัตราการเต้น ต้องใช้พลังงานในการทำ�งานมาก และมีความเสี่ยงสูง ของหัวใจอาจได้รับอิทธิพลจากปัจจัยอื่นๆ เช่น สรีรวิทยา (ILO, 1998) และสิ่งแวดล้อม (Achten and Jeukendrup, 2003) งานทางกายภาพเป็นงานที่เป็นผลมาจาก แต่การใช้อัตราการเต้นของหัวใจเป็นเครื่องมือในการ กิจกรรมของกล้ามเนื้อ (Caliskan and Caglar, 2010) ประเมินภาระงานก็ถือเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพดีและเป็น โดยกล้ามเนื้อใช้ออกซิเจนในการทำ�ปฏิกิริยาเปลี่ยนรูป ที่นิยม (Kirk and Sullman, 2001; Miller, 2001) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 125-134 (2563) 127

การทำ�ไม้สักในประเทศไทยได้ดำ�เนินการมา รายละเอียดของคนงาน ประกอบด้วย เพศ นํ้าหนัก อย่างยาวนาน แต่การจัดคนงานให้ทำ�งานตำ�แหน่งต่างๆ ส่วนสูง บันทึกลักษณะงาน บันทึกข้อมูลอัตราการเต้น มักจัดตามประสบการณ์และความเหมาะสมที่ประเมิน ของหัวใจต่อนาทีในขณะพัก และขณะกำ�ลังทำ�งานของ จากภายนอกเท่านั้น ถ้าคนงานมีสมรรถนะร่างกายไม่ คนงานทุกตำ�แหน่ง โดยใช้อุปกรณ์สายรัดหน้าอกและ สมดุลกับความหนักของงานนั้นๆ ก็ไม่สามารถทำ�ให้งาน เซ็นเซอร์ TICKRx (Wahoo Fitness) ซึ่งมีการใช้งานกัน ออกมามีประสิทธิภาพได้ (Yilmaz et al., 2013) การ ทั่วไปในงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวัดอัตราการเต้นของ ศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินอัตราการเต้นของ หัวใจ (Hosokawa, 2016; Khamis et al., 2016; Tang, หัวใจของคนงานในขั้นตอนการทำ�ไม้ ซึ่งเริ่มตั้งแต่การ 2018; Suter et al., 2019) สามารถวัดและบันทึกข้อมูล ล้มไม้ ชักลาก ตัดทอน และเตรียมขนส่งไปยังผู้ใช้ ซึ่งมี ไว้ในหน่วยความจำ�ของเครื่อง (data logger) ติดตั้งที่ คนงานหลากหลายตำ�แหน่ง และประเมินระดับภาระงาน ทางกาย เพื่อนำ�ไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการบริหารสวน หน้าอกของคนงาน ตั้งแต่ก่อนการทำ�งานเพื่อใช้เป็นค่า ป่า ในการจัดคนงานกับตำ�แหน่งงานให้เหมาะสมใน ขณะพัก และให้คนงานทำ�งานตามปกติ จนครบรอบการ อนาคต ทำ�งานที่คนงานพักอีกครั้ง โดยเก็บข้อมูลในช่วงเวลาการ ทำ�งานปกติของคนงานระหว่าง 8.30-16.30 น. จากนั้น อุปกรณ์และวิธีการ นำ�ไปดาวน์โหลดข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ พื้นที่ศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล สวนป่าไม้สัก 4 สวนป่า ได้แก่ สวนป่าแม่คำ�ปอง วิเคราะห์ค่าดัชนีมวลกาย (Body Mass Index สวนป่าแม่สรอย สวนป่าขุนแม่คำ�มี และสวนป่าวังชิ้น - BMI) โดยใช้การจำ�แนกชั้น 3 ระดับ ได้แก่ น้อยกว่า ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ในพื้นที่จังหวัดแพร่ ซึ่ง ปกติ (<20) ปกติ (20-25) และมากกว่าปกติ (>25) (Kirk เป็นพื้นที่ที่มีการปลูกสร้างสวนป่าสักจำ�นวนมาก มี and Sullman, 2001; Yilmaz et al., 2013) เพื่อ เครื่องจักรและคนงานในตำ�แหน่งการทำ�ไม้ครบทุก ประเมินสุขภาพเบื้องต้นของคนงาน วิเคราะห์ภาระงาน ขั้นตอน โดยพื้นที่ปลูกสร้างสวนป่าส่วนใหญ่มีลักษณะ ทางกาย และวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เป็นที่สูงชัน ส่วนในบริเวณหมอนไม้มีลักษณะเป็นที่ราบ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ โดย ซึ่งเหมาะแก่การจัดเรียงกองและการเข้าถึงจากเส้นทาง ใช้โปรแกรม Microsoft Excel (Microsoft Corporation) หลัก ซึ่งมีสูตรการคำ�นวณต่างๆ ดังนี้ การเก็บข้อมูลภาคสนาม - ร้อยละอัตราการเต้นของหัวใจสัมพัทธ์ขณะ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำ�รวจ ใช้วิธีการ ทำ�งาน (relative heart rate at work : %HRR) เป็น สุ่มตัวแทนแบบเจาะจง (purposive sampling) (Chanthalakhana and Uecheawchankit, 2005) ค่าที่ใช้บอกระดับภาระงานทางกายเมื่อเปรียบเทียบกับ สำ�รวจโดยการบันทึก สังเกต และวัด ในคนงานในขั้น Table 1 (Grandjean, 1982; Kirk and Sullman, ตอนการทำ�ไม้ทั้งหมดที่ปรากฏว่าทำ�งานอยู่ในช่วงเวลา 2001; Balimunsi et al., 2011; Yilmaz et al., 2013; ที่เก็บข้อมูลนั้นและยินดีให้ความร่วมมือ ในบางสวนป่า Eroglu et al., 2015) คำ�นวณโดยใช้สูตร HR -HR อาจมีไม่ครบทุกตำ�แหน่งงาน เนื่องจากความแตกต่าง %HRR = W r x 100 เรื่องอุปกรณ์และเครื่องจักรกลที่มีการใช้งานในสวนป่า HRmax-HRr นั้นๆ บันทึกขั้นตอนวิธีการทำ�งานขั้นตอนการทำ�ไม้ของ - สัดส่วนอัตราการเต้นของหัวใจขณะทำ�งาน สวนป่าสัก จำ�แนกคนงานตามตำ�แหน่งหน้าที่ บันทึก ต่อค่าครึ่งหนึ่งของอัตราการเต้นของหัวใจสำ�รอง เป็น 128 Thai J. For. 39 (1) : 125-134 (2020)

ค่าที่แสดงถึงความหนักอย่างต่อเนื่องของงานหากมีค่า เมื่อเทียบกับขณะพัก เป็นค่าที่สามารถใช้อธิบายสนับสนุน มากกว่า 1 (Yilmaz et al., 2013) คำ�นวณโดยใช้สูตร ค่าอัตราการเต้นของหัวใจสัมพัทธ์ขณะทำ�งาน (Yilmaz HR et al., 2013) คำ�นวณโดยใช้สูตร W 50% level HR W โดยค่าครึ่งหนึ่งของอัตราการเต้นของหัวใจ HRr

สำ�รอง (50% level of heart rate reserve) คำ�นวณ เมื่อ HRw คือ อัตราการเต้นของหัวใจเฉลี่ยขณะ โดยใช้สูตร ทำ�งาน (ครั้งต่อนาที) HR - HR 50% level = HR + max r HRr คือ อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก r 2 (ครั้งต่อนาที) - สัดส่วนอัตราการเต้นหัวใจขณะทำ�งานต่อ HRmax คือ อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก (ratio of HRw/HRr) เป็น คำ�นวณได้จาก 220-อายุ (ครั้งต่อ ค่าที่บอกถึงสัดส่วนการทำ�งานของหัวใจขณะทำ�งาน นาที) Table 1 Physical workload levels. Physical workload levels Physiological workload (%) Light 0 - 36 Medium 36 - 78 Heavy 78 - 114 Very heavy 114 - 150 Extremely heavy > 150 Source: Yilmaz et al. (2013) ผลและวิจารณ์ ความพร้อมของเครื่องจักรบางชนิด เช่น สกิดเดอร์ ที่ ขั้นตอนการทำ�งาน ต้องหมุนเวียนกันใช้ในหลายๆ สวนป่า ส่วนกิจกรรมใน สวนป่าวังชิ้น สวนป่าแม่สรอย สวนป่าขุน หมอนไม้ถาวรมีความคล้ายคลึงกันในทุกสวนป่า โดยมี แม่คำ�มี และสวนป่าแม่คำ�ปอง มีรูปแบบการทำ�งานใน การหมายวัดตัดทอนด้วยเลื่อยยนต์ จัดกองด้วยแทร็คเตอร์ ตอนป่าคล้ายคลึงกัน คือ มีการล้มไม้ด้วยเลื่อยยนต์ การ ล้อยาง ตีเลขเรียงและสัญลักษณ์ด้วยฆ้อน และรวมกอง ชักลากถอนตอด้วยช้างมายังข้างทาง และขนส่งไปยัง เพื่อประมูล โดยที่ทุกขั้นตอนจะมีคนงานทำ�งานร่วมกับ หมอนไม้โดยรถจอหนัง แต่มีความแตกต่างกันที่การ เครื่องจักรด้วย การศึกษาในครั้งนี้ได้ดำ�เนินการศึกษาใน มีหมอนไม้ชั่วคราวและการขนส่งไม้จากตอนป่าไปยัง คนงานทุกตำ�แหน่ง อย่างไรก็ตามขึ้นอยู่กับความพร้อม หมอนไม้ถาวร โดยสวนป่าวังชิ้น มีการชักลากไม้ด้วย ของคนงานและสภาพแวดล้อมที่ทำ�ให้ในช่วงเวลาเก็บ แทร็คเตอร์ล้อยางมาหมายวัดตัดทอนที่หมอนไม้ชั่วคราว ข้อมูลอาจไม่มีตัวอย่างคนงานในบางตำ�แหน่ง ในสวนป่า และมีการขนส่งด้วยรถเครน 6 ล้อร่วมด้วย ข้อมูลร่างกายและสุขภาพของคนงาน ส่วนสวนป่าขุนแม่คำ�มี มีสกิดเดอร์ร่วมด้วยในขั้นตอน การศึกษาครั้งนี้สามารถเก็บข้อมูลจากคนงาน ชักลากมายังข้างทาง อย่างไรก็ตามรูปแบบการทำ�งาน ได้ทั้งหมดจำ�นวน 93 คน (Table 2) แบ่งเป็นคนงาน เหล่านี้ขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศของแต่ละแปลง และ ชาย 75 คน (ร้อยละ 78) และคนงานหญิง 18 คน วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 125-134 (2563) 129

(ร้อยละ 22) โดยคนงานส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 45-54 หลัก เช่น การทำ�ไม้ วัยรุ่นที่พบส่วนใหญ่ทำ�งานกับ ปี (ร้อยละ 32.26) ดัชนีมวลกายส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ เครื่องจักร เช่น การขับรถแทร็คเตอร์ จากค่าดัชนีมวล ปกติจำ�นวน 63 คน (ร้อยละ 67.74) จะเห็นได้ว่า งานการ กายกลุ่มที่ไม่ปกติ ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มอ้วน แสดงให้ ทำ�ไม้ ส่วนใหญ่เป็นคนงานเพศชาย อาจเป็นเพราะ เห็นว่า งานทำ�ไม้ในการศึกษานี้ เมื่อพิจารณาร่วมกับ ลักษณะงานที่ต้องออกแรงมาก จึงพบคนงานเพศหญิง ภาวะโภชนาการแล้ว ไม่น่าจะมีปัญหาเรื่องงานหนัก ในงานที่มีลักษณะงานเบา เช่น การหมายวัด การจดบัญชี เพราะปริมาณพลังงานที่ได้รับจากการรับประทานอาหาร ท่อนไม้ และผู้ช่วยควาญช้าง (จดบัญชีการชักลาก) ส่วน วัยของคนงาน พบว่า มากกว่าครึ่งเป็นวัยกลางคนจน มีมากกว่าปริมาณพลังงานที่ใช้ไป ทำ�ให้เกิดการสะสม ถึงผู้สูงอายุ ซึ่งพอจะเห็นแนวโน้มที่จะมีการขาดแคลน ของพลังงานส่วนเกิน มีรายงานในประเทศชิลี พบว่า คนงานในอนาคต อาจเป็นเพราะคนรุ่นใหม่ มีการศึกษา ส่วนใหญ่ตำ�แหน่งงานที่ได้รับพลังงานมากเกินไป จะเป็น ที่สูงขึ้น สามารถเลือกงานที่สบายกว่าการใช้แรงงานเป็น ตำ�แหน่งงานที่ทำ�งานกับเครื่องจักร (Apud et al., 2016) Table 2 Physical characteristics of workers. Number (persons) Parameters Khun Mae Mae Percentage Wang Chin Mae Saroi Khamme Khampong Total Gender Male 35 6 27 10 75 80.65 Female 10 3 5 0 18 19.35 Age (years) 15 - 24 4 3 4 0 12 11.83 25 - 34 5 0 8 2 14 16.13 35 - 44 11 4 11 1 28 29.03 45 - 54 18 2 4 5 30 31.18 55 - 64 7 0 2 2 12 11.83 Body Mass Index (kg/m2) < 20 : Underweight 1 1 3 1 6 6.45 20 - 25 :Normal 41 5 11 6 63 67.74 > 25 : Overweight 3 3 15 3 24 25.81

ภาระงานทางกาย เท่านั้น ได้แก่ คนท้ายรถจอหนัง คนท้ายรถสกิดเดอร์ จากคนงานทั้งหมดในการศึกษานี้ สามารถแบ่ง และคนล้มไม้ ตามลำ�ดับ โดยสองงานแรกมีลักษณะงาน เป็นประเภทงานได้ 18 ประเภท (Table 3) มีค่าภาระ ที่ต้องเคลื่อนที่เพื่อเดินหาท่อนไม้ที่กองอยู่บนพื้น และ งานทางกายเฉลี่ยร้อยละ 22.52 เมื่อเทียบจาก Table 1 ดึงลวดสลิงไปมัดท่อนไม้ซึ่งต้องใช้แรงมาก โดยเฉพาะ ถือว่าอยู่ในเกณฑ์เบา อัตราการเต้นของหัวใจสัมพัทธ์ ในรอบที่ต้องขนไม้ขึ้นรถ (รถจอหนัง) หรือชักลาก (รถ ขณะทำ�งานอยู่ในช่วงร้อยละ 4.94-41.01 เมื่อพิจารณา สกิดเดอร์) จำ�นวนหลายท่อน การใช้สลิงมัดไม้ต้องมีการ แยกตามประเภทงานแล้ว พบว่า งานที่มีระดับภาระงาน ใช้ความพยายามมากยิ่งขึ้น ส่วนงานล้มไม้ ลักษณะการ ทางกายสูงสุดในกลุ่มคนงานทำ�ไม้อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ทำ�งานเป็นงานที่ต้องถือเลื่อยยนต์ตลอดเวลา แล้วเดิน 130 Thai J. For. 39 (1) : 125-134 (2020)

เข้าหาต้นไม้เพื่อทำ�การล้มไม้ หากล้มต่อเนื่องก็ต้องถือ ตำ�แหน่งกลุ่มคนขับรถประเภทต่างๆ เช่น คนขับรถ เลื่อยนานขึ้น ทำ�ให้เกิดการทำ�งานของกล้ามเนื้อแบบ สกิดเดอร์ คนขับรถจอหนัง คนขับรถบรรทุก ยกเว้น คน คงที่ ทำ�ให้การสูบฉีดโลหิตของหัวใจต้องทำ�งานหนักขึ้น ขับรถแทร็คเตอร์ ซึ่งลักษณะงาน คือ กระจายกองไม้เพื่อ (Grandjean, 1982; Apud et al., 2016) ส่วนงานที่มี ตัดทอนและจัดกองไม้เพื่อขาย ซึ่งในการจัดกองต้องมี ภาระงานทางกายเบาที่สุด คือ งานผู้ดูแลหมอนไม้ เพราะ การขับรถไปหน้าถอยหลัง และต้องมีการเอี้ยวตัวหันมอง ลักษณะงานไม่ได้ใช้แรงงานมากนัก แต่เป็นการดูแลภาพ ด้านหลังรถบ่อย ทำ�ให้มีภาระงานทางกายที่หนักกว่าคน รวมของหมอนไม้ ส่วนลำ�ดับรองลงไป ส่วนใหญ่เป็น ขับรถประเภทอื่น Table 3 Physiological characteristics of workers. HR HR 50% HRw/50% Operations n r w %HRR Ratio Workload (bpm) (bpm) level level Crane choker setting 4 87.25 100.38 11.67 1.16 140.75 0.62 Light (14.17) (11.19) (7.25) (0.11) (12.37) (0.05) Crane loading truck 1 105.00 120.00 21.74 1.14 139.50 0.75 Light driving (-) (-) (-) (-) (-) (-) Cutting to length 10 77.10 105.25 29.16 1.37 124.80 0.77 Light (4.48) (15.73) (14.17) (0.19) (6.42) (0.16) Data recorder 2 85.50 107.00 20.08 1.27 139.00 0.77 Light (21.92) (15.56) (0.11) (0.14) (6.37) (0.08) Front-loading tractor 2 94.50 104.00 11.69 1.10 139.25 0.70 Light driver (10.61) (14.14) (7.37) (0.03) (2.47) (0.05) Log measurement 9 79.00 101.90 24.22 1.30 126.83 0.80 Light (14.78) (14.69) (8.07) (0.12) (9.90) (0.08) Log number marking 4 88.50 105.50 19.55 1.20 131.38 0.70 Light (7.68) (7.14) (5.36) (0.08) (4.82) (0.08) Log yard general 16 84.00 104.63 23.23 1.25 129.84 0.68 Light works (10.88) (15.20) (13.38) (0.12) (7.78) (0.10) Log yard manager 1 86.00 90.00 5.26 1.05 124.00 0.69 Light (-) (-) (-) (-) (-) (-) Mahot 7 89.57 116.27 31.46 1.30 131.71 0.83 Light (9.52) (8.54) (5.31) (0.10) (6.99) (0.11) Self-loading truck 4 84.25 101.11 17.95 1.20 135.75 0.71 Light driver (93.2) (15.43) (14.54) (0.16) (14.51) (0.12) Self-loading truck 6 93.20 132.70 41.01 1.45 138.71 0.76 Medium choker setting (8.06) (10.95) (20.66) (0.30) (11.85) (0.11) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 125-134 (2563) 131

Table 3 (continued) HR HR 50% HRw/50% Operations n r w %HRR Ratio Workload (bpm) (bpm) level level Skidder choker 1 82.00 86.00 4.94 1.05 122.50 0.70 Light driving (-) (-) (-) (-) (-) (-) Skidder choker 2 91.50 127.50 38.32 1.40 139.00 0.92 Medium setting (7.78) (3.54) (14.19) (0.16) (10.61) (0.10) Tractor choker 5 92.40 116.74 26.44 1.26 140.20 0.80 Light setting (12.48) (18.17) (11.21) (0.08) (7.16) (0.13) Tractor driving 11 87.91 120.85 30.13 1.41 138.23 0.85 Light (12.69) (32.03) (28.55) (0.48) (10.18) (0.24) Tree felling 9 81.67 120.31 36.70 1.52 135.00 0.75 Medium (17.90) (13.55) (6.85) (0.26) (11.40) (0.22) Truck driving 2 87.00 97.00 11.88 1.12 130.25 0.67 Light (1.41) (0) (3.67) (0.02) (8.84) (0.03) Average 87.57 108.73 22.52 1.25 133.71 0.75 Light

Remarks : %HRR = Relative heart rate at work, Ratio = Ratio of HRw/HRr, 50% level = 50% level of heart rate reserve; Numbers in the brackets are the respective standard deviations ระดับภาระงานในการศึกษาครั้งนี้พบในระดับ คนล้มไม้ในสวนป่าเอกชน ประเทศตุรกี มีภาระงานอยู่ เบาและปานกลางโดยระดับเบามีสัดส่วนที่มากกว่า คิด ในระดับหนัก อัตราการเต้นของหัวใจสัมพัทธ์ขณะทำ�งาน เป็นร้อยละ 83 และร้อยละ 17 ตามลำ�ดับ คล้ายคลึงกับ อยู่ในช่วงร้อยละ 39.5-50 ซึ่งถือว่าการทำ�ไม้สักของ ผลการศึกษาในคนงานทำ�ไม้ในป่ามหาวิทยาลัยอาร์ตวิน คนงานในประเทศไทยยังค่อนข้างมีภาระงานที่เบากว่า ประเทศตุรกี ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 67 และร้อยละ 33 ตาม งานการทำ�ไม้ในประเทศอื่นๆ อาจเป็นอีกเหตุผลที่ทำ�ให้ ลำ�ดับ มีอัตราการเต้นของหัวใจสัมพัทธ์ขณะทำ�งานอยู่ การพัฒนาเกี่ยวกับเทคโนโลยีการทำ�ไม้จากอดีตเป็นต้น ในช่วงร้อยละ 17.5-61.9 (Yilmaz et al., 2013; Eroglu มา ยังไม่มีปัจจัยที่ขับเคลื่อนให้ต้องพัฒนามากนัก อย่างไร et al., 2015) ในขณะที่คนงานทำ�ไม้ในบริษัทเอกชน ก็ตาม จากข้อมูลช่วงอายุของคนงานข้างต้น อาจจะต้อง ประเทศยูกานดาพบระดับภาระงานทางกายที่ระดับกลาง มีการนำ�เทคโนโลยีมาใช้ทดแทนคนงานมากขึ้นในอนาคต และหนัก อัตราการเต้นของหัวใจสัมพัทธ์ขณะทำ�งานอยู่ อันใกล้นี้ ในช่วงร้อยละ 65-71 (Balimunsi et al., 2011) ส่วน ค่าสัดส่วนอัตราการเต้นหัวใจขณะทำ�งานต่อ คนงานทำ�ไม้ตำ�แหน่งคนมัดไม้ของการชักลากโดยเคเบิล อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก (ratio) (Table 2) ของ ในประเทศนิวซีแลนด์มีภาระงานอยู่ในระดับปานกลาง คนงานทำ�ไม้สักมีค่าเฉลี่ย 1.25 โดยกลุ่มงานที่มีค่าสูงสุด อัตราการเต้นของหัวใจสัมพัทธ์ขณะทำ�งานอยู่ในช่วง และตํ่าสุดสอดคล้องกับค่าอัตราการเต้นของหัวใจสัมพัทธ์ ร้อยละ 31.9-38.5 (Kirk and Sullman, 2001) และ ขณะทำ�งาน แม้ว่าค่านี้จะไม่ได้นำ�ค่าอัตราการเต้นของ 132 Thai J. For. 39 (1) : 125-134 (2020)

หัวใจสูงสุดมาคำ�นวณด้วย งานที่มีค่าสัดส่วนนี้สูงที่สุด ครั้งต่อนาที อัตราการเต้นของหัวใจขณะทำ�งานเฉลี่ย คือ งานล้มไม้ มีค่าเท่ากับ 1.52 ซึ่งในงานทำ�ไม้ในการ เท่ากับ 108.73 ครั้งต่อนาที อัตราการเต้นของหัวใจ ศึกษาอื่นๆ พบว่า ค่อนข้างสูงกว่านี้ เช่น งานทำ�ไม้ใน สัมพัทธ์ขณะทำ�งานเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 22.52 สัดส่วน ประเทศตุรกีมีค่าเท่ากับ 1.75 (Yilmaz et al., 2013) อัตราการเต้นหัวใจขณะทำ�งานต่ออัตราการเต้นของหัวใจ โดยคนงานทำ�ไม้ที่ทำ�งานเกี่ยวกับเลื่อยยนต์มีค่าเท่ากับ ขณะพักเฉลี่ยเท่ากับ 1.25 และสัดส่วนอัตราการเต้นของ 1.74 (Caliskan and Caglar, 2010) หัวใจขณะพักต่อค่าครึ่งหนึ่งของอัตราการเต้นของหัวใจ ส่วนค่าสัดส่วนของอัตราการเต้นของหัวใจขณะ สำ�รองเฉลี่ยเท่ากับ 0.75 จากข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ พักต่อค่าครึ่งหนึ่งของอัตราการเต้นของหัวใจสำ�รองเฉลี่ย ในภาพรวมไม่มีงานใดที่อยู่ในเกณฑ์หนักหรือหนักมาก ของคนงานมีค่าเท่ากับ 0.75 โดยกระจายในช่วง 0.62- ทำ�ให้สามารถลดความกังวลเรื่องของการทำ�งานหนัก 0.92 ซึ่งเป็นค่าที่แสดงถึงความหนักอย่างต่อเนื่องของ เกินไปของคนงานทำ�ไม้สักได้ ส่วนลำ�ดับความหนักเบา งานหากมีค่ามากกว่า 1 (Yilmaz et al., 2013) โดยใน ในแต่ละประเภทงาน ผู้ประกอบการสวนป่าไม้สักสามารถ การศึกษาครั้งนี้ งานที่มีค่ามากที่สุด คือ คนท้ายรถสกิดเดอร์ นำ�ไปใช้วางแผนในการบริหารจัดการประเภทงานให้ ซึ่งนอกจากมีภาระงานสูงตามที่กล่าวไว้ก่อนหน้านี้แล้ว เหมาะสมกับสมรรถนะของคนงาน เช่น เพศ อายุ และ ลักษณะของรถสกิดเดอร์เป็นรถที่มีเครื่องยนต์ขนาดใหญ่ คุณสมบัติรายบุคคล เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถชักลากไม้ได้เป็นจำ�นวนมากต่อ 1 รอบการทำ�งาน และลดปัญหาการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุที่เกิดจากการ ทำ�ให้ตำ�แหน่งคนท้ายรถ ต้องทำ�การมัดไม้จำ�นวนท่อน ทำ�งานที่หนักเกินไป และเป็นข้อมูลสนับสนุนในการใช้ มาก และเมื่อรวมเป็นมัดใหญ่ก็ทำ�ให้การนำ�สลิงไปมัดให้ ตรวจรับรองการจัดการสวนป่าอย่างยั่งยืนในประเด็น รอบก็ทำ�งานยากขึ้น เลยทำ�ให้ค่านี้ค่อนข้างสูง สำ�หรับ ที่เกี่ยวกับคนงาน งานทำ�ไม้และงานปลูกสร้างสวนป่าในประเทศตุรกี พบว่า มีค่าเท่ากับ 0.9 และ 0.8 ตามลำ�ดับ (Eroglu et คำ�นิยม al., 2015) ส่วนคนงานที่ทำ�งานร่วมกับเลื่อยยนต์มีค่า ขอขอบคุณสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง 0.97 (Caliskan and Caglar, 2010) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย และขอขอบคุณองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ที่เอื้อเฟื้อ สรุป สถานที่และสนับสนุนการเก็บข้อมูลภาคสนาม จากการศึกษาภาระงานทางกายของคนงาน ทำ�ไม้สักในสวนป่าจังหวัดแพร่ เมื่อพิจารณาจากค่าดัชนี REFERENCES มวลกาย พบว่า คนงานมีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ Achten, J. and A. E. Jeukendrup. 2003. Heart ร้อยละ 67.74 น้อยกว่าปกติร้อยละ 6.45 และมากกว่า rate monitoring: applications and ปกติร้อยละ 25.81 แสดงว่าภาระงานในอดีตไม่ได้หนัก limitations. Sports Medicine 33: 517- มากจนก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพในเรื่องภาวะโภชนาการ 538. ขาด สำ�หรับค่าทางสรีรวิทยาที่เกี่ยวกับอัตราการเต้นของ Apud, E., F. Meyer, J. Espinoza, E. Oñate, J. หัวใจ เมื่อนำ�มาคำ�นวณเป็นค่าภาระงานทางกาย พบว่า Herrera and F. Maureira. 2016. Ergonomics อยู่ในเกณฑ์ตํ่าและปานกลาง โดยมีค่าต่างๆ ประกอบ and labour in forestry, pp. 3211-3310. ด้วย อัตราการเต้นของหัวใจขณะพักเฉลี่ยเท่ากับ 87.57 In L. Pancel and M. Köhl, eds. Tropical วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 125-134 (2563) 133

forestry handbook. 2nd ed. Springer, Hosokawa, Y. 2016. Physiological, Behavioral, Berlin. and Knowledge Assessment of Runners’ Balimunsi, H.K., J.R.S. Kaboggoza, S.W. Abeli, R. Readiness to Perform in the Heat. Cavalli, and J. G. Agea. 2011. Working Ph.D. Thesis, University of Connecticut. conditions and productivity of logging ILO. 1998. Safety and Health in Forestry companies in Mafuga forest plantation, Work: An ILO Code of Practice. western Uganda. Journal of Tropical International Labour Office, Geneva. Forest Science 23(3): 232-238. Khamis, N.K., F.R. Ismail, B. Hesse, D. Schramm, Caliskan, E. and S. Caglar. 2010. An assessment N. Maas, M. Koppers, M.Z. Nuawi and of physiological workload of forest B.M. Deros. 2016. Suitability of heart workers in felling operations. African rate recording as physiological measures Journal of Biotechnology 9(35): 5651- tool to determine drivers’ performance 5658. impairment: a preliminary study. Jurnal Chanthalakhana, C. and K. Uecheawchankit. Teknologi (Sciences & Engineering) 2005. Research Scripture and 78(6-9): 25-30. International Publication. The Thailand Kirk, P.M. and M.J.M. Sullman. 2001. Heart rate Research Fund, Bangkok. (in Thai). strain in cable hauler choker setters in Eroglu, H., R. Yilmaz and Y. Kayacan. 2015. A new zealand logging operations. Applied study on determining the physical Ergonomics 32(4): 389-398. workload of the forest harvesting and Magagnotti, N. and R. Spinelli. 2012. Replacing nursery-afforestation workers. steel cable with synthetic rope to reduce Anthropologist 21(1-2): 168-181. operator workload during log winching Forest Industry Organization. 2019. Annual operations. Small-scale Forestry 11(2): Report 2018. Forest Industry Organization, 223-236. Bangkok. (in Thai) Melemez, K. and M. Tunay. 2010. Determining Garet, M., G. Boudet, C. Montaurier, M. Vermorel, physical workload of chainsaw operators J. Coudert and A. Chamoux. 2005. working in forest harvsting. Technology Estimating relative physical workload 13(4): 237-243. using heart rate monitoring: a validation Miller, S. 2001. Workload Measures. National by whole-body indirect calorimetry. Advanced Driving Simulator, Iowa. European Journal of Applied Physiology Royal Thai Government Gazette. 2018. Volume 94(1): 46-53. 36 Section 51, Page 1. (in Thai) Grandjean, E. 1982. Fitting the Task to the Suter, M.K., K.A. Miller, I. Anggraeni, K.L. Ebi, E.T. Man: An Ergonomic Approach. Taylor Game, J. Krenz, Y.J. Masuda, L. Sheppard, & Francis, London. N.H. Wolff and J.T. Spector. 2019. 134 Thai J. For. 39 (1) : 125-134 (2020)

Association between work in deforested, Biotechnology and Health (CBH), compared to forested, areas and human Stockholm. heat strain: an experimental study in a Yilmaz, R., H. Eroğlu, H. Cihan and Y. Kayakan. rural tropical environment. Environmental 2013. Determination of physiological Research Letters 14(8): 1-10. workloads of the harvesting workers: a Tang, Z. 2018. Development and Evaluation case study from artvin, pp. 152-159. In of Virtual Reality Heart Rate Variability International Caucasian Forestry Biofeedback Application. KTH, School Symposium. 24-26 October 2013. of Engineering Sciences in Chemistry, Artvin, Turkey. Thai J. For. 39 (1) : 135-146 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 135-146 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

ผลของการปลูกยางพาราต่อสมบัติอุทกวิทยาดินบางประการ ในพื้นที่ลุ่มนํ้าย่อยชายฝั่งทะเลตะวันออก จังหวัดระยอง Effect of Para Rubber Tree Planting on Some Soil Hydrological Properties in Eastern Coast Subwatershed, Rayong Province สุภัทรา ถึกสถิตย์1* Supattra Thueksathit1* วีนัส ต่วนเครือ1 Venus Tuankrua1 คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, E-mail: [email protected] รับต้นฉบับ 28 สิงหาคม 2562 รับแก้ไข 18 พฤศจิกายน 2562 รับลงพิมพ์ 26 พฤศจิกายน 2562

ABSTRACT Land use change, especially an increasing area under para rubber, has affected soil hydrology related with soil infiltration and soil water storage which influence the water yield in a watershed. The objectives of this research were to study the effect of para rubber plantation on some soil hydrological properties at the Eastern Coast subwatershed, during both wet and dry period in 2017. Soil samples were collected using undisturbed technique for determination of soil moisture content, soil bulk density, and soil hydraulic conductivity, while soil infiltration was done by a single ring infiltrometer. F-test was used for statistical testing. The results indicate that the soil texture in the area under para rubber plantation was sandy loam with low soil organic matter. Average soil moisture contents during the dry period in the topsoil and subsoil were 7.66 and 9.21%, respectively, while during the wet period, they were 16.62 and 14.17%, which was similar to a natural forest in the study area. Besides, soil moisture increased during the wet period due to rainfall. The soil bulk densities during the dry period in the topsoil and subsoil were 1.43 and 1.56 g cm-3, respectively, which was similar to the levels in the natural forest, but soil bulk density at subsoil in para rubber area was -1 -1 greater. The soil infiltration rates (fc) in the para rubber area were 153.44 mm h and 119.99 mm h during the dry and wet periods, which indicated to a lower soil infiltration capacity compared to the natural forest but higher than in a fruit orchard in the study area. It can be concluded that the rubber tree plantation in the Eastern Coast subwatershed has some effect on the soil bulk density, particularly at the subsoil level and that in the younger rubber tree planting area showed a reduced soil infiltration capacity than in the area with older trees. Keywords: Para rubber tree, Soil hydrological properties, Eastern Coast subwatershed 136 Thai J. For. 39 (1) : 135-146 (2020)

บทคัดย่อ การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินโดยเฉพาะการเพิ่มพื้นที่ปลูกยางพารานั้น ส่งผลกระทบต่ออุทกวิทยาของดิน บางประการที่มีความสำ�คัญต่อกระบวนการซึมนํ้าและการกักเก็บนํ้าไว้ในดิน ส่งผลไปถึงผลผลิตนํ้าในลุ่มนํ้าได้ การวิจัยครั้งนี้เพื่อทราบถึงผลของการใช้ที่ดินในการปลูกยางพาราต่อสมบัติอุทกวิทยาดินบางประการในลุ่มนํ้าย่อยชายฝั่ง ทะเลตะวันออก ทั้งช่วงนํ้าหลากและนํ้าแล้ง ปี พ.ศ. 2560 โดยการเก็บตัวอย่างดินแบบไม่ทำ�ลายโครงสร้างเพื่อศึกษา ความชื้นดิน ความหนาแน่นรวมของดิน และการนำ�น้าของดินเมื่อดินอิ่มตัวด้วยนํ ้าํ ในขณะที่การซึมน้าผ่านผิวดินใช้ํ single ring infiltrometer และทดสอบสถิติโดยใช้ F-test ผลการศึกษาพบว่า เนื้อดินของพื้นที่สวนยางพาราเป็น ดินร่วนปนทราย มีอินทรียวัตถุในดินตํ่า ค่าความชื้นดินเฉลี่ยของดินบนและดินล่างในช่วงนํ้าแล้ง เท่ากับร้อยละ 7.66 และ 9.21 ในช่วงน้าหลากเท่ากับร้อยละํ 16.62 และ 14.17 ตามลำ�ดับ ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับความชื้นดินของป่าธรรมชาติ ในพื้นที่ศึกษา อีกทั้งความชื้นดินจะเพิ่มขึ้นในช่วงนํ้าหลากเนื่องจากปริมาณฝน สำ�หรับความหนาแน่นรวมเฉลี่ยของดิน บนและดินล่างมีค่าเท่ากับ 1.43 และ 1.56 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร โดยมีค่าใกล้เคียงกับป่าธรรมชาติแต่ที่ดินล่างจะมี ความหนาแน่นมากกว่า ส่วนอัตราการซึมนํ้าผ่านผิวดินคงที่ในช่วงนํ้าแล้งและนํ้าหลาก มีค่าเท่ากับ 153.44 และ 119.99 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งมีสมรรถนะการซึมนํ้าผ่านผิวดินที่ตํ่ากว่าป่าธรรมชาติแต่สูงกว่าสวนผลไม้ในพื้นที่ศึกษา สรุปได้ ว่าการปลูกยางพาราในลุ่มนํ้าย่อยชายฝั่งทะเลตะวันออกมีผลต่อความหนาแน่นของดินโดยเฉพาะดินล่างและในพื้นที่ ยางพาราที่มีอายุน้อยจะมีสมรรถนะการซึมนํ้าผ่านผิวดินค่อนข้างตํ่ากว่าพื้นที่ยางพาราอายุมาก คำ�สำ�คัญ: ยางพารา สมบัติอุทกวิทยาดิน ลุ่มนํ้าย่อยชายฝั่งทะเลตะวันออก คำ�นำ� ในด้านการอุปโภคและบริโภคทรัพยากรนํ้าในด้านต่างๆ รวมถึงการเกิดปรากฏการณ์นํ้าท่วมและภัยแล้งที่มีความ ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีพื้นที่ปลูกยางพารา รุนแรงมากขึ้นในปัจจุบัน ด้วยเหตุผลดังกล่าว การศึกษา เป็นอันดับสองของโลกรองจากประเทศอินโดนีเซีย ซึ่ง วิจัยถึงผลกระทบในการปลูกยางพาราที่มีต่อสมบัติ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลง อุทกวิทยาดินจึงมีความจำ�เป็นอย่างยิ่ง โดยในการศึกษา การใช้ประโยชน์ที่ดินจากรูปแบบอื่นๆ เพื่อนำ�มาเป็น พื้นที่ปลูกยางพาราซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำ�คัญชนิดหนึ่ง ครั้งนี้ เพื่อทราบถึงผลของการใช้ที่ดินในการปลูกยางพารา ของประเทศไทยในทุกภูมิภาคของประเทศ โดยเฉพาะ ในพื้นที่ลุ่มนํ้าต่อสมบัติทางอุทกวิทยาของดินบางประการ อย่างยิ่งในภาคตะวันออก ซึ่งจากข้อมูลสถิติพื้นที่การ ได้แก่ ความหนาแน่นรวมของดิน ความชื้นในดิน การ ปลูกยางพาราของประเทศไทย พบว่า ในปี พ.ศ. 2555 ซึมนํ้าผ่านผิวดิน และการนำ�นํ้าของดินเมื่อดินอิ่มตัวด้วย จังหวัดระยองเป็นจังหวัดที่มีการปลูกยางพารามากถึง นํ้า เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อการจัดการพื้นที่ลุ่มนํ้าอย่างมี 746,070 ไร่ (Office of Agricultural Eonomics, ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นตลอดจนการวางแผนการใช้ที่ดิน 2012) โดยพื้นที่ปลูกยางพาราที่ขยายมากขึ้นนั้นสามารถ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดังกล่าว ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสมบัติดินโดยเฉพาะสมบัติอุทกวิทยา ของดิน ซึ่งมีความสำ�คัญต่อกระบวนการซึมนํ้า การ อุปกรณ์และวิธีการ กักเก็บนํ้าไว้ในดิน และการปลดปล่อยนํ้าลงสู่ลำ�ธาร อัน อุปกรณ์ ส่งผลต่อเนื่องไปถึงปริมาณนํ้าท่า ช่วงเวลาการไหลของ 1. อุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่างดิน ได้แก่ นํ้าท่า และคุณภาพนํ้าของนํ้าท่า ในพื้นที่ลุ่มนํ้านั้นๆ ซึ่ง กระบอกเก็บตัวอย่างดิน (soil core) ถุงพลาสติก เสียม มีความสำ�คัญและจำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตของมนุษย์ทั้ง เป็นต้น 3

1 2 3 4 วารสารวนศาสตร์ไทยอุปกรณ�และวิธีการ 39 (1) : 135-146 (2563) 137 5 6 อ ุป ก ร ณ� 2. อุปกรณ์ในการศึกษาการซึมนํ้าผ่านผิวดิน เนื่องจากอากาศที่ร้อนทำ�ให้นํ้าระเหยได้มากถึงร้อยละ 7 1. อุปกรณ�ในการเก็บตัวอย�างดิน ได�แก� กระบอกเก็บต วั อ ย� า ง ดิน (soil core) ถุงพลาสติก เสียม เป�นต�น ได้แก่ single ring infiltrometer นาฬิกาจับเวลา 56.72 ของฝนที่ตกลงมาทั้งหมด กลุ่มชุดดินที่มีมาก 8 2. อุปกรณ�ในการศึกษาการซึมน้ําผ�านผิวดิน ได�แก� single ring infiltrometer นาฬิกาจับเวลา 3. อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ตู้อบ ตาชั่ง 9 3. อุปกรณ�ในห�องปฏิบัติการ ได�แก� ตู�อบ ตาชั่ง falling head ที่สุดในพื้นที่ศึกษาpermeameter คือ ชุดดินที่เป็นพื้นที่ลาดเชิงซ้อน 10 falling head4. อุปกรณ�อื่นๆ permeameter ได�แก� แผนที่ภูมิประเทศ ของกรมแผนที่ทหาร(กลุ่มชุดดินที่ แผนที่ชุดดินและ 62)แผนที่การใช�ประโยชน�ที่ดิน เป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกว่า ป� พ . ศ . 2559 11 4.ของกรมพัฒนาที่ดิน อุปกรณ์อื่นๆ ได้แก่ เครื่องมือระบุตําแหน�งบนพื้นผิวโลก แผนที่ภูมิประเทศ ของ (GPSร้อยละ) และ โปรแกรมร35 เป็นชุดดินที่ไม่มีการสำะบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร��รวจลักษณะดิน กรมแผนที่ทหาร แผนที่ชุดดินและแผนที่การใช้ประโยชน์ 12 วิธีการ เนื่องจากมีความลาดชันสูง คิดเป็นร้อยละ 54.11 ของ 13 ที่ดิน ปี พ.ศ.1. พื้นที่ศึกษา 2559 ของกรมพัฒนาที่ดิน เครื่องมือระบุ พื้นที่ลุ่มนํ้า รองลงมาคือ ชุดดินไม่สัมพันธ์กันของชุด 14 ตำ�แหน่งบนพื้นผิวโลกลุ�มน้ําย�อยชายฝ��งทะเลตะวันออก (GPS) และโปรแกรมระบบ ครอบคลุมพื้นที่ 2 ตําบลดินคอหงษ์และชุดดินท่าแซะ คือ ตําบลสํานักทอง และตําบลบ�านแลง เป็นดินร่วนปนทราย อําเภอเมือง การจังหวัด 15 ระยองสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มีขนาดพื้นที่ประมาณ 17.59 ตารางกิโลเมตร มีลักษณะอากาศร�อนและชื้นระบายนํ้าดี มีความอุดมสมบูรณ์ตปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยร า ยํ่า ป� คิดเป็นร้อยละ 1,785.70 มิลลิเมตรต�อป� 10.00 16 โดยมีฝนตกมากที่สุดในเดือนกันยายนวิธีการ และน�อยที่สุดในเดือนธันวาคม เนื่องจากอากาศที่ร�อนทําให�น้ําระเหยได�มากถึงและชุดดินบ้านบึง คิดเป็นร้อยละ 9.59 ของพื้นที่ 56.72 เปอร�เซ็นต� ส่วน 17 ของฝนที่ตกลงมาทั้งหมด 1. พื้นที่ศึกษา กลุ�มชุดดินที่มีมากที่สุดในพื้นที่ศึกษา คือ ชุดดินที่เป�นพื้นที่ลาดเชิงซ�อนการใช้ประโยชน์ที่ดินของลุ่มน (กลุ�มชุดดินที่ํ้าย่อยชายฝั่งทะเลตะวัน 62) เป�นพื้นที่ที่มีความ 18 ลาดชันมากกว�า ลุ่มน 35 เปอร�เซ็นต�ํ้าย่อยชายฝั่งทะเลตะวันออก เป�นชุดดินที่ไม�มีการสํารวจลักษณะดิน ครอบคลุม ออกเนื่องจากมีความลาดชันสูง พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ปลูกยางพารา คิดเป�น 54.11 เปอร�เซ็นต�ของพื้นที่ 13.00 19 ลุ�มน้ําพื้นที่ รองลงมาคือ2 ตำ�บล คือ ชุดดินไม�สัมพันธ�กันของชุดดินคอหงษ�และชุดดินท�าแซะ ตำ�บลสำ�นักทอง และตำ�บลบ้านแลง ตารางกิโลเมตร เป�นดินร�วนปนทราย คิดเป็นร้อยละ การระบายน้ําดี 73.91 ของพื้นที่ลุ่มนมีความอุดมสมบูรณ�ํ้า 20 ต่ําอำ� คิดเป�นเภอเมือง 10.00 จังหวัดระยอง เปอร�เซ็นต� และชุดดินบ�มีขนาดพื้นที่ประมาณานบึง คิดเป�น 17.59 9.59 เปอร�เซ็นต�ของพื้นที่รองลงมา คือ ส�วนการใช�ประโยชน�ที่ดินของลุ�มน้ําย�อยชายฝ��งทะเล พื้นที่ป่าผลัดใบสมบูรณ์ มีพื้นที่ 2.18 ตาราง 21 ตะวันออกตารางกิโลเมตร พบว�า พื้นที่ส�วนใหญ�เป�นพื้นที่ปลูกยางพารามีลักษณะอากาศร้อนและชื้น ปริมาณ 13.00 ตารางกิโลเมตรกิโลเมตร คิดเป�น คิดเป็นร้อยละ 73.91 เปอร�เซ็นต�ของพื้นที่ลุ�มน้ํา 12.37 ของพื้นที่ลุ่มน้าํ และไม้ผลรองลงมา คือ 22 พื้นที่ป�าผลัดใบสมบูรณ� มีพื้นที่ 2.18 ตารางกิโลเมตร คิดเป�น 12.37 เปอร�เซ็นต�ของพื้นที่ลุ�มน้ํา และไม�ผลผสม 0.80 ตารางกิโลเมตร คิด นํ้าฝนเฉลี่ยรายปี 1,785.70 มิลลิเมตรต่อปี โดยมีฝนตก ผสม 0.80 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 4.54 ของ 23 เป�น 4.54 เปอร�เซ็นต�ของพื้นที่ลุ�มน้ํา (Figure 1) มากที่สุดในเดือนกันยายน และน้อยที่สุดในเดือนธันวาคม พื้นที่ลุ่มนํ้า (Figure 1)

24 Figure 1 Study site, land use, and sample points in Eastern Coast subwatershed, Rayong province. Source: Modified from Land Development Department (2013) 2. การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ดิน การซึมนํ้าผ่านผิวดิน และ สัมประสิทธิ์การนำ�นํ้าของ การศึกษาสมบัติอุทกวิทยาของดินบาง ดินเมื่อดินอิ่มตัวด้วยนํ้า โดยทำ�การเลือกจุดเก็บตัวอย่าง ประการ ได้แก่ ความหนาแน่นรวมของดิน ความชื้นใน ดิน โดยพิจารณาจากประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินและ 138 Thai J. For. 39 (1) : 135-146 (2020)

ชุดดินในลุ่มนํ้าที่ศึกษา โดยทำ�การเก็บตัวอย่างดินในพื้นที่ เป็นเวลา 24 ชั่วโมง หรือจนกว่านํ้าหนักแห้งของตัวอย่าง ปลูกยางพารา จำ�นวน 8 จุด โดยให้จุดเก็บดินกระจาย ดินจะคงที่ ทั่วพื้นที่ศึกษา นอกจากนี้ ทำ�การเก็บตัวอย่างดินในพื้นที่ ความชื้นในดิน = นํ้าหนักดินชื้น-นํ้าหนักดินแห้ง x 100 ไม้ผล และพื้นที่ป่าไม้ จำ�นวนพื้นที่ละ 2 จุด เพื่อใช้เป็น (ร้อยละ) นํ้าหนักดินแห้ง ข้อมูลอ้างอิง รวมเก็บข้อมูลตัวอย่างดินทั้งสิ้น 12 จุด 2.2.3 อัตราการซึมน้าผ่านผิวดินํ (in- จุดละ 3 ซํ้า เก็บตัวอย่างทั้งดินบนและดินล่าง รวมจำ�นวน filtration rate) โดยการใช้ single ring infiltrometer ตัวอย่างทั้งสิ้น 72 ตัวอย่าง (Figure 1) และจะทำ�การ เก็บข้อมูลทั้งสิ้น 2 ครั้ง คือ ในช่วงนํ้าแล้ง (dry period) ทำ�การตอกให้ขนานกับพื้นดิน ลึกประมาณ 5 เซนติเมตร ในเดือนมีนาคม และช่วงนํ้าหลาก (wet period) ใน และทำ�การเทนํ้าพร้อมทั้งจับเวลา โดยทำ�ซํ้าจนกว่าจะ เดือนมิถุนายน โดยมีวิธีการดังนี้ ได้ค่าที่คงที่ไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง โดยในแต่ละแปลงทำ�การ 2.1 การเก็บตัวอย่างดินแบบรบกวนโครงสร้าง ทดลองทั้งหมดจำ�นวน 3 ซํ้า และคำ�นวณอัตราการซึม (disturbed soil sample) เพื่อนำ�มาวิเคราะห์สมบัติดิน นํ้าผ่านผิวดิน โดยสมการของ Horton (1940) ดังนี้ -kt เบื้องต้น ได้แก่ เนื้อดิน ค่าปฏิกิริยาดิน ธาตุอาหารหลัก ft = fc + (f๐ - fc) e

ในดิน เป็นต้น โดยทำ�การเก็บตัวอย่างดินจำ�นวน 3 หลุม เมื่อ ft คือ อัตราการซึมนํ้าผ่านผิวดินที่เวลา t แบบสามเหลี่ยมด้านเท่า ให้ห่างกันจุดละ 20 เมตร (มิลลิเมตรต่อชั่วโมง) ครอบคลุมพื้นที่เก็บตัวอย่าง ซึ่งทำ�การเก็บดินใน 2 ระดับ f๐ คือ อัตราการซึมนํ้าผ่านผิวดินสูงสุด ได้แก่ ระดับดินบนที่ความลึก 0-30 เซนติเมตร และที่ (มิลลิเมตรต่อชั่วโมง) ระดับดินล่างที่ลึก 30-50 เซนติเมตร หลังจากนั้นผสม fc คือ อัตราการซึมนํ้าผ่านผิวดินคงที่ ดินจากทั้ง 3 หลุมเข้าด้วยกันแล้วเก็บเพื่อเป็นตัวอย่าง (มิลลิเมตรต่อชั่วโมง) k คือ ค่าคงที่ ดิน ตัวอย่างละ 1 กิโลกรัม จากนั้นนำ�ตัวอย่างดินส่ง t คือ เวลา (วินาที) วิเคราะห์ที่ห้องปฏิบัติการ 2.2.4 สัมประสิทธิ์การนำ�นํ้าของดิน 2.2 การเก็บตัวอย่างดินแบบไม่รบกวน เมื่อดินอิ่มตัวด้วยนํ้า (coefficient hydraulic conductivity: โครงสร้าง (undisturbed soil sample) เพื่อนำ�ไปศึกษา K ) เก็บตัวอย่างดินจากพื้นที่ศึกษา นำ�มาแช่นํ้าในระดับ ค่าความหนาแน่นของดินและความชื้นในดิน โดยการ s ประมาณ ¾ ของระดับความสูงของกระบอกเก็บดินจน เก็บดินใส่กระบอกเก็บดิน (soil core) ที่ระดับความลึก ดินอิ่มตัวด้วยนํ้า เพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์การนำ�นํ้าเมื่อดิน 0-30 เซนติเมตร และที่ระดับความลึก 30-50 เซนติเมตร อิ่มตัวด้วยนํ้าโดยวิธี falling head permeameter 2.2.1 ความหนาแน่นรวมของดิน (soil จากสมการของ Klute (1965) ดังนี้ bulk density) นำ�ตัวอย่างดินไปอบในตู้อบดินที่อุณหภูมิ aL H K = x In 1 105 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง หรือจนกว่า s At H นํ้าหนักแห้งของตัวอย่างดินจะคงที่ แล้วคำ�นวณจากสูตร [ ] [ 2] เมื่อ Ks คือ สัมประสิทธิ์การนำ�นํ้าของดินอิ่มตัว ความหนาแน่นรวมของดิน = มวลของดินแห้ง (กรัม) (มิลลิเมตรต่อชั่วโมง) (กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) ปริมาตรทั้งหมด a คือ พื้นที่หน้าตัดของหลอดแก้ว (ลูกบาศก์เซนติเมตร) (ตารางเซนติเมตร) 2.2.2 ความชื้นในดินโดยนํ้าหนัก (soil L คือ ความสูงของตัวอย่างดิน (เซนติเมตร) moisture) นำ�ตัวอย่างดินชื้นมาชั่งเพื่อหานํ้าหนักนํ้าใน A คือ พื้นที่หน้าตัดของตัวอย่างดิน ดิน และนำ�ไปอบในตู้อบดินที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส (ตารางเซนติเมตร) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 135-146 (2563) 139

t คือ เวลาที่ใช้จากขีดบนถึงขีดล่างของ จะเห็นได้ว่า บริเวณพื้นที่ศึกษานั้นเนื้อดินส่วน หลอดแก้ว (วินาที) ใหญ่ทั้งดินบนและดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย มีเพียง

H1 คือ ความสูงของระดับนํ้าขีดบน (เซนติเมตร) บริเวณดินล่างของพื้นที่ทำ�สวนผลไม้ที่มีปริมาณของดิน H2 คือ ความสูงของระดับนํ้าขีดล่าง (เซนติเมตร) เหนียวมากกว่าพื้นที่อื่น และส่วนใหญ่ดินมีความเป็น 2.2.5 เปรียบเทียบข้อมูลความหนาแน่น กรดสูง มีความอุดมสมบูรณ์ของดินตํ่า แต่ในพื้นที่ป่า รวมของดินและความชื้นในดินระหว่างพื้นที่สวนยางพารา ธรรมชาติ พบว่ามีความอุดมสมบูรณ์ของดินดีกว่าพื้นที่ พื้นที่สวนผลไม้ และพื้นที่ป่าไม้ โดยใช้สถิติ F-test และ สวนยางพาราและสวนผลไม้ เปรียบเทียบสมรรถนะการซึมนํ้าผ่านผิวดินโดยใช้อัตรา สมบัติอุทกวิทยาดินบางประการ การซึมนํ้าผ่านผิวดินคงที่ (fc) 1. ความชื้นดิน ในช่วงนํ้าแล้ง พื้นที่สวนยางพารา สวน ผลและวิจารณ์ ผลไม้ และป่าธรรมชาติ มีค่าความชื้นดินบนเฉลี่ยเท่ากับ สมบัติดินเบื้องต้น ร้อยละ 7.66, 12.14 และ 7.84 ส่วนดินล่างมีค่าเท่ากับ พื้นที่สวนยางพาราในลุ่มนํ้าย่อยชายฝั่งทะเล ร้อยละ 9.21, 15.45 และ 9.27 ในขณะที่ช่วงนํ้าหลาก ตะวันออก ส่วนใหญ่เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย (sandy ค่าความชื้นในดินบนเฉลี่ย เท่ากับร้อยละ 16.62, 15.45 loam) ทั้งดินบนและดินล่าง มีค่าปฏิกิริยาของดินอยู่ และ 13.93 ส่วนดินล่างมีค่าเท่ากับร้อยละ 14.17, 13.84 ในช่วง 5.1 เป็นกรดจัด ถึง 6.6 เป็นกลาง มีร้อยละ และ 13.89 ตามลำ�ดับ ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในระดับตํ่าที่ดินบนและตํ่ามาก โดยพบว่าในช่วงนํ้าแล้ง พื้นที่สวนยางพารา ที่ดินล่าง มีค่าเท่ากับ 1.40 อยู่ในระดับตํ่าปานกลาง และ และป่าธรรมชาติมีค่าความชื้นที่ใกล้เคียงกันทั้งดินบน 0.70 อยู่ในระดับตํ่า ตามลำ�ดับ ในส่วนธาตุอาหารหลัก และดินล่าง แต่พื้นที่สวนผลไม้มีค่าความชื้นในดินสูงกว่า ในดินบนมีปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมอยู่ใน พื้นที่อื่นทั้งดินบนและดินล่าง เนื่องจากในพื้นที่สวนผลไม้ ระดับปานกลาง ในขณะที่ดินล่าง มีค่าอยู่ในระดับตํ่า ส่วนใหญ่มีการให้นํ้าไม้ผลที่ปลูกด้วยระบบสปริงเกอร์ ส่วนพื้นที่ที่เป็นสวนผลไม้ เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ร่วมด้วย โดยในช่วงนํ้าหลาก ทุกพื้นที่มีความชื้นดินเพิ่ม เช่นเดียวกับพื้นที่สวนยางพารา แต่ดินล่างเป็นดินร่วน ขึ้นเนื่องจากเป็นช่วงของฤดูฝน โดยเฉพาะดินบนของ เหนียวปนทราย และมีค่าปฏิกิริยาของดิน อยู่ในช่วง 5.0 เป็นกรดจัดมาก ถึง 5.8 เป็นกรดปานกลาง มีร้อยละ พื้นที่สวนยางพาราที่มีความชื้นดินสูงสุด รองลงมาเป็น ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในระดับตํ่าทั้งดินบนและดินล่าง พื้นที่สวนผลไม้และพื้นที่ป่าธรรมชาติ (Table 1) ซึ่ง ส่วนปริมาณฟอสฟอรัสมีค่าตํ่าที่ดินบนแต่สูงที่ดินล่าง สอดคล้องกับการศึกษาของ Yang et al. (2012); Huihui ขณะที่มีปริมาณโพแทสเซียมสูงที่ดินบนและปานกลาง and Yuanbo (2014); Lei et al. (2014) และ Ji et al. ที่ดินล่าง ในส่วนของพื้นที่ป่าธรรมชาตินั้น พบว่ามีเนื้อดิน (2015) ที่พบว่า เมื่อปริมาณฝนมากขึ้นจะส่งผลให้ความชื้น เหมือนกับพื้นที่สวนยางพารา มีค่าปฏิกิริยาของดิน อยู่ ในดินเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งประเภทของการใช้ประโยชน์ ในช่วง 5.8 เป็นกรดปานกลาง ถึง 6.6 เป็นกลาง โดยที่ ที่ดินยังมีผลต่อความแปรผันของความชื้นในดินอีกด้วย ดินบนมีร้อยละปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในระดับปานกลาง จากการทดสอบทางสถิติ พบว่าในช่วงน้าแล้งํ ส่วนดินชั้นล่างมีค่าอยู่ในระดับตํ่า ส่วนปริมาณฟอสฟอรัส (dry period) ความชื้นของดินบนในพื้นที่สวนยางพารา และโพแทสเซียมมีค่าสูงที่ดินบน แต่ในดินชั้นล่างพบว่า สวนผลไม้ และป่าธรรมชาติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญ มีปริมาณฟอสฟอรัสตํ่าและปริมาณโพแทสเซียมอยู่ใน ยิ่งทางสถิติ (F=5.942, p<0.01) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบ ระดับปานกลาง รายคู่ พบว่า ความชื้นของดินบนในพื้นที่สวนยางพารา 140 Thai J. For. 39 (1) : 135-146 (2020)

ไม่แตกต่างกับพื้นที่ป่าธรรมชาติ แต่แตกต่างจากพื้นที่ ความชื้นของดินในช่วงนํ้าหลาก (wet period) พบว่า สวนผลไม้ ในขณะที่ความชื้นของดินล่างของทั้งสามพื้นที่ ทั้งสามประเภทการใช้ที่ดินมีความแตกต่างกันอย่างไม่มี มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ ส่วน นัยสำ�คัญทางสถิติทั้งดินบนและดินล่าง (Table 2) Table 1 Some soil hydrological properties in the Eastern Coast subwatershed, Rayong province. Soil bulk density Soil moisture (%) Infiltration K (mm/hr) Land use Period (g/cm3) s (mm/hr) topsoil subsoil topsoil subsoil topsoil subsoil 2.98-12.31 3.43-17.65 1.25-1.60 1.38-1.72 36.58-570.90 4.97-599.69 1.99-202.72 dry (7.66) (9.21) (1.43) (1.56) (153.44) (113.18) (36.17) Para rubber 9.39-22.99 10.87-19.68 1.06-1.55 1.32-1.76 25.73-286.36 11.98-480.05 4.59-41.26 wet (16.62) (14.17) (1.40) (1.59) (119.99) (199.03) (22.93) 7.70-18.68 10.12-16.86 1.39-1.66 1.48-1.76 21.29-86.19 2.36-64.53 1.58-62.48 dry (12.14) (12.49) (1.54) (1.62) (41.11) (12.80) (17.08) Fruit orchard 8.21-20.74 10.77-16.90 1.43-1.56 1.51-1.81 30.99-69.75 10.94-21.38 4.22-36.13 wet (15.45) (13.84) (1.50) (1.62) (43.22) (17.08) (20.80) 4.71-10.92 6.90-12.78 1.25-1.50 1.34-1.58 729.63-912.82 99.05-452.49 41.91-201.99 dry (7.84) (9.27) (1.38) (1.46) (788.15) (217.48) (112.81) Forest 12.82-16.27 11.80-15.36 1.28-1.57 1.37-1.73 299.13-1,201.08 183.75-449.24 nd wet (13.93) (13.89) (1.41) (1.49) (738.21) (354.13) Remark: nd = no data Table 2 Statistical test for soil moisture and soil bulk density among different land use types at the Eastern Coast subwatershed, Rayong province. Variables F-value p-value Soil bulk density - topsoil 6.371** 0.003 - subsoil 6.114** 0.004 Soil moisture wet period - topsoil 1.456ns 0.248 - subsoil 0.058ns 0.944 dry period - topsoil 5.942** 0.006 - subsoil 3.143 ns 0.058 Remarks: ns non statistic significant, ** significant at confidence level at 99% วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 135-146 (2563) 141

2. ความหนาแน่นรวมของดิน (fc) ภาคสนาม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 153.44, 41.11 และ ในช่วงนํ้าแล้ง พื้นที่สวนยางพารา สวน 788.15 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ส่วนในช่วงนํ้าหลากมีค่า ผลไม้ และป่าธรรมชาติ มีค่าความหนาแน่นรวมของดิน เฉลี่ยเท่ากับ 119.99, 43.22 และ 738.21 มิลลิเมตรต่อ บนเฉลี่ยเท่ากับ 1.43, 1.54 และ 1.38 กรัมต่อลูกบาศก์ ชั่วโมง ซึ่งการซึมนํ้าผ่านผิวดินจะแปรผกผันกับความ เซนติเมตร สำ�หรับดินล่างมีค่าเท่ากับ 1.56, 1.62 และ หนาแน่นรวมของดิน สอดคล้องกับการศึกษาของ Lei 1.46 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ในช่วงนํ้าหลากดินบน et al. (2014) และ Chritne et al. (2014) ที่พบว่า เมื่อ มีค่าเท่ากับ 1.40, 1.50 และ 1.41 กรัมต่อลูกบาศก์ ความหนาแน่นรวมของดินเพิ่มขึ้นจะทำ�ให้ความสามารถ เซนติเมตร ส่วนดินล่างมีค่าเท่ากับ 1.59, 1.62 และ 1.49 ในการซึมน้าของดินลดลงํ นอกจากนี้ การซึมน้าผ่านผิวดินํ กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ตามลำ�ดับ (Table 1) นั้นจะถูกควบคุมโดยลักษณะของพืชพรรณที่ปกคลุม โดยความหนาแน่นรวมของดินบนมีค่าตํ่า และสมบัติทางกายภาพของดินอีกด้วย กว่าดินล่างในทุกประเภทการใช้ที่ดิน โดยในพื้นที่ป่า จากผลการศึกษา จะเห็นได้ว่าในพื้นที่สวน ธรรมชาติมีค่าความหนาแน่นรวมของดินน้อยที่สุดทั้งดิน ยางพารามีสมรรถนะการซึมนํ้าสูงกว่าพื้นที่สวนผลไม้ซึ่ง บนและดินล่าง รองลงมา คือพื้นที่สวนยางพารา ในขณะ เป็นพื้นที่ที่มีปริมาณดินเหนียวมากกว่าพื้นที่การใช้ ที่สวนผลไม้มีค่าความหนาแน่นรวมของดินสูงสุดทั้งดิน ที่ดินประเภทอื่นและประกอบกับดินถูกรบกวนโดย บนและดินล่าง เนื่องจากในพื้นที่สวนผลไม้มีกิจกรรมการ กิจกรรมการใช้ที่ดินของมนุษย์ที่เข้มข้นกว่าพื้นที่สวน ใช้ที่ดินที่เข้มข้นกว่าพื้นที่อื่นๆ เช่น การตัดแต่งต้นไม้ ยางพารา ทำ�ให้ความสามารถในการซึมนํ้าผ่านผิวดิน การใส่ปุ๋ย การฉีดยาฆ่าแมลง การให้นํ้า และการเก็บ ตํ่ากว่าพื้นที่อื่น ในขณะที่พื้นที่ป่าธรรมชาติมีสมรรถนะ ผลผลิต เป็นต้น ส่งผลให้ดินของพื้นที่สวนผลไม้มีลักษณะ การซึมนํ้าผ่านผิวดินสูงที่สุดซึ่งสมรรถนะการซึมนํ้าผ่าน ดินที่แน่นกว่าพื้นที่อื่น ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ ผิวดินที่ดีกว่านั้นจะทำ�ให้โอกาสในการเกิดนํ้าไหลบ่า Quraishi and Mouazen (2013) ที่พบว่า เมื่อสภาพป่า หน้าดินเกิดได้น้อยกว่าพื้นที่ที่มีสมรรถนะการซึมนํ้า ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรมหรือพื้นที่ ตํ่ากว่า โดยการเหยียบยํ่าพื้นที่ที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ส่งผล อื่นๆ จะทำ�ให้ความหนาแน่นรวมของดินในพื้นที่เพิ่ม ให้ดินมีการอัดแน่นและยากต่อการซึมนํ้าผ่านผิวดิน มากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับคำ�อธิบายด้านการอนุรักษ์ดินและนํ้า เมื่อเปรียบเทียบความหนาแน่นรวมของดิน ของ Land Development Department (2007) ของทั้งสามประเภทการใช้ที่ดินทั้งดินบนและดินล่าง อีกทั้งยังสอดคล้องกับการศึกษาของ Natnaree et al.

พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญยิ่งทางสถิติ (2016) ที่พบว่า อัตราการซึมนํ้าผ่านผิวดินคงที่ (fc) ของ (F=6.371, p< 0.01 และ F=6.114, p< 0.01) และเมื่อ ช่วงนํ้าหลากและนํ้าแล้งมีค่าสูงสุดในพื้นที่ป่าดิบแล้งและ ทำ�การเปรียบเทียบรายคู่ พบว่าความหนาแน่นรวมของ ตํ่าสุดในพื้นที่ป่าฟื้นฟู อายุ 3 ปี และพื้นที่เกษตรผสม ดินบนในพื้นที่สวนยางพารากับพื้นที่ป่าธรรมชาติ ผสาน เช่นเดียวกับ Neris et al. (2012) ที่พบว่า การ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ แต่ทั้งสองพื้นที่ ซึมนํ้าผ่านผิวดินในพื้นที่ป่าธรรมชาติมีค่าสูงสุดเท่ากับ แตกต่างกับพื้นที่สวนผลไม้ ในขณะที่ความหนาแน่นรวม 796 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง รองลงมาคือ พื้นที่ป่าสน และ ของดินล่างในพื้นที่สวนยางพาราไม่แตกต่างกับพื้นที่สวน พื้นที่เกษตรกรรม โดยในช่วงนํ้าแล้งและช่วงนํ้าหลาก ผลไม้แต่แตกต่างกับพื้นที่ป่าธรรมชาติ (Table 2) ในแต่ละพื้นที่ พบว่า อัตราการซึมนํ้าผ่านผิวดินคงที่ 3. อัตราการซึมนํ้าผ่านผิวดิน ไม่แตกต่างกันมากนัก (Table 3 and Figure 2) ในช่วงนํ้าแล้ง พื้นที่สวนยางพารา สวน นอกจากนี้ สมการ Horton ในช่วงนํ้าแล้ง ผลไม้ และป่าธรรมชาติ มีอัตราการซึมนํ้าผ่านผิวดินคงที่ (dry period) และช่วงนํ้าหลาก (wet period) ของพื้นที่ 142 Thai J. For. 39 (1) : 135-146 (2020)

สวนยางพารา พื้นที่สวนผลไม้ และพื้นที่ป่าธรรมชาติ ใน เท่ากับ 44, 105, 102 และ 96 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ลุ่มนํ้าย่อยชายฝั่งตะวันออก จังหวัดระยอง โดยสมการ ตามลำ�ดับ จะเห็นว่ายางพาราที่อายุน้อยจะมีสมรรถนะ ของพื้นที่สวนยางพาราจะแสดงในช่วงอายุต่างๆ ของ การซึมนํ้าผ่านผิวดินค่อนข้างตํ่ากว่าสวนยางพาราที่มีอายุ ยางพาราในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ ยางพารา อายุ 8, 20, มากขึ้น ดังรายละเอียดใน (Table 3 and Figure 2 and 25 และ 30 ปี โดยมีอัตราการซึมนํ้าผ่านผิวดินคงที่ Figure 3) Table 3 Horton’s equation of para rubber, fruit orchard, and forest area during the dry and wet period at the Eastern Coast subwatershed, Rayong province. Dry period Wet period Land use Horton’s Horton’s types f f -f k f f -f k c 0 c equation c 0 c equation Para rubber 44 609.24 -0.00319 44 + 37 523.34 -0.00545 37 + (8 years) 609.24e-0.00319t 523.34e-0.00545t Para rubber 105 895.90 -0.00361 105 + 106 671.47 -0.00706 106 + (20 years) 895.90e-0.00361t 671.47e-0.00706t Para rubber 102 386.81 -0.00417 102 + 85 82.79 -0.00233 85 + (25 years) 386.81e-0.00417t 82.79e-0.00233t Para rubber 96 1,855.30 -0.01075 96 + 119 1,562.42 -0.01695 119 + (30 years) 1,855.30e-0.01075t 1,562.42e-0.01695t Fruit orchard 88 336.05 -0.00534 88 + 31 194.30 -0.00381 31 + 336.05e-0.00534t 194.30e-0.00381t Forest 1,200 8,984.47 -0.07323 1,200 + 1,255 8,338.84 -0.04594 1,255 + 8,984.47e-0.07323t 8,338.84e-0.04594t วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 135-146 (2563) 143 9

(a) (b)

(c) (d)

(e) (f)

1 2 FigureFigure 22 InfiltrationInfiltration capacity capacity of in differentin different land landuse types use intypes during during the dry the and drywet andperiod wet at Easternperiod Coastat Eastern 3 subwatershedCoast, subwatershed, Rayong province; (a) para rubber (8 years), (b) para rubber (20 years), 4 Rayong(c) para province; rubber (a) (25 para years), rubber (d) (8 years)para ,rubber (b) para (30 rubber years), (20 years)(e) fruit, (c) orchard,para rubber and (25 (f) years) forest., 5 (d) para rubber (30 years), (e) fruit orchard, and (f) forest. 6 7 8 9 144 Thai J. For. 39 (1) : 135-146 (2020) 10

(a) (b) 1 FigureFigure 3 Infiltration3 Infiltration capacity capacity among among the various the various land use land types use intypes during during the drythe period dry and and wet wet period period at at the the 2 Eastern CoastEastern subwatershed, Coast subwatershed, Rayong province; (a) wet period and (b) dry period. 3 Rayong province; (a) wet period and (b) dry period. 4 4. สัมประสิทธิ์การนำ�นํ้าของดินเมื่อดินอิ่ม ความชื้นดินใกล้เคียงกับพื้นที่ป่าธรรมชาติทั้งดินบนและ 5 ตัวด้วยน4. ํ้าสัมประสิทธิ์การนําน้ําของดินเมื่อดินอิ่มตัวด�วยน้ํา ดินล่าง ในขณะที่พื้นที่สวนผลไม้มีค่าความชื้นในดินสูง กว่าการใช้ที่ดินประเภทอื่นทั้งดินบนและดินล่าง เนื่องจาก 6 ในช�วงน้ําแล�งในช่วงนํ้าแล้ง พื้นที่สวนยางพารา พื้นที่สวนยางพารา สวนผลไม� สวน และป�าธรรมชาติ มีค�าสัมประสิทธิ์การนําน้ําของดินเมื่อดินอิ่มตัวด�วยน้ํา (Ks) 7 ของดินบนผลไม้ และป่าธรรมชาติ มีค�าเฉลี่ยเท�ากับ มีค่าสัมประสิทธิ์การนำ 113.18, 12.80 และ 217.48�นํ้าของ มิลลิเมตรต�อชั่วโมงในพื้นที่สวนผลไม้ส่วนใหญ่มีการให้น ส�วนที่ดินล�าง มีค�าเท�ากับ 36.17,ํ้าร่วมด้วย 17.08 ส่วนใน และ 112.81

8 มิลลิเมตรต�อชั่วโมงดินเมื่อดินอิ่มตัวด้วยน ส�วนช�วงน้ําหลากํ้า (Ks) ของดินบน ดินบนมีค�าเฉลี่ยเท�ากับ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 199.03,ช่วงน 17.08ํ้าหลาก และ พบว่า 354.13 ทุกพื้นที่มีความชื้นดินเพิ่มขึ้นเนื่องจาก มิลลิเมตรต�อชั่วโมง ส�วนที่ดินล�างมีค�า 9 เท�ากับ113.18, 22.93 12.80 และ 20.80และ 217.48 มิลลิเมตรต�อชั่วโมง มิลลิเมตรต่อชั่วโมง จากผลการศึกษา ส่วน พบว�าสวนยางพาราทั้งดินบนและดินล�างมีค�าสัมประสิทธิ์การนําน้ําปัจจัยของฝน โดยเฉพาะดินบนของพื้นที่สวนยางพารา ของ 10 ดินที่ดินล่างเมื่อดินอิ่มตัวด�วยน้ําสูงกว�าในพื้นที่สวนผลไม� มีค่าเท่ากับ 36.17, 17.08 และ แต� น�112.81 อ ย ก ว�าในพื้นที่ป�าธรรมชาติ ที่มีความชื้นดินสูงกว่าการใช้ที่ดินประเภทอื่น ซึ่งมีแนวโน�มไปในทิศทางเดียวกันกับสมรรถนะการซึม ขณะที่ 11 น้ําผ�านผิวดินมิลลิเมตรต่อชั่วโมง นอกจากนี้ยังพบว�า ส่วนช่วงน ในบางพื้นที่ของพื้นที่สวนยางพาราแลํ้าหลาก ดินบนมีค่าเฉลี่ย ความหนาแน่นรวมของดินะสวนผลไม�นั้น น้ําไม�สามารถไหลผ�านดินได�เมื่อดินอิ่มตัวด�วยน้ํา พบว่า ความหนาแน่นรวม 12 ดังกล�าวเท่ากับ (199.03,Table 3) 17.08 และ 354.13 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ของดินบนมีค่าตํ่ากว่าดินล่างในทุกประเภทการใช้ที่ดิน 13 ส่วนที่ดินล่างมีค่าเท่ากับ 22.93 และ 20.80 มิลลิเมตร โดยความหนาแน่นรวมของดินบนในพื้นที่สวนยางพารา 14 ต่อชั่วโมง จากผลการศึกษา พบว่า สวนยางพาราทั้งดิน สรุปกับพื้นที่ป่าธรรมชาติแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ �คัญทาง 15 บนและดินล่างมีค่าสัมประสิทธิ์การนำ�นํ้าของดินเมื่อ สถิติ อย่างไรก็ตาม ความหนาแน่นรวมของดินในพื้นที่ 16 ดินอิ่มตัวด้วยนสําหรับลุ�มน้ําย�อยชายฝ��งทะเลตะวันออกํ้าสูงกว่าในพื้นที่สวนผลไม้ แต่น้อยกว่า เนื้อดินส� ว น ใ ห ญ� เป�นดินร�วนปนทรายและป่าธรรมชาติมีค่าน้อยที่สุดทั้งดินบนและดินล่างมีค�าปฏิกิริยาของดินเป�นกรด ในขณะที่จัดถึงกลาง มี 17 ปริมาณในพื้นที่ป่าธรรมชาติอินทรียวัตถุในดิน ซึ่งมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกันอยู�ในระดับต่ํา ในช�วงน้ําแล�งพื้นที่ปลูกยางพารามีค�าความชื้นดินใกล�เคียงกับพื้นที่ป�าธรรมชาติทั้งดินบนสวนผลไม้มีค่าความหนาแน่นรวมของดินสูงสุดทั้งดินบนและดิน 18 ล�างกับสมรรถนะการซึมน ในขณะที่พื้นที่สวนผลไม�มีค�าความชื้นในดินสูงกว�าํ้าผ่านผิวดิน นอกจากนี้ยังพบว่าการใช�ที่ดินประเภทอื่น และดินล่างทั้งดินบนและดินล�าง เนื่องจากในพื้นที่สวนผลไม้มีกิจกรรมการใช้ เนื่องจากในพื้นที่สวนผลไม�ส�วนใหญ� 19 มีการให�น้ําร�วมด�วยในบางพื้นที่ของพื้นที่สวนยางพาราและสวนผลไม้นั้น ส�วนในช�วงน้ําหลาก พบว�าทุกพื้นที่มีความชื้นดินเพิ่มขึ้นเนื่องจาก ที่ดินที่เข้มข้นกว่าพื้นที่อื่นป� จ จ ัย ข องฝนด้านสมรรถนะการซึมน โดยเฉพาะดินบนของพื้นที่สวนํ้าผ่าน 20 ยางพาราที่มีความชื้นดินสูงกว�านํ้าไม่สามารถไหลผ่านดินได้เมื่อดินอิ่มตัวด้วยนการใช�ที่ดินประเภทอื่นํ้าดังกล่าว ขณะที่ ความหนาแน�นรวมของดินผิวดิน จะเห็นได้ว่าในพื้นที่สวนยางพารามีสมรรถนะการ พบว�าความหนาแน�นรวมของดินบนมีค�าต่ํากว�า 21 ดินล�างในทุก(Table 3)ประเภทการใช�ที่ดิน โดยความหนาแน�นรวมของดินบนในพื้นที่สวนยางพารากับพื้นที่ป�าธรรมชาติไม�แตกต�างกันอย�างมีซึมนํ้าสูงกว่าพื้นที่สวนผลไม้แต่ตํ่ากว่าพื้นที่ป่าธรรมชาติ 22 นัยสําคัญทางสถิติ อย�างไรก็ตาม ความหนาแน�นรวมของดินในพื้นที่ป�าธรรมชาติมีค�าน�อยที่สุดทั้งดินบนและดินล�างโดยสมรรถนะการซึมนํ้าผ่านผิวดินที่ดีกว่านั้นจะทำ ในขณะที่สวนผลไม�มี�ให้ 23 ค�าความหนาแน�นรวมของดินสูงสุดทั้งดินบนและดินล�างสรุป เนื่องจากในพื้นที่สวนผลไม�มีกิจกรรมการใช�ที่ดินที่เข�มข�นกว�าพื้นที่อื่นโอกาสในการเกิดนํ้าไหลบ่าหน้าดินน้อยกว่าพื้นที่ที่มี ด�าน 24 สมรรถนะการซึมน้ําผ�านผิวดิน สำ�หรับลุ่มนํ้าย่อยชายฝั่งทะเลตะวันออก จะเห็นได�ว�าในพื้นที่สวนยางพารามีสมรรถนะการซึมน้ําสูงกว�าพื้นที่สวนผลไม�แต�ต่ํากว�าพื้นที่ป�าธรรมชาติ สมรรถนะการซึมนํ้าตํ่ากว่า ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 25 โดยสมรรถนะการซึมน้ําผ�านผิวดินที่ดีกว�านั้นจะทําให�โอเนื้อดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายและมีค่าปฏิกิริยากาสในการเกิดน้ําไหลบ�าหน�าดินน�อยกว�าพื้นที่ที่มีสมรรถนะการซึมน้ําต่ํากว�ากับค่าสัมประสิทธิ์การนำ�นํ้าของดินเมื่อดินอิ่มตัวด้วยนํ้า ซึ่ง 26 เป�นไปในทิศทางเดียวกันกับค�าสัมประสิทธิ์การนําน้ําของดินเป็นกรดจัดถึงกลาง มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินของดินเมื่อดินอิ่มตัวด�วยน้ํา ดังนั้น การใช้ที่ดินเพื่อปลูกยางพาราในลุ่มนํ้า 27 อยู่ในระดับตดังนั้น การใช�ที่ดินเพื่อปลูกยางพาราในลุ�มน้ําย�อยชายฝ��งทะเลตะวันออกํ่า ในช่วงนํ้าแล้งพื้นที่ปลูกยางพารามีค่า ย่อยชายฝั่งทะเลตะวันออกมีผลต่อความหนาแน่นรวมมีผลต�อความหนาแน�นรวมของดินบนไม�มากนักแต�มี 28 ผ ล ต� อ ดินล�างค�อนข�างมาก ในขณะที่ความชื้นในดินมีค� า ที่ใกล�เคียงกับพื้นที่ป�าธรรมชาติ ส�วนสมรรถนะการซึมน้ําผ�านผิวดินนั้นต่ํากว�า 29 พื้นที่ป�าธรรมชาติอยู�มาก โดยในพื้นที่ปลูกยางพาราอายุน�อยจะมีค�าต่ํากว�าในพื้นที่ยางพาราที่มีอายุมากขึ้น สรุปได�ว�าพื้นที่ยางพาราใน 30 ลุ�มน้ําย�อยชายฝ��งทะเลตะวันออกมีผลกระทบต�อความหนาแน�นของดินโดยเฉพาะดินล�างและมีสมรรถนะการซึมน้ําผ�านผิวดินได�ไม�ดีนัก วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 135-146 (2563) 145

ของดินบนไม่มากนักแต่มีผลต่อดินล่างค่อนข้างมาก ใน Journal of the Soil Science Society ขณะที่ความชื้นในดินมีค่าที่ใกล้เคียงกับพื้นที่ป่าธรรมชาติ of America 5: 399-417. ส่วนสมรรถนะการซึมนํ้าผ่านผิวดินนั้นตํ่ากว่าพื้นที่ป่า Klute, A. 1965. Laboratory measurement of ธรรมชาติอยู่มาก โดยในพื้นที่ปลูกยางพาราอายุน้อยจะ hydraulic conductivity of saturated soil, มีค่าตํ่ากว่าในพื้นที่ยางพาราที่มีอายุมากขึ้น สรุปได้ว่า pp. 210-220. In Methods of Soil Analysis Part 1: Physical and Mineralogical พื้นที่ยางพาราในลุ่มนํ้าย่อยชายฝั่งทะเลตะวันออกมีผล Methods. American Society of Agronomy, กระทบต่อความหนาแน่นของดินโดยเฉพาะดินล่างและ Widconsin. มีสมรรถนะการซึมนํ้าผ่านผิวดินได้ไม่ดีนักโดยเฉพาะใน Land Development Department. 2007. Tillage พื้นที่ยางพาราที่มีอายุน้อย ซึ่งจะส่งผลต่อการกักเก็บนํ้า Practice for Soil and Water Conservation. ในดินและหากปลูกในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงจะมีโอกาส Available Source: http://www.ldd.go.th/ เกิดการชะล้างพังทลายของดินได้ง่าย menu_Dataonline /G3/G3_07.pdf., January 3, 2016. (in Thai) คำ�นิยม . 2013. Land Use Map. Division of งานวิจัยในครั้งนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัย Land Use Policy and Planning, Land และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำ�ปี พ.ศ. Development Department, Bangkok. 2560 รหัสโครงการ (พ-ฐ (ด)) 15.60 และขอขอบคุณ (in Thai) ภาควิชาอนุรักษวิทยา ที่อนุเคราะห์ให้ใช้ห้องปฏิบัติการ Neris, J., C. Jiménez, J. Fuentes, G. Morillas and M. Tejedor. 2012. Vegetation and ลุ่มนํ้าในการวิเคราะห์ตัวอย่างดิน land-use effects on soil properties and REFERENCES water infiltration of Andisols in Tenerife Feng, H. and Y. Liu. 2014. Trajectory based (Canary Islands, Spain). Catena 98: 55-62. detection of forest-change impacts on Office of Agricultural Economics. 2012. Agricultural surface soil moisture at a basin scale Statistics of Thailand 2012. Ministry [Poyang Lake Basin, China]. Journal of for agricultural and cooperatives, Bangkok. Hydrology 514: 337-346. (in Thai) Fischer, C., C. Roscher, B. Jensen, N. Eisenhauer, Quraishi, M.Z. and A.M. Mouazen. 2013. Calibration J. Baade, S. Attinger, S. Scheu, W.W. of an on-line sensor for measurement Weisser, J. Schumacher and A. Hildebrandt. of topsoil bulk density in all soil textures. 2014. How do earthworms, soil texture Soil and Tillage Research 126: 219-228. and plant composition affect infiltration Sarapim, N., S. Thueksathit, S. Pukngam and Y. along an experimental plant diversity Kheereemangkla. 2016. Some soil gradient in grassland? PLOS ONE 9(6) hydrological properties and soil e98987. doi:10.1371/journal.pone.0098987. macrofauna in various land use types Horton, R.E. 1940. An approach towards physical at Huai Khamin subwatershed, Nakhon interpretation of infiltration capacity. Ratchasima province. KKU Research 146 Thai J. For. 39 (1) : 135-146 (2020)

Journal (Graduate Studies) 16(2): 49- of soil moisture to vegetation restoration 62. (in Thai) in semi-arid Loess Plateau, China. Yang, L., W. Wei, L. Chen and B. Mo. 2012. Catena 115: 123-133. Response of deep soil moisture to land Zhou, J., B. Fu, G. Gao, N. Lü, Y. Lü and S. Wang. use and afforestation in the semi-arid 2015. Temporal stability of surface soil Loess Plateau, China. Journal of moisture of different vegetation types Hydrology 475: 111-122. in the Loess Plateau of China. Catena , , , W. Chen and J. Wang. 128: 1-15.. 2014. Response of temporal variation Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 147-164 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

การศึกษาคุณภาพนํ้าทะเลและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยว ในตำ�บลเกาะปันหยี จังหวัดพังงา A Study of Sea Water Quality and Factors Influencing Natural Resources and Environmental Conservation Behaviors of Communities with and without Tourism in Ko Panyi Sub-district, Phangnga Province พีรวิชญ์ บุญเสริม1* Phirawich Boonserm1* ดรรชนี เอมพันธุ์1 Dachanee Emphandhu1 ภาสิณี วรชนะนันท์2 Pasinee Worachananant2 1คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand 2คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Environment, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, E-mail: [email protected] รับต้นฉบับ 9 กันยายน 2562 รับแก้ไข 6 พฤศจิกายน 2562 รับลงพิมพ์ 7 พฤศจิกายน 2562

ABSTRACT This study aims to study the quality of sea water in the communities’ area, natural resources, environmental conservation behavior, and factors influencing the conservation behavior in Ko Panyi sub-district communities by comparing between communities with and without tourism in 4 villages. The quality of sea water was determined by measuring 11 parameters during the early and late high season. To study the environmental and conservation behavior and factors influencing it, 300 local households were surveyed through the questionnaire method. The results indicated that quality of sea water did not exceed the quality standard category 1 according to the recommendations of the National Environment Board to determine the sea water quality standard. The only exception was total coliform bacteria, which is critical as we found high levels of this fecal bacteria. When comparing between communities with and without tourism, sea water quality during late high season was found to be statistically different in 5 parameters including pH, DO, salinity, total suspended solid, and fecal coliform bacteria. Regarding the conservation behavior of local people, there were no differences between communities experiencing tourism and those that did not and found the conservation behaviors at a moderate level. Nine factors were 148 Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020) found to influence the conservation behavior of local people: experience in conservation related training, age, participation in social groups, social status, encountering environmental officer, opinion about conservation, career related to tourism, encountering inappropriate behavior about water resources, knowledge about natural resources, and environmental conservation. The study suggests the promotion of conservation behavior by creating activities that consider such influencing factors, installation of appropriate septic tanks and sea water quality monitored regularly. Keywords: Sea water quality, Conservation behaviors of communities, Factors influencing conservation behavior, Tourism, Ko Panyi sub-district

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพนํ้าทะเลบริเวณชุมชน พฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ของคนในชุมชนตำ�บลเกาะปันหยี เปรียบเทียบระหว่าง ชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยวรวม 4 หมู่บ้าน ตรวจวัดคุณภาพนํ้าทะเล 11 ตัวชี้วัด ในช่วงต้นและปลาย ฤดูกาลท่องเที่ยว และศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์และปัจจัยที่มีอิทธิพลโดยเก็บข้อมูลจำ�นวน 300 ครัวเรือนด้วย แบบสอบถาม ผลการศึกษาคุณภาพนํ้าทะเลโดยรวมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเลประเภทที่ 1 ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล ยกเว้น ค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมดที่มี ค่าเกินมาตรฐาน และมีค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรียสูง เมื่อเปรียบเทียบระหว่างชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการ ท่องเที่ยวพบ 5 ตัวชี้วัดที่มีความแตกต่างกันในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว ได้แก่ ความเป็นกรดด่าง ออกซิเจนละลายน้าํ ความเค็ม ปริมาณของแข็งแขวนลอย และฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย การศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์ของประชาชน พบว่า ไม่แตกต่างกันในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยวและอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี 9 ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ ได้แก่ ประสบการณ์ฝึกอบรมด้านการอนุรักษ์ อายุ การเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมสังคม สถานภาพ ทางสังคม การพบปะเจ้าหน้าที่สิ่งแวดล้อม ความคิดเห็นต่อการอนุรักษ์ การมีอาชีพการท่องเที่ยว การพบพฤติกรรมที่ ไม่เหมาะสมต่อทรัพยากรนํ้า และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ผลการศึกษาเสนอแนะให้มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง พฤติกรรมการอนุรักษ์ที่ดี โดยพิจารณาใช้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ และควรมีการติดตั้งถังบำ�บัดนํ้า เสียจากห้องนํ้าพร้อมทั้งติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเลอยู่เสมอ คำ�สำ�คัญ: คุณภาพนํ้าทะเล พฤติกรรมการอนุรักษ์ของชุมชน ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ การท่องเที่ยว ตำ�บลเกาะปันหยี คำ�นำ� จากประชาชนในประเทศและชาวต่างชาติ ส่งผลให้พื้นที่ ได้รับผลกระทบจากการท่องเที่ยวทั้งทางบวก เช่น การ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำ�ให้ เติบโตทางเศรษฐกิจ การยกระดับคุณภาพชีวิตของคนใน ผู้คนสามารถเดินทางท่องเที่ยวได้ทั่วทุกมุมโลก ทำ�ให้ใน พื้นที่ และผลกระทบทางลบ เช่น ส่งผลกระทบต่อวิถี หลายแหล่งท่องเที่ยวที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่น่าสนใจ ชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น และเกิดความ มีนักท่องเที่ยวเดินทางมาท่องเที่ยวเป็นจำ�นวนมากทั้ง เสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ (Moscardo, 2008) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 147-164 (2563) 149

ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการและพฤติกรรมในการ นํ้าทะเลหรือไม่ พฤติกรรมการอนุรักษ์ของคนในชุมชน อนุรักษ์ของทั้งนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนท้องถิ่นที่จะ เป็นอย่างไรสอดคล้องกับผลคุณภาพนํ้าทะเลที่ปรากฏ ร่วมกันดูแลรักษาทรัพยากรเหล่านั้นเอาไว้ มากน้อยเพียงใด แล้วปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ชุมชนตำ�บลเกาะปันหยี จังหวัดพังงา เป็น การอนุรักษ์ของคนในตำ�บลเกาะปันหยี เพื่อใช้เป็นข้อมูล ชุมชนที่มีพื้นที่ตั้งอยู่ในทะเลอ่าวพังงาและบริเวณป่า ในการกำ�หนดแนวทางและมาตรการในการอนุรักษ์ ชายเลนอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา เป็นกลุ่มหมู่บ้านกลางน้าํ ที่เหมาะสมและเสริมสร้างพฤติกรรมการอนุรักษ์ ที่มีวิถีชีวิตชาวประมงพื้นบ้านที่เป็นอัตลักษณ์ ในปัจจุบัน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนตำ�บลเกาะ มีนักท่องเที่ยวเดินทางมาท่องเที่ยวในชุมชนเพื่อดูวิถีชีวิต ปันหยีและชุมชนอื่นๆ ที่มีบริบทใกล้เคียงกันให้ดีขึ้น รับประทานอาหารกลางวัน และซื้อของที่ระลึก อันเนื่อง สำ�หรับงานวิจัยที่ทำ�การศึกษาคุณภาพนํ้า มาจากชุมชนตำ�บลเกาะปันหยีมีลักษณะเป็นหมู่บ้าน บริเวณแหล่งชุมชนและแหล่งท่องเที่ยว มีดังนี้ งานวิจัย กลางนํ้าหรือชุมชนริมนํ้า ทำ�ให้มีความเสี่ยงที่การใช้ชีวิต ของ Srigate (2009) ที่ศึกษาผลของกิจกรรมชุมชนต่อ ประจำ�วันของคนในชุมชนหรือกิจกรรมทางการท่องเที่ยว คุณภาพนํ้าในแม่นํ้าเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี พบว่า ความ จะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หนาแน่นของชุมชน และกิจกรรมของชุมชน เช่น การเกษตร บริเวณทะเลอ่าวพังงาที่ทรงคุณค่าต่อการอนุรักษ์ได้ ซึ่ง การเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า และการทำ�ประมง ส่งผลต่อค่า Department of National Parks, Wildlife and Plant คุณภาพนํ้า และงานวิจัยของ Loytavinan (2016) ที่ Conservation (2015) ได้ทำ�การศึกษาคุณภาพนํ้าทะเล ศึกษาผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อคุณภาพนํ้าทะเล บริเวณชุมชนหมู่ที่ 2 เกาะปันหยี ซึ่งเป็นชุมชนที่มีการ พบว่า บริเวณเกาะช้าง เกาะเต่า และเกาะง่าม ซึ่งเป็น ท่องเที่ยว พบว่า มีค่าปริมาณนํ้ามันหรือไขมันบนผิวนํ้า ตัวแทนพื้นที่ศึกษาที่มีปริมาณการท่องเที่ยวที่แตกต่าง และค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรียอยู่ในระดับที่สร้างผล กัน มีช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวและบริเวณที่มีนํ้าทิ้ง เป็น กระทบปานกลาง มีค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมดอยู่ใน ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพนํ้าทะเล นอกจากนี้ มีงานวิจัย ระดับที่สร้างผลกระทบรุนแรง และพบว่าบริเวณพื้นที่ ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชนเกาะปันหยี มีปัญหาสภาพภูมิทัศน์จากขยะอยู่ใน และสิ่งแวดล้อมและปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการ ระดับรุนแรง เป็นหลักฐานว่าในชุมชนมีผลกระทบต่อ อนุรักษ์ของคนในชุมชน เช่น การศึกษาของ Alfred ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเกิดขึ้น ดังนั้น การ (1997) ที่ได้ศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากร ศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งเน้นศึกษาคุณภาพนํ้าทะเลบริเวณชุมชน การท่องเที่ยวทางธรรมชาติของประชาชนท้องถิ่นใน ซึ่งเป็นสิ่งบ่งชี้ผลกระทบที่เกิดขึ้นในเชิงประจักษ์ทั้งช่วง เกาะล้าน เมืองพัทยา พบว่า เพศ อายุ การได้รับข่าวสาร ต้นและปลายฤดูกาลท่องเที่ยว และศึกษาพฤติกรรมการ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของคนใน เจตคติต่อการอนุรักษ์ ส่งผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ ชุมชนซึ่งเป็นสาเหตุสำ�คัญของผลกระทบดังกล่าว โดย ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ จากการทบทวน วิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างชุมชนที่มีการท่องเที่ยว งานวิจัยข้างต้นรวมถึงเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และไม่มีการท่องเที่ยวในตำ�บลเกาะปันหยี รวมถึงศึกษา อื่นๆ สามารถกำ�หนดกรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้ได้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ของคนในชุมชน ดัง Figure 1 จะทำ�ให้ทราบว่านํ้าทะเลบริเวณชุมชนได้รับผลกระทบ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ ในระดับใด ปัจจัยด้านการท่องเที่ยวส่งผลต่อคุณภาพ 1) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพนํ้าทะเลบริเวณชุมชนที่มี 150 Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020)

และไม่มีการท่องเที่ยวในตำ�บลเกาะปันหยี ทั้งในช่วงต้น อิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ของคนในชุมชน และ และช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว ซึ่งทำ�การศึกษาในปี พ.ศ. 4) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการ 2562 เดือนมกราคมและเดือนเมษายน ตามลำ�ดับ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและปัจจัยที่ 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ของคนในชุมชนที่มี และสิ่งแวดล้อมของคนในชุมชน 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มี และไม่มีการท่องเที่ยวในตำ�บลเกาะปันหยี 4

- Age Natural resource and environmental - Household incomeincome conservation behaviors - CareerEmployment related dependant to tourism on tourism - Career related to tourism - Domicile - Domicile - Social statusstatus Communities with tourism Communities without tourism - Participation inin socialsocial groups groups - Acknowledgment ofof conservationconservation information information - Experience inin trainingtraining about about conservation conservation - Perception ofof thethe impactimpact on on water water resources resources Sea water quality - Recognition of regulations concerning water - Recognition of regulations concerning water resources - Encounteringresources an environmental officer - Encountering aninappropriate environmental behaviors officer about EarlyEarly of high of high season Late of high season - Encounteringwater resources inappropriate behaviors about - Benefitingwater resources from natural resources and - Benefitingenvironment from natural resources and - Knowledge on natural resource and environment environment Communities with tourism - Knowledge onabout natural natural resource resource and and environmentalenvironmental conservationconservation - Opinion aboutabour conservationconservation Communities without tourism 1 2 3 FigureFigure 1 1Conceptual Conceptual fframework.ramework. 4 5 อุปกรณ์และวิธีการ อุปกรณ�และวิธีการวิธีการศึกษาคุณภาพน ํ้าทะเลบริเวณชุมชนตำ�บล 6 เกาะปันหยี อุปกรณ์อ ุป ก ร ณ� 7 ในการศึกษามีอุปกรณ�ดังนี้ 1) อุปกรณ�และสารเคมีในการวิเคราะห�คุณภาพน้ําทะเล กำ�หนดจุดเก็บตัวอย่างน 2) แบบสอบถามที่สร�างจากแนวคิดํ้าทะเลโดยสุ่มครอบคลุม ในการศึกษามีอุปกรณ์ดังนี้ 1) อุปกรณ์และ 8 ทฤษฎีที่ผ�านการทดสอบและปรับแก�แล�ว โดยแบบสอบถามแต�ละส�วนมีบริเวณแหล่งชุมชนในตำ Cronbach’s alpha coefficient�บลเกาะปันหยี ไม�ต่ํากว�า จำ0.�7นวนทั้งหมด 3) โปรแกรม สารเคมีในการวิเคราะห์คุณภาพนํ้าทะเล 2) แบบสอบถาม 9 วิเคราะห�ข�อมูลทางสถิติ และ 4) เครื่องระบุตําแหน�งด�วยระบบดาวเทียม23 (GPS) สถานี แบ่งเป็นชุมชนที่มีการท่องเที่ยว ได้แก่ หมู่ที่ 1 ที่สร้างจากแนวคิด ทฤษฎีที่ผ่านการทดสอบและปรับแก้ 10 วิธีการศึกษาคุณภาพน้ําทะเลบริเวณชุมชนตําบลเกาะป�นหยี บ้านท่าด่าน 10 สถานี และหมู่ที่ 2 เกาะปันหยี 9 สถานี แล้ว โดยแบบสอบถามแต่ละส่วนมี Cronbach’s alpha 11 กําหนดจุดเก็บตัวอย�างน้ําทะเลโ ด ย ส ม ุ� ครอบคลุมบริเวณแ ห ล� ง ชุมชนในตําบลเกาะป�นหยี จํานวนทั้งหมด 23 สถานี แ บ� ง เ ป� น coefficient ไม่ตํ่ากว่า 0.7 3) โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล และชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว ได้แก่ หมู่ที่ 3 เกาะไม้ไผ่ 12 ชุมชนที่มีการท�องเที่ยว ได�แก� หมู�ที่ 1 บ�านท�าด�าน 10 สถานี และหมู�ที่ จำ2 �เกาะป�นหยีนวน 4 สถานี 9 สถานี ดัง Figureและชุมชนที่ไม�มีการท�องเที่ยว 2 เก็บตัวอย่างนํ้าทะเลโดย ได�แก� ห ม ู� 13 ทางสถิติที่ 3 เกาะไม�ไผ� และ 4) จํานวน เครื่องระบุตำ 4 สถานี� แหน่งด้วยระบบดาวเทียมดัง Figure 2 เก็บตัวอย�างน้ําทะเลโดยวิธีการจ�วงตักและ ทําการเก็บข�อมูล 2 ครั้ง คือ ช�วงต�นฤดูกาล วิธีการจ้วงตักและทำ�การเก็บข้อมูล 2 ครั้ง คือ ช่วงต้น 14 (GPS)ท�องเที่ยว เป�นตัวแทนช�วงเวลาที่มีผลกระทบสะสมจากการท�องเที่ยวน�อย เก็บข�อมูลในวันที่ 3 มกราคม 2562 และช�วงปลายฤดูกาล 15 ท� อ ง เ ท ี่ย ว เป�นตัวแทนช�วงเวลาที่มีผลกระทบสะสมจากการท�องเที่ยวมาก เก็บข�อมูลในวันที่ 28 เมษายน 2562 โดยมีจํานวน 16 นักท�องเที่ยวสะสมประมาณ 2.5 เท�าของช�วงต�นฤดูกาลท�องเที่ยว (Department of National Parks, Wildlife and Plant 17 Conservation, 2019) ทําการตรวจวัดคุณภาพน้ําทะเลทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด แบ�งเป�นตัวชี้วัดที่ตรวจวัดในภาคสนามจํานวน 4 ตัวชี้วัด 18 ได�แก� อุณหภูมิ (temperature) ความเป�นกรดด�าง (pH) ปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา (dissolved oxygen: DO) ซึ่งตรวจวัดด�วยเครื่อง 19 multiparameter analyzer และความเค็ม (salinity) ซึ่งตรวจวัดด�วยเครื่อง refractometer และตัวชี้วัดที่นําตัวอย�างน้ําทะเลไป 20 วิเคราะห�ในห�องปฏิบัติการจํานวน 7 ตัวชี้วัด ได�แก� ปริมาณของแข็งแขวนลอย (total suspended solid: TSS) แอมโมเนีย (ammonia) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 147-164 (2563) 151

ฤดูกาลท่องเที่ยว เป็นตัวแทนช่วงเวลาที่มีผลกระทบ ตัวชี้วัด ได้แก่ ปริมาณของแข็งแขวนลอย (total สะสมจากการท่องเที่ยวน้อย เก็บข้อมูลในวันที่ 3 มกราคม suspended solid: TSS) แอมโมเนีย (ammonia) 2562 และช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว เป็นตัวแทนช่วง ไนไตรท์ (nitrite) ไนเตรท (nitrate) ฟอสเฟต (phosphate) เวลาที่มีผลกระทบสะสมจากการท่องเที่ยวมาก เก็บข้อมูล ฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (fecal coliform bacteria) ในวันที่ 28 เมษายน 2562 โดยมีจำ�นวนนักท่องเที่ยว และโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด (total coliform สะสมประมาณ 2.5 เท่าของช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยว bacteria) โดยวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพนํ้าทะเลเบื้องต้น (Department of National Parks, Wildlife and Plant และเปรียบเทียบความแตกต่างของคุณภาพนํ้าทะเล Conservation, 2019) ทำ�การตรวจวัดคุณภาพนํ้าทะเล ระหว่างชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและชุมชนที่ไม่มีการ ทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด แบ่งเป็นตัวชี้วัดที่ตรวจวัดในภาค 5 สนามจำ�นวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ อุณหภูมิ (temperature) ท่องเที่ยวในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวและช่วงปลายฤดูกาล 1 ไนไตรท�ความเป็นกรดด่าง (nitrite) ไนเต (pH)รท (n itrateปริมาณออกซิเจนละลายน) ฟอสเฟต (phosphate)ํ้า ฟ� ค อ ล โ คท่องเที่ยว ล ิฟ อ ร� ม แบคทีเรียโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (fecal coliform (descriptive bacteria) และ statistics)โ ค ล ิฟ อ ร� ม 2 แบคทีเรีย(dissolvedทั้งหมด oxygen: (total coliform DO) bacteria)ซึ่งตรวจวัดด้วยเครื่อง โดยวิเคราะห�ข�อมูลคุณภาพน้ําทะเลเบื้องต�นและเปรียบเทียบความแตกต�างของคุณภาพ และสถิติ t-test โดยมีสมมติฐานในการศึกษา คือ ชุมชน 3 น้ําทะเลระหว�างชุมชนที่multiparameter analyzerมีการท�องเที่ยว และความเค็มและชุมชนที่ไม�มีการท�องเที่ย (salinity) วในช�วงต�นฤดูกาลท�องเที่ยวและช�วงปลายฤดูกาลท�องเที่ยวที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยวมีคุณภาพโ ด ย ใ ช� 4 สถิติเชิงพรรณนาซึ่งตรวจวัดด้วยเครื่อง (descriptive refractometer statistics) และตัวชี้วัดที่นำและสถิติ t-test �โดยมีสมมติฐานในการศึกษานํ้าทะเลในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวและช่วงปลายฤดูกาล คือ ชุมชนที่มีการท�องเที่ยวและไ ม� ม ีก า ร 5 ท�องเที่ยวมีคุณภาพน้ําทะเลในช�วงต�นฤดูกาลท�องเที่ยวและช�วงปลายฤดูกาลท�องเที่ยวแตกต�างกัน ตัวอย่างนํ้าทะเลไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการจำ�นวน 7 ท่องเที่ยวแตกต่างกัน 6

7 Moo 1 Ban Tha Dan MooMoo 2 Koh Panyi Panyee Moo 3 KohKo Mai Mai Pai Pai (with tourism) (with(with tourism) tourism) (without(with tourism) tourism) 8 Figure 2 Stations used to monitor the water quality in the Ko Panyi sub-district. 9 Figure 2 Stations used to monitor the water quality in the Ko Panyi sub-district. 10 วิธีการศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 300 ครัวเรือน และกระจายจำ�นวน 11 วิธีและสิ่งแวดล้อมการศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ�ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล�อม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างในแต่ละหมู่บ้านตามสัดส่วนจำ และป�จจัยที่เกี่ยวข�อง �นวนครัวเรือน 12 สุ�มเก็บข�อมูลจากหัวหน�าครัวเรือนหรือตัวแทนครัวเรือนสุ่มเก็บข้อมูลจากหัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทน ครัวเรือนละแต่ละหมู่บ้าน 1 คน ที่มีอายุได้ขนาดตัวอย่างของหมู่ที่ 18 ป�ขึ้นไป ในชุมชนที่มี 1, การท�องเที่ยว2, 3 และ 4 13 ได�แก�ครัวเรือน หมู�ที่ 1ครัวเรือนละ และ 2 และชุมชนที่ 1 คนไ ม�ที่มีอายุ ม ี การท�องเที่ยว 18 ปีขึ้นไป ได�แก� หมู�ที่ใน 3 และ เท่ากับ4 จากทั้งหมด 65, 84, 1,185 62 และ ครัวเรือน 89 ครัวเรือน คํานวณขนาดตัวอย�างจากสูตร ตามลำ�ดับ จากนั้น 14 ของชุมชนที่มีการท่องเที่ยว Yamane (1973) ที่ระดับความเชื่อมั่น ได้แก่ หมู่ที่ 1 และร� อ ย ล2 ะ และชุมชน 95 ได�ขนาดตัวอย�างเท�ากับทำ�การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย 300 ครัวเรือน และกระจายจํานวนตัวอย�างในแต�ละ (simple random sampling) 15 หมู�บ�านตามสัดส�วนจํานวนครัวเรือนแต�ละหมู�บ�านที่ไม่มีการท่องเที่ยว ได้แก่ หมู่ที่ 3 และ 4 จากทั้งหมด ได�ขนาดตัวอย�างของหมู�ที่ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ 1, 2, 3 และ 4 เ ท� า ก ับ 65, 84, 62 และ 89 ครัวเรือน 16 ตามลําดับ จากนั้นทําการส ม ุ� ตัวอย�างอ ย� า ง ง� า ย (simple random sampling) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ�ทรัพยากรธรรมชาติและ 1,185 ครัวเรือน คำ�นวณขนาดตัวอย่างจากสูตรของ สิ่งแวดล้อมและปัจจัยที่เกี่ยวข้องจำ�นวน 15 ปัจจัย 17 สิ่งแวดล�อมและป�จจัยที่เกี่ยวข�องจํานวน 15 ป� จ จ ัย อันได�แก� อายุ รายได�ครัวเรือน การมีอาชีพเกี่ยวกับการท�องเที่ยว การตั้งถิ่นฐาน Yamane (1973) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้ อันได้แก่ อายุ รายได้ครัวเรือน การมีอาชีพเกี่ยวกับการ 18 สถานภาพทางสังคม การเ ข� า ร� วมกลุ�มกิจกรรมทางสังคม การรับรู�ข�าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ� ประสบการณ�การเข�าฝ�กอบรมเกี่ยวกับการ 19 อนุรักษ� การรับรู�ผลกระทบที่มีต�อทรัพยากรน้ํา การรับรู�กฎระเบียบที่เกี่ยวข�องกับทรัพยากรน้ํา การพบปะเจ�าหน�าที่ด�านสิ่งแวดล�อม การ 20 พบเจอพฤติกรรมที่ไม�เหมาะสมต�อทรัพยากรน้ํา การได�รับประโยชน�จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล�อม ความรู�เกี่ยวกับการอนุรักษ� 21 และความคิดเห็นต�อการอนุรักษ� โดยใช�แบบสอบถามเป�นเครื่องมือในการศึกษา หลังจากเก็บข�อมูลจะนํามาวิเคราะห�ข�อมูลเบื้องต�นด�วย 22 สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห�ความมีอิทธิพลของป�จจัยต�างๆ ต�อพฤติกรรมการอนุรักษ�ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล�อมโดยใช�สถิติการ 23 ถดถอยพหุ (multiple regression analysis) และวิเคราะห�เปรียบเทียบความแตกต�างของพฤติกรรมการอนุรักษ�ทรัพยากรธรรมชาติ 24 และสิ่งแวดล�อมและป�จจัยต�างๆ ที่มีอิทธิพลต�อพฤติกรรมการอนุรักษ�ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล�อมระหว�างชุมชนที่มีการท�องเที่ยว 25 และไม�มีการท�องเที่ยวโดยใช�สถิติ t-test และสถิติ Chi-square 26 27 ผลและวิจารณ� 28 คุณภาพน้ําทะเลบริเวณชุมชนตําบลเกาะป�นหยี 152 Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020)

ท่องเที่ยว การตั้งถิ่นฐาน สถานภาพทางสังคม การเข้าร่วม ชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยวในช่วงต้นฤดูกาลเป็นช่วงเวลา กลุ่มกิจกรรมทางสังคม การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการ เที่ยงถึงบ่ายของวัน ทำ�ให้อุณหภูมิสูงกว่าในชุมชนที่มี อนุรักษ์ ประสบการณ์การเข้าฝึกอบรมเกี่ยวกับการ การท่องเที่ยวที่เก็บข้อมูลในช่วงเวลาบ่ายถึงเย็นของวัน อนุรักษ์ การรับรู้ผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรน้าํ การรับรู้ 2) ความเป็นกรดด่าง โดยในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีค่า กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรนํ้า การพบปะ ตํ่ากว่าในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว (Figure 3b) เนื่องจาก เจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อม การพบเจอพฤติกรรมที่ไม่ ชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีการใช้นํ้าอุปโภคบริโภคนํ้า เหมาะสมต่อทรัพยากรนํ้า การได้รับประโยชน์จาก สำ�หรับรองรับการท่องเที่ยวในปริมาณมาก ซึ่งนํ้าจืดหรือ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความรู้เกี่ยวกับการ นํ้าทิ้งมีคุณสมบัติเป็นกลางเมื่อมีการปล่อยลงทะเลส่งผล อนุรักษ์ และความคิดเห็นต่อการอนุรักษ์ โดยใช้แบบสอบถาม ให้ค่าความเป็นกรดด่างของนํ้าทะเลลดตํ่าลง (Panijpan, เป็นเครื่องมือในการศึกษา หลังจากเก็บข้อมูลจะนำ�มา 2013) และ 3) ความเค็ม โดยในชุมชนที่มีการท่องเที่ยว วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นด้วยสถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ มีค่าตํ่ากว่าในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว (Figure 3d) ซึ่ง ความมีอิทธิพลของปัจจัยต่างๆ ต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ เป็นผลต่อเนื่องจากการที่ชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยใช้สถิติการถดถอย อุปโภคบริโภคนํ้าสำ�หรับรองรับการท่องเที่ยวในปริมาณ พหุ (multiple regression analysis) และวิเคราะห์ มาก เมื่อมีการปล่อยนํ้าจืดหรือนํ้าทิ้งลงทะเล ส่งผลให้ เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการอนุรักษ์ ค่าความเค็มลดลง (Maimansomsuk, 2012; Tuanvechayan, ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและปัจจัยต่างๆ ที่ 2013) นอกจากนั้น ในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวค่าโคลิฟอร์ม มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ แบคทีเรียจะสูงกว่ามากเมื่อเปรียบเทียบกับชุมชนที่ไม่มี และสิ่งแวดล้อมระหว่างชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและไม่มี การท่องเที่ยว แม้จะไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัย การท่องเที่ยวโดยใช้สถิติ t-test และสถิติ Chi-square สำ�คัญทางสถิติ ทั้งนี้เพราะชุมชนที่มีการท่องเที่ยว แม้ จะเป็นช่วงเวลาที่มีการท่องเที่ยวเบาบางแต่เป็นชุมชน ผลและวิจารณ์ ที่ตั้งอยู่ในนํ้าจึงระบายของเสียลงโดยตรงสู่ทะเล ทำ�ให้ คุณภาพนํ้าทะเลบริเวณชุมชนตำ�บลเกาะปันหยี เกิดผลกระทบมากกว่า รวมถึงปริมาณประชากรของ คุณภาพนํ้าทะเล ตำ�บลเกาะปันหยี อยู่ในเกณฑ์ หมู่บ้านที่มีการท่องเที่ยวยังมีจำ�นวนมากกว่าอีกด้วย มาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเลตามประกาศ National 2. เปรียบเทียบคุณภาพนํ้าทะเลระหว่าง Environment Board (2017) ยกเว้น ค่าโคลิฟอร์ม ชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยวในช่วง แบคทีเรียทั้งหมดที่มีค่าเกินมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล ปลายฤดูกาลท่องเที่ยว ประเภทที่ 1 ที่กำ�หนดไว้ไม่เกิน 1,000 MPN/100 ml ผลการศึกษาพบว่า มี 5 ตัวชี้วัดที่มีความ ทั้งในชุมชนที่มีและไม่มีการท่องเที่ยวและทั้งในช่วงต้น แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ คือ 1) ความเป็น และช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว รายละเอียดดัง Figure 3k กรดด่าง โดยในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีค่าความเป็น 1. เปรียบเทียบคุณภาพนํ้าทะเลระหว่าง กรดด่างตํ่ากว่าในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว (Figure 3b) ชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยวในช่วง เนื่องจากในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีการปล่อยนํ้าจืด ต้นฤดูกาลท่องเที่ยว หรือนํ้าทิ้งลงทะเลปริมาณมากจากการรองรับการ ผลการศึกษาพบว่า มี 3 ตัวชี้วัดที่มีความ ท่องเที่ยว ซึ่งนํ้าจืดหรือนํ้าทิ้งมีคุณสมบัติเป็นกลาง เมื่อ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ คือ 1) อุณหภูมิ มีการปล่อยลงทะเลส่งผลให้ค่าความเป็นกรดด่างของ โดยในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในชุมชนที่ไม่มี นํ้าทะเลลดตํ่าลง (Panijpan, 2013) 2) ปริมาณออกซิเจน การท่องเที่ยว (Figure 3a) เนื่องจากการเก็บข้อมูลใน ละลายนํ้า โดยในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีค่าสูงกว่าใน วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 147-164 (2563) 153 9

(a) (b) (c) (a) Temperature (°C) (b) pH (c) Dissolved oxygen (mg/l)

30.48 32.1331.50 10.00 7.00 5.94 32.00 29.34 7.83 7.48 7.49 7.65 6.00 4.74 8.00 5.17 4.80 24.00 5.00 6.00 4.00 16.00 4.00 3.00 2.00 8.00 2.00 1.00 0.00 0.00 0.00 Early of high Late of high Early of high Late of high Early of high Late of high season season season season season season 3 (d) (e) (f) (d) Salinity (PSU) (e) Total suspended solid (mg/l) (f) Nitrite (µg-N/l) 33.25 0.16 35.00 29.37 160.00 117.20 0.25 28.25 30.00 0.11 20.11 0.20 25.00 120.00 20.00 0.15 80.00 15.00 42.40 0.07 0.06 32.75 0.10 10.00 31.71 40.00 0.05 5.00 0.00 0.00 0.00 Early of high Late of high Early of high Late of high Early of high Late of high season season season season season season 4 (g) (h) (i) (g)(g) Nitrate (µg-N/l) (h) Phosphate (µg-P/l) (i) Ammonia (µg-N/l) 1.94 6.00 1.40 10.00 0.91 6.11 1.20 5.00 8.00 1.00 4.00 0.52 1.74 0.80 6.00 3.88 3.00 0.50 0.60 0.39 2.44 0.73 1.00 4.00 2.00 0.40 2.07 2.00 1.00 0.20 0.00 0.00 0.00 Early of high Late of high Early of high Late of high Early of high Late of high season season season season season season 5 (j) (k) (j) Fecal coliform bacteria (k) Total coliform bacteria (MPN/100 ml) (MPN/100 ml) 43,229.47 47,501.05 120,000 120,000 100,000 100,000 Communities with tourism 80,000 80,000 60,000 60,000 21,275.00 Communities without tourism 40,000 40,000 4,490.79 4,886.11 20,000 1,300.75 4,525.00 20,000 1,783.25 0 0 Early of high Late of high Early of high Late of high season season season season 6 7 Figure 3 Bar chart comparison of sea water quality parameters. 154 Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020)

ชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว (Figure 3c) เนื่องจากชุมชน ในเดือนมกราคม (Department of Alternative Energy ที่มีการท่องเที่ยวนํ้าทะเลมีของแข็งแขวนลอยน้อยกว่า Development and Efficiency, 1999) ทำ�ให้พืชนํ้า แสงอาทิตย์ส่องลงไปในนํ้าได้มากกว่า ส่งผลให้พืชนํ้า รวมถึงแพลงก์ตอนมีการสังเคราะห์แสงให้ออกซิเจน รวมถึงแพลงก์ตอนมีการสังเคราะห์แสงให้ออกซิเจนใน ละลายน้าได้มากกว่าช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวํ 3) ความเค็ม ละลายนํ้าได้มากกว่าชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว 3) ความ โดยในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในช่วงปลาย เค็ม โดยในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในชุมชน ฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure 3d) เนื่องจากในช่วงปลาย ที่ไม่มีการท่องเที่ยว (Figure 3d) เนื่องจากในชุมชนที่มี ฤดูกาลท่องเที่ยวเป็นฤดูร้อนในช่วงเดือนเมษายน อากาศ การท่องเที่ยวมีการปล่อยนํ้าจืดหรือนํ้าทิ้งลงทะเลปริมาณ มีอุณหภูมิสูงส่งผลให้นํ้าทะเลมีอัตราการระเหยมากขึ้น มากจากการรองรับการท่องเที่ยว ส่งผลให้ค่าความเค็ม จึงทำ�ให้ความเค็มของนํ้าทะเลมีค่าสูงขึ้น (Learning ลดลง (Maimansomsuk, 2012; Tuanvechayan, Center for Earth Science and Astronomy, n.d.) 2013) 4) ปริมาณของแข็งแขวนลอย โดยในชุมชนที่มี 4) แอมโมเนีย โดยในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่า การท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว ในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure 3f) 5) ไนไตรท์ (Figure 3e) เนื่องจากชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยวมีพื้นที่ โดยในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในช่วงปลาย ส่วนใหญ่เป็นบริเวณนํ้าตื้น ทำ�ให้ตะกอนจากท้องนํ้าจะ ฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure 3g) 6) ไนเตรท โดยในช่วงต้น ฟุ้งขึ้นมาได้มากกว่าเมื่อมีเรือเข้าออก ทำ�ให้มีปริมาณ ฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว ของแข็งแขวนลอยสูงกว่าในชุมชนที่มีการท่องเที่ยว และ (Figure 3h) เนื่องจากในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว 5) ฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย โดยในชุมชนที่มีการท่อง ชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีปริมาณการท่องเที่ยวสูงขึ้น มี เที่ยวมีค่าสูงกว่าในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว ทั้งนี้เพราะ การอุปโภคบริโภคสูงขึ้น เกิดของเสียมากขึ้นทั้งนํ้าทิ้ง ช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวค่อนข้างมาก จากห้องนํ้าและเศษอาหารจากร้านอาหารที่ลงสู่ทะเล ชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีปริมาณการใช้ห้องนํ้าเพิ่มขึ้น ทำ�ให้มีปริมาณสารอาหารเหล่านี้สูงขึ้น 7) ฟอสเฟต โดย จากนักท่องเที่ยวที่ไปเยือนและมีการปล่อยสิ่งปฏิกูล ในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าสูงกว่าในช่วงปลายฤดูกาล ลงสู่ทะเลโดยตรงทำ�ให้นํ้าทะเลปนเปื้อนอุจจาระ ส่งผล ท่องเที่ยว (Figure 3i) เนื่องจากช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยว ให้ค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรียสูง ผลกระทบก็จะรุนแรง มีการซักล้างเพื่อเตรียมความพร้อมในการรองรับฤดูกาล ขึ้น (Figure 3j) ท่องเที่ยวที่จะมาถึง ทำ�ให้มีปริมาณฟอสเฟตจากผลิตภัณฑ์ 3. เปรียบเทียบคุณภาพนํ้าทะเลระหว่างช่วง ซักล้างปนเปื้อนในนํ้าทะเลมากขึ้น 8) ฟีคอลโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย โดยในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าใน ต้นฤดูกาลท่องเที่ยวและช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวใน ช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure 3j) เนื่องจากในช่วง ชุมชนที่มีการท่องเที่ยว ปลายฤดูกาลท่องเที่ยวมีปริมาณการใช้ห้องนํ้าจากนัก ผลการศึกษาพบว่า มี 9 ตัวชี้วัดที่มีความ ท่องเที่ยวสูงขึ้นและมีการปล่อยสิ่งปฏิกูลลงสู่ทะเลโดยตรง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ คือ 1) อุณหภูมิ ทำ�ให้น้าทะเลปนเปื้อนอุจจาระํ ส่งผลให้ค่าฟีคอลโคลิฟอร์ม โดยในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในช่วงปลาย แบคทีเรียสูง และ 9) โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด โดย ฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure 3a) เนื่องจากช่วงปลายฤดูกาล ในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในช่วงปลายฤดูกาล ท่องเที่ยวเป็นช่วงฤดูร้อนเดือนเมษายน ทำ�ให้อุณหภูมิ ท่องเที่ยว (Figure 3k) เนื่องจากช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว นํ้าทะเลสูงขึ้นจากช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวในเดือนมกราคม มีปริมาณการใช้ห้องนํ้าจากนักท่องเที่ยวสูงขึ้นและมีการ 2) ปริมาณออกซิเจนละลายนํ้า โดยในช่วงต้นฤดูกาล ปล่อยสิ่งปฏิกูลลงสู่ทะเลโดยตรง รวมถึงมีการเทเศษ ท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure อาหารจากร้านอาหารลงทะเลมากขึ้นซึ่งเป็นแหล่งอาหาร 3c) เนื่องจากช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวเป็นเดือนเมษายน ของโคลิฟอร์มแบคทีเรียทำ�ให้ค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรีย มีความเข้มรังสีดวงอาทิตย์สูงกว่าช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยว ทั้งหมดสูง (Lang, 2011) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 147-164 (2563) 155

4. เปรียบเทียบคุณภาพนํ้าทะเลระหว่างช่วง ความเป็นกรดด่าง และความเค็มของชุมชนที่มีการ ต้นฤดูกาลท่องเที่ยวและช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวใน ท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยวทั้งในช่วง ชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว ต้นและช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว อธิบายได้ว่าแม้จะมี ผลการศึกษาพบว่า มี 4 ตัวชี้วัดที่มีความ หรือไม่มีปัจจัยด้านการท่องเที่ยว ค่าความเป็นกรดด่าง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ คือ 1) ความเป็น และความเค็มยังคงมีแนวโน้มเหมือนเดิม ตีความได้ว่า กรดด่าง โดยในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าสูงกว่าใน ในการใช้ชีวิตประจำ�วันโดยปกติของคนในชุมชนที่มีการ ช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure 3b) เนื่องจากการ ท่องเที่ยวมีการปล่อยนํ้าทิ้งลงสู่ทะเลมากกว่าชุมชนที่ เก็บข้อมูลช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวเป็นช่วงปลายเดือน ไม่มีการท่องเที่ยว ทั้งนี้เนื่องมาจากสภาพพื้นที่ในชุมชน เมษายน เริ่มมีฝนตกถี่ขึ้นจากช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยว ซึ่ง ที่มีการท่องเที่ยว โดยเฉพาะหมู่ที่ 2 เกาะปันหยี เป็น ฝนมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนๆ เมื่อตกลงสู่ทะเลทำ�ให้นํ้าทะเล ชุมชนที่ยืนเสาปลูกสร้างบ้านเรือนอยู่กลางทะเล การระบาย มีค่าความเป็นกรดด่างลดตํ่าลง (Pollution Control น้าทิ้งในปัจจุบันเป็นการปล่อยลงสู่ทะเลโดยตรงํ ในขณะ Department, 2004) 2) ความเค็ม โดยในช่วงต้นฤดูกาล ที่พื้นที่ของชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยวมีส่วนที่เป็นพื้นดิน ท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure ทำ�ให้มีการปล่อยนํ้าทิ้งลงสู่ทะเลโดยตรงน้อยกว่า อย่างไร 3d) เนื่องจากในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวเป็นฤดูร้อน ก็ดี ค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นชุมชนที่ มีการท่องเที่ยวหรือไม่มีการท่องเที่ยวพบว่ามีค่าเกิน ในช่วงเดือนเมษายน อากาศมีอุณหภูมิสูงส่งผลให้นํ้า มาตรฐานทั้งในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวและช่วงปลาย ทะเลมีอัตราการระเหยมากขึ้น จึงทำ�ให้ความเค็มของนํ้า ฤดูกาลท่องเที่ยว ซึ่งเป็นผลมาจากการขาดระบบบำ�บัด ทะเลมีค่าสูงขึ้น (Learning Center for Earth Science นํ้าเสียที่เหมาะสมในห้องนํ้าห้องสุขาในทุกชุมชน โดย and Astronomy, n.d.) 3) ปริมาณของแข็งแขวนลอย เฉพาะชุมชนที่ตั้งบ้านเรือนในนํ้าซึ่งส่วนใหญ่คือชุมชน โดยในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในช่วงปลาย ที่มีการท่องเที่ยว จึงเป็นปัญหาที่ควรมีการจัดการแก้ไข ฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure 3e) เนื่องจากช่วงปลายฤดูกาล ผลกระทบอย่างเร่งด่วน ท่องเที่ยว ในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยวมีเรือเข้าออกเพิ่ม จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างช่วง ขึ้นจากการที่คนในชุมชนเดินทางไปประกอบอาชีพเกี่ยวกับ ต้นและช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวเพื่อวิเคราะห์ผล การท่องเที่ยวในชุมชนที่มีการท่องเที่ยว ด้วยสภาพพื้นที่ กระทบจากการท่องเที่ยว สรุปได้ว่า การท่องเที่ยวส่ง ชุมชนที่เป็นบริเวณนํ้าตื้น ทำ�ให้ตะกอนจากท้องนํ้าจะ ผลกระทบต่อคุณภาพนํ้าทะเลในชุมชน โดยอ้างอิงจาก ฟุ้งขึ้นมามากกว่าช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยว และ 4) แอมโมเนีย ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํ้าของชุมชนที่มีการท่องเที่ยว โดยในช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าตํ่ากว่าในช่วงปลาย ที่พบว่ามีตัวชี้วัดที่ในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวมี ฤดูกาลท่องเที่ยว (Figure 3i) เนื่องจากช่วงปลายฤดูกาล คุณภาพตํ่าลงกว่าช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยว ได้แก่ แอมโมเนีย ท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่ที่ 3 เกาะไม้ไผ่ ซึ่งเป็นตัวแทนชุมชน ไนไตรท์ ไนเตรท ฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย และแบคทีเรีย ที่ไม่มีการท่องเที่ยว เป็นหมู่บ้านเดียวที่มีการเลี้ยงปลา โคลิฟอร์มทั้งหมด ซึ่งเป็นผลมาจากการอุปโภคบริโภคที่ กระชังในช่วงนี้ อาจเพาะเลี้ยงปลาเพื่อส่งร้านอาหาร เพิ่มสูงขึ้นในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว และยังพบว่าใน รองรับการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ทำ�ให้ปริมาณแอมโมเนีย ชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว ค่าปริมาณของแข็งแขวนลอย สูงขึ้นจากการขับถ่ายของปลา และแอมโมเนีย ในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวมีคุณภาพ 5. สรุปภาพรวมการวิเคราะห์คุณภาพน้าทะเลํ ตํ่าลงกว่าช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวเนื่องมาจากกิจกรรม จากการเปรียบเทียบคุณภาพนํ้าทะเล ของชุมชนในการสนับสนุนการท่องเที่ยวแม้จะไม่มี ระหว่างชุมชนที่มีและไม่มีการท่องเที่ยว (Table 1) พบว่า นักท่องเที่ยวมาเยือนในหมู่บ้านก็ตาม 156 Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020)

Table 1 Results from comparing sea water quality parameters between communities with and without tourism and between the early and late high season using t-test. n = 46 t Comparison between Comparison between early and communities with and Parameters late high season without tourism Early of high Late of high Communities Communities season season with tourism without tourism Temperature -2.66* 1.52ns -9.36*** -2.48ns pH -5.35*** -3.05** -0.76ns 5.72* Dissolved oxygen: DO 0.87ns 4.22*** -4.90*** -0.14ns Salinity -4.73*** -4.66*** -11.77*** -4.08* Total suspended solid: TSS 0.78ns -4.71* 1.68ns -5.08* Ammonia 0.64ns -1.84ns -3.86** -3.25* Nitrite 0.58ns -1.20ns -3.30** -2.59ns Nitrate -0.32ns -0.55ns -3.11** -1.06ns Phosphate -0.19ns -3.01ns 2.92** -1.97ns Fecal coliform bacteria 0.51ns 2.33* -2.31* -1.19ns Total coliform bacteria 0.49ns 1.31ns -2.60* -1.67ns Remarks: * p<0.05; ** p<0.01; *** p<0.001; ns Not significant level 0.05 พฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ เกี่ยวกับการท่องเที่ยว เช่น รับจ้างบริษัทนำ�เที่ยวพายเรือ สิ่งแวดล้อมและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง แคนูพานักท่องเที่ยวชมธรรมชาติในอุทยานแห่งชาติอ่าว 1. ลักษณะทางสังคมประชากร และพฤติกรรม พังงา ไปเป็นลูกจ้างในร้านอาหาร เป็นต้น รายละเอียด การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การประกอบอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยวดัง Figure 4f 1.1 ลักษณะทางสังคมประชากร ส่วนการประกอบอาชีพพบว่า คนในชุมชนที่มีการท่องเที่ยว จากการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างทั้ง 4 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว ซึ่งแตกต่าง หมู่บ้าน พบว่า มีสัดส่วนครัวเรือนที่มีและไม่มีอาชีพ จากคนในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยวที่คนส่วนใหญ่ยังมี เกี่ยวกับการท่องเที่ยวรายหมู่บ้านดัง Table 2 ในหมู่ที่ 3 วิถีชีวิตประกอบอาชีพชาวประมง รายละเอียดดัง Figure เกาะไม้ไผ่ ซึ่งเป็นชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว มีคนในชุมชน 4c ส่วนข้อมูลอายุ ระดับการศึกษา อาชีพรอง รายได้ ที่มีอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยวสูงถึงร้อยละ 53.23 ครัวเรือน และสัดส่วนรายได้ที่มาจากการท่องเที่ยวและ เนื่องจากคนในหมู่ที่ 3 เกาะไม้ไผ่ ส่วนหนึ่งเดินทางไป รายได้ที่ไม่ได้จากการท่องเที่ยว รายละเอียดดัง Figure ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในหมู่ที่ 1 บ้าน 4a, Figure 4b, Figure 4d, Figure 4e และ Figure 4g ท่าด่าน และหมู่ที่ 2 เกาะปันหยี ซึ่งเป็นชุมชนที่มีการ ตามลำ�ดับ ท่องเที่ยว โดยส่วนใหญ่ไปประกอบอาชีพเป็นลูกจ้างที่ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 147-164 (2563) 157

Table 2 Number of samples with employment dependant on and not dependant on tourism in Ko Panyi sub-district. n = 300 Number of households Village Career related Career not Sum to tourism related to tourism Communities with tourism Moo 1 Ban Tha Dan 42(64.62%) 23(35.38%) 65(100.00%) Moo 2 Ko Panyi 72(85.71%) 12(14.29%) 84(100.00%) Sum of communities with tourism 114(76.51%) 35(23.49%) 149(100.00%) Communities without tourism Moo 3 Ko Mai Pai 33(53.23%) 29(46.77%) 62(100.00%) Moo 4 Ko Mak Noi 1(1.12%) 88(98.88%) 89(100.00%) Sum of communities without tourism 34(22.52%) 117(77.48%) 151(100.00%) Sum 148(49.33%) 152(50.67%) 300(100.00%) 1.2 พฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาคุณภาพนํ้าทะเลบริเวณ และสิ่งแวดล้อม ชุมชนตำ�บลเกาะปันหยีที่พบว่า ค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรีย การศึกษาพบว่าชุมชนตำ�บลเกาะปันหยี ทั้งหมดเกินค่ามาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเลประเภทที่ 1 มีคะแนนพฤติกรรมการอนุรักษ์จัดอยู่ในระดับปานกลาง ตามประกาศ National Environment Board (2017) (เฉลี่ย 3.28±0.66 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน) เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล ทั้งชุมชนที่มีการ ซึ่งพฤติกรรมเชิงบวกที่ประชาชนกระทำ�บ่อย คือ ปิดนํ้า ท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยว โดยเฉพาะในชุมชนที่มี เมื่อแปรงฟันหรือโกนหนวด รองลงมาคือ ไม่ปล่อยให้นํ้า การท่องเที่ยว ในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวมีค่าโคลิฟอร์ม ล้นถัง มีคะแนนความถี่การกระทำ�เฉลี่ยเท่ากับ 4.55±0.77 แบคทีเรียทั้งหมดสูงขึ้นจากช่วงต้นฤดูกาลท่องเที่ยวมาก คะแนน และ 4.34±0.91 คะแนน ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ ดัง Figure 3k ซึ่งเป็นผลมาจากการเทเศษอาหารลงทะเล เนื่องจากชุมชนตำ�บลเกาะปันหยีส่วนใหญ่เป็นเกาะห่าง มากขึ้นจากการรองรับการท่องเที่ยวที่มากขึ้นในช่วง ไกลจากแผ่นดิน ทำ�ให้ค่านํ้าประปามีราคาแพง คนใน ปลายฤดูกาลท่องเที่ยว ชุมชนจึงประหยัดนํ้าใช้เพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ส่วน 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ พฤติกรรมเชิงลบที่มีคะแนนความถี่การกระทำ�เฉลี่ยสูง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่สุด คือ เทเศษอาหารลงแหล่งนํ้า และถ่มนํ้าลายลง จากการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ แหล่งนํ้า มีคะแนนความถี่การกระทำ�เฉลี่ยเท่ากับ พฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.81±1.34 คะแนน และ 2.81±1.19 คะแนน ตามลำ�ดับ พบว่า มี 9 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ เนื่องจากพื้นที่ชุมชนตำ�บลเกาะปันหยีส่วนใหญ่เป็นชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยทั้ง 9 ปัจจัยก่อให้ ริมนํ้า มีพื้นที่ที่เป็นแผ่นดินน้อย คนในชุมชนส่วนใหญ่จึง เกิดการแปรผันในพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ นิยมเทเศษอาหารและถ่มนํ้าลายลงทะเล เพราะสะดวก และสิ่งแวดล้อมร้อยละ 40.60 (F = 22.04; p<0.001; และเชื่อว่าเศษอาหารจะเป็นอาหารของสัตว์ทะเลต่อไป R2 = 0.41) เรียงจากปัจจัยที่มีอิทธิพลมากไปน้อย ได้ 158 Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020) 11

(a) (b) % Age % Education level 56.95 40 60 47.65 28.86 27.81 50 30 21.19 21.85 40 20.81 17.45 17.88 20 16.78 14.77 30 9.27 20.1322.52 10 20 15.4413.25 1.341.99 8.72 7.38 10 5.96 0 0.67 0.00 1.32 18-20 21-30 31-40 41-50 51-60 >60 0 Uneducated Primary Junior high Senior high High Voc. Bachelor (Years old) school school school Cert. degrees 26 (c) (d) Career Part-time job % % 70 60.40 70 62.4260.26 60 60 50 44.37 50 40 40 30 22.52 30 12.75 12.58 13.42 20 12.08 15.23 14.7713.25 20 9.93 12.58 7.38 2.65 6.04 3.36 10 5.37 4.63 10 2.01 2.00 0 0

27 (e) (f) Household income Career related to tourism % % 80 100 64.24 77.48 80 60 36.24 60 40 38.26 38.26 24.83 23.18 40 23.49 21.85 15.44 20 20 10.74 8.61 8.05 5.37 6.71 6.04 5.361.32 1.99 0.00 3.360.00 1.99 0.00 0.00 0.00 0 0 0-10k 10k-20k 20k-30k 30k-40k 40k-50k 50k-60k >60k No career Souvenir Tourism Grocery Tour Other related to shop employee shop business (Baht/month) tourism 28 (g) Household income from tourism % and not from tourism 100 81.81 80 58.32 Communities with tourism 60 41.68 Communities without tourism 40 18.19 20 0 From tourism Not from tourism 29 30 31 FigureFigure 4 Social-population 4 Social-population characteristicscharacteristics of ofKoh Ko Panyee Panyi sub sub-district-district communities communities.. วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 147-164 (2563) 159

ดังนี้ 1) ประสบการณ์การเข้าฝึกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ มาจากผู้ที่ครัวเรือนที่มีอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยวคำ�นึง โดยผู้ที่มีประสบการณ์เข้าฝึกอบรม จะมีพฤติกรรม ถึงภาพลักษณ์และความสมบูรณ์ของทรัพยากรการ การอนุรักษ์ดีกว่าผู้ที่ไม่มีประสบการณ์การเข้าฝึกอบรม ท่องเที่ยวในตำ�บลเกาะปันหยี 8) การพบเจอพฤติกรรม 2) อายุ โดยกลุ่มตัวอย่างมีอายุมาก จะมีพฤติกรรมการ ที่ไม่เหมาะสมต่อทรัพยากรนํ้า โดยผู้ที่พบเจอพฤติกรรม อนุรักษ์ดี 3) การเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมทางสังคม โดย ที่ไม่เหมาะสมต่อทรัพยากรนํ้า จะมีพฤติกรรมการอนุรักษ์ ผู้ที่เข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมทางสังคม จะมีพฤติกรรม น้อยกว่าผู้ที่ไม่พบเจอพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม อาจเนื่อง การอนุรักษ์ดีกว่าผู้ที่ไม่เข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมทางสังคม มาจากเกิดพฤติกรรมการคล้อยตามกลุ่ม และ 9) ความรู้ 4) สถานภาพทางสังคม โดยผู้ที่มีสถานภาพทางสังคม เกี่ยวกับการอนุรักษ์ โดยผู้ที่มีคะแนนความรู้เกี่ยวกับการ เป็นคณะกรรมการหมู่บ้านหรืออดีตคณะกรรมการหมู่บ้าน อนุรักษ์สูง จะมีพฤติกรรมการอนุรักษ์ดี รายละเอียดดัง จะมีพฤติกรรมการอนุรักษ์ดีกว่าผู้ที่มีสถานภาพเป็น Table 3 ลูกบ้าน 5) การพบปะเจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อม โดยผู้ที่ ผลการศึกษาดังกล่าวสอดคล้องกับผลการ พบปะเจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อม จะมีพฤติกรรมการ ศึกษาของ Alfred (1997) ที่พบว่า อายุ ความรู้เกี่ยวกับ อนุรักษ์ดีกว่าผู้ที่ไม่พบปะเจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ ส่งผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ การศึกษา 6) ความคิดเห็นต่อการอนุรักษ์ โดยผู้ที่มีความคิดเห็นต่อ ของ Pattana (2003) ที่พบว่า ประสบการณ์ในการฝึก การอนุรักษ์เชิงบวก จะมีพฤติกรรมการอนุรักษ์ดี 7) การ อบรมมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ มีอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยว โดยผู้ที่ครัวเรือนมีอาชีพ การศึกษาของ Neamwattana (2004) ที่พบว่า สถานภาพ เกี่ยวกับการท่องเที่ยวมีพฤติกรรมอนุรักษ์ดีกว่าผู้ที่ ทางสังคม การเข้าร่วมกลุ่มทางสังคม การเข้าฝึกอบรม ครัวเรือนไม่มีอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยว โดยครัวเรือน และความรู้เกี่ยวกับอนุรักษ์ มีผลต่อพฤติกรรมการมี ที่มีอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยวมีคะแนนพฤติกรรมการ ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และการศึกษาของ Promsit อนุรักษ์สูงกว่าครัวเรือนที่ไม่มีอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยว (2012) ที่พบว่า ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ส่งผลต่อ อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (t = 2.67; p<0.01) อาจเนื่อง พฤติกรรมการอนุรักษ์ 160 Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020)

Table 3 Multiple regression analysis indicating the factors influencing natural resource and environmental conservation behaviors. n = 300 Factors B SE Beta t Constant 1.88 0.25 7.44*** Experience in training about conservation - Have experience in training about conservation 0.30 0.05 0.31 6.32*** (No experience is a reference group) Age 0.01 0.00 0.21 4.18*** Participation in social groups - Participate in social groups 0.22 0.05 0.20 4.05*** (Not participate in social groups is a reference group) Social status - Village committee 0.26 0.08 0.15 3.21** (Home owner is a reference group) Encountering an environmental officer - Encounter an environmental officer 0.15 0.05 0.14 3.01** (Not encounter is a reference group) Opinion about conservation 0.15 0.06 0.13 2.68** Employment dependant on tourism - Dependant on tourism 0.12 0.05 0.12 2.61** (Not dependant on tourism is the reference group) Encountering inappropriate behavior about water resources - Encounter inappropriate behavior -0.11 0.05 -0.11 -2.33* (Not Encounter is a reference group) Knowledge about the natural resources and environmental 0.03 0.01 0.09 2.00* conservation Remarks: R2 = 0.41; F = 22.04; p<0.001; * p<0.05; ** p<0.01; *** p<0.001 3. เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษ์ พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระหว่างชุมชน 0.05 แสดงให้เห็นว่าการมีหรือไม่มีการท่องเที่ยวในชุมชน ที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยว ไม่ได้ส่งผลให้พฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ จากการศึกษาพบว่า ชุมชนที่มีการท่องเที่ยว และสิ่งแวดล้อมของคนในชุมชนมีความแตกต่างกันใน และไม่มีการท่องเที่ยว มีคะแนนพฤติกรรมการอนุรักษ์ บริบทของชุมชนตำ�บลเกาะปันหยี ซึ่งสอดคล้องกับ จัดอยู่ในระดับปานกลางเฉลี่ย 3.28±0.46 คะแนน และ ผลการศึกษาคุณภาพน้าทะเลที่พบว่าํ ค่าคุณภาพน้าทะเลํ 3.25±0.50 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ตาม ระหว่างชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยว ลำ�ดับ เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษ์ระหว่าง ส่วนใหญ่แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ แต่ ชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว มีค่าคุณภาพนํ้าทะเลบางตัวชี้วัดที่พบว่าในชุมชนที่มีการ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 147-164 (2563) 161

ท่องเที่ยวด้อยกว่าในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว เช่น ความ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ตํ่ากว่าชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว เป็นกรดด่าง และความเค็ม ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่ชี้ให้เห็นว่า รายละเอียดดัง Table 4 ซึ่งสิ่งที่คนในตำ�บลเกาะปันหยี ในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีการปล่อยนํ้าทิ้งลงสู่ทะเล ส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจผิด โดยเฉพาะในชุมชนที่มีการ มากกว่า อันเนื่องมาจากสภาพพื้นที่ในชุมชนที่มีการ ท่องเที่ยว คือ สามารถปล่อยนํ้าเสียจากบ้านเรือนลงสู่ ท่องเที่ยว โดยเฉพาะหมู่ที่ 2 เกาะปันหยี เป็นชุมชนที่ ทะเลได้เลยโดยไม่ต้องผ่านการบำ�บัดเพราะไม่มีสารเคมี ยืนเสาปลูกสร้างบ้านเรือนอยู่กลางทะเล การระบายน้าทิ้งํ ปนเปื้อน และการเทเศษอาหารลงสู่ทะเลเป็นประโยชน์ ในปัจจุบันคือการปล่อยลงสู่ทะเลโดยตรงซึ่งหมายรวมถึง ต่อสัตว์นํ้าไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อทะเล ซึ่งสอดคล้องกับ นํ้าเสียจากห้องนํ้าด้วยเช่นกัน สอดคล้องกับผลการศึกษา ผลการศึกษาคุณภาพนํ้าทะเลบริเวณชุมชนที่มีการ คุณภาพนํ้าทะเลที่พบว่าในช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยว ท่องเที่ยวที่พบว่า มีค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมดเกิน ชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย มาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเลประเภทที่ 1 ตามประกาศ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่แสดงถึงการปนเปื้อนอุจจาระ สูงกว่าใน National Environment Board (2017) เรื่อง กำ�หนด ชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว รายละเอียดดัง Table 1 มาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล รวมถึงมีค่าความเป็นกรดด่าง 4. เปรียบเทียบปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อ และค่าความเค็ม ด้อยกว่าในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว พฤติกรรมการอนุรักษ์ ระหว่างชุมชนที่มีการท่องเที่ยว อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ ส่วนปัจจัยที่เป็นตัวแปรเชิง และไม่มีการท่องเที่ยว กลุ่มพบว่า มี 2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีการ จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบปัจจัย 8 ท่องเที่ยวหรือไม่มีการท่องเที่ยวในชุมชน คือ 1) การ ปัจจัย จาก 9 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ พบปะเจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งคนที่พบปะเจ้าหน้าที่ ดังปรากฏใน Table 3 (ไม่นำ�ปัจจัยการมีอาชีพเกี่ยวกับ ด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวมีสัดส่วนน้อย การท่องเที่ยวมาเปรียบเทียบ) ระหว่างชุมชนที่มีการ กว่าในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว และ 2) การพบเจอ ท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยว พบว่า มีปัจจัยที่เป็น พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่อทรัพยากรนํ้า ซึ่งคนที่พบเจอ ตัวแปรค่าต่อเนื่อง 1 ปัจจัยที่มีความแตกต่างกันอย่างมี พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่อทรัพยากรนํ้าในชุมชนที่มีการ นัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ความรู้เกี่ยวกับการ ท่องเที่ยวมีสัดส่วนมากกว่าในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว อนุรักษ์ โดยชุมชนที่มีการท่องเที่ยว มีคะแนนความรู้ รายละเอียดดัง Table 5 Table 4 Result from t-test indicating the factors influencing natural resource and environmental conservation behavior between communities with and without tourism. n = 300 Factors n Mean SD t p-value Knowledge about natural resource and environmental conservation 2.01 0.05 - Communities with tourism 149 4.01 1.62 - Communities without tourism 151 4.40 1.69 162 Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020)

Table 5 Results from chi-square indicating the factors influencing natural resource and environmental conservation behavior between communities with and without tourism. n = 300 Number of households Factors Communities Communities 2 p-value with tourism without tourism Encountering about environmental officer 4.60 0.03 - Encounter an environmental officer 100 118 - Not encounter an environmental officer 49 33 Encountering inappropriate behaviors about water 12.89 0.00 resources - Encounter inappropriate behaviors 107 78 - Not encounter inappropriate behaviors 42 73

และไม่มีการท่องเที่ยวมีคะแนนพฤติกรรมการอนุรักษ์ใน สรุป ระดับปานกลางและไม่มีความแตกต่างกัน สอดคล้องกับ ค่าคุณภาพนํ้าทะเลในตำ�บลเกาะปันหยีโดย ผลการศึกษาคุณภาพนํ้าทะเลที่พบว่า ค่าโคลิฟอร์ม รวมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเลประเภทที่ 1 แบคทีเรียทั้งหมดมีค่าเกินมาตรฐานทั้งในชุมชนที่มีและ ตามประกาศ National Environment Board (2017) ไม่มีการท่องเที่ยว และพบว่าค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ยกเว้น ค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมดที่มีค่าเกินมาตรฐาน สูง โดยพฤติกรรมการอนุรักษ์ที่สำ�คัญทั้งชุมชนที่มีและ ทั้งในชุมชนที่มีการท่องเที่ยวและไม่มีการท่องเที่ยว และ ไม่มีการท่องเที่ยว คือ การไม่ติดตั้งระบบบำ�บัดนํ้าเสีย พบว่ามีค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรียสูง ในช่วงต้นฤดูกาล เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ ท่องเที่ยว ชุมชนที่มีและไม่มีการท่องเที่ยวมีค่าคุณภาพ พบว่า มี 9 ปัจจัย ได้แก่ ประสบการณ์การเข้าฝึกอบรม นํ้าทะเลส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน แต่ในช่วงปลายฤดูกาล เกี่ยวกับการอนุรักษ์ อายุ การเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมทาง ท่องเที่ยวแตกต่างกัน 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ ความเป็นกรดด่าง สังคม สถานภาพทางสังคม การพบปะเจ้าหน้าที่ด้าน ออกซิเจนละลายนํ้า ความเค็ม ปริมาณของแข็งแขวนลอย สิ่งแวดล้อม ความคิดเห็นต่อการอนุรักษ์ การมีอาชีพ และฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย โดยชุมชนที่มีการท่องเที่ยว เกี่ยวกับการท่องเที่ยว การพบเจอพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม มีค่าความเป็นกรดด่างและความเค็มด้อยกว่าชุมชนที่ ต่อทรัพยากรนํ้า และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ (R2 = ไม่มีการท่องเที่ยวทั้งในช่วงต้นและช่วงปลายฤดูกาล 0.41) โดยชุมชนที่มีและไม่มีการท่องเที่ยว มีความรู้เกี่ยวกับ ท่องเที่ยว ในชุมชนที่มีการท่องเที่ยว ช่วงปลายฤดูกาล การอนุรักษ์แตกต่างกัน และพบว่าการพบปะเจ้าหน้าที่ ท่องเที่ยวมีคุณภาพนํ้าทะเลส่วนใหญ่ด้อยกว่าช่วง ด้านสิ่งแวดล้อม และการพบเจอพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ต้นฤดูกาลท่องเที่ยว ส่วนในชุมชนที่ไม่มีการท่องเที่ยว ต่อทรัพยากรนํ้า มีความสัมพันธ์กับการมีหรือไม่มีการ ในช่วงต้นและช่วงปลายฤดูกาลท่องเที่ยวส่วนใหญ่ไม่ ท่องเที่ยวในชุมชน นอกจากนี้ยังพบว่าครัวเรือนที่มีอาชีพ แตกต่างกัน ในการศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากร- เกี่ยวกับการท่องเที่ยว มีพฤติกรรมการอนุรักษ์ที่ดีกว่า ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบว่า ทั้งชุมชนที่มีการท่องเที่ยว ครัวเรือนที่ไม่มีอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยว วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 147-164 (2563) 163

ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษามีดังนี้ 1) ควร REFFERENCES จัดอบรมคนในชุมชนเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ Alfred, S. 1997. The Local Residents’ Behaviors โดยเฉพาะชุมชนที่มีการท่องเที่ยวให้มีความเข้าใจเรื่อง Toward the Conservation of Tourism การเทเศษอาหารลงทะเลว่าส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ Resources: A Case Study of Koh Larn, และให้มีการกำ�จัดเศษอาหารอย่างถูกวิธี ส่งเสริมการเข้า Pattaya City. M.S. Thesis, Mahidol ร่วมกลุ่มกิจกรรมทางสังคม โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน ทั้งนี้ University. (in Thai) ผู้นำ�ชุมชนควรเป็นแกนนำ�การอนุรักษ์ในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ Department of Alternative Energy Development ด้านสิ่งแวดล้อมควรพบปะกับชุมชนให้มากขึ้นโดยเฉพาะ and Efficiency. 1999. Solar Map 1999 ในชุมชนที่มีการท่องเที่ยว เนื่องจากการพบปะเจ้าหน้าที่ - Alternative Energy. Available Source: ทำ�ให้พฤติกรรมอนุรักษ์ของคนในชุมชนดีขึ้นและยังมี http://www.dede.go.th/article_attach/ สัดส่วนน้อยในชุมชนที่มีการท่องเที่ยว 2) ควรส่งเสริม solarmap2542.pdf, November 2, 2019. การท่องเที่ยวในชุมชนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ (in Thai) คนในชุมชนมีส่วนร่วมและได้รับประโยชน์จากการ Department of National Parks, Wildlife and Plant ท่องเที่ยวอย่างแท้จริงและทั่วถึง เช่น รูปแบบการท่องเที่ยว Conservation. 2015. Complete Report: เชิงนิเวศโดยชุมชน เนื่องจากคนที่เข้าร่วมกลุ่มกิจกรรม The Study of the Carrying Capacity ทางสังคมและมีอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยวมีพฤติกรรม for Recreational Use of Ao Phang-Nga อนุรักษ์ที่ดีขึ้น 3) สนับสนุนให้ครัวเรือนติดตั้งถังดักไขมัน National Park, Phangnga Province. และใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ 4) ควร Ministry of Natural Resources and ติดตั้งถังบำ�บัดนํ้าเสียจากห้องนํ้าให้ครัวเรือนในตำ�บล Environment, Bangkok. (in Thai) เกาะปันหยีที่คงทนต่อสภาพนํ้าขึ้นนํ้าลง สามารถใช้งาน . 2019. Amount of National Park ได้นานและไม่ส่งกลิ่นรบกวนคนในชุมชนโดยเฉพาะ Revenue, Tourist and Vehicles. ครัวเรือนที่อยู่ริมนํ้า เนื่องจากนํ้าทะเลมีปริมาณฟีคอล Available Source: http://portal.dnp. โคลิฟอร์มแบคทีเรียสูง และโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด go.th/ Content/nationalpark?contentId =11191, June 8, 2019. (in Thai) เกินค่ามาตรฐานจากการปล่อยสิ่งปฏิกูลลงสู่ทะเลโดยตรง Lang, W. 2011. Environmental Microbiology. Kasetsart University, Bangkok. (in Thai) คำ�นิยม Learning Center for Earth Science and Astronomy. ขอขอบพระคุณศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากร n.d. Sea Water. Available Source: ทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน ที่เอื้อเฟื้อที่พัก http://www.lesa.biz/earth/hydrosphere/ อุปกรณ์ สารเคมี และให้คำ�แนะนำ�ในการทำ�วิจัย รวมถึง sea-water, September 4, 2019. (in Thai) พี่ๆ น้องๆ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และน้องๆ นักศึกษา Loytavinan, C. 2016. The Impact of Tourism ฝึกงานศูนย์วิจัยฯ ที่ช่วยเหลือในการวิจัยจนสำ�เร็จลุล่วง on Water Quality around Island ไปได้ด้วยดี การวิจัยครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนการวิจัย Communities. M.S. Thesis, Kasetsart ภายใต้แผนงานเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนานักวิจัย University. (in Thai) รุ่นใหม่ ตามทิศทางยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม Maimansomsuk, P. 2012. Primary Water and ประเภทบัณฑิตศึกษา จากสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ Wastewater Analysis. Department of ประจำ�ปี 2562 Industrial Works, Bangkok. (in Thai) 164 Thai J. For. 39 (1) : 147-164 (2020)

Moscardo, G. 2008. Building Community Thesis, Kasetsart University. (in Thai) Capacity for Tourism Development. Pollution Control Department. 2004. pH of CABI, Oxfordshire. the Rain in Nature. Available Source: National Environment Board. 2017. Announcement http://www.pcd.go.th/info_serv/air_ of the National Environment Board aciddeposition.html#s2, June 30, 2019. on the Determination of Sea Water (in Thai) Quality Standards. November 23, Promsit, T. 2012. Forest Resource Conservation 2017. (in Thai) Behavior of Khunchanghian Villagers, Neamwattana, S. 2004. The Participation of Changphuak Sub-district, Mueang the Community Committees in the District, Chiang Mai Province. M.S. Conservation of the Chaopraya River: Thesis, Chiang Mai University. (in Thai) A Case Study of the Area in Nonthaburi Srigate, J. 2009. Effects of Community Activities Municipality. M.S. Thesis, Kasetsart University. (in Thai) to Water Quality in Phetchaburi River, Panijpan, B. 2013. Ecology and Environment. Phetchaburi Province. M.S. Thesis, Mahidol University, Bangkok. (in Thai) Kasetsart University. (in Thai) Pattana, R. 2003. Socio-economic Factors Tuanvechayan, W. 2013. Sea Water Quality Affecting Participation in Natural in the Beaches of Thailand. Pollution Resource Conservation: A Case Study Control Department, Bangkok. (in Thai) of Ban Khlong Sathon, Tambon Wang Yamane, T. 1973. Statistics: An Introductory Mee, Amphoe Wang Nam Khiao, Analysis. 3rd Ed. Harper and Row, New Changwat Nakhon Ratchasima. M.S. York. Thai J. For. 39 (1) : 165-175 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 165-175 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

การวิเคราะห์โซ่คุณค่าของการเลี้ยงผึ้งแบบธรรมชาติในพื้นที่ป่า: กรณีศึกษาชุมชนห้วยหินลาดใน อำ�เภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย Value Chain Analysis of Natural Beekeeping in Forests: A Case Study of Huay Hin Lat Nai Community, Wiang Pa Pao District, Chiang Rai Province ภรณี มณีโชติ* Proranee Maneechot* สุรินทร์ อ้นพรม Surin Onprom พสุธา สุนทรห้าว Pasuta Sunthornhao คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, E-mail: [email protected] รับต้นฉบับ 13 มิถุนายน 2562 รับแก้ไข 31 กรกฎาคม 2562 รับลงพิมพ์ 31 กรกฎาคม 2562

ABSTRACT This study aimed to study the production process, management, and net income of natural beekeeping and to analyze the components as well as stakeholders involved in the honey production value chain of Huay Hin Lat Nai community, Wiang Pa Pao district, Chiang Rai province. Data was collected by interviewing 16 beekeepers together with an in-depth interview of key informants. The study revealed that the natural beekeeping comprised of four main activities which were 1) production of hives, 2) hive placement in the forests, 3) hive treatment, and 4) honey harvest. The average honey produced was 64.88 kg household-1 year-1 resulting in an average household income of 14,968 baht household-1 year-1. The total community income from beekeeping was 201,833 baht year-1. Analyzing honey value chain indicated that there are 4 major components which were 1) beekeeping by local farmers, 2) community buying, 3) honey packaging, and 4) honey transportation and distribution. Interestingly, the local community added value to the honey product through the development of product packaging. Keywords: Honey, Natural beekeeping, Value added, Value chain, Product packaging 166 Thai J. For. 39 (1) : 165-175 (2020)

บทคัดย่อ งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการผลิต การจัดการ และมูลค่าสุทธิของนํ้าผึ้งที่เลี้ยงแบบ ธรรมชาติ และวิเคราะห์องค์ประกอบ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในโซ่คุณค่าของผลผลิตนํ้าผึ้ง ของชุมชนห้วยหินลาดใน อำ�เภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ใช้การสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จำ�นวน 16 ครัวเรือน ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลัก ผลการศึกษา พบว่า การเลี้ยงผึ้งโพรงประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก ได้แก่ 1) การทำ�รังผึ้ง 2) การวาง รังในป่า 3) การดูแลรักษา และ 4) การเก็บนํ้าผึ้ง ผลผลิตของนํ้าผึ้งเฉลี่ย 64.88 กก./ครัวเรือน/ปี รายได้เฉลี่ย 14,968 บาท/ครัวเรือน/ปี ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 1,418 บาท/ครัวเรือน/ปี โดยมูลค่าสุทธิของการเลี้ยงผึ้งรวมทั้งชุมชน เท่ากับ 201,833 บาท/ปี สำ�หรับการวิเคราะห์โซ่คุณค่าของการเลี้ยงผึ้ง พบว่า องค์ประกอบของกิจกรรมตลอดโซ่คุณค่า ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การเลี้ยงผึ้ง 2) การรับซื้อผลผลิต 3) การบรรจุภัณฑ์ และ 4) การขนส่งและการกระจายสินค้า ทั้งนี้ ชุมชนปรับใช้การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สินค้าเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตนํ้าผึ้ง คำ�สำ�คัญ: นํ้าผึ้ง การเลี้ยงผึ้งแบบธรรมชาติ มูลค่าเพิ่ม โซ่คุณค่า การพัฒนาบรรจุภัณฑ์

คำ�นำ� ท้องถิ่น และนำ�ไปวางในบริเวณพื้นที่ป่าชุมชน สวนชา การสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตจากป่า เป็นการ และไร่หมุนเวียน ซึ่งเป็นระบบการจัดการทรัพยากรและ ช่วยแก้ปัญหาและสร้างความเป็นไปได้ในการส่งเสริม ระบบการผลิตแบบดั้งเดิมของชุมชน อย่างไรก็ตาม ชุมชน กระบวนการผลิตของผลผลิตจากป่าให้สามารถตอบโจทย์ ยังมีข้อจำ�กัดหลายประการในการจำ�หน่ายและการเข้า ทั้งทางด้านเศรษฐกิจครอบครัว ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ถึงตลาด รวมถึงความไม่แน่นอนเรื่องนโยบายเกี่ยวกับ (The Center for People and Forests, 2017) เนื่องจาก การจัดการใช้ประโยชน์จากผลผลิตนํ้าผึ้งเนื่องจากชุมชน ชุมชนในเขตป่าส่วนใหญ่ยังมีวิถีการผลิตที่ต้องพึ่งพา ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่า ธรรมชาติ อย่างไรก็ดี การเพิ่มมูลค่าของผลผลิตและ งานวิจัยเรื่องนี้ได้ประยุกต์แนวคิดโซ่คุณค่า ผลิตภัณฑ์จากป่าหรือระบบวนเกษตรนั้นยังเป็นเรื่อง (value chain) ของ Porter (1985) เพื่อวิเคราะห์ผลผลิต ท้าทายสำ�หรับคนท้องถิ่น ซึ่งมักจะทำ�การจำ�หน่ายผลผลิต นํ้าผึ้งโพรงของชุมชนห้วยหินลาดใน การจัดการผลผลิต หรือของป่าโดยตรง โดยไม่ได้ผ่านกระบวนการแปรรูป นํ้าผึ้งโพรง ตั้งแต่กระบวนการผลิตจนถึงการจำ�หน่าย ด้วยข้อจำ�กัดของชุมชน ทั้งนี้มีของป่าหลายประเภทที่มี ผลผลิตไปยังผู้บริโภค นอกจากนี้ แนวคิดโซ่คุณค่ายังช่วย ศักยภาพในการสร้างรายได้ของชุมชน ให้เข้าใจบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ห้วยหินลาดใน เป็นชุมชนปกาเกอะญอเป็น ในการจัดการผลผลิตนํ้าผึ้งโพรง วัตถุประสงค์ของบทความ หนึ่งในหย่อมบ้านของหมู่บ้านห้วยหินลาด ตำ�บลบ้านโป่ง ชิ้นนี้ ประกอบด้วย 1) เพื่อศึกษากระบวนการผลิต การ อำ�เภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ที่ตั้งของชุมชนอยู่ จัดการ และมูลค่าสุทธิของผลผลิตน้าผึ้งโพรงํ และ 2) เพื่อ ในพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างเขตป่าสงวนแห่งชาติและเขต วิเคราะห์องค์ประกอบ กิจกรรม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อุทยานแห่งชาติขุนแจ ชุมชนยังมีวิถีชีวิตที่พึ่งพาและ ของโซ่คุณค่าผลผลิตนํ้าผึ้งโพรง ซึ่งผลจากการศึกษาจะ ผูกพันกับธรรมชาติและป่าอย่างมาก ในปี พ.ศ. 2558 เป็นแนวทางในการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์จากป่า ชุมชนห้วยหินลาดในเริ่มมีการเลี้ยงผึ้งโพรงในพื้นที่ป่า อีกทั้งการเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับการจัดการผลผลิต เพื่อเป็นแหล่งรายได้เสริมของครัวเรือน การเลี้ยงผึ้งเป็น จากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ เพื่อให้เกิดการจัดการใช้ประโยชน์ แบบธรรมชาติโดยมีการทำ�กล่องรังผึ้งจากวัสดุที่หาได้ใน ทรัพยากรอย่างยั่งยืนต่อไป วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 165-175 (2563) 167

อุปกรณ์และวิธีการ ส่วนใหญ่มีอายุในช่วง 15-30 ปี จำ�นวน 30 คน คิดเป็น ร้อยละ 29.1 รองลงมาคือ มีอายุน้อยกว่า 15 ปี จำ�นวน การเก็บรวบรวมข้อมูล 21 คน คิดเป็นร้อยละ 20.4 และในช่วง 31-45, 46-60 ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีประชากรและกลุ่ม และมากกว่า 60 ปี มีจำ�นวนประชากรใกล้เคียง โดยคิด ตัวอย่างที่ศึกษา คือ ครัวเรือนชุมชนห้วยหินลาดใน อำ�เภอ เป็นร้อยละ 18.4, 16.5 และ 15.5 ตามลำ�ดับ โดยอายุ เวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย จำ�นวน 20 ครัวเรือน ผู้วิจัย เฉลี่ยประมาณ 35 ปี ในส่วนของระดับการศึกษา พบว่า ทำ�การเก็บรวมรวมข้อมูลแบบสำ�มะโนประชากร โดย ประชากรส่วนใหญ่ไม่ได้รับการศึกษา ร้อยละ 36.9 สำ�หรับ แบ่งการเก็บข้อมูลออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นการ จำ�นวนสมาชิกในครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่ เก็บข้อมูลโดยการสำ�รวจด้วยแบบสัมภาษณ์ จำ�นวน 20 เฉลี่ยมีจำ�นวนสมาชิก 5 คน/ครัวเรือน โดยมีสมาชิกใน ครัวเรือน และส่วนที่ 2 การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูล ครัวเรือนมากกว่า 5 คน ร้อยละ 50.0 หลัก โดยใช้แนวคำ�ถามเป็นแนวทางในการสัมภาษณ์และ ในด้านเศรษฐกิจ ประชากรชุมชนห้วยหินลาด ทำ�การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposing ในส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำ�สวนชาและทำ�ไร่หมุนเวียน sampling) ร่วมกับการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ เป็นอาชีพหลัก และมีการเก็บหาของป่าและเลี้ยงผึ้งโพรง (snowball sampling) ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ประกอบ เป็นอาชีพเสริม โดยพบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีรายได้ ด้วย 1) เกษตรกรผู้ที่เลี้ยงผึ้งโพรง 2) ผู้รับซื้อในชุมชน เฉลี่ย 174,630 บาท/ครัวเรือน/ปี ซึ่งเป็นรายได้จากการ 3) ผู้รับซื้อนอกชุมชน 4) ผู้บริโภค ทำ�สวนชาและเลี้ยงผึ้งเป็นหลัก ในส่วนของหนี้สินของ การวิเคราะห์ข้อมูล ครัวเรือน พบว่า มีหนี้สินเฉลี่ย 52,125 บาท/ครัวเรือน สำ�หรับการถือครองที่ดิน จากการวิเคราะห์ข้อมูลการถือ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ครองที่ดินในครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนมีการถือครอง 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ ที่ดินจำ�นวนน้อยกว่า 5 แปลง ร้อยละ 40.0 และครัวเรือน ข้อมูลสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ที่มีการถือครองที่ดินจำ�นวน 5–10 แปลง ร้อยละ 40.0 ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าตํ่าสุด และครัวเรือนที่ถือครองที่ดินจำ�นวนมากกว่า 10 แปลง 2. การวิเคราะห์ปริมาณผลผลิต รายได้ ค่า ร้อยละ 20.0 ตามลำ�ดับ ใช้จ่าย และมูลค่าสุทธิของนํ้าผึ้งโพรง สำ�หรับขนาดพื้นที่ทำ�กินของครัวเรือน พบว่า มูลค่าสุทธิ = รายได้สุทธิ – รายจ่ายสุทธิ ครัวเรือนส่วนใหญ่มีพื้นที่ทำ�กิน 31–60 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3. การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้กรอบแนวคิดโซ่ 40.0 รองลงมาคือ ครัวเรือนที่มีพื้นที่ทำ�กินน้อยกว่า 30 คุณค่าของ Porter (1985) เพื่อชี้ให้เห็นองค์ประกอบ ไร่ คิดเป็นร้อยละ 35.0 และครัวเรือนที่มีขนาดพื้นที่ กิจกรรม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ช่องทางการไหลของผลผลิต มากกว่า 60 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 25.0 ตามลำ�ดับ นํ้าผึ้งโพรงจากเกษตรกรถึงผู้บริโภค และการเปลี่ยนแปลง การเลี้ยงผึ้งโพรง การจัดการ และมูลค่าสุทธิ ราคาขายของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรง ของผลผลิตนํ้าผึ้ง 1. กระบวนการเลี้ยงผึ้งโพรงแบบธรรมชาติ ผลและวิจารณ์ ชุมชนห้วยหินลาดในเลี้ยงผึ้งแบบธรรมชาติ ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือนห้วยหินลาดใน ในพื้นที่ป่าโดยชนิดผึ้งที่เลี้ยง ได้แก่ ผึ้งโพรง (Apis cerana จากการศึกษา พบว่า ประชากรของชุมชนห้วย Fabricius) วิธีการเลี้ยงแบบธรรมชาตินั้นอาศัยทรัพยากร หินลาดในเป็นเพศหญิง จำ�นวน 48 คน (ร้อยละ 46.6) ป่าไม้เป็นพื้นฐาน การทำ�รังผึ้งอาศัยวัสดุที่หาได้ในพื้นที่ และเพศชาย จำ�นวน 55 คน (ร้อยละ 53.4) โดยประชากร ปล่อยให้ผึ้งหาอาหารตามธรรมชาติ และไม่มีการใช้สาร 168 Thai J. For. 39 (1) : 165-175 (2020)

เคมีในการป้องกันศัตรูของผึ้งแต่อย่างใด พบว่า ในชุมชน เดิมที่เคยวางในปีก่อนหน้า โดยการนำ�รังผึ้งไปวางในช่วง ห้วยหินลาดในมีเกษตรกรเลี้ยงผึ้งโพรง จำ�นวน 16 ครัวเรือน เดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ จากนั้นจึงมีการไปดูแล คิดเป็นร้อยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด มีจำ�นวนรัง และทำ�ความสะอาดรังผึ้งเพื่อป้องกันแมลงศัตรูของผึ้ง ที่วางในป่าทั้งหมด 546 รัง เฉลี่ย 34 รังต่อครัวเรือน สำ�หรับการเก็บนํ้าผึ้ง เกษตรกรทำ�การเก็บ จำ�นวนรังที่ผึ้งทำ�รังและสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตทั้งสิ้น นํ้าผึ้งโพรงในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม โดย 408 รัง วิธีการเก็บนํ้าผึ้งโพรง คือ สังเกตลักษณะของรังผึ้งที่เข้าไป กิจกรรมการเลี้ยงผึ้งโพรง ประกอบด้วย 4 เก็บ รวมถึงสังเกตลักษณะพฤติกรรมของผึ้ง ทำ�การเปิด ขั้นตอนหลักๆ ได้แก่ การทำ�รังผึ้ง การนำ�รังไปวางใน ฝาด้านบนของรังผึ้งโพรง ใช้มีดตัดเอาเฉพาะส่วนที่เป็น พื้นที่ป่า การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยวนํ้าผึ้ง ทั้งนี้ การ นํ้าผึ้ง โดยไม่ได้ตัดในส่วนของที่เป็นตัวอ่อน ใส่ไว้ในถังที่ ทำ�รังผึ้งโพรงด้วยการใช้ไม้มาประกอบให้มีลักษณะเป็น มีฝาปิด เพื่อป้องกันฝุ่นละออง หลังจากนั้นนำ�รังผึ้งที่เก็บ 4 กล่องด้วยการนำ�แผ่นไม้มาประกอบกันหรือเป็นไม้ที่เจาะ มาได้ ใส่ผ้าขาวบางเพื่อเอาเฉพาะส่วนที่เป็นนํ้าผึ้งโดย

เอาเนื้อไม้ตรงกลางออกให้เป็นโพรงและนำ�แผ่นไม้มาปิด จะไม่ใช้มือบีบคั้นนํ้าผึ้ง ทิ้งไว้ 1 คืน เพื่อให้นํ้าผึ้งหยดลง 1 สําหรับการเก็บน้ําผึ้งบริเวณด้านบนและด้านล่าง เกษตรกรทําการ ทำ�การเจาะรูเก็บน้ําผึ้งโพรงในช�วงเดือนเมษายน บริเวณด้าน จนหมด หลังจากนั้นนำถึง�เดือนพฤษภาคมนํ้าผึ้งที่ได้บรรจุใส่ขวดหรือแกลลอน โดยวิธีการเก็บน้ําผึ้งโพรง คือ 2 สังเกตลักษณะของรังผึ้งที่ข้างกล่องไม้เข�าไปเก็บ (Figure รวมถึงสังเกตลักษณะพฤติกรรมของผึ้ง 1) โดยไม้ที่นำ�มาใช้ทำ�เป็นรังผึ้ง ทําการเป�ดฝาด�านบนของรังผึ้งโพรง ในการจัดการระบบการผลิตนํ้าผึ้งโพรงของ ใช�มีดตัดเอาเฉพาะส�วน 3 ที่เป�นน้ําผึ้ง โดยไม�ได�ตัดในส�วนของที่เป�นตัวอ�อนส่วนใหญ่เป็นไม้ที่หาได้ในชุมชน เช่น ใส�ไว�ในถังที่มีฝาป�ด ไม้ค้อ ไม้เลี่ยน เพื่อป�องกันชุมชนห้วยหินลาดในฝุ�นละออง มีการจัดตั้งกองทุนละลาย หลังจากนั้นนํารังผึ้งที่เก็บมาได� หรือ ใส�ผ�าขาว ไม้ก่อ เป็นต้น เนื่องจากเป็นไม้ที่มีกลิ่นสามารถดึงดูดผึ้ง กองทุนที่เงินในกองทุนไปสู่จุดประสงค์หลากหลายได้ 4 บางเพื่อเอาเฉพาะส�วนที่เป�นน้ําผึ้ให้มาทำ�รัง จากนั้นนำงโดยจะไม�ใช�มือบีบคั้นน้ําผึ้ง�ไขผึ้งบริสุทธิ์มาหลอมละลายนำ ทิ้งไว�� 1 คืนเหมือนน เพื่อให�น้ําผึ้งหยดลงจนหมดํ้า โดยกองทุนละลายเป็นกองทุนที่ชุมชนห้วย หลังจากนั้นนําน้ําผึ้งที่ได�บรรจุใส� 5 ขวดหรือแกลลอน ไปทาบริเวณรูที่เจาะไว้ และด้านในของโพรงไม้ เพื่อดึงดูด หินลาดในจัดตั้งขึ้นเพื่อใช้ในการดูแลรักษาป่าของชุมชน 6 ในการจัดการระบบการผลิตน้ําผึ้งโพรงของชุมชนห�วยหินลาดในให้ผึ้งบินเข้ามาอาศัยทำ�รังและผลิตนํ้าผึ้ง โดยเกษตรกร เช่น ใช้ในการจัดทำ มีการจัดตั้งกองทุนละลาย�แนวกันไฟ การทำ�กิจกรรมของเยาวชน หรือกองทุนที่เงินในกองทุนไปสู� นำ�รังผึ้งไปวางกระจายในพื้นที่ป่า สวนชา และไร่หมุนเวียน เป็นต้น โดยเงินในกองทุนได้มาจากการหักรายได้ที่ได้ 7 จุดประสงค�หลากหลายได�เหมือนน้ํา โดยกองทุนละลายเป�นกองทุนที่ชุมชนห�วยหินลาดในจัดตั้งขึ้นเพื่อใช�ในการดูแลรักษาป�าของชุมชน (Figure 2) โดยเลือกวางรังผึ้งบริเวณใต้ต้นไม้หรือบน จากการจำ�หน่ายนํ้าผึ้งโพรงร้อยละ 30 เข้ากองทุน เพื่อ 8 เช�น ใช�ในการจัดทําแนวกันไฟเนินหินหรือใกล้แหล่งน การทํากิจกรรมของเยาวชนํ้า และวางให้สูงขึ้นจากพื้นดินเพื่อ เป�นต�น โดยเงินในกองทุนได�มาจากการหักรายได�ที่ได�จากการจําหน�ายน้ําผึ้งใช้ในการจัดการดูแลป่าของชุมชน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดหนึ่งใน 9 โพรงร� อ ย ล ะ 30 เข�ากองทุนป้องกันมดและแมลงต่างๆ เพื่อใช�ในการจัดการดูแ เข้าไปรบกวนทำลป�าของชุมชน�ลายรังผึ้ง ซึ่งเป�นตัวชี้วัดหนึ่งในการจัดการธุรกิจบนฐานทรัพยากรป�าไม�การจัดการธุรกิจบนฐานทรัพยากรป่าไม้ นอกจากนี้ การเลือกตำ�แหน่งวางรังผึ้งได้วางในตำ�แหน่ง 10 11 12 13 14 15 16 17 FigureFigure 1 Production 1 Production of ofhive hivess and and honey harvest harvest in thein thestudied studied area. area. 18

19 20 21 Figure 2 Location and distribution of beehives in the studied area. 4

1 สําหรับการเก็บน้ําผึ้ง เกษตรกรทําการเก็บน้ําผึ้งโพรงในช�วงเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม โดยวิธีการเก็บน้ําผึ้งโพรง คือ 2 สังเกตลักษณะของรังผึ้งที่เข�าไปเก็บ รวมถึงสังเกตลักษณะพฤติกรรมของผึ้ง ทําการเป�ดฝาด�านบนของรังผึ้งโพรง ใช�มีดตัดเอาเฉพาะส�วน 3 ที่เป�นน้ําผึ้ง โดยไม�ได�ตัดในส�วนของที่เป�นตัวอ�อน ใส�ไว�ในถังที่มีฝาป�ด เพื่อป�องกันฝุ�นละออง หลังจากนั้นนํารังผึ้งที่เก็บมาได� ใส�ผ�าขาว 4 บางเพื่อเอาเฉพาะส�วนที่เป�นน้ําผึ้งโดยจะไม�ใช�มือบีบคั้นน้ําผึ้ง ทิ้งไว� 1 คืน เพื่อให�น้ําผึ้งหยดลงจนหมด หลังจากนั้นนําน้ําผึ้งที่ได�บรรจุใส� 5 ขวดหรือแกลลอน 6 ในการจัดการระบบการผลิตน้ําผึ้งโพรงของชุมชนห�วยหินลาดใน มีการจัดตั้งกองทุนละลาย หรือกองทุนที่เงินในกองทุนไปสู� 7 จุดประสงค�หลากหลายได�เหมือนน้ํา โดยกองทุนละลายเป�นกองทุนที่ชุมชนห�วยหินลาดในจัดตั้งขึ้นเพื่อใช�ในการดูแลรักษาป�าของชุมชน 8 เช�น ใช�ในการจัดทําแนวกันไฟ การทํากิจกรรมของเยาวชน เป�นต�น โดยเงินในกองทุนได�มาจากการหักรายได�ที่ได�จากการจําหน�ายน้ําผึ้ง 9 โพรงร� อ ย ล ะ 30 เข�ากองทุน เพื่อใช�ในการจัดการดูแลป�าของชุมชน ซึ่งเป�นตัวชี้วัดหนึ่งในการจัดการธุรกิจบนฐานทรัพยากรป�าไม� 10 11 12 13 14 15 16 17 Figure 1วารสารวนศาสตร์ไทย Production of hives and 39 honey(1) : 165-175 harvest in (2563) the studied area. 169 18

19 Figure 2 Location and distribution of beehives in the studied area. 20 21 2. ปริมาณผลผลิตของนFigure 2 Locationํ้าผึ้งโพรง and distribution of beehives inในด้านรายได้จากการจำ the studied area. �หน่ายนํ้าผึ้งโพรง ปริมาณผลผลิตนํ้าผึ้งโพรง พบว่า ปริมาณ ของเกษตรกรห้วยหินลาดในมีรายได้ทั้งหมด 224,520 ผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงของชุมชนบ้านห้วยหินลาดใน มีปริมาณ บาท/ปี โดยเฉลี่ยครัวเรือนละ 14,968 บาท/ปี สามารถ ทั้งหมด 1,038 กก./ปี เฉลี่ยครัวเรือนละ 64.84 กก./ปี แบ่งตามช่องทางการจำ�หน่ายได้ คือ จำ�หน่ายให้กับ โดยแบ่งตามประเภทของการใช้ประโยชน์ คือ เก็บไว้ใช้ พ่อหลวง (ผู้ใหญ่บ้าน) ในราคา 220 บาท/กก. คิดเป็น ในครัวเรือน โดยมีครัวเรือนที่เก็บไว้ใช้ในครัวเรือนจำ�นวน รายได้ทั้งหมด 126,500 บาท/ปี จำ�หน่ายให้กลุ่มเยาวชน 12 ครัวเรือน ปริมาณเฉลี่ย 6.63 กก./ครัวเรือน/ปี และ ในราคา 220 บาท/กก. คิดเป็นรายได้ทั้งหมด 46,420 คิดเป็นปริมาณทั้งหมด 80 กก./ปี และครัวเรือนที่ทำ�การ บาท/ปี และการจำ�หน่ายเองโดยตรงในราคา 300 จำ�หน่ายนํ้าผึ้งโพรง มีปริมาณนํ้าผึ้งเฉลี่ย 63.87 กก./ บาท/กก. คิดเป็นรายได้ทั้งหมด 51,600 บาท/ปี ครัวเรือน/ปี คิดเป็นปริมาณทั้งหมด 958 กก./ปี โดยมี รายละเอียดดังแสดงใน Table 1 ช่องทางการจำ�หน่าย คือ จำ�หน่ายให้กับผู้รับซื้อในชุมชน สำ�หรับค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงผึ้งโพรง พบว่า ได้แก่ พ่อหลวงและกลุ่มเยาวชน นอกจากนี้เกษตรกร มีค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมด 22,687 บาท/ปี เฉลี่ย 1,418 ผู้เลี้ยงผึ้งโพรงมีการจำ�หน่ายนํ้าผึ้งโพรงเองโดยตรง บาท/ครัวเรือน/ปี โดยแบ่งออกเป็นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดดังแสดงใน Table 1 คือ ค่าวัสดุอุปกรณ์ เท่ากับ 3,147 บาท ค่าบรรจุภัณฑ์ 3. รายได้ ค่าใช้จ่าย และมูลค่าสุทธิของผลผลิต เท่ากับ 17,050 บาท ค่านํ้ามัน เท่ากับ 2,090 บาท และ นํ้าผึ้งโพรง ค่าอื่นๆ จำ�นวน 400 บาท จาก Table 1 จะเห็นได้ว่า 170 Thai J. For. 39 (1) : 165-175 (2020)

บางครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายในการผลิตนํ้าผึ้งโพรงค่อนข้าง มูลค่าสุทธิเท่ากับ 201,833 บาท/ปี โดยเฉลี่ยครัวเรือนละ สูง เนื่องจากมีการซื้อบรรจุภัณฑ์ในการบรรจุนํ้าผึ้ง และ 12,615 บาท/ครัวเรือน/ปี รายละเอียดดัง Table 1 เมื่อคำ�นวณมูลค่าสุทธิของการผลิตนํ้าผึ้งโพรง พบว่า มี Table 1 Product quantity and net income of beekeepers in studied area.

Product quantity (kg) Income Expenditures Net income Household (Baht) (Baht) (Baht) consumption selling Total 1 2 - 2 - 102 - 102 2 21 84 105 18,480 405 18,075 3 - 80 80 17,600 10,540 7,060 4 5 100 105 30,000 3,960 26,040 5 1 6 7 1,320 110 1,210 6 - 80 80 17,600 670 16,930 7 - 15 15 3,300 410 2,890 8 3 155 158 36,100 925 35,175 9 8 120 128 26,400 1,350 25,050 10 3 10 13 3,000 650 2,350 11 6 14 20 3,080 45 3,035 12 17 85 102 21,660 1,590 20,070 13 2 50 52 11,000 70 10,930 14 - 10 10 2,200 20 2,180 15 4 87 91 19,140 1,500 17,640 16 8 62 70 13,640 340 13,300 Total 80 958 1,038 224,520 22,687 201,833 Average 7 64 65 14,968 1,418 12,615 โซ่คุณค่าของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรง 1.1 การผลิตและการเลี้ยงผึ้งโพรง เป็นองค์ 1. องค์ประกอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน ประกอบแรกของโซ่คุณค่าการเลี้ยงผึ้งโพรง โดยในส่วน โซ่คุณค่า ของการผลิตนํ้าผึ้งโพรง เกษตรกรที่ทำ�หน้าที่เป็นผู้ผลิต จากการศึกษา พบว่า การผลิตนํ้าผึ้งโพรง มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องตั้งแต่กระบวนการทำ�รังผึ้งโพรง ประกอบด้วย องค์ประกอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4 องค์ การนำ�รังผึ้งไปวางในบริเวณพื้นที่ป่า การเก็บนํ้าผึ้ง และ ประกอบ ได้แก่ การผลิตและการเลี้ยงผึ้งโพรง การรับซื้อ การกรองนํ้าผึ้ง อย่างไรก็ตาม เกษตรกรไม่สามารถควบคุม ผลผลิต การบรรจุภัณฑ์ และการขนส่งและการกระจาย ปริมาณและคุณภาพของนํ้าผึ้งโพรงในแต่ละปีได้ โดยขึ้น สินค้า อยู่กับสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ไฟป่า ปริมาณดอกไม้ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 165-175 (2563) 171

ในพื้นที่ป่า เป็นต้น ดังนั้น เกษตรกรจึงจำ�เป็นต้องดูแล ห้วยหินลาดใน โดยในกระบวนการรับซื้อผลผลิตของผู้รับ รักษาป่าให้มีความอุดมสมบูรณ์ ซื้อนอกชุมชน ที่ทำ�หน้าที่เป็นเสมือนผู้กระจายผลผลิต 1.2 การรับซื้อผลผลิต พบว่า ในกระบวนการ นํ้าผึ้งโพรงออกสู่นอกชุมชน จะเห็นได้ว่า HOSTBEEHIVE รับซื้อผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงมีผู้ที่เกี่ยวข้อง 2 กลุ่มหลักๆ มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเกษตรกรและผู้รับซื้อในชุมชน ได้แก่ กลุ่มแรก ผู้รับซื้อในชุมชน และกลุ่มที่สอง ผู้รับซื้อ ทำ�ให้กระบวนการรับซื้อผลผลิตมีความยืดหยุ่น นอกชุมชน โดยผู้รับซื้อในชุมชน สามารถจำ�แนกได้เป็น 1.3 การบรรจุภัณฑ์ เนื่องจากการจำ�หน่าย 2 ราย ได้แก่ 1) พ่อหลวงหรือผู้ใหญ่บ้าน และ 2) กลุ่ม นํ้าผึ้งโพรงส่วนใหญ่มักจะเป็นการจำ�หน่ายในลักษณะ เยาวชน ทั้งนี้ พ่อหลวงถือเป็นผู้ริเริ่มในการรับซื้อนํ้าผึ้ง ของวัตถุดิบ (raw material) โดยตัวเกษตรกรเองยังไม่มี โพรงจากเกษตรกร โดยพ่อหลวงรับซื้อนํ้าผึ้งโพรงจาก การแปรรูปนํ้าผึ้งโดยตรง แต่เป็นการจำ�หน่ายวัตถุดิบให้ เกษตรกรที่เลี้ยงผึ้งโพรง ในราคากิโลกรัมละ 220 บาท กับกลุ่มพ่อค้าคนกลางในชุมชนเพียงอย่างเดียว ซึ่งการ หลังจากที่พ่อหลวงรับซื้อนํ้าผึ้งโพรงจากเกษตรกรแล้ว แปรรูปนํ้าผึ้งโพรงส่วนใหญ่เป็นการแปรรูปขั้นต้น โดย จะทำ�การกรองนํ้าผึ้งอีกครั้ง และทำ�การเปลี่ยนบรรจุ การกรองนํ้าผึ้งเพื่อเอาสิ่งสกปรกออกไป และกลุ่มของ ภัณฑ์เพื่อนำ�ไปส่งให้กับผู้รับซื้อนอกชุมชนต่อไป สำ�หรับ พ่อค้าคนกลางในชุมชนเป็นผู้ที่ทำ�หน้าที่บรรจุนํ้าผึ้งลง กลุ่มเยาวชนนั้นเป็นกลุ่มของเยาวชนที่จัดตั้งขึ้นมา มีการ ในบรรจุภัณฑ์ต่างๆ โดยจาก Figure 1 จะเห็นได้ว่า เมื่อ รับซื้อในรูปแบบและราคาเดียวกันกับพ่อหลวง หลังจาก พ่อค้าคนกลางจำ�หน่ายนํ้าผึ้งโพรงให้กับผู้บริโภคโดยมี ที่กลุ่มเยาวชนรับซื้อนํ้าผึ้งโพรงจากเกษตรกรแล้ว จะ การเปลี่ยนขนาดบรรจุภัณฑ์ ราคาขายของนํ้าผึ้งโพรง เพิ่มสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ทำ�การกรองนํ้าผึ้งอีกครั้ง และทำ�การเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ 1.4 การขนส่งและการกระจายสินค้า เป็น และติดสติกเกอร์ซึ่งเป็นการสร้างแบรนด์ของกลุ่ม กระบวนการที่เกิดขึ้นหลังจากการรับซื้อผลผลิตของผู้รับ ผู้รับซื้อนอกชุมชน เป็นอีกองค์ประกอบ ซื้อในชุมชนและผู้รับซื้อนอกชุมชน ที่ทำ�หน้าที่ในการ หนึ่งที่สำ�คัญที่มีบทบาทต่อการจัดการโซ่คุณค่านํ้าผึ้งโพรง กระจายผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงออกสู่นอกชุมชน โดยมีการ เนื่องจากกลุ่มผู้รับซื้อนอกชุมชนนั้นเป็นเสมือนผู้กระจาย จัดส่งสินค้าให้แก่ร้านค้าปลีกหรือลูกค้าหลากหลายช่อง นํ้าผึ้งออกสู่นอกชุมชน ทำ�ให้คนได้รู้จักนํ้าผึ้งโพรงจาก ทางตามความต้องการของลูกค้า เช่น ไปรษณีย์ บริษัท ชุมชนห้วยหินลาดในมากยิ่งขึ้น โดยในระบบการผลิต ขนส่ง และหากเป็นลูกค้าที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงก็จะจัด นํ้าผึ้งโพรงของชุมชนห้วยหินลาดในนั้น มีผู้รับซื้อนํ้าผึ้ง ส่งสินค้าเองด้วยการนัดรับสินค้าตามสถานที่ที่ลูกค้า โพรงจากนอกชุมชนที่มีบทบาทสำ�คัญมาก คือ HOSTBEEHIVE สะดวก ซึ่งเป็นกลุ่มพ่อค้าคนกลางที่มารับซื้อนํ้าผึ้งโพรงจาก 2. ช่องทางการจำ�หน่ายผลผลิตนํ้าผึ้ง พ่อหลวง และนำ�ไปจำ�หน่ายภายใต้แบรนด์ HOSTBEEHIVE ช่องทางการจำ�หน่ายนํ้าผึ้งสามารถจำ�แนก โดยเป็นกลุ่มของเยาวชนปกาเกอะญอรุ่นใหม่ที่เข้ามา ออกเป็น 2 ช่องทางหลัก ได้แก่ การจำ�หน่ายผ่านพ่อค้า ช่วยทำ�การตลาดของนํ้าผึ้งโพรง และสื่อสารเรื่องราวของ คนกลาง และการจำ�หน่ายโดยตรง ทั้งนี้ การจำ�หน่าย ชุมชนห้วยหินลาดใน โดยจะทำ�การรับซื้อนํ้าผึ้งโพรงจาก ผ่านพ่อค้าคนกลาง สามารถจำ�แนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ พ่อหลวง หลังจากที่รับซื้อนํ้าผึ้งโพรงในบรรจุภัณฑ์ขนาด กลุ่มของพ่อหลวง คิดเป็นร้อยละ 55.32 และกลุ่มของ ต่างๆ จากพ่อหลวงแล้วจะนำ�ไปติดสติกเกอร์ และนำ�ไป เยาวชน คิดเป็นร้อยละ 20.30 ส่วนการจำ�หน่ายโดยตรง จำ�หน่ายให้กับผู้บริโภค โดยทำ�การจำ�หน่ายนํ้าผึ้งผ่าน คิดเป็นร้อยละ 16.55 โดยส่วนใหญ่จะเป็นการจองนํ้าผึ้ง สื่อออนไลน์และนำ�ไปวางขายตามร้านค้าต่างๆ อีกทั้งมี ไว้ล่วงหน้าและจำ�หน่ายให้กับคนที่เข้ามาศึกษาดูงานใน การจัดกิจกรรมต่างๆ (workshop) ที่เกี่ยวกับการผลิต ชุมชน รวมถึงการจำ�หน่ายผ่านระบบออนไลน์ นอกจากนี้ นํ้าผึ้งโพรง ไร่หมุนเวียน และชุมชนห้วยหินลาดใน เพื่อ เกษตรกรที่เลี้ยงผึ้งโพรงจะเก็บน้าผึ้งไว้ใช้บริโภคในครัวเรือนํ เป็นการสื่อสารความสัมพันธ์ระหว่างคนกับป่าของชุมชน คิดเป็นร้อยละ 7.65 รายละเอียดแสดงใน Figure 3 172 Thai J. For. 39 (1) : 165-175 (2020) 8

1 2 FigureFigure 3 Stakeholders 3 Stakeholders involved involved in inthe the value value chain chain ofof honeyhoney productionproduction.. 3 4 จากจาก Figure Figure 3 จะเห็นได�ว�า3 จะเห็นได้ว่า โซ�คุณค�าของผลผลิตน้ําผึ้งโพรงมีองค�ประกอบที่สําคัญอีก โซ่คุณค่าของ 3. การเปลี่ยนแปลงราคาขายของน 1 องค�ประกอบ คือํ้าผึ้งโพรง กองทุนละลาย 5 หรือกองทุนที่เงินในกองทุนไปสู�จุดประสงค�หลากหลายได�เหมือนน้ําผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงมีองค์ประกอบที่สำ�คัญอีก 1 องค์ โดยกองทุนละลายเป�นกองทุนที่ชุมชนห�วยหินลาดในจัดตั้งขึ้นเพื่อใช� เมื่อพิจารณาตามช่องทางการจำ�หน่าย 6 ในการดูแลรักษาป�าของชุมชนประกอบ คือ กองทุนละลาย หรือกองทุนที่เงินในกองทุนเช�น ใช�ในการจัดทําแนวกันไฟ การทํากิจกรรมของเยาวชนนํ้าผึ้งโพรงนั้น แสดงให้เห็นถึงราคาขายที่เปลี่ยนแปลง เป�นต�น โดยเงินในกองทุนได�มาจากการหัก 7 รายได�ที่ได�จากการจําหน�ายน้ําผึ้งโพรงไปสู่จุดประสงค์หลากหลายได้เหมือนนร� อ ย ลํ้า ะ 30โดยกองทุน เข�ากองทุน เพื่อใช�ในการจัดการดูแลป�าของชุมชนไป โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ซึ่งเป�นตัวชี้วัดหนึ่งในการจัดการ รูปแบบหลัก คือ 8 ธุรกิจบนฐละลายเป็นกองทุนที่ชุมชนห้วยหินลาดในจัดตั้งขึ้นเพื่อานทรัพยากรป�าไม� จาก Figure 3 จะเห็นได�ว�า แหล�งที่มาของเงินกองทุนละลาย 3.1 เกษตรกรผู้ที่เลี้ยงโพรงจำ มาจาก 3 ช�องทาง ได�แก��หน่ายน พ�อหลวงํ้าผึ้ง กลุ�ม 9 เยาวชนใช้ในการดูแลรักษาป่าของชุมชน และ HOSTBEEHIVE ซึ่งจะหักรายได�จากการจําหน�ายน้ําผึ้งโพรงเข�าสู�กองทุนละลาย เช่น ใช้ในการจัดทำ� ให้กับพ่อหลวงในราคา แต�อย�างไรก็ตาม 220 บาท/กก. จากการศึกษาพบว�า และพ่อหลวงนำ� การ 10 จัดการกองทุนละลายของชุมชนห�วยหินลาดใน ยังไม�ค�อยมีความชัดเจน (เส�นประ) ดังนั้น หากจะจัดการให�โซ�คุณค�าของน้ําผึ้งโพรงมี แนวกันไฟ การทำ�กิจกรรมของเยาวชน เป็นต้น โดยเงิน ไปจำ�หน่ายต่อกับ HOSTBEEHIVE ในราคา 300 บาท/กก. 11 ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ควรมีการเพิ่มศักยภาพและสร�างความเป�นรูปธรรมให�กับกองทุนละลาย ในกองทุนได้มาจากการหักรายได้ที่ได้จากการจำ�หน่าย แสดงให้เห็นความแตกต่างของราคาขาย 80 บาท (คิด 12 3. การเปลี่ยนแปลงราคาขายของน้ําผึ้งโพรง 13 นํ้าผึ้งโพรงร้อยละเมื่อพิจารณาตามช�องทางการจําหน�ายน้ําผึ้งโพรงนั้น 30 เข้ากองทุน เพื่อใช้ในการจัดการ แสดงให�เห็นถึงราคาขายที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นร้อยละ 36.66) และ HOSTBEEHIVE โดยส านำ ม� าไปจำ ร ถ แ บ��หน่าย ง อ อ ก เ ป� น 3 14 รูปแบบหลักดูแลป่าของชุมชน คือ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการจัดการธุรกิจ ต่อกับผู้บริโภค ในราคา 1,560 บาท/กก. แสดงให้เห็น 15 บนฐานทรัพยากรป่าไม้1. เกษตรกรผู�ที่เลี้ยงโพรงจําหน�ายน้ําผึ้งให�กับพ�อหลวงในราคา จาก Figure 3 จะเห็นได้ว่า แหล่ง ความแตกต่างของราคาเท่ากับ 220 บาท/กก. และพ�อหลวงนําไปจําหน�ายต�อกับ 1,260 บาท/กก. HOSTBEEHIVE(คิดเป็น 16 ในราคาที่มาของเงินกองทุนละลาย 300 บาท/กก. แสดงให�เห็นความแตกต�างของราคาขาย มาจาก 3 ช่องทาง ได้แก่ 80 บาทร้อยละ (คิดเป�นร�อยละ 420.0) 36.66) และ HOSTBEEHIVE นําไปจําหน�า ย ต� อ ก ับ 17 ผู�บริโภคพ่อหลวง ในราคา กลุ่มเยาวชน 1,560 บาท และ/กก. HOSTBEEHIVEแสดงให�เห็นความแตกต�างของราคาเท�ากับ ซึ่งจะหัก 1,260 บาท/กก. 3.2 เกษตรกรผู้ที่เลี้ยงโพรงจำ(คิดเป�นร�อยละ 420.0) �หน่ายนํ้าผึ้ง 18 รายได้จากการจำ2. เกษตรกรผู�ที่เลี้ยงโพรงจําหน�ายน้ําผึ้งให�กับกลุ�มเยาวชนในราคา�หน่ายนํ้าผึ้งโพรงเข้าสู่กองทุนละลาย ให้กับกลุ่มเยาวชนในราคา 220 บาท/กก. และกลุ�มเยาวชนนําไปจําหน�ายต�อกับผู�บริโภค 220 บาท/กก. และกลุ่ม 19 ในราคาแต่อย่างไรก็ตาม 466.66 บาท/กก. จากการศึกษาพบว่า แสดงให�เห็นความแตกต�างของราคาเท�ากับ การจัดการกองทุน 246.66เยาวชนนำ บาท/กก.�ไปจำ (คิดเป�นร�อยละ�หน่ายต่อกับผู้บริโภคในราคา 112.12) 466.66 20 ละลายของชุมชนห้วยหินลาดใน3. เกษตรกรผู�ที่เลี้ยงโพรงจําหน�ายน้ําผึ้งให�กับผู�บริโภคในราคา ยังไม่ค่อยมีความชัดเจน บาท/กก. 300 บาท/กก. แสดงให้เห็นความแตกต่างของราคาเท่ากับ 21 (เส้นประ) ดังนั้นจะเห็นได�ว�า หากจะจัดการให้โซ่คุณค่าของน ราคาขายในแต�ละช�องทางการจําหน�ายนั้นมีความแตกต�างของราคาค�อนข�างสูงเมื่อเทียบกับราคาขายที่เกษตรกรได�ํ้าผึ้ง 246.66 บาท/กก. (คิดเป็นร้อยละ 112.12) 22 จําหน�ายออกไปโพรงมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แสดงให�เห็นถึงมูลค�าที่เพิ่มขึ้นภายในกระบวนการผลิตน้ําผึ้งโพรง ควรมีการเพิ่มศักยภาพ โดยป�จจัยที่ทําให�ราคาของน้ําผึ้ง 3.3 เกษตรกรผู้ที่เลี้ยงโพรงจำโพรงเพิ่มขึ้น�หน่ายน เนื่องจากมีการํ้าผึ้ง 23 เปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑ�ใ ส� ขวดแก�ว ป�ดฝาเกลียวและมีการติดฉลาดสินค�าเป�นขนาดต�างๆ เช�น ขนาด 450 กรัม หรือ 240 กรัม เป�นต�น และสร้างความเป็นรูปธรรมให้กับกองทุนละลาย ให้กับผู้บริโภคในราคา 300 บาท/กก. 24 นอกจากนี้ การจําหน�ายผลผลิตน้ําผึ้งโพรงผ�านช�องทางออนไลน�ยังเป�นส�วนหนึ่งที่ทําให�ราคาขายผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากในป�จจุบันการตลาดใน 25 สื่อออนไลน�และอินเตอร�เน็ตมีมากขึ้น ทําให�ผู�บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค�าได�มากขึ้น ดังใน Table 2 26 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 165-175 (2563) 173

จะเห็นได้ว่า ราคาขายในแต่ละช่องทางการ ขนาด 450 กรัม หรือ 240 กรัม เป็นต้น นอกจากนี้ การ จำ�หน่ายนั้นมีความแตกต่างของราคาค่อนข้างสูงเมื่อ จำ�หน่ายผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงผ่านช่องทางออนไลน์ยังเป็น เทียบกับราคาขายที่เกษตรกรได้จำ�หน่ายออกไป แสดง ส่วนหนึ่งที่ทำ�ให้ราคาขายผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากใน ให้เห็นถึงมูลค่าที่เพิ่มขึ้นภายในกระบวนการผลิตนํ้าผึ้ง ปัจจุบันการตลาดในสื่อออนไลน์และอินเตอร์เน็ตมีมาก โพรง โดยปัจจัยที่ทำ�ให้ราคาของนํ้าผึ้งโพรงเพิ่มขึ้น ขึ้น ทำ�ให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าได้มากขึ้น ดัง เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑ์ใส่ขวดแก้ว ปิด ใน Table 2 ฝาเกลียวและมีการติดฉลาดสินค้าเป็นขนาดต่างๆ เช่น Table 2 Changes in selling price of Apis cerena honey product. Sell price (Baht/kg) Change of sell price BK HM YG HB Co Baht % Beekeepers (BK) - 220.00 220.00 - 300.00 220.00 0 Headman (HM) - - - 300.00 300.00 80.00 36.66 Youth group (YG) - - - - 466.66 246.66 112.12 Host beehive (HB) - - - - 1,560.00 1,260.00 420.0 Consumers (Co) ------จากการวิเคราะห์ พบว่า องค์ประกอบและ โซ่คุณค่าของนํ้าผึ้งโพรงของชุมชนห้วยหินลาด โครงสร้างภายในโซ่คุณค่าของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงนั้น ใน แสดงให้เห็นถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและกิจกรรมที่ช่วย ไม่ได้มีรูปแบบชัดเจนดังที่เหมือนระบบการผลิตระดับ เพิ่มมูลค่าของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรง โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์กรธุรกิจตามแนวคิดของ Porter (1985) เนื่องจาก ที่มีบทบาทสำ�คัญในการเพิ่มมูลค่าของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรง โครงสร้างและกิจกรรมในโซ่คุณค่าของ Porter เป็นการ คือ ผู้รับซื้อผลผลิต โดยเฉพาะผู้รับซื้อนอกชุมชน มองในรูปแบบขององค์กรธุรกิจ ซึ่งมีองค์ประกอบที่เฉพาะ (HOSTBEEHIVE) ที่ทำ�หน้าที่เป็นผู้กระจายนํ้าผึ้งโพรง เจาะจง ในขณะที่โซ่คุณค่าของนํ้าผึ้งโพรงของบ้านห้วย ออกสู่นอกชุมชน รวมถึงการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลผลิต หินลาดในนั้น มีลักษณะเป็นระบบการผลิตอย่างง่าย ซึ่ง นํ้าผึ้งที่หลากหลาย ทำ�ให้ราคานํ้าผึ้งที่จำ�หน่ายมีราคา มีความยืดหยุ่นกว่า และมีองค์ประกอบที่หลากหลายกว่า สูงที่สุดในโซ่คุณค่า ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Pratama ดังนั้น กิจกรรมในโซ่คุณค่าของนํ้าผึ้งโพรงไม่ได้เป็นไป et al. (2019) ที่พบว่า ภายในโซ่คุณค่าของการผลิต ตามกระบวนการของแนวคิดโซ่คุณค่าทั้งหมด ซึ่งสอดคล้อง ผ้าไหมนั้นมูลค่าการตลาดที่สูงที่สุดอยู่ที่ผู้รับซื้อในท้องถิ่น กับ Partap et al. (2017) ได้ทำ�การศึกษาเรื่อง Pro- และมูลค่าการตลาดตํ่าสุดอยู่ที่เกษตรกรหรือผู้ผลิต ซึ่ง poor value chain development for Apis cerana แสดงให้เห็นว่า ผู้รับซื้อในท้องถิ่นมีบทบาทในการสร้าง honey: potential benefits to smallholder Apis มูลค่าเพิ่มของผลผลิต อีกทั้งกิจกรรมที่มีส่วนช่วยในการ cerana beekeepers in the Hindu Kush Himalaya เพิ่มมูลค่าของการผลิตผ้าไหม คือ การแปรรูปเส้นไหม ว่า โซ่คุณค่าของนํ้าผึ้ง Apis cerana ที่ผลิตโดยผู้เลี้ยง ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ผ้าไหม ซึ่งทำ�ให้มีมูลค่าการตลาด ผึ้งรายย่อยในพื้นที่เนินเขา/ภูเขาของบังคลาเทศ เป็น ของห่วงโซ่คุณค่าผ้าไหมเพิ่มมากขึ้น รูปแบบดั้งเดิม เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบ 2 องค์ประกอบ การจัดการโซ่คุณค่าของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงให้ คือ คนเลี้ยงผึ้งและผู้บริโภค มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นนั้น จำ�เป็นต้องมีการพัฒนาและ 174 Thai J. For. 39 (1) : 165-175 (2020)

เพิ่มศักยภาพของแต่ละองค์ประกอบภายในโซ่คุณค่า 4. การขนส่งและการกระจายสินค้า สำ�หรับ โดยจากการศึกษานั้นแสดงให้เห็นถึงราคาที่เปลี่ยนแปลง การขนส่งผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงของชุมชนห้วยหินลาดใน จะ ไปของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรง ซึ่งจะมีราคาเพิ่มมากขึ้นเมื่อ เป็นการขนส่งผลผลิตออกจากชุมชน ซึ่งการจำ�หน่าย ผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงถูกส่งต่อไปยังผู้บริโภค (ปลายนํ้า) แต่ นํ้าผึ้งโพรงส่วนใหญ่จะเป็นการจำ�หน่ายผ่านช่องทาง ในขณะเดียวกันมูลค่าที่เกษตรกรได้รับนั้นยังมีมูลค่าน้อย ออนไลน์ และส่งทางไปรษณีย์หรือบริษัทขนส่ง ซึ่งในการ ดังนั้น ในการพัฒนาโซ่คุณค่าผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงของชุมชน ขนส่งนั้นมักมีปัญหาในเรื่องสินค้าได้รับความเสียหาย ห้วยหินลาดใน คือ ต้องมีการเพิ่มมูลค่าที่เกษตรกรได้รับ ให้มากยิ่งขึ้น จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โซ่คุณค่าของ ดังนั้น จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงชนิดของบรรจุภัณฑ์ ผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงจำ�เป็นต้องมีการปรับปรุงในแต่ละองค์ เพื่อให้ง่ายต่อการขนส่ง ประกอบ ดังนี้ 1. การผลิต จากการศึกษาพบว่า การเลี้ยงผึ้ง สรุป โพรงของชุมชนห้วยหินลาดในนั้นเป็นการเลี้ยงผึ้งโพรง การศึกษาการจัดการโซ่คุณค่าของนํ้าผึ้งโพรง แบบธรรมชาติ คือ มีการใช้ไม้ในพื้นที่ป่ามาทำ�เป็นรังผึ้ง กรณีศึกษาบ้านห้วยหินลาดใน อำ�เภอเวียงป่าเป้า จังหวัด โพรง ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพแหล่งผลิตจึงเป็นเรื่อง เชียงราย ผลการศึกษา พบว่า ครัวเรือนที่เลี้ยงผึ้งโพรง สำ�คัญ ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกไม้ที่สามารถใช้ทำ� มีจำ�นวน 16 ครัวเรือน (ร้อยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด) เป็นรังผึ้งโพรงได้ เช่น ไม้ค้อ ไม้เลี่ยน เป็นต้น นอกจาก โดยปริมาณผลผลิตน้าผึ้งโพรงเฉลี่ยํ 64.88 กก./ครัวเรือน/ปี นี้ ควรมีการเพิ่มศักยภาพของป่าเพื่อให้ป่ามีศักยภาพใน มีรายได้เฉลี่ย 14,968 บาท/ครัวเรือน/ปี มีค่าใช้จ่าย การให้ผึ้งมาอยู่อาศัย เช่น การปลูกเสริมพืชอาหารผึ้ง เฉลี่ย 1,418 บาท/ครัวเรือน/ปี โดยมีมูลค่าสุทธิของการ การป้องกันไฟป่า เป็นต้น ผลิตนํ้าผึ้งโพรงของชุมชนห้วยหินลาดในเท่ากับ 201,833 2. การรับซื้อผลผลิต ในระบบการผลิตนํ้าผึ้ง บาท/ปี จากการวิเคราะห์องค์ประกอบและผู้มีส่วนได้ โพรงของชุมชนห้วยหินลาดใน จากการศึกษาพบว่า ผู้รับ ซื้อผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงของผู้รับซื้อในชุมชนนั้นจำ�เป็นต้อง ส่วนเสียภายในโซ่คุณค่าของนํ้าผึ้งโพรงของชุมชนห้วย ใช้เงินทุนจำ�นวนมากในการรับซื้อ ซึ่งถือได้ว่าเป็นการ หินลาดในตามแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า (value chain) พบว่า ลงทุนแบบทุนจม ดังนั้น ในการเพิ่มศักยภาพโซ่คุณค่า ระบบการผลิตนํ้าผึ้งโพรงนั้นประกอบด้วยองค์ประกอบ ของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดตั้ง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตทั้งหมด กองทุนหรือพัฒนากองทุนเพื่อใช้เป็นเงินหมุนเวียนใน 4 องค์ประกอบ ได้แก่ การผลิต การรับซื้อผลผลิต การ การรับซื้อนํ้าผึ้งโพรงของชุมชนห้วยหินลาดใน แปรรูปและบรรจุภัณฑ์เบื้องต้น และการขนส่งและการ 3. การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์ โซ่คุณค่าของ กระจายสินค้า โดยจากการศึกษาพบว่า กิจกรรมภายใน ผลผลิตนํ้าผึ้งโพรง ควรมีการยกระดับผลิตภัณฑ์ (product โซ่คุณค่าของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงมีส่วนในการสร้างมูลค่า upgrading) โดยการเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มของผลผลิต คือ กิจกรรมการบรรจุภัณฑ์ (packaging) ของผลผลิตนํ้าผึ้งโพรงให้หลากหลายขึ้น จากการ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะในการนำ� ศึกษาพบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งโพรงส่วนใหญ่จำ�หน่าย นํ้าผึ้งโพรงในรูปแบบวัตถุดิบ ทำ�ให้ผลผลิตยังไม่มีความ ผลการวิจัยไปใช้ ประกอบด้วย 1) ควรมีการสนับสนุน หลากหลาย อีกทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์จะช่วยเพิ่มมูลค่า และเพิ่มศักยภาพให้ชุมชนมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผลผลิต ที่เกษตรกรและชุมชนควรได้รับ อีกทั้งเป็นการสร้าง นํ้าผึ้งโพรงให้หลากหลายขึ้นเพื่อเพิ่มมูลค่าที่เกษตรกร ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น การทำ�สบู่ แชมพู ควรจะได้รับ และเป็นการสร้างผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย เป็นต้น มากยิ่งขึ้น 2) ควรมีการส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มของ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 165-175 (2563) 175

ผู้เลี้ยงผึ้งโพรงในรูปแบบวิสาหกิจชุมชน จะช่วยสร้าง REFERENCES ศักยภาพในการจัดการโซ่คุณค่าของนํ้าผึ้งโพรงมาก Partap, U., C.E. Halder, J.K. Rema, K.R .Gurung, ยิ่งขึ้น รวมถึงมีการสร้างเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเพื่อ N.B. Tamang, S. Wangchuk, E. Hussain เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสมาชิก and S. Hussain. 2017. Pro-poor Value ของเครือข่าย 3) ภาครัฐควรมีการส่งเสริมและพัฒนา Chain Development for Apis cerana ระบบตลาดสำ�หรับผลิตภัณฑ์ของชุมชน รวมถึงมีการ Honey: Potential Benefits to Smallholder จัดตั้งกองทุนพัฒนาวิสาหกิจขนาดย่อม ทั้งนี้ เพื่อเปิด Apis cerana Beekeepers in the Hindu โอกาสให้ชุมชนสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเองได้ Kush Himalaya. ICIMOD Research มากขึ้น และ 4) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านป่าไม้ควรมี Report 2017/3. ICIMOD, Kathmandu. การปรับปรุงระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ Porter, M.E. 1985. Competitive Advantage: ประโยชน์ของป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ Creating and Sustaining Superior กับชุมชนในเขตป่าในการนำ�ผลผลิตมาแปรรูปและสร้าง Performance. Free Press, New York. มูลค่าเพิ่มให้กับทรัพยากร Pratama, A.G., S. Supratman and M. Makkarennu. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1) ควรมี 2019. Examining forest economies: A การศึกษาผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ชนิดอื่นๆ เพื่อ case study of silk value chain analysis ทำ�ให้ทราบถึงองค์ประกอบและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน in Wajo District. Forest and Society ระบบการผลิต ซึ่งจะนำ�มาสู่การจัดการผลผลิตจากป่า 3(1): 22-33. ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ได้อย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรของชุมชน The Center for People and Forests. 2017. และ 2) ควรมีการศึกษามูลค่าสุทธิของแต่ละองค์ประกอบ Enhancing Livelihoods and Markets. ในโซ่คุณค่า เพื่อให้ทราบถึงมูลค่าสุทธิที่แต่ละองค์ประกอบ Available Source: https://archive.recoftc. ได้รับ และนำ�มาสู่การจัดการโซ่คุณค่าให้มีประสิทธิภาพ org/basic-page/enhancing-livelihoods- มากขึ้น and-markets, September 12, 2018. Thai J. For. 39 (1) : 176-190 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 176-190 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

ชนิดพรรณไม้ยืนต้นที่เหมาะสมในการปลูกฟื้นฟูพื้นที่สวนยางพารา ให้เป็นป่าที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ Suitable Tree Species for Forest Restoration of a Para Rubber Plantation to an Economic Forest

วรุณ จันทร์สว่าง* Waroon Junsawung* พสุธา สุนทรห้าว Pasuta Sunthornhao สคาร ทีจันทึก Sakhan Teejuntuk คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Faculty of Forestry, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding Author, E-mail: [email protected] รับต้นฉบับ 5 สิงหาคม 2562 รับแก้ไข 26 กันยายน 2562 รับลงพิมพ์ 2 ตุลาคม 2562

ABSTRACT The objectives of this research were to determine the growth in terms of diameter at ground level (D0), total height (Ht), and the relative annual increment (RAI) of selected 5 years old economic tree species, and to determine the species suitable for planting so as to change a Para rubber plantation to be an economic forest. The selection of 10 samples economic tree species was based ranking according to the important value index (IVI) estimated from two demonstration plots at Wang Chan forest learning center, Wang Chan district, Rayong province. A stratified random sampling of selected species was employed for data collection, such as, D0, Ht, and quality evaluation of selected species, which were 9 factors in total. Analysis was done with a statistical software package and simple additive weighting (SAW) method. Data was collected for 4 years from 2016 to 2019

The results of this study indicated that the highest D0 of economic tree species were Hopea odorata Roxb. and Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don, but the highest value of Ht was Pterocarpus macrocarpus Kurz other while the Archidendron conspicuum (Craib) I. C. Nielsen had the highest RAI for D0 and Ht. In conclusion, the economic tree species suitable to be planted in the Para rubber plantation were Hopea odorata Roxb., Dalbergia cochinchinensis Pierre, Pterocarpus macrocarpus Kurz, Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don, Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte, Archidendron conspicuum (Craib) I. C. Nielsen, Knema globularia (Lam.) Warb, Millettia xylocarpa Miq, Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib, and Shorea henryana Pierre with a suitable scores of 67, 62, 59, 57, 53, 52, 51, 49, and 38 percent, respectively. Keywords: Economic tree species, Forest restoration, Para rubber plantation, System of intensive forestation วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 176-190 (2563) 177

บทคัดย่อ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาการเติบโตด้านเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับคอรากผิวดิน ความสูงทั้งหมด ความ เพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์ของชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจ 10 ชนิด อายุ 5 ปี และศึกษาความเหมาะสมของชนิดพรรณไม้ใน การปลูกเพื่อเปลี่ยนสวนยางพาราให้เป็นป่าที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดยทำ�การคัดเลือกชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจที่มีดัชนี ค่าความสำ�คัญสูงสุด 10 อันดับแรกจากแปลงสาธิต ขนาด 40x40 เมตร จำ�นวน 2 แปลง ณ โครงการศูนย์เรียนรู้ป่า วังจันทร์ อำ�เภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง จากนั้นสุ่มตัวอย่างแบบจำ�แนกชั้นภูมิตามชนิดพรรณไม้ที่รับคัดเลือกเพื่อเก็บ ข้อมูลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับคอรากผิวดิน ความสูงทั้งหมด และประเมินให้คะแนนตามความเหมาะสม 9 ปัจจัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำ�เร็จรูปทางสถิติ และประเมินความเหมาะสมโดยวิธีการรวมแบบถ่วงนํ้าหนักอย่างง่าย ทำ�การเก็บข้อมูลต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 4 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559-2562 ผลการศึกษาพบว่า ชนิดพรรณไม้ที่มีขนาดความโตที่ระดับคอรากผิวดินมากที่สุดมี 2 ชนิด คือ ตะเคียนทอง (Hopea odorata Roxb.) และยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don.) ชนิดไม้ที่มีการเติบโตด้านความ สูงทั้งหมดมากที่สุด คือ ประดู่ป่า (Pterocarpus macrocarpus Kurz.) ส่วนชะอมต้น (Archidendron conspicuum (Craib) I. C. Nielsen.) เป็นชนิดไม้ที่มีค่าเฉลี่ยความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์ทั้งด้านความโตและความสูงมากที่สุด และผล วิจัยในรอบ 4 ปีนี้สามารถสรุปได้ว่า ชนิดพรรณไม้ที่เหมาะสมในการปลูกเพื่อฟื้นฟูพื้นที่สวนยางพารา ได้แก่ ตะเคียนทอง พะยูง (Dalbergia cochinchinensis Pierre) ประดู่ป่า ยางนา กฤษณา (Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte) ชะอมต้น เลือดแรด (Knema globularia (Lam.) Warb.) สาธร (Millettia xylocarpa Miq.) มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib) และ เคี่ยมคะนอง (Shorea henryana Pierre) มีค่าคะแนนความเหมาะสมเท่ากับร้อยละ 67, 62, 59, 57, 53, 52, 52, 51, 49 และ 38 ตามลำ�ดับ คำ�สำ�คัญ: ชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจ การฟื้นฟูป่า สวนยางพารา การปลูกป่าแบบประณีต และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น การขยายพื้นที่ปลูกยางพารา คำ�นำ� ดังกล่าวส่งผลให้ในบางพื้นที่มีการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ซึ่ง ยางพารา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hevea เป็นทรัพยากรของชาติเปลี่ยนแปลงไปเพื่อปลูกยางพารา brasiliensis (Kunth) Müll. Arg. จัดอยู่ในวงศ์ จากการสำ�รวจของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ Euphorbiaceae (The Forest Herbarium, 2014) สิ่งแวดล้อม พบว่า มีสวนยางพาราอยู่ในพื้นที่ป่า 8.24 เป็นพืชเศรษฐกิจที่ถูกนำ�เข้ามาในประเทศไทยครั้งแรก ล้านไร่ โดยอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติประมาณ 5.2 ล้านไร่ ในปี พ.ศ. 2442 จากนั้นมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกกลาย อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 1.04 เป็นไม้เศรษฐกิจที่มีความสำ�คัญของภาคใต้ และต่อมา ล้านไร่ นอกจากนี้ยังมีสวนยางพาราที่อยู่ในพื้นที่ป่าตาม ได้มีการขยายพื้นที่การปลูกไปยังภูมิภาคอื่นของประเทศไทย พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 อีกจำ�นวนกว่า 2 ล้าน ด้วยเหตุผลของราคาที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ ไร่ (Ministry of Natural Resources and Environment, ในปี พ.ศ. 2545-2554 ราคายางพาราแผ่นดิบ ชั้น 3 2018) เพิ่มขึ้นถึง 4 เท่าของราคาเดิม (Rubber Research ด้วยสภาพปัญหาราคายางพาราลดลงอย่างต่อ Institute of Thailand, 2015) ส่งผลให้พื้นที่เพาะปลูก เนื่องจากที่เคยเพิ่มสูงในปี พ.ศ 2554 เนื่องจากมีปริมาณ ยางพาราขยายตัวอย่างต่อเนื่องจาก 14.36 ล้านไร่ ในปี นํ้ายางพาราเข้าสู่ระบบมากเกินไป พื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุก พ.ศ. 2549 เป็น 22.18 ล้านไร่ ในปี พ.ศ. 2556 สูงขึ้น เป็นพื้นที่สวนยางพารา รัฐบาลมีนโยบายยึดคืนเพื่อฟื้นฟู เฉลี่ยร้อยละ 5.52 ต่อปี (Jareanjiratrakun et al., 2014) ให้กลายเป็นป่าธรรมชาติหรือป่าที่มีค่าทางเศรษฐกิจ 178 Thai J. For. 39 (1) : 176-190 (2020)

ประกอบกับในปัจจุบันมีการปฏิรูปกฎหมายเกี่ยวกับไม้ อายุ 5 ปี ภายใต้การปกคลุมของเรือนยอดยางพารา และ หวงห้ามให้สามารถปลูกได้ในที่ดินเอกสารสิทธิ์ จึงเป็น ศึกษาชนิดพรรณไม้ที่มีความเหมาะสมในการปลูกฟื้นฟู โอกาสในการส่งเสริมการปลูกไม้ยืนต้นร่วมในพื้นที่สวน พื้นที่สวนยางพาราให้เป็นป่าที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ยางพารา ทว่าปัจจุบันการศึกษาด้านชนิดไม้ยืนต้นที่ เหมาะสมในการปลูกในสวนยางพารายังมีอยู่อย่างจำ�กัด อุปกรณ์และวิธีการ จึงนำ�มาสู่การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ 1) แบบ การศึกษาครั้งนี้เลือกศึกษาในพื้นที่โครงการ บันทึกข้อมูลภาคสนาม 2) ดินสอหรือปากกา 3) แผ่น ป่าวังจันทร์ ตำ�บลป่ายุบใน อำ�เภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง รองเขียน 4) กล้องถ่ายภาพ 5) อุปกรณ์วัดขนาดเส้นผ่าน เนื่องจากจังหวัดระยองมีพื้นที่ปลูกยางพารามากที่สุดใน ศูนย์กลางต้นไม้ที่ระดับคอรากผิวดิน (Vernier caliper) ภาคตะวันออก (Rubber Authority of Thailand, 6) อุปกรณ์วัดความสูงต้นไม้ (Hasting Height Pole) 2018) และอำ�เภอวังจันทร์เป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความ 7) ป้ายแสดงหมายเลขต้นไม้ และ 8) คอมพิวเตอร์และ สมบูรณ์ร้อยละ 90 ของพื้นที่เป็นไม้ยืนต้นในกลุ่มสวน โปรแกรมสำ�เร็จรูปสำ�หรับวิเคราะห์ข้อมูล ผลไม้ ยางพารา ปาล์มนํ้ามัน และพืชผักทางการเกษตร (Makmongkonchai and Kannasut, 2015) ในการ ลักษณะพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการป่าวังจันทร์ ตำ�บลป่ายุบ ใน ศึกษาครั้งนี้เลือกศึกษาในพื้นที่สวนยางพาราที่มีการปลูก อำ�เภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง มีลักษณะสภาพภูมิประเทศ พรรณไม้เศรษฐกิจแทรกระหว่างร่องปลูกยางพาราเพื่อ โดยทั่วไปไม่ราบเรียบ สภาพดินโดยทั่วไปเป็นดินร่วนปน ฟื้นฟูให้กลายเป็นป่าที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ด้วยวิธีการ ปลูกป่าแบบประณีต (system of intensive forestation, ทรายและดินลูกรัง มีความสมบูรณ์ของดินค่อนข้างตํ่า SIF) ซึ่งเป็นวิธีการปลูกป่าที่มีความเข้มข้นในการจัดการ ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปเป็นแบบมรสุมเขตร้อน มี อยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบกับการปลูกป่า ลมพัดผ่านตลอดปี อากาศอบอุ่นไม่ร้อนจัด อุณหภูมิเฉลี่ย สร้างสวนป่า (forest plantation) และการปลูกป่าแบบ ตลอดปีประมาณ 23.9 องศาเซลเซียส ปริมาณนํ้าฝน นิเวศ (Miyawaki’s Eco-Forest) โดยปลูกไม้โตช้าต่อ เฉลี่ย 1,400 มิลลิเมตร/ปี ลักษณะทางนิเวศวิทยาของ ไม้โตเร็วในอัตราส่วน 8 ต่อ 2 ปลูกด้วยกล้าไม้ที่เพาะ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าดิบแล้ง (PTT Reforestation and จากเมล็ด มีระบบรากแข็งแรง สูง 60-100 เซนติเมตร Ecosystem Institute, 2015) จำ�นวน 400-500 ต้นต่อไร่ (กรณีในพื้นที่โล่งแจ้ง) ปลูก ในการศึกษาครั้งนี้เลือกพื้นที่ที่มีการปลูกสร้าง แบบไร้ทิศทางแน่นอนพยายามเลียนแบบธรรมชาติ พร้อม สวนยางพาราในโครงการศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์ จำ�นวน ให้ความสำ�คัญในขั้นตอนการเตรียมพื้นที่ การให้ปุ๋ย 46.57 ไร่ ยางพารามีอายุ 7-10 ปี ระยะปลูก 3x7 เมตร อินทรีย์และการกำ�จัดวัชพืชเพื่อให้ชนิดไม้ที่ปลูกมีอัตรา แบบเป็นแถวเป็นแนว ภายในพื้นที่ศึกษามีการปลูกไม้ การรอดตายสูง เติบโตได้ดี ให้ผลผลิตทางด้านเนื้อไม้และ ยืนต้นที่มีค่าทางเศรษฐกิจแทรกระหว่างแถวยางพารา มีการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูง (Sunthornhao, โดยใช้เทคนิคการปลูกป่าแบบประณีต (SIF) ที่ไม่เป็น 2016) วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยเพื่อศึกษาการ แถวเป็นแนวเลียนแบบการกระจายตามธรรมชาติ โดย เติบโตทางด้านความโตที่ระดับคอรากผิวดิน ความสูง มีระยะห่างและรูปแบบการปลูกในพื้นที่สวนยางพารา ทั้งหมด ความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์ของพรรณไม้เศรษฐกิจ ดังแสดงใน Figure 1 และ Figure 2 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 176-190 (2563) 179 4

1 2 Figure 1Figure Location 1 Locationof the study of area the atstudy Wangchan area atforest Wangchan project in forest Rayong project province in. Rayong province. 3

4 5 FigureFigure 2 TheThe system system of intensiveof intensive forestation forestation (SIF) model (SIF) modelfor planting for plantingeconomic economic trees species trees in the species field study in the 6 areafield. study area. 180 Thai J. For. 39 (1) : 176-190 (2020)

การคัดเลือกชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจ 40x40 เมตร จำ�นวน 2 แปลง กระจายในพื้นที่สวน เลือกชนิดพรรณไม้ยืนต้นที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ยางพารา 46.57 ไร่ (Figure 2) พบชนิดไม้ทั้งหมด 41 โดยการสังเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิจากงานวิจัยของห้อง ชนิด จำ�นวน 488 ต้น (Laboratory of Forest Indigenous Knowledge Management, 2018) ทำ�การวิเคราะห์ ปฏิบัติการจัดการภูมิปัญญาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ ที่ทำ�การ ค่าดัชนีความสำ�คัญของพรรณไม้ (important value ติดตามประเมินผลการเติบโตไม้ยืนต้นที่ปลูกในพื้นที่สวน index, IVI) เพื่อหาชนิดพรรณไม้ยืนต้นที่มีค่าทาง ยางพาราของโครงการป่าวังจันทร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559- เศรษฐกิจและมีความโดดเด่น ได้ผลการวิเคราะห์ 12 อันดับ 2562 ปีละ 1 ครั้ง โดยการวางแปลงตัวอย่างถาวรขนาด พรรณไม้ยืนต้นเด่นในพื้นที่ดังแสดงใน Table 1 Table 1 Top 12 economic tree species based on their important value index (IVI). Density RD RF RD No S 0 IVI (tree/rai) (%) (%) (%) 1 Hevea brasiliensis (Kunth) Müll. Arg. 72 28.77 4.08 59.43 92.29 2 Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don 97 14.89 4.08 6.30 25.28 3 Dalbergia cochinchinensis Pierre 21 8.45 4.08 5.49 18.02 4 Pterocarpus macrocarpus Kurz 19 7.65 4.08 5.59 17.32 5 Hopea odorata Roxb 17 6.64 4.08 5.53 16.25 6 Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib 12 7.24 4.08 3.83 15.15 7 Millettia xylocarpa Miq 12 4.63 4.08 2.00 10.71 8 Macaranga quadricornis Bojer ex Baill 4 1.61 4.08 2.04 7.73 9 Knema globularia (Lam.) Warb 9 3.42 2.04 1.87 7.33 10 Archidendron conspicuum (Craib) I. C. Nielsen 6 2.21 2.04 0.43 4.69 11 Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte 5 2.01 2.04 0.56 4.62 12 Shorea henryana Pierre 4 1.41 2.04 0.73 4.17

Remarks: RD = Relative Density, RF = Relative Frequency, RD0 = Relative Dominance; (%) จากค่าดัชนีความสำ�คัญของไม้ยืนต้นที่พบใน (Archidendron conspicuum (Craib) I. C. Nielsen) พื้นที่สวนยางพารา (Table 1) ทำ�การเลือกชนิดไม้ กฤษณา (Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte) เศรษฐกิจ โดยมีหลักการเลือกชนิดไม้ คือ 1) เป็นชนิด และเคี่ยมคะนอง (Shorea henryana Pierre) ไม้ที่มีความเด่นในพื้นที่ศึกษา 2) มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ การเก็บรวบรวมข้อมูล 3) ไม่เป็นชนิดพรรณไม้เบิกนำ� โดยไม่นับรวมยางพารา เก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม โดยการสุ่มแบบ ได้ชนิดไม้ตัวแทนในการศึกษา 10 ชนิด ประกอบด้วย ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don) จำ�แนกชั้นภูมิ (stratified random sampling) ตาม พะยูง (Dalbergia cochinchinensis Pierre) ประดู่ป่า ชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจที่ได้รับการคัดเลือกและเก็บข้อมูล (Pterocarpus macrocarpus Kurz) ตะเคียนทอง ในแต่ละชั้นภูมิอย่างน้อย 10 ตัวอย่าง ดังนี้ (Hopea odorata Roxb) มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa 1. วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับคอราก

(Kurz) Craib) สาธร (Millettia xylocarpa Miq) เลือด ผิวดิน (D0) เนื่องจากเป็นการเก็บข้อมูลในช่วงเริ่มแรก แรด (Knema globularia (Lam.) Warb.) ชะอมต้น ของการเติบโตและมีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง จึง วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 176-190 (2563) 181

กำ�หนดให้วัดค่าการเติบโตจากตำ�แหน่งเดียวกันในการ ความเชื่อมั่นร้อยละ 99 โดยใช้โปรแกรมสำ�เร็จรูปทาง ศึกษา ด้วยเครื่องมือวัดขนาดความโต Vernier caliper สถิติ มีหน่วยเป็น เซนติเมตร 2. การวิเคราะห์ชนิดพรรณไม้ที่เหมาะสมใน

2. วัดความสูงทั้งหมดของต้นไม้ (Ht) ตั้งแต่ การปลูกเพื่อฟื้นฟูพื้นที่สวนยางพารา โดยการวิเคราะห์ ระดับผิวดิน จนถึงปลายยอดสูงสุดของต้นไม้ ด้วยเครื่องมือ คะแนนแบบถ่วงนํ้าหนักอย่างง่าย (simple additive วัดความสูง Hasting Height Pole มีหน่วยเป็น เมตร weighting: SAW) 3. ประเมินศักยภาพของพรรณไม้เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์การตัดสินใจแบบ โดยการให้คะแนนแต่ละชนิดพรรณโดยพิจารณาปัจจัย หลายปัจจัย (Saravisutra, 2016) กำ�หนดค่าความสำ�คัญ ด้านสิ่งแวดล้อมและปัจจัยด้านเศรษฐกิจ โดยผ่านการ จากการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญด้านป่าไม้ (expert พิจารณาจากการระดมความคิดของผู้วิจัยและประสบการณ์ scoring) ตามความเหมาะสมในแต่ละปัจจัย (Table 2) ของผู้เชี่ยวชาญด้านป่าไม้ กำ�หนดปัจจัยในการพิจารณา โดยมีวิธีการวิเคราะห์ดังนี้ ไว้ 9 ปัจจัย ดังแสดงใน Table 2 2.1 ประเมินคะแนนแต่ละปัจจัยของพรรณไม้ แต่ละชนิด โดยแบ่งชั้นคะแนนออกเป็น 5 ระดับ (อันตรภาค การวิเคราะห์ข้อมูล ชั้น) เรียงตามลำ�ดับคะแนนน้อยที่สุดคือ 1 คะแนน สูงสุด 1. วิเคราะห์ข้อมูลการเติบโตของพรรณไม้ 5 คะแนน สร้างเกณฑ์การประเมินคะแนนจากข้อมูลภาค เศรษฐกิจ แบ่งการวิเคราะห์ ดังนี้ สนามและการตรวจเอกสาร ดังแสดงใน Table 2 1.1 จำ�นวนตัวอย่างและการกระจายข้อมูล 2.2 คำ�นวณหาค่าคะแนนความเหมาะสม ด้านการเติบโตของพรรณไม้เศรษฐกิจโดยการสร้างกราฟ จากสมการ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความโต (D ) และความสูง 10 (PxP ) 0 คะแนนความเหมาะสม = ∑ i Ini x 100 (H ) ในแต่ละปี (P xP ) t (ร้อยละ) i=1[ Maxi Ini ] 1.2 การเติบโตของพรรณไม้ คำ�นวณหา กำ�หนดให้ P i = ค่าคะแนนจริงที่ได้รับจากการ ค่าเฉลี่ยการเติบโตด้านเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับคอราก ประเมินแต่ละปัจจัย (คะแนน) ผิวดิน (D0) ความสูงทั้งหมด (Ht) ความเพิ่มพูนด้านความโต PMaxi = ค่าคะแนนสูงสุดในแต่ละปัจจัย และความสูง (mean annual increment of diameter (คะแนน) and height: MAI of D ,H ) ความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์ 0 t PIni = ค่าความสำ�คัญของแต่ละปัจจัย ด้านความโตและความสูง (relative annual increment (หน่วย) of diameter and height: RAI of D0,Ht) จากนั้น หลังจากนั้นเรียงลำ�ดับคะแนนความเหมาะสม ทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) จากมากไปน้อย ได้ชนิดพรรณไม้ที่เหมาะสมเพื่อปลูกใน และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยวิธี พื้นที่สวนยางพารา ตามลำ�ดับ Duncan’s new multiple rang test (DMRT) ที่ระดับ 182 Thai J. For. 39 (1) : 176-190 (2020) 8

1

0 0 5 5 20 15 15 1 10 1 10 (%) Expert scoring

5 >84 >135 >6.26 >4.26 Straight ≤30 year >115,317 Very low damage low Very HighSymmetrical

High High

– – 6.26 4.26 84 135 115,316 - - - - 4 - 40 year 66 106 5.50 3.83 31 - symmetrical Lowdamage Medium Medium Medium 90,257

)

point

(

5.49 3.83 66 90,256 106 - - - - 3 - 50 year 48 77 Medium Medium 4.73 3.41 41 - symmetrical 65,197 Medium straight Medium Medium damage Medium

. )

) % ( Rating assessment Rating

4.72 65,196 48 77 - - - - Medium Medium 2 Medium 3.41

- 60 year – – 30 48 3 3.95 51 - symmetrical Highdamage 40,137 Less Less Less Less and expertand scoring

,

Royal Forestry Department, 1993

( 1 = straight <3

≤30 ≤48 b <3.95 , damage <40 ,136 rating assessment rating >60 year Very high

Less Less Less symmetrical symmetrical Less

a

b * *

* ) * * )

3

* )

% m ) ( n / %

( 0 m year ) t

( (

Bath Thai customs, 2019 ) ( (

=

a Factors : year age (cm) year age Criteria for consideration, Criteria for consideration, rating assessment, and expert scoring (%). Rotation - - *Evaluated by primary data Evaluated analysis, ** by treespecies. physical each of

at 5 at 5

t 0 Average RAI of D Market price Stem Form ** Symmetry of crow Disease and insect D Cutting

. Average. RAI of H . . H . . 7. Table 2 2 3 4 5 cover ** 6. resistance ** 8. 9 1 Remark: Reference Table 2 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 176-190 (2563) 183

ผลและวิจารณ์ 213 ต้นเพื่อเป็นตัวอย่าง ประกอบด้วย ยางนา 34 ต้น การกระจายของตัวอย่างและการเติบโต ตะเคียนทองและพะยูงชนิดละ 33 ต้น มะค่าโมง ประดู่ 1. จำ�นวนตัวอย่างและการกระจายข้อมูล ป่า สาธร เลือดแรด ชะอมต้น กฤษณา และเคี่ยมคะนอง ด้านการเติบโต มีจำ�นวน 23, 22, 20, 16, 11, 11 และ 10 ต้น ตาม ชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจ 10 ชนิด ที่สามารถ ลำ�ดับ ดังแสดงใน Table 3 ปลูกในพื้นที่สวนยางพาราได้รับการคัดเลือกมาทั้งหมด

Table 3 Number of economic trees, average diameter (D0), total height (Ht), mean annual increment

(MAI) of D0 and Ht aged 5 years. MAI of MAI of D H Species N 0 T D H (cm) (m) 0 t (cm/yr) (m/yr) Hopea odorata Roxb 33 7.03 d 4.03 cd 1.40 d 0.80 cd Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don 34 6.79 d 3.48 bc 1.35 d 0.69 bc Pterocarpus macrocarpus Kurz 22 5.37 c 4.67 d 1.07 c 0.93 d Dalbergia cochinchinensis Pierre 33 5.28 c 4.18 cd 1.05 c 0.83 cd Knema globularia (Lam.) Warb 16 4.65 bc 3.23 ab 0.93 bc 0.64 ab Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte 11 4.08 ab 2.90 a 0.81 ab 0.58 a Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib 23 4.02 ab 2.65 a 0.80 ab 0.53 a Millettia xylocarpa Miq. 20 3.63 a 2.80 a 0.72 a 0.56 a Archidendron conspicuum (Craib) I. C. Nielsen 11 3.54 a 3.02 a 0.70 a 0.60 a Shorea henryana Pierre 10 3.17 a 2.56 a 0.63 a 0.51 a Average 5.21 3.53 1.04 0.71 Standard deviation 1.80 1.37 0.36 0.27 F-value 25.69** 7.26** 25.69** 7.26** Remarks: a = small value of mean, b = pre-medium value of mean, c = post-medium value of mean, d = high value of mean (DMRT = 0.01); ** = highly significant. เพื่อให้เห็นการกระจายในด้านการเติบโต มาจากการกระทำ�ร่วมกันระหว่างลักษณะทางพันธุกรรม

ของชนิดไม้ นำ�ข้อมูลด้านความโต (D0) และความสูง (Ht) (genetic factors) กับปัจจัยสิ่งแวดล้อม (environmental ของชนิดไม้เศรษฐกิจ ในช่วงระยะเวลา 4 ปี (พ.ศ. 2559- factors) โดยปัจจัยสิ่งแวดล้อมสามารถแบ่งได้เป็น 2 2562) สร้างกราฟแสดงการกระจายการเติบโต พบว่า ประเภท คือปัจจัยคงที่ ได้แก่ สภาพภูมิประเทศ และ ชนิดพรรณไม้ที่ปลูกมีการเติบโตทั้งด้านความโตที่ระดับ ปัจจัยแปรผัน ได้แก่ ลักษณะภูมิอากาศและการแข่งขัน คอรากผิวดินและด้านความสูงทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ระหว่างต้นไม้ (Husch et al., 1972) ดังแสดงใน Figure 3 การเติบโตของต้นไม้เกิดเนื่อง 184 Thai J. For. 39 (1) : 176-190 (2020)

Figure 3 Distribution of diameter (D0) and total height (Ht) of top 10 economic tree species during 2016-2019. 2. การเติบโต เฉลี่ยเท่ากับ 1.40 และ 1.35 เซนติเมตร ตามลำ�ดับ ใน

2.1 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ความสูง ด้านการเติบโตและความเพิ่มพูนรายปีด้านความสูง (Ht,

ทั้งหมด และความเพิ่มพูน MAI Ht) ชนิดพรรณไม้ที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ประดู่ป่า ผลการศึกษาของเส้นผ่านศูนย์กลาง มีค่าเฉลี่ยความเพิ่มพูนรายปี คือ 0.93 เมตร/ปี ดังแสดง

(D0) ความสูงทั้งหมด (Ht) ค่าเฉลี่ยความเพิ่มพูนด้าน ใน Table 3 และ Figure 4 เมื่อเปรียบเทียบกับการ

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความสูงทั้งหมด (MAI: D0 ศึกษาของ Nongdee (2017) ที่ทำ�การศึกษาการปลูก and Ht) ของชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจ 10 ชนิด อายุ 5 ปี ชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจด้วยวิธีการปลูกป่าแบบประณีต ในพื้นที่ศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยมีความแตกต่างกันอย่างมี ในพื้นที่โล่งแจ้ง พบว่า ความเพิ่มพูนรายปีด้านความโต นัยสำ�คัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) การเติบโตด้านขนาดเส้น ของตะเคียนทอง และยางนา มีค่าเท่ากับ 1.69 และ 1.47 เซนติเมตร/ปี ในขณะที่ความเพิ่มพูนรายปีด้าน ผ่านศูนย์กลางที่ระดับคอรากผิวดิน (D0) ความสูงทั้งหมด ความสูงของประดู่ป่า คือ 0.97 เมตร/ปี อาจกล่าวได้ว่า (Ht) ความเพิ่มพูนรายปีด้านความโตและความสูง (MAI การปลูกป่าแบบประณีตในที่โล่งแจ้งชนิดพรรณไม้มีการ of D0, Ht) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.21 เซนติเมตร 3.53 เมตร 1.04 เซนติเมตร/ปี และ 0.71 เมตร/ปี ตามลำ�ดับ โดย เติบโตได้ดีกว่าการปลูกในพื้นที่ที่มีการปกคลุมเรือนยอด ชนิดไม้ที่มีการเติบโตที่ระดับคอรากผิวดินและความ ซึ่งลักษณะดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่

เพิ่มพูนรายปีด้านความโต (D0, MAI D0) มากที่สุดมี 2 แตกต่างกันส่งผลต่อการเติบโตของต้นไม้แตกต่างกัน โดย ชนิด คือ ตะเคียนทอง และยางนา มีค่าความเพิ่มพูนรายปี เฉพาะด้านความโตที่ระดับคอรากผิวดิน วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 176-190 (2563) 185

Figure 4 Comparison of D0 and Ht of economic tree species aged 5 years. 2.2 ความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์ 2-3 ปี แสดงถึงการแข่งขันตามธรรมชาติในการเติบโต จากข้อมูลชนิดไม้ตัวอย่างทั้ง 10 ชนิด หลังจากนั้นค่าเฉลี่ยความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์มีแนวโน้ม พบว่า ค่าเฉลี่ยความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์ (RAI) ด้าน ลดลงอย่างต่อเนื่องทุกปีโดยจะสังเกตเห็นได้ชัดในช่วง

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความสูงทั้งหมด (RAI: D0 อายุ 4-5 ปี ชนิดไม้ทุกชนิดมีค่า RAI ตํ่าที่สุด ดังแสดง and Ht) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญยิ่งทางสถิติ ใน Figure 5 ซึ่งต้องใช้เทคนิควิธีในการจัดการป่าไม้เพื่อ (p<0.01) ผลการศึกษา พบว่า ชะอมต้น เป็นชนิดพรรณไม้ ลดปัจจัยที่อาจขัดขวางการเติบโตของต้นไม้ โดยหลัก ที่มีค่าเฉลี่ยความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์สูงที่สุดทั้งด้าน การการปลูกป่าแบบประณีต (SIF) ได้ระบุไว้ในส่วนของ ความโตและความสูง (Table 4) และเมื่อนำ�ค่าเฉลี่ย การจัดการบำ�รุงรักษาต้นไม้ ได้แก่ การรดนํ้าในฤดูแล้ง ความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์มาสร้างกราฟแสดงเพิ่มพูน กำ�จัดวัชพืช พรวนดินรอบโคนและใส่ปุ๋ยอินทรีย์ทุก 4 ในแต่ละช่วงอายุของชนิดไม้เศรษฐกิจ พบว่า ชนิดไม้ทุก เดือน เพื่อส่งเสริมการเติบโต ผลผลิตทางด้านเนื้อไม้และ ชนิดมีความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์มากที่สุดในช่วงอายุ การกักเก็บคาร์บอนมากขึ้น (Sunthornhao, 2016)

Table 4 Relative annual increment (RAI) of D0 and Ht of economic trees aged 5 years. RAI of D (%) Age (years) RAI of H (%) Age (years) Species 0 t 2-3 3-4 4-5 Average 2-3 3-4 4-5 Average Archidendron conspicuum C. Nielsen 160.51 86.52 61.50 102.84 260.86 180.45 50.81 164.04 Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte 96.25 54.61 23.37 58.08 67.63 69.61 23.39 53.55 Knema globularia (Lam.) Warb 75.10 74.48 19.62 56.40 85.36 74.10 13.93 57.80 Millettia xylocarpa Miq. 87.38 42.19 12.43 47.33 105.68 28.32 14.82 49.61 Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don 72.58 49.72 18.66 46.98 68.48 49.19 13.08 43.58 Shorea henryana Pierre 45.88 74.88 19.08 46.61 112.53 81.85 33.42 75.93 Hopea odorata Roxb 60.66 42.02 29.74 44.14 29.61 34.85 11.97 25.48 Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib 52.88 23.79 8.38 28.35 102.56 14.92 10.81 42.76 Dalbergia cochinchinensis Pierre 27.51 21.70 13.16 20.79 35.93 19.05 12.87 22.62 Pterocarpus macrocarpus Kurz 15.92 9.44 10.19 11.85 25.03 14.46 16.84 18.78 Standard Deviation 53.11 42.09 23.45 27.64 130.13 64.60 21.04 54.36 F-value 14.05** 7.94** 7.85** 26.564** 4.58** 12.08** 5.62** 11.681** Remark: ** = Highly significant. 186 Thai J. For. 39 (1) : 176-190 (2020)

Figure 5 Relative annual increment of diameter and total height. ระดับความเหมาะสมของชนิดพรรณไม้ ผลการศึกษาพบชนิดพรรณไม้ที่มีความ ประโยชน์ได้เร็ว คือ ชะอมต้น และ กฤษณา 8) ปัจจัย

เหมาะสมในแต่ละปัจจัยดังนี้ 1) ปัจจัยด้านมูลค่าไม้ ได้แก่ ด้านความเพิ่มพูนสัมพัทธ์ด้านความโต (RAI D0) คือ ชะอม พะยูง 2) ปัจจัยด้านการเติบโตขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ต้น และ 9) ปัจจัยด้านความเพิ่มพูนสัมพัทธ์ด้านความ

(D0) มี 2 ชนิด คือ ยางนา และตะเคียนทอง 3) ปัจจัย สูง (RAI Ht) คือ ชะอมต้น เช่นกัน ดังแสดงใน Table 5

ด้านการเติบโตทางด้านความสูง (Ht) คือ ประดู่ป่า และผลการศึกษา พบว่า ชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจที่มีความ 4) ปัจจัยด้านความสมมาตรทรงพุ่ม มี 2 ชนิด คือ ยางนา เหมาะสมในการปลูกฟื้นฟูพื้นที่สวนยางพารา โดยเรียง และตะเคียนทอง 5) ปัจจัยด้านความเปลาตรงของลำ�ต้น จากผลคะแนนความเหมาะสม คือ ตะเคียนทอง พะยูง มี 2 ชนิด คือ ยางนา และตะเคียนทอง 6) ปัจจัยด้าน ประดู่ป่า ยางนา กฤษณา ชะอมต้น เลือดแรด สาธร ความต้านทานโรคและแมลง ชนิดพรรณไม้ที่พบว่ามีโรค มะค่าโมง และเคี่ยมคะนอง โดยมีค่าคะแนนความ และแมลงรบกวนอย่างเห็นได้ชัด คือ ชะอมต้น 7) ปัจจัย เหมาะสมเท่ากับร้อยละ 67, 62, 59, 57, 53, 52, 52, ด้านรอบตัดฟันใช้ประโยชน์ มี 2 ชนิดที่มีรอบการใช้ 51, 49 และ 38 ตามลำ�ดับ ดังแสดงใน Table 6 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 176-190 (2563) 187 13

1

(%)

67 62 59 57 53 52 52 51 49 38 F.9 1.030 1.217 1.136 1.441 1.090 1.650 1.636 4.090 2.700 1.750 23.846** Suitable score

335 310 295 285 265 260 260 255 245 190 Total

Score

.

t 5 5 5 5 5 T 10 20 10 10 15 F.8

1.090 1.565 1.000 2.352 2.151 2.500 3.000 4.363 2.400 2.875

23.501** 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 F.9 P. In

1 1 1 1 2 4 2 2 1 3 P

5 5 T

10 10 15 20 15 15 10 10

F.7

1.000 2.000 1.000 1.000 1.000 1.000 5.000 5.000 1.000 2.000 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 F.8 P. In

2 1 1 2 3 4 3 3 2 2 P

T 10 10 10 10 50 50 20 10 20 10

(%), F.9(%), = Average RAI of H

0 F.6

3.697 3.173 3.618 3.676 3.727 3.800 3.636 2.636 3.400 3.875 F.7 4.175** 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10

P. In

1 1 1 1 5 5 2 1 2 1 P

F.4 = Stem Form, F.5 = Symmetry cover, of crow

T

40 40 40 40 40 30 40 40 30 30

F.5 F.6 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 3.393 2.521 3.045 4.470 4.787 2.900 3.727 3.454 2.200 4.187 P. In 9.344**

4 4 4 4 4 3 4 4 3 3 P = Average RAI of D

on 9 on 9 factors. .8

T 50 30 30 40 40 30 40 30 30 20

at year 5 age(m), Average evaluated score

t F.5 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 based P. In , F.4

3.212 2.608 3.727 3.941 3.878 2.800 2.545 3.090 3.600 3.625 5 3 3 4 4 3 4 3 3 2 P 25.229**

old

F.3 = H s T

40 30 40 40 30 30 40 30 30 40

T = total score each in factors. F.4

10 10 10 10 10 10 10 10 10 10

.

P. In

4 3 4 4 3 3 4 3 3 4 P

F.3 s old

3.393 1.652 3.727 2.794 3.424 1.700 1.818 2.090 1.600 2.312

7.207** T 45 45 60 45 30 30 30 30 30 30

F.3 15 15 15 15 15 15 15 15 15 15 at year 5 age(cm), P. In

0

3 3 4 3 2 2 2 2 2 2 P

F.2 T 75 45 45 75 30 30 45 30 30 15 3.151 1.826 3.181 4.764 4.515 1.650 1.636 1.640 1.000 2.500

29.972** F.2 = D

, )

F.2 3 15 15 15 15 15 15 15 15 15 15 P. In

5 3 3 5 2 2 3 2 2 1 P

P. In = weighting score index,

,

Bath/m T ( 60 60 20 20 20 20 60 60 20 F.1 100 5.000 3.000 3.000 1.000 3.000 3.000 1.000 1.000 1.000 1.000

F.1 economic tree species at year 5

20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 P. In

3 5 3 1 1 1 1 3 3 1 P

F.6 = Disease and insect resistance, F.7 = Cutting Rotation (year), F

F.1 = Market Price

: P = P evaluated: score

** = highly significant (p<0.01)

Average evaluating score of economic tree species at 5 years old, based on 9 factors.

Species

Average evaluating score of economic tree species at year5 Suitable score of

Species

value - D.cochinchinensis A. xylocarpa P. marcrocarpus D. alatus odorata H. M.leucantha A. crassna A. conspicuum S. henryana K. globularia F H. odorata H. D. cochinchinensis P. marcrocarpus D. alatus A. crassna A. conspicuum K. globularia M. leucantha A. xylocarpa S. henryana Table 5

Remark : Remark: 1 Remark 2 Table 6 Table 5 Table 188 Thai J. For. 39 (1) :13 176-190 (2020)

1

(%)

67 62 59 57 53 52 52 51 49 38 F.9 1.030 1.217 1.136 1.441 1.090 1.650 1.636 4.090 2.700 1.750 23.846** Suitable score

335 310 295 285 265 260 260 255 245 190 Total

Score

.

t 5 5 5 5 5 T 10 20 10 10 15 F.8

1.090 1.565 1.000 2.352 2.151 2.500 3.000 4.363 2.400 2.875

23.501** 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 F.9 P. In

1 1 1 1 2 4 2 2 1 3 P

5 5 T

10 10 15 20 15 15 10 10

F.7

1.000 2.000 1.000 1.000 1.000 1.000 5.000 5.000 1.000 2.000 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 F.8 P. In

2 1 1 2 3 4 3 3 2 2 P

T 10 10 10 10 50 50 20 10 20 10

(%), F.9(%), = Average RAI of H

0 F.6

3.697 3.173 3.618 3.676 3.727 3.800 3.636 2.636 3.400 3.875 F.7 4.175** 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10

P. In

1 1 1 1 5 5 2 1 2 1 P

F.4 = Stem Form, F.5 = Symmetry cover, of crow

T

40 40 40 40 40 30 40 40 30 30

F.5 F.6 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 3.393 2.521 3.045 4.470 4.787 2.900 3.727 3.454 2.200 4.187 P. In 9.344**

4 4 4 4 4 3 4 4 3 3 P = Average RAI of D

on 9 on 9 factors. .8

T 50 30 30 40 40 30 40 30 30 20

at year 5 age(m), Average evaluated score

t F.5 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 based P. In , F.4

3.212 2.608 3.727 3.941 3.878 2.800 2.545 3.090 3.600 3.625 5 3 3 4 4 3 4 3 3 2 P 25.229** old

F.3 = H s T

40 30 40 40 30 30 40 30 30 40

T = total score each in factors. F.4

10 10 10 10 10 10 10 10 10 10

.

P. In

4 3 4 4 3 3 4 3 3 4 P F.3 s old

3.393 1.652 3.727 2.794 3.424 1.700 1.818 2.090 1.600 2.312

7.207** T 45 45 60 45 30 30 30 30 30 30

F.3 15 15 15 15 15 15 15 15 15 15 at year 5 age(cm), P. In

0

3 3 4 3 2 2 2 2 2 2 P

F.2 T 75 45 45 75 30 30 45 30 30 15 3.151 1.826 3.181 4.764 4.515 1.650 1.636 1.640 1.000 2.500

29.972** F.2 = D

, )

F.2 3 15 15 15 15 15 15 15 15 15 15 P. In

5 3 3 5 2 2 3 2 2 1 P

P. In = weighting score index,

,

Bath/m T ( F.1 60 60 20 20 20 20 60 60 20 100 5.000 3.000 3.000 1.000 3.000 3.000 1.000 1.000 1.000 1.000

F.1 economic tree species at year 5

20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 P. In

3 5 3 1 1 1 1 3 3 1 P

F.6 = Disease and insect resistance, F.7 = Cutting Rotation (year), F

F.1 = Market Price

: P = P evaluated: score

** = highly significant (p<0.01)

Species Suitable score of economic tree species at 5 years old.

Average evaluating score of economic tree species at year5 Suitable score of

Species

value - D.cochinchinensis A. xylocarpa P. marcrocarpus D. alatus odorata H. M.leucantha A. crassna A. conspicuum S. henryana K. globularia F H. odorata H. D. cochinchinensis P. marcrocarpus D. alatus A. crassna A. conspicuum K. globularia M. leucantha A. xylocarpa S. henryana Table 5

Remark : Remark: 1 Remark 2 Table 6 Table 6 Table วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 176-190 (2563) 189

สรุป สนับสนุนทุนการศึกษาวิจัย ข้อมูล และโอกาสในการ ศึกษา จากการศึกษาชนิดพรรณไม้เศรษฐกิจ 10 ชนิด ที่มีอายุ 5 ปีภายใต้การปกคลุมของเรือนยอดยางพารา พบว่า ชนิดพรรณไม้ที่มีขนาดความโตที่ระดับคอราก REFERENCES ผิวดินมากที่สุดมี 2 ชนิด คือ ตะเคียนทอง และยางนา Husch, B., C.I Miller and T.W. Beers. 1972. Forest ชนิดพรรณไม้ที่มีการเติบโตด้านความสูงมากที่สุด คือ Mensuration. The Ronald Press Co., New York. ประดู่ป่า ส่วนชะอมต้น เป็นชนิดพรรณไม้ที่มีค่าเฉลี่ย Jareanjiratrakun, S., P. Seusat. and I. Romyen. ความเพิ่มพูนรายปีสัมพัทธ์ด้านความโตและความสูงมาก 2014. Economic Analysis in Increasing ที่สุด และจากการประเมินชนิดพรรณไม้ที่เหมาะสมใน Green Space to the Rubber Plantation การปลูกเพื่อฟื้นฟูพื้นที่สวนยางพาราโดยคิดจากคะแนน System (Complete Research Report). รวมทุกปัจจัยที่เกี่ยวข้องเรียงตามลำ�ดับความเหมาะสม Faculty of Economic, Prince of Songkla ได้แก่ ตะเคียนทอง พะยูง ประดู่ป่า ยางนา กฤษณา University, Songkla. ชะอมต้น เลือดแรด สาธร มะค่าโมง และเคี่ยมคะนอง Laboratory of Forest Indigenous Knowledge มีค่าคะแนนความเหมาะสมเท่ากับร้อยละ 67, 62, 59, Management. 2018. Database on 57, 53, 52, 52, 51, 49 และ 38 ตามลำ�ดับ Economic Tree Species in Para Rubber การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) ชนิด Plantation. Faculty of Forestry, Kasetsart พรรณไม้ในการศึกษาครอบคลุมเพียงช่วงอายุไม้ตั้งแต่ University, Bangkok. (in Thai) เริ่มปลูกจนถึงอายุ 5 ปี ควรมีการติดตามการติดตาม Makmongkonchai, G. and N. Kannasut (eds.). อย่างต่อเนื่องต่อไป 2) การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษา 2015. Wangchan Forest Learning ในภาคตะวันออกการนำ�ผลการทดลองครั้งนี้ไปปรับ Center. Institute of Reforestation and ใช้ควรเลือกพื้นที่ที่มีลักษณะทางด้านสิ่งแวดล้อมและ Ecosystem, Bangkok. สภาพภูมิประเทศใกล้เคียงกัน ยกตัวอย่างเช่น ลักษณะ Ministry of Natural Resources and Environment. 2018. MNRE control the Rubber ทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของดิน ปริมาณนํ้าฝน Plantation of the Capitalist Group ตลอดปี อุณภูมิเฉลี่ย เป็นต้น เนื่องจากปัจจัยสิ่งแวดล้อม Wrong Laws. Available Source: http:// เหล่านี้ส่งผลต่อการเติบโตของต้นไม้แตกต่างกัน 3) การ www.mnre.go.th/th/news/detail/7288, ศึกษาในครั้งนี้ใช้วิธีการวิเคราะห์รวมคะแนนถ่วงนํ้าหนัก October 20, 2018. (in Thai) อย่างง่าย (SAW) ซึ่งอาจทำ�ให้ค่าถ่วงนํ้าหนักที่นำ�ไป Nongdee, P. 2017. Valuation of Forest Carbon วิเคราะห์อาจเกิดจากอคติของผู้วิจัยและ/หรือผู้เชี่ยวชาญ Model Wang Chan Forest Project, อย่างไรก็ตาม สำ�หรับการประเมินความเหมาะสมใน Rayong Province in First Three Years. ขั้นต้นวิธีดังกล่าวเป็นวิธีที่รวดเร็วและมีความเหมาะสมใน M.S. Thesis, Kasetsart University. (in การออกแบบการจัดการพื้นที่ Thai) PTT Reforestation and Ecosystem Institute. 2015. คำ�นิยม Data Based of soil in Wang Chan ขอขอบคุณห้องปฏิบัติการจัดการภูมิปัญญา Forest Center, Rayong Province. ป่าไม้ คณะวนศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ Available Source: http://www. 190 Thai J. For. 39 (1) : 176-190 (2020)

pttreforestation.com/Researchview. Princess of Narathiwas University cshtml?Id=7, August 20, 2019. (in Thai) Journal 8(2): 180-192. (in Thai) Royal Forest Department. 1993. Forest Planting: Sunthornhao, P. 2016. Forest carbon model, A Guide for Government Officials pp. 76-77. In P. Sunthornhao, ed. Eight According to the Community Forest Decades of The Science of the Land. Development Project. Royal Forest Arksornsiam Printing, Bangkok. Department, Bangkok. (in Thai) Thai Customs. 2019. Customs Department Rubber Authority of Thailand. 2018. Rubber Announcement: Regarding the Determination of the Customs Value Database System. Available source: for Wood Products as an Evaluation http://sc.raot.co.th/rdu/, August 24, Criteria for Export Duties. Available 2018. (in Thai) Source: http://www.customs.go.th/ Rubber Research Institute of Thailand. 2015. data_files/2faed6d1989e8139650cf7613 Para Rubber Statistic. Available source: cfc2c7c.pdf, July 31, 2019. (in Thai) http://www. rubberthai.com/statistic, The Forest Herbarium. 2014. Tree Species October 20, 2018. (in Thai) Name of Thailand (Version 2014). Saravisutra, A. 2016. Multi-criteria decision Office of the Forest Herbarium. Department making: comparison between SAW, AHP of National Parks, Wildlife and Plant and TOPSIS concept and methods. Conservation, Bangkok. วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 192-203 (2563)

Thai J. For. 39 (1) : 191-202 (2020) วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 191-202 (2563)

นิพนธ์ต้นฉบับ

สมบัติของแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากไม้บางยางพาราและกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ ที่เติมสารบอแรกซ์ Properties of Plywood Produced with Rubberwood Veneer and Urea-formaldehyde Adhesive Added Borax

วิศนีย์ ยิ่งประเสริฐ* Wissanee Yingprasert* โรสนา สุหรรษา Rossana Suhansa คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 Faculty of Science and Industrial Technology, Prince of Songkla University, Suratthani Campus, Suratthani 84000, Thailand *Corresponding Author, Email: [email protected] รับต้นฉบับ 24 มิถุนายน 2562 รับแก้ไข 26 กันยายน 2562 รับลงพิมพ์ 2 ตุลาคม 2562

ABSTRACT This study evaluated the effects of adding borax to urea-formaldehyde (UF) adhesive, with increasing percentage content of 5%, 10%, and 15% w/w of the solid content of adhesive, on the adhesive properties. White rot (Trametes versicolor) and brown rot (Gloeophyllum striatum) resistance, subterranean termite (Coptotermes gestroi) resistance, formaldehyde emission content, and shear strength of rubberwood plywood produced with borax added UF resin at various percentages was also determined. Its properties were compared with rubberwood plywood produced with a UF adhesive. The results indicated that the addition of borax to UF adhesive decreased the pH of adhesive in alkaline conditions. Borax addition to UF adhesive at a sufficient percentage (10-15% w/w of the solid content of adhesive) decreased the gel time of UF adhesive. Formaldehyde emission of rubberwood plywood produced with the borax added UF adhesive from 10-15% w/w of the solid content of adhesive decreased. Resistance to white and brown rots and subterranean termite resistance of rubberwood plywood produced with UF adhesive with added borax (10-15% w/w of the solid content of adhesive) was seen to improve. Moreover, the addition of borax at 15% w/w of the solid content of UF adhesive also enhanced the shear strength of the plywood. Keywords: Plywood, Rubberwood veneer, Urea formaldehyde adhesive, Borax, Subterranean termite, Decay fungi 192 Thai J. For. 39 (1) : 191-202 (2020)

บทคัดย่อ การทดลองนี้ได้ทำ�การศึกษาผลของการเติมสารบอแรกซ์ลงในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ในปริมาณร้อยละ 5, 10 และ 15 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้งต่อสมบัติของกาว ความต้านแรงเฉือน ปริมาณการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์ ความ ต้านทานต่อการเข้าทำ�ลายของเชื้อราผุสีขาว (Trametes versicolor) เชื้อราผุสีนํ้าตาล (Gloeophyllum striatum) และความต้านทานการเข้าทำ�ลายของปลวกใต้ดิน (Coptotermes gestroi) ของแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากไม้บางยางพารา และกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ผสมสารบอแรกซ์ เปรียบเทียบสมบัติเหล่านี้กับแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากไม้บางยางพาราและกาว ยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ ผลการทดลองพบว่า การเติมสารบอแรกซ์ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ทำ�ให้ค่าพีเอช (pH) ของกาวเป็น ด่าง หากเติมสารบอแรกซ์ในปริมาณมากพอ (ร้อยละ 10-15 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง) ทำ�ให้ระยะเวลาที่กาวเปลี่ยน สถานะจากของเหลวเป็นเจล (gel time) สั้นลง แผ่นไม้อัดที่ผลิตจากไม้บางยางพาราและใช้กาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์เติม สารบอแรกซ์ ร้อยละ 10-15 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง มีปริมาณการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์ลดลง ความต้านทานต่อ การเข้าทำ�ลายของเชื้อราผุสีขาวและเชื้อราผุสีนํ้าตาล ความต้านทานต่อการเข้าทำ�ลายของปลวกใต้ดินเพิ่มขึ้น และหาก เติมสารบอแรกซ์ลงในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ร้อยละ 15 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง มีผลทำ�ให้แผ่นไม้อัดที่ผลิตจากไม้บาง ยางพารามีความต้านแรงเฉือนเพิ่มขึ้นด้วย คำ�สำ�คัญ: ไม้อัด ไม้บางยางพารา กาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ บอแรกซ์ ปลวกใต้ดิน เชื้อราทำ�ลายไม้

คำ�นำ� ให้ไม้ยางพารา ดังนั้น การเพิ่มความทนทานของแผ่น ไม้อัดต่อตัวการทำ�ลายไม้อาจทำ�ได้ด้วยการนำ�ไม้บางไป แผ่นไม้อัด เป็นผลิตภัณฑ์แผ่นไม้ประกอบชนิด แช่ในตัวยารักษาเนื้อไม้ หรือการเติมตัวยารักษาเนื้อไม้ หนึ่งที่ผลิตจากการนำ�ไม้บางตั้งแต่ 3 ชั้นขึ้นไป มาประกอบ ลงในส่วนผสมของกาวที่ใช้ในการผลิตแผ่นไม้อัด อัดให้ติดกันด้วยกาวภายใต้แรงดัน อุณหภูมิ และระยะ เวลาที่เหมาะสม การผลิตแผ่นไม้อัดส่วนใหญ่มีจำ�นวน Blockboard ที่ผลิตจากไม้บางซึ่งผ่านการแช่ในสารละลาย ชั้นเป็นเลขคี่ โดยชั้นที่ติดกันมีการเรียงตัวของแนวเสี้ยน กรดบอริกความเข้มข้นร้อยละ 2.5 มีความต้านทานต่อ ของไม้บางขวางตั้งฉากกันเพื่อเพิ่มคุณสมบัติทางความ การเข้าทำ�ลายของเชื้อราผุ (Trametes versicolor และ แข็งแรงและลดการขยายตัวหรือหดตัวในระนาบของแผ่น Fomitopsis palustris) และปลวก (Coptotermes ไม้อัดให้น้อยที่สุด (Thai Industrial Standards Institute formosamus) เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับ Blockboard [TISI], 2006) การผลิตแผ่นไม้อัดในประเทศไทยใช้ไม้ ที่ผลิตจากไม้บางซึ่งไม่ผ่านการแช่สารละลายกรดบอริก ยางพาราเป็นวัตถุดิบหลัก แต่ไม้ยางพาราเป็นไม้ที่มีความ (Kartal and Ayrilmis, 2005; Kartal et al., 2007) ทนทานตามธรรมชาติตํ่า เสี่ยงต่อการเข้าทำ�ลายของศัตรู Lesar et al. (2011) พบว่า การเติมกรดบอริกลงในกาว ทำ�ลายไม้ เช่น เชื้อรา มอด และ ปลวก เป็นต้น ดังนั้น เมลามีนยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ร้อยละ 0.5 ของปริมาณเนื้อ แผ่นไม้อัดที่ทำ�จากไม้ยางพาราจึงเสี่ยงต่อการเข้าทำ�ลาย กาวแห้งก่อนนำ�ไปผลิตแผ่นไม้อัดด้วยไม้ Norway spruce ของศัตรูทำ�ลายไม้เหล่านี้ด้วยเช่นกัน (Teoh et al., ไม่ส่งผลทางลบต่อความต้านแรงเฉือนและการแตกที่ไม้ 2011) ผู้ประกอบการไม้ยางพาราแปรรูปของไทยนิยม แต่ปริมาณกรดบอริกที่เติมไม่เพียงพอที่จะเพิ่มความ อัดสารประกอบโบรอน ซึ่งมีส่วนผสมของสารบอแรกซ์ ต้านทานของแผ่นไม้อัดต่อการเข้าทำ�ลายของเชื้อราผุ และกรดบอริก เพื่อเพิ่มความทนทานต่อศัตรูทำ�ลายไม้ (Gloeophyllum trabeum, Antrodia vaillantii and วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 191-202 (2563) 193

Serpula lacrymans) Özçifçi (2008) รายงานว่า ความ อุปกรณ์และวิธีการ สามารถในการติดกันด้วยกาวเมลามีนฟอร์มัลดีไฮด์ กาว ฟีนอลฟอร์มัลดีไฮด์ และกาวโพลีไวนิลอะซิเตต ของไม้ การผลิตแผ่นไม้อัด การทดลองนี้ทำ�การผลิตแผ่นไม้อัด 3 ชั้น (ไม้ beech, white oak และ poplar ที่อัดกรดบอริกเข้าไป บางชั้นที่ติดกันมีแนวเสี้ยนขวางตั้งฉากกัน) โดยใช้ไม้บาง ในไม้ลดลง กาวสังเคราะห์ที่นิยมใช้ในการผลิตไม้อัดใน ยางพาราความหนา 2.5 มิลลิเมตร ซึ่งได้รับความอนุเคราะห์ ประเทศไทย คือ กาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ กาวเมลามีนยูเรีย จากบริษัทวนชัย วีเนียร์ แอนด์พลายวู้ด จำ�กัด จังหวัด ฟอร์มัลดีไฮด์ และกาวเมลามีนฟอร์มัลดีไฮด์ ซึ่งทั้งหมด ปทุมธานี อบไม้บางด้วยอุณหภูมิ 103±5 องศาเซลเซียส เป็นกาวที่มีฟอร์มัลดีไฮด์เป็นส่วนประกอบ แผ่นไม้อัด ให้มีความชื้นประมาณร้อยละ 5 ผสมสารบอแรกซ์ ที่ผลิตจากกาวดังกล่าวมักมีการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์ (sodium tetraborate decahydrate, Na2B4O4. 10H2O) ออกมาขณะที่นำ�ไปใช้งาน ดังนั้น ผู้ประกอบการจึง ลงในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ (UF) E2 ของบริษัทไอกะ พยายามลดการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์ด้วยการเติมสาร (หาดใหญ่) จำ�กัด ในอัตราส่วนร้อยละ 5, 10 และ 15 ดักจับฟอร์มัลดีไฮด์ลงไปในกาว (Boran et al., 2012) ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง ทากาวที่มีส่วนผสมของสาร แต่สารเหล่านี้ต้องไม่ส่งผลทำ�ให้สมบัติเชิงกลของแผ่น บอแรกซ์ลงบนไม้บางด้านใดด้านหนึ่งด้วยนํ้าหนักทากาว ไม้อัดด้อยลง การเติม borax pentahydrate ในกาว 180 กิโลกรัม/ตารางเมตร ทำ�การอัดร้อนด้วยแรงอัด 7.5 ยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์เพื่อนำ�ไปผลิตแผ่นไม้อัดจากไม้ poplar เมกะปาสคาล อุณหภูมิ 130 องศาเซลเซียส เป็นเวลา และไม้ beech ลดปริมาณการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์ นาน 10 นาที โดยทำ�การอัดร้อนไม้อัดครั้งละแผ่น ทำ�การ จากแผ่นไม้อัดได้ โดยไม่ทำ�ให้ความแข็งแรงของแผ่น ผลิตไม้อัด 5 แผ่นต่อการใช้กาว 1 สูตร ไม้อัดลดลง (Sensogut et al., 2009) Colak and การทดสอบปริมาณเนื้อกาวแห้ง ค่าพีเอช (pH) Colakoglu (2004) พบว่า การใช้ไม้บางที่แช่ในกรดบอริก และ gel time ของกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์และ และการใช้กาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ที่เติมกรดบอริกไปผลิต กาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์เติมสารบอแรกซ์ แผ่นไม้อัด กลับทำ�ให้การระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์จาก การทดสอบปริมาณเนื้อกาวแห้ง ค่า pH และ แผ่นไม้อัดเพิ่มขึ้น การตรวจเอกสารข้างต้น พบว่า มี gel time ของกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ และกาวยูเรีย ความเป็นไปได้ในการนำ�สารประกอบโบรอนมาเพิ่มสมบัติ ฟอร์มัลดีไฮด์เติมสารบอแรกซ์ ทำ�ตามวิธีการของมาตรฐาน เชิงกล ลดการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์ และเพิ่มความ JIS K 6833:1994 (Japanese Standards Association, ต้านทานของแผ่นไม้อัดต่อการเข้าทำ�ลายของเชื้อราผุ 1994) หากแต่ต้องหาชนิดและวิธีการนำ�สารประกอบโบรอนมา การหาความหนาแน่น ปริมาณความชื้น และ ใช้ให้เหมาะสม สมบัติของแผ่นไม้อัดยังขึ้นอยู่กับปริมาณ การทดสอบค่าความต้านแรงเฉือนของแผ่นไม้อัด สารประกอบโบรอนที่ใช้ ชนิดไม้ที่นำ�มาผลิตแผ่นไม้อัด ด้วยวิธีการตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม รวมทั้งชนิดของตัวการทำ�ลายไม้ งานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษา แผ่นไม้อัด (TISI, 2006) ผลกระทบของการเติมบอแรกซ์ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ ชิ้นทดสอบไม้อัดสำ�หรับใช้ในการหาความหนา ต่อความต้านทานของแผ่นไม้อัดต่อการเข้าทำ�ลายของ แน่นและปริมาณความชื้น มีขนาด 100x100 มิลลิเมตร เชื้อราผุและปลวกใต้ดิน ปริมาณการระเหยของฟอร์มัล- แผ่นไม้อัด 1 แผ่น เตรียมชิ้นทดสอบ 3 ชิ้น ดีไฮด์จากไม้อัด และความต้านแรงเฉือนของแผ่นไม้อัด การทดสอบความต้านแรงเฉือนของแผ่นไม้อัด ที่ผลิตจากไม้ยางพารา ตัดชิ้นทดสอบขนาดกว้าง 25±0.5 มิลลิเมตร ยาว 135±0.2 194 Thai J. For. 39 (1) : 191-202 (2020)

มิลลิเมตร โดยด้านยาวขนานกับแนวเสี้ยนไม้ จากนั้นนำ� (weight loss, %) จากการเข้าทำ�ลายของเชื้อราดังกล่าว ไปเซาะร่องโดยใช้เลื่อยที่มีคลองเลื่อยผ่านแนวกาวทุก เปรียบเทียบกับนํ้าหนักของแผ่นไม้อัดก่อนที่เชื้อราเข้า แนวกาว ก่อนนำ�ไปทดสอบความต้านแรงเฉือน ชิ้นทดสอบ ทำ�ลาย ต้องนำ�ไปปรับสภาวะที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส วิธีการทดสอบความต้านทานต่อการเข้าทำ�ลาย ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 65 จนกระทั่งชิ้นทดสอบมี ของปลวกใต้ดิน (Coptotermes gestroi) นํ้าหนักคงที่ จากนั้นใช้เครื่องทดสอบสากล (Universal วิธีการทดสอบความต้านทานต่อการเข้าทำ�ลาย Testing Machine - Lloyd Instruments; LR150K) ของปลวกใต้ดินดัดแปลงมาจากวิธีการตามมาตรฐาน ซึ่งสามารถอ่านค่าแรงดึงได้ละเอียดถึง 1 นิวตัน และใช้ ASTM D 3345-74 (ASTM, 1999) โดยทำ�การตัดชิ้น แรงดึงเพื่อแยกชิ้นทดสอบออกในเวลา 30±10 วินาที ทดสอบไม้อัดขนาด 2.5x2.5 เซนติเมตร จำ�นวน 5 ชิ้น แผ่นไม้อัด 1 แผ่น เตรียมชิ้นทดสอบความต้านแรงเฉือน ทดสอบต่อแผ่นไม้อัดหนึ่งแผ่น อบแห้งที่อุณหภูมิ 103±2 10 ชิ้น องศาเซลเซียส จนกระทั่งนํ้าหนักคงที่ แล้วจึงชั่งนํ้าหนัก การทดสอบปริมาณการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์ ทุกชิ้นก่อนการทดสอบกับปลวก ใช้ปลวก 1 กรัม (ปลวก จากแผ่นไม้อัดโดยวิธีตามมาตรฐาน EN 717-3 งาน 0.9 กรัม ปลวกทหาร 0.1 กรัม) ต่อชิ้นทดสอบไม้อัด (British Standards Institution, 1996) 1 ชิ้น ทำ�การทดสอบเป็นเวลา 28 วัน เมื่อครบระยะเวลา ชิ้นทดสอบมีขนาด 25×25 มิลลิเมตร x ความ ที่กำ�หนด นำ�ชิ้นทดสอบไปอบแห้งจนนํ้าหนักคงที่อีกครั้ง หนาของแผ่นไม้อัด กำ�หนดนํ้าหนักของชิ้นทดสอบใน จากนั้นคำ�นวณนํ้าหนักของชิ้นทดสอบไม้อัดที่หายไป หนึ่งตัวอย่างมีค่าใกล้เคียง 20 กรัม ควรตัดชิ้นทดสอบ และประเมินความเสียหายของชิ้นทดสอบจากการเข้า และทำ�การทดสอบหลังจากที่แผ่นไม้อัดเย็นตัวลงจนมี ทำ�ลายของปลวกใต้ดินโดยการให้คะแนนตามวิธีการของ อุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิห้องไม่เกิน 72 ชั่วโมง เตรียม มาตรฐาน ASTM D 3345-74 โดยคะแนน 10 เป็นชิ้น ชิ้นทดสอบจำ�นวน 5 ตัวอย่าง ต่อ แผ่นไม้อัด 1 แผ่น ทดสอบที่ไม่มีการเข้าทำ�ลายของปลวกใต้ดิน ส่วนคะแนน รายงานปริมาณการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์ในนํ้าที่แขวน 0 คือ มีการเข้าทำ�ลายของปลวกใต้ดินรุนแรงที่สุด ชิ้นทดสอบ (มิลลิกรัม/มิลลิลิตร; mg/ml) การทดสอบความต้านทานต่อการเข้าทำ�ลาย ผลและวิจารณ์ ของเชื้อราผุตามมาตรฐาน ASTM D1403-07 ปริมาณเนื้อกาวแห้ง ค่า pH และ gel time ของ (American Society for Testing and กาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์และกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ Materials [ASTM], 2007) เติมสารบอแรกซ์ นำ�ชิ้นทดสอบไม้อัดขนาดกว้างและยาว 2.5 กาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ที่ไม่มีการเติมสารบอแรกซ์ เซนติเมตร ความหนาเท่ากับความหนาของแผ่นไม้อัด มีค่า pH เฉลี่ยเท่ากับ 7.76 และเมื่อทำ�การเติมสาร (แผ่นไม้อัด 1 แผ่น เตรียมชิ้นทดสอบ 5 ชิ้นต่อการศึกษา บอแรกซ์ลงในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ร้อยละ 5, 10 และ การเข้าทำ�ลายของเชื้อรา 1 ชนิด) ไปวางบนเชื้อราผุสีขาว 15 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง พบว่า ค่า pH ของกาว Trametes versicolor และเชื้อราผุสีนํ้าตาล Gloeophyllum เปลี่ยนเป็นด่างแก่ขึ้น มีค่า pH เฉลี่ย 9.09 (Table 1) straitum (เชื้อราทั้งสองชนิดนี้แยกมาจากไม้ยางพารา ซึ่งปริมาณของสารบอแรกซ์ที่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 5 เป็น ที่เสื่อมสภาพ) เป็นเวลา 12 สัปดาห์ เพื่อดูการต้านทาน ร้อยละ 10 และร้อยละ 15 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง ต่อการเข้าทำ�ลายของเชื้อราทั้ง 2 ชนิด เมื่อครบเวลา ไม่ได้ส่งผลให้ค่า pH ของกาวเปลี่ยนแปลงไปแตกต่าง คำ�นวณหาร้อยละของนํ้าหนักของแผ่นไม้อัดที่หายไป กัน ผลการทดลอง พบว่า การเติมสารบอแรกซ์ในปริมาณ วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 191-202 (2563) 195

Table 1 Solid content, pH value, and gel time of urea-formaldehyde adhesive and urea-formaldehyde adhesive with added borax. Borax adding content 0% 5% 10% 15% Solid content (%) 50.53*a 51.12a 52.50b 52.58b 3 hr. 105°C (0.51)** (0.60) (1.16) (0.44) pH 7.76a 9.09b 9.09b 9.09b at room temperature (0.02) (0.02) (0.01) (0.02) Gel time 32.00a 36.00b 29.67ac 28.33c at 100 0C (s) (0.51) (0.60) (1.16) (0.44) Remarks: * Means (of five replications) followed by the same letter on the same row of each adhesive property are not statistically different according to Duncan’s Multiple Range Test at α=0.05. ** The values in the parentheses are standard deviations. ร้อยละ 10 และร้อยละ 15 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง กลายเป็นส่วนหนึ่งของกาว และมีสารบอแรกซ์บางส่วน เท่านั้นที่มีผลทำ�ให้ gel time ของกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ ระเหยไปขณะให้ความร้อนเพื่อหาปริมาณเนื้อกาวแห้ง ลดลง งานวิจัยก่อนหน้านี้พบว่า gel time ของกาวยูเรีย ซึ่งกลไกการเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารบอแรกซ์กับส่วน ฟอร์มัลดีไฮด์จะลดลงอย่างรวดเร็วในสภาวะที่เป็นกรด ผสมของกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ส่วนนี้จำ�เป็นต้องศึกษา (pH 2-4.5) และเพิ่มสูงสุดเมื่อมีค่า pH เป็น 7 จากนั้น อย่างละเอียดต่อไป Akpabio (2012) ค้นพบว่า ปริมาณ ค่า gel time ของกาวลดลงอีกครั้งในสภาวะที่กาวมี เนื้อกาวแห้งของกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ไม่ขึ้นอยู่กับค่า ค่า pH เป็นด่าง ทีมวิจัยพบว่า กาวให้ค่าความแข็งแรง pH ของกาว แต่ Xing et al. (2007) พบว่า ปริมาณเนื้อ สูงสุดเมื่อกาวมีค่า pH เท่ากับ 5 และ 8 ในทางกลับกัน กาวแห้งของกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ที่เพิ่มขึ้นทำ�ให้ gel กาวให้ค่าความแข็งแรงตํ่าสุดเมื่อกาวมีค่า pH เท่ากับ 7 time ของกาวสั้นลง เพราะนํ้าที่อยู่ในกาวขัดขวางหรือ ทั้งนี้ ผลของค่า pH ของกาวต่อความแข็งแรงในการ ชะลอการเกิดปฏิกิริยาการสุกตัวของกาว เมื่อนํ้าในระบบ ยึดติดอาจขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุที่นำ�มาติดกันด้วยกาว น้อย ปฏิกิริยาการเกิดการสุกตัวจึงเร็วขึ้น องค์ความรู้นี้ ดังกล่าวด้วย (Akpabio, 2012; Xing et al., 2007) สอดคล้องกับผลการทดลองของงานวิจัยนี้ที่พบว่า การ การเติมสารบอแรกซ์ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ เติมสารบอแรกซ์ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ในปริมาณ ในปริมาณร้อยละ 10 และร้อยละ 15 ของนํ้าหนักเนื้อ ร้อยละ 10 และร้อยละ 15 ของน้าหนักเนื้อกาวแห้งํ ทำ�ให้ กาวแห้งเท่านั้นที่มีผลทำ�ให้นํ้าหนักเนื้อกาวแห้งเพิ่มขึ้น น้าหนักเนื้อกาวแห้งเพิ่มขึ้นํ และ gel time ของกาวลดลง จากร้อยละ 50.53 เป็นร้อยละ 52.50 และร้อยละ 52.58 ความหนาแน่น ปริมาณความชื้น และ การ ตามลำ�ดับ การเติมสารบอแรกซ์ลงไปในกาวยูเรียฟอร์มัล- ทดสอบความต้านแรงเฉือนของแผ่นไม้อัด ดีไฮด์ร้อยละ 10-15 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง ทำ�ให้ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า แผ่นไม้อัดที่ผลิต ปริมาณนํ้าหนักเนื้อกาวแห้งเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 4.95- จากไม้บางยางพาราและกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์เติมสาร 5.11 เท่านั้น ปริมาณเนื้อกาวแห้งที่เพิ่มขึ้นน้อยกว่า บอแรกซ์ในปริมาณที่แตกต่างกัน มีค่าความหนาแน่น ปริมาณสารบอแรกซ์ที่เติมลงไปในกาว เป็นไปได้ว่าสาร และปริมาณความชื้น อยู่ในระดับเดียวกัน (p<0.05) โดย บอแรกซ์บางส่วนไม่ทำ�ปฏิกิริยากับกาว และสารบอแรกซ์ แผ่นไม้อัดมีค่าความหนาแน่นเฉลี่ยเท่ากับ 720 กิโลกรัม/ บางส่วนอาจทำ�ปฏิกิริยากับกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์จน ลูกบาศก์เมตร และมีค่าความชื้นเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 7.75 5

1 กาวมีค�า pH เป�นด�าง ทีมวิจัยพบว�า กาวใ ห� ค�าความแข็งแรงสูงสุดเมื่อกาวมีค�า pH เ ท� า ก ับ 5 และ 8 ในทางกลับกัน กาวให�ค�าความ 2 แข็งแรงต่ําสุดเมื่อกาวมีค�า196 pH เ ท� า ก ับ 7 ทั้งนี้Thai ผลของค�า J. For. pH39 ของกาวต�อความแข็งแรงในการยึดติดอาจขึ้นอยู�กับชนิดของวัสดุที่นํามา(1) : 191-202 (2020) 3 ติดกันด�วยกาวดังกล�าวด�วย (Akpabio, 2012; Xing et al., 2007) 4 การเติมผลการทดลองความต้านแรงเฉือนสารบอแรกซ�ในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ในปริมาณ (Figure 1) ร� อ ยแผ่นไม้อัดมีความต้านแรงเฉือนเฉลี่ยเท่ากับ ล ะ 10 และร� อ ย ล ะ 15 ของน้ําหนักเนื้อกาวแห�งเท�านั้นที่มีผลทํา 3.14±0.61 5 ให�น้ําหนักเนื้อกาวแพบว่า แผ่นไม้อัดที่ผลิตจากไม้บางยางพาราและกาวยูเรียห�งเพิ่มขึ้นจากร� อ ย ล ะ 50.53 เ ป� น ร� อ ย ล ะ 52.50 เมกะปาสคาลและร� อ ย ล ะ 52.58 จากการตรวจเอกสาร ตามลําดับ การเติม พบว่าสาร สารบอแรกซ์บอแรกซ�ลงไปในกาว 6 ยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ฟอร์มัลดีไฮด์ร� อ ยมีความต้านแรงเฉือนเฉลี่ย ล ะ 10-15 ของน้ําหนักเนื้อ 2.10±0.15กาวแห�ง ทําให�ปริมาณน้ําหนัก เป็นองค์ประกอบของกาวที่ใช้ในการผลิตกระดาษลอนเนื้อกาวแห�งเพิ่มขึ้นเพียงร� อ ย ล ะ 4.95-5.11 เ ท� า น ั้น เมกะปาสคาล เมื่อเติมสารบอแรกซ์ลงในกาวยูเรีย ลูกฟูก (corrugated paper) ซึ่งทำ�ให้กาวยึดติดกับหมู่ 7 ปริมาณเนื้อกาวแห�งที่เพิ่มขึ้นน�อยกว�าปริมาณสารบอแรกซ�ที่เติมลงไปในกาว เป�นไปได�ว�าสารบ อ แ ร ก ซ� บางส�วนไม�ทําปฏิกิริยากับกาว ฟอร์มัลดีไฮด์ในปริมาณร้อยละ 5 และร้อยละ 10 ของ ไฮดรอกซิลของเซลลูโลสได้ดีขึ้น (Vishnuvarthanan และสารบอแรกซ�บางส�วนอาจทําปฏิกิริยากับกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�จนกลายเป�นส�วนหนึ่งของกาว และมีสารบอแรกซ�บางส�วนระเหยไป 8 นํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง ทำ�ให้แผ่นไม้อัดมีความต้านแรง and Rajeswari, 2013; Yanjuan et al., 2013) ดังนั้น 9 ขณะให�ความร�อนเพื่อหาเฉือนเฉลี่ย 2.21±0.30ปริมาณเนื้อกาวแห�ง เมกะปาสคาล ซึ่งกลไกการเกิดปฏิกิริยาระหว�างและ 2.32±0.53 ปริมาณสารบอแรกซ์ที่เติมลงไปในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์สารบอแรกซ�กับส�วนผสมของกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ส�วนนี้ 10 จําเป�นต�องศึกษาอย�างละเอียดต�อไปเมกะปาสคาล ตามลำ�ดับ แต่อย่างไรก็ตาม Akpabio (2012) ปริมาณสาร ค�นพบว�า ปริมาณเนื้อกาวแห�งของกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ไม�ขึ้นอยู�กับค�าร้อยละ 15 อาจทำ�ให้กาวดังกล่าวยึดติดกับหมู่ไฮดรอกซิล pH ของ 11 กาว แต�บอแรกซ์ที่เติมลงในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ไม่ได้เพิ่มความ Xing et al. (2007) พ บ ว� า ปริมาณเนื้อกาวแห�งของกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ที่เพิ่มขึ้นทําให�ของไม้ได้ดีขึ้น ส่งผลให้ความต้านแรงเฉือนของแผ่นไม้อัด gel time ของกาวสั้นลง เพราะน้ําที่ 12 อยู�ในกาวขัดขวางหรือชะลอการเกิดปฏิกิริยาการสุกตัวของกาวต้านแรงเฉือนของแผ่นไม้อัดอย่างมีนัยสำ�คัญ (p<0.05) เมื่อน้ําในระบบน�อยเพิ่มขึ้นได้ อย่างไรก็ตาม ปฏิกิริยาการเกิดการสุกตัวจึงเร็วขึ้น อาจจำ�เป็นต้องมีการศึกษาถึง องค�ความรู�นี้ 13 สอดคล�องกับผลการทดลองของงานวิจัยนี้ที่พบว�าก่อนหน้านี้ Çolakoğlu and Demirkir (2006) การเติม ก็พบว่าสาร บอแรกซ�ในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ในปริมาณกลไกที่สารบอแรกซ์ช่วยเพิ่มพันธะการยึดติดของกาวร� อ ย ล ะ 10 และร� อ ย ล ะ 15 การเติมสารบอแรกซ์ลงในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ใน ยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์กับไม้บางยางพาราอย่างละเอียดใน 14 ของน้ําหนักเนื้อกาวแห�ง ทําให�น้ําหนักเนื้อกาวแห�งเพิ่มขึ้น และ gel time ของกาวลดลง ปริมาณร้อยละ 10 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้งไม่ได้ทำ�ให้ อนาคต ค่าการแตกที่ไม้ (wood failure) หลังทดสอบ ความต้านแรงเฉือน ความต้านแรงดัด และมอดุลัสยืดหยุ่น ความต้านแรงเฉือนมากกว่าร้อยละ 80 เหมือนกันทุก 15 ความหนาแน�น ปริมาณความชื้น และ การทดสอบความต�านแรงเฉือนของแ ผ� น ไ ม� อ ัด ของแผ่นไม้อัดเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญ การเติมสาร สูตรกาวที่ใช้ ทั้งนี้ ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 16 บอแรกซ์ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ร้อยละผลการทดลองแสดงให�เห็นว�า แ ผ� น ไม�อัดที่ผลิตจากไม� 15 ของ บางยางพาราและกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�แผ่นไม้อัด TISI (2006) ได้กำ�หนดไว้ว่าเติมสารบอแรกซ�ในปริมาณที่ ความต้านแรง 17 แตกต�างกันน้าหนักเนื้อกาวแห้งํ มีค�าความหนาแน�น เป็นปริมาณที่มากพอในการทำ และปริมาณความชื้น อยู�ในระดับเดียวกัน�ให้ เฉือนของแผ่นไม้อัดต้องสอดคล้องกับค่าการแตกที่ไม้ (p<0.05) โดยแผ�นไม�อัดมีค�าความหนาแน�นเฉลี่ยเท�ากับ 720 18 กิโลกรัมความต้านแรงเฉือนของแผ่นไม้อัดเพิ่มขึ้น/ลูกบาศก�เมตร และมีค�าความชื้นเฉลี่ยเท�ากับ (p<0.05)ร� อ ย ลโดย ะ 7.75 หากค่าความต้านแรงเฉือนของแผ่นไม้อัดอยู่ในช่วงมากกว่า

4.0 3.14b 3.5 3.0 2.32a 2.21a 2.5 2.10a 2.0 1.5

Shear strength (MPa) 1.0 0.5 0.0 0% (UF) 5% 10% 15%

Borax adding content 19 20 Figure Figure1 Shear 1 strengthShear strength of rubberwood of rubberwood plywood plywood produced produced with urea with-formaldehyde urea-formaldehyde adhesive adhesive and urea and- urea-formaldehyde adhesive with added borax at different percentages. 21 formaldehyde adhesive with added borax at different percentages. 22 6

1 ผลการทดลองความต�านแรงเฉือนวารสารวนศาสตร์ไทย พบว�า แผ�นไม�อัดที่ผลิตจาก 39 (1)ไ ม� :บาง 191-202ยางพาราและ (2563)กาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�มีความต�านแรงเฉือน197 2 เฉลี่ย 2.10±0.15 เมกะปาสคาล เมื่อเติมสารบอแรกซ�ลงในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ในปริมาณร� อ ย ล ะ 5 และร� อ ย ล ะ 10 ของน้ําหนักเนื้อ 3 กาวแห�ง 0.6ท าํ ใ ห� เมกะปาสคาลแผ�นไม�อัดมีความต�านแรงเฉือนเฉลี่ย แต่น้อยกว่า 1.0 เมกะปาสคาล 2.21±0.30 แผ่น เมกะปาสคาล(p<0.05) และ หรือคิดเป็นร้อยละ 2.32±0.53 เมกะปาสคาล 16.79 เมื่อเทียบกับแผ่น ตามลําดับ แต�อย�างไรก็ 4 ตาม ปริมาณไม้อัดต้องมีค่าการแตกที่ไม้มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละสารบอแรกซ�ที่เติมลงในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ไม�ได�เพิ่มค วามต�านแรงเฉือนของไม้อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์แ ผ� น ไม�อัดอย�างมีนัยสําคัญ เป็นไปได้ว่าสาร (p<0.05) ก� อ น 5 ห น� า น ี้ Çolako40 แต่หากแผ่นไม้อัดมีค่าความต้านแรงเฉือนมากกว่าğlu and Demirkir (2006) ก ็พ บ ว� า การเติมสาร บอแรกซ�ลงในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ในปริมาณบอร์แรกซ์สามารถทำ�ปฏิกิริยากับฟอร์มัลดีไฮด์ในเนื้อร� อ ย ล ะ 10 ของน้ําหนัก 1.0 เมกะปาสคาลขึ้นไป ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 6 เนื้อกาวแห�งไม�ได�ทําให�ความต�านแรงเฉือน ความต�านแรงดัด และมอดุลัสยืดหยุ�นกาว ทำ�ให้มีฟอร์มัลดีไฮด์อิสระที่เหลือจากการทำ ของแผ�นไม�อัดเพิ่มขึ้นอย�างมีนัยสําคัญ�ปฏิกิริยา การเติมสารบอ ดังกล่าวไม่ได้กำ�หนดร้อยละของค่าการแตกที่ไม้ไว้แต่ น้อยลง Çolakoğlu and Demirkir (2006) พบว่า การ 7 แรกซ�ในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ร� อ ย ล ะ 15 ของน้ําหนักเนื้อกาวแห�ง เป�นปริมาณที่มากพอในการทําให�ความต�านแรงเฉือนของแ ผ� น ไ ม� อ ัด อย่างไร เติมสารบอแรกซ์ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ร้อยละ 10 8 เพิ่มขึ้น (p<0.05) โดยแผ�นไม�อัดมีความต�านแรงเฉือนเฉลี่ยเท�ากับ 3.14±0.61 เมกะปาสคาล จากการตรวจเอกสาร พ บ ว� า สารบ อ แ ร ก ซ� ปริมาณการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์จากแผ่น ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง ก่อนนำ�ไปผลิตแผ่นไม้อัด สามารถ 9 เป�นองค�ประกอบของกาวที่ใช�ในการผลิตกระดาษลอนลูกฟูก (corrugatedลดการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์จากแผ่นไม้อัดลงได้ paper) ซึ่งทําให�กาวยึดติดกับหมู�ไฮดรอกซิลของเซลลูโลสได� 10 ดีขึ้น (Vishnuvarthananไม้อัด and Rajeswari, 2013; Yanjuan et al., 2013) ดังนั้น ปริมาณสารบ อ แ ร ก ซ� ที่เติมลงไปในกาวยูเรียฟอร�มัลดี จาก Figure 2 ที่แสดงค่าปริมาณการระเหยของ ร้อยละ 23 เมื่อเทียบกับแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากกาวยูเรีย ไฮด�ร� อ ย ล ะ 15 อาจทําให�กาวดังกล�าวยึดติดกับหมู�ไฮดรอกซิลของไม�ได�ดีขึ้น ส�งผลให�ความต� า น แรงเฉือนของแผ�นไม�อัดเพิ่มขึ้นได� อย�างไร 11 ฟอร์มัลดีไฮด์จากแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร์มัล- ฟอร์มัลดีไฮด์ที่ไม่เติมสารบอแรกซ์ Colak and Colakoglu 12 ก็ตาม อาจจําเป�นต�องมีการศึกษาถึงกลไกที่ดีไฮด์ และแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์สารบอแรกซ�ช�วยเพิ่มพันธะการยึดติดของกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�(2004) พบว่า การเติมกรดบอริกลงในกาวยูเรียฟอร์มัล-กับไม�บางยางพาราอย�าง 13 ละเอียดในอนาคตเติมสารบอแรกซ์ในปริมาณต่างๆ ค�าการแตกที่ไม� (wood ผลการทดลอง failure) หลังทดสอบความต�านแรง พบว่า ดีไฮด์ที่ใช้ในการผลิตไม้อัดจากไม้เฉือนมากกว�าร�อยละ 80 เหมือนกันทุกสูตรกาวที่ใช�beech และไม้ alder ทั้งนี้ 14 ในมาตรฐานผลิตภัณฑ�อุตสาหกรรมแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากไม้บางยางพาราและกาวยูเรียฟอร์มัล- แผ�นไม�อัด TISI (2006) ไ ด� ก ํา ห น ด ไไม่ทำ ว� ว� า � ความต�านแรงเฉือนของแผ�นไม�อัดต�องสอดคล�องกับค�าการให้ปริมาณการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์จากไม้อัด 15 แตกที่ไม� ดีไฮด์มีค่าปริมาณการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์จากแผ่นหากค�าความต�านแรงเฉือนของแผ�นไม�อัดอยู�ในช�วงมากกว�า 0.6ลดลง เมกะปาสคาล ในขณะที่การเติมบอแรกซ์ลงในกาวยูเรียฟอร์มัล- แต�น�อยกว�า 1.0 เมกะปาสคาล แผ�นไม�อัดต�องมี 16 ค�าการแตกที่ไม�มากกว�าหรือเท�ากับร�อยละไม้อัดเฉลี่ยเท่ากับ 1.31±0.23 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร 40 แต�หากแผ�นไม�อัดมีค�าความต�านแรงเฉือนมากกว� (mg/ ดีไฮด์ที่ใช้ผลิตแผ่นไม้อัดดังกล่าวา 1.0 เมกะปาสคาลทำ�ให้ปริมาณการระเหยขึ้นไป ในมาตรฐาน 17 ผลิตภัณฑ�อุตสาหกรรมดังกล�าวไม�ได�กําหนดร�อยละของค�าการแตกที่ไม�ไว�แต�อย�างไรml) ปริมาณการเติมสารบอแรกซ์ร้อยละ 10 และร้อยละ ของฟอร์มัลดีไฮด์จากแผ่นไม้อัดลดลง อย่างไรก็ตาม 15 ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ เพียงพอในการทำ�ให้ปริมาณ ปริมาณการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์จากแผ่นไม้อัดขึ้นอยู่ 18 ปริมาณการระเหยของฟอร�มัลดีไฮด�จากการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์จากแผ่นไม้อัดลดลงเหลือแ ผ� น ไ ม� อ ัด กับหลายปัจจัย เช่น สัดส่วนโมลของยูเรียและฟอร์มัล- 1.09±0.05 mg/ml และ 1.09±0.01 mg/ml ตามลำ�ดับ ดีไฮด์ของกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ ชนิดไม้ที่ใช้ผลิตแผ่น

1.80 1.60 1.31a 1.40 1.20ab 1.09b 1.20 1.09b 1.00 0.80 0.60 0.40 0.20

Formaldehyde Emission (mg/ml) 0.00 0% (UF) 5% 10% 15% Borax Loading Content Figure 2 Formaldehyde emission content from rubberwood plywood produced with urea-formaldehyde 19 20 Figure 2 Formaldehydeadhesive emission and urea-formaldehyde content from rubberwood adhesive withplywood added produced borax at withdifferent urea -loadingformaldehyde content. adhesive 21 and urea-formaldehyde adhesive with added borax at different loading content. 22 198 Thai J. For. 39 (1) : 191-202 (2020) 7

1 Figure 2 แสดงค�าปริมาณการระเหยของฟอร�มัลดีไฮด�จากแ ผ� น ไม�อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด� และแ ผ� น ไม�อัดที่ผลิต ไม้อัด ความชื้นของไม้บาง และกระบวนการอัดร้อนที่ใช้ ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ พบว่า ไม้บางยางพารา แผ่นไม้อัด จากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�เติมสารบอแ ร ก ซ� ในปริมาณต�างๆ ผลการทดลอง พ บ ว� า แ ผ� น ไม�อัดที่ผลิตจากไ ม� บางยางพาราและกาวยูเรีย 2 ในการผลิตแผ่นไม้อัด เป็นต้น ที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ไม่เติมสารบอแรกซ์ แผ่น 3 ฟอร�มัลดีไฮด�มีค�าปริมาณการระเหยของฟอร�มัลดีไฮด�จากแ ผ� น ไม�อัดเฉลี่ยเท�ากับ 1.31±0.23 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร (mg/ml) ปริมาณการ ความต้านทานต่อการเข้าทำ�ลายของเชื้อราผุ ไม้อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์เติมสารบอแรกซ์ 4 เติมสารบ อ แ ร ก ซ� ร� อ ย ล ะ 10 และร� อ ย ล ะ 15 ในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด� เพียงพอในการทําให�ปริมาณการระเหยของฟอร�มัลดีไฮด�จากแ ผ� น ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ไม้บางยางพารา ร้อยละ 5 และร้อยละ 10 ของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง มี 5 ไม�อัดลดลงเหลือและแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ไม่เติม 1.09±0.05 mg/ml และ 1.09±0.01 mg/ml ตามลําดับความต้านทานต่อการเข้าทำ (p<0.05) หรือคิดเป�นร��ลายของเชื้อราผุสีน อ ย ล ะ 16.79 เมื่อเทียบกับํ้าตาล แผ�นไ ม� อ ัด 6 ที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�สารบอแรกซ์ มีความต้านทานต่อการเข้าทำ เป�นไปได�ว�าสารบอร�แรกซ��ลายของเชื้อราสามารถทําปฏิกิริยากับฟอร�มัลดีไฮด�ในเนื้อกาว(Gloeophyllum striatum) ไม่แตกต่างกัน ทําให�มีฟอร�มัลดีไฮด�อิสระที่ โดยมีการ 7 เหลือจากการทําปฏิกิริยาน�อยลงผุสีขาว (Trametes versicolor Çolakoğlu) ไม่แตกต่างกันอย่างมี and Demirkir (2006) สูญเสียนพ บ ว� า การเติมํ้าหนักเฉลี่ยหลังการเข้าทำสารบอแรกซ�ในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด��ลายของเชื้อราผุสีร� อ ย ล ะ 10 8 ของน้ําหนักนัยสำ�เนื้อคัญกาวแห�ง มีค่าการสูญเสียน ก�อนนําไปผลิตํ้าหนักเฉลี่ยหลังการเข้าทำแ ผ� น ไ ม� อ ัด สามารถลดการระเหยของฟอร�มัลดีไฮด�จากแผ�นไม�อัดลงได��ลาย น้าตาลที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลาํ 12 สัปดาห์ เท่ากับร้อยละร� อ ย ล ะ 23 เมื่อเทียบกับ 9 แ ผ� น ไม�อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ที่ไม�เติมของเชื้อราผุสีขาวที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 12สาร สัปดาห์บ อ แ ร ก ซ� Colak8.16, and 7.71, Colakoglu 7.26 และ (2004) 6.49 พ ตามลำ บ ว� า การเติมกรดบอริกลงในกาว�ดับ (Figure 3) 10 ยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ที่ใช�ในการผลิตไม�อัดจากไม�เท่ากับร้อยละ 10.29 และร้อยละ 9.64 ตามลำ beech�ดับ แการ ล ะ ไ ม� aldeปริมาณการเติมสารบอแรกซ์ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์r ไม�ทําให�ปริมาณการระเหยของฟอร�มัลดีไฮด�จากไม�อัดลดลง 11 ในขณะที่การเติมบอแรกซ�ลงในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ที่ใช�ผลิตเติมสารบอแรกซ์ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ในปริมาณร้อยละ แ ผ� น ไม�อัดดังกล�าวร้อยละ 15 ของนทําให�ปริมาณการระเหยของฟอร�มัลดีไฮด�จากํ้าหนักเนื้อกาวแห้งเท่านั้นที่มากพอใน แ ผ� น ไ ม� 12 อัดลดลง5, อย�างไรก็ตาม10 และ 15 ของนปริมาณการระเหยของฟอร�มัลดีไฮด�จากํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง ส่งผลให้ความ แผ�นไม�อัดขึ้นอยู�กับหลายป�จจัยการเพิ่มความต้านทานของแผ่นไม้อัดต่อการเข้าทำ เช�น สัดส�วนโมลของยูเรียและฟอร�มัลดี�ลาย 13 ไฮด�ของกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ต้านทานของแผ่นไม้อัดต่อการเข้าทำ ชนิดไม�ที่ใช�ผลิต�ลายของเชื้อราผุแ ผ� น ไ ม� อ ัด ความชื้นของไม�บางของเชื้อราผุสีน และกระบวนการอัดร�อนที่ใช�ในการผลิตํ้าตาลได้ ผลการทดลองดังกล่าวสามารถแ ผ� น ไม�อัด เป�น 14 ต� น สีขาวลดลง (p<0.05) โดยมีค่าการสูญเสียนํ้าหนักเฉลี่ย สรุปได้ว่า กาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ที่ใช้ในการผลิตแผ่น หลังการเข้าทำ�ลายของเชื้อราผุสีขาวที่อุณหภูมิห้องเป็น ไม้อัดไม่สามารถชะลอและยับยั้งการเข้าทำ�ลายของ 15 ความต�านทานต�อการเข�าทําลายของเชื้อราผุเวลา 12 สัปดาห์ เท่ากับร้อยละ 5.15, 3.60 และ 2.69 เชื้อราผุทั้งสองชนิดได้ Kartal and Ayrilmis (2005)

Trametes versicolor Gloeophyllum striatum 14 10.29a 12 9.64a 8.16A 10 7.71A 7.26A 6.49AB 8 4.03B 6 5.15b 3.60c

Weight lossWeight (%) 2.69c 4

2

0 Rubberwood Borax 0% (UF) Borax 5% Borax 10% Borax 15% Veneer 16 Figure 3 Weight loss of rubberwood veneer, rubberwood plywood produced with urea-formaldehyde 17 Figure 3 Weightand loss rubberwood of rubberwood plywood veneer, produced rubberwood with urea-formaldehydeplywood produced addedwith urea borax-formaldehyde after 12 weeks and 18 rubberwoodof exposure plywood to fungalproduced decay with (Trametes urea-formaldehyde versicolor and added Gloeophyllum borax after striatum12 weeks). of exposure to 19 fungal decay (Trametes versicolor and Gloeophyllum striatum). 20 21 ผลการทดลองแสดงให�เห็นว�า ไม�บางยางพาราและแ ผ� น ไม�อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ไม�เติมสารบ อ แ ร ก ซ� มีความ 22 ต�านทานต�อการเข�าทําลายของเชื้อราผุสีขาว (Trametes versicolor) ไม�แตกต�างกันอย�างมีนัยสําคัญ มีค� า การสูญเสียน้ําหนักเฉลี่ยหลัง 8 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 191-202 (2563) 199

1 การเข�าทําลายของเชื้อราผุสีขาวที่อุณหภูมิห�องเป�นเวลา 12 สัปดาห�เท�ากับร� อ ย ล ะ 10.29 และร� อ ย ล ะ 9.64 ตามลําดับ การเติมสาร 2 บ อ แ ร ก ซ� พบว่าในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ใน การนำ�ไม้บางแช่กรดบอริกความเข้มข้นร้อยละปริมาณร� อ ย ล ะ 5, 10 และ 15 ของน้ําหนักดีไฮด์ มีการสูญเสียนเนื้อกาวแห�งํ้าหนักไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ ส�งผลให�ความต�านทานของ�คัญแ ผ� น ไม�อัดต�อ 7.5 ก่อนนำ�ไปผลิต blockboard ด้วยกาวฟีนอลฟอร์มัล- (p<0.05) ทั้งนี้มีค่าการสูญเสียน้าหนักเฉลี่ยเท่ากับร้อยละํ 3 การเข�าทําลายของเชื้อราผุสีขาวลดลง (p<0.05) โดยมีค�าการสูญเสียน้ําหนักเฉลี่ยหลังการเข�าทําลายของเชื้อราผุสีขาวที่อุณหภูมิห�อง ดีไฮด์ ช่วยเพิ่มความทนทานของ blockboard ต่อการ 18.58±2.56 และร้อยละ 16.93±1.05 ตามลำ�ดับ สรุป 4 เป�นเวลา 12 สัปดาห� เท�ากับร� อ ย ล ะ 5.15, 3.60 และ 2.69 ตามลําดับ นอกจากนี้ พ บ ว� า ไม�บางยางพารา แผ�นไม�อัดที่ผลิตจากกาวยูเรีย เข้าทำ�ลายของเชื้อราผุ (Trametes versicolor กับ ได้ว่า กาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ที่ใช้ในการผลิตแผ่นไม้อัด ฟอร�มัลดีไฮด�ไม�เติมสารบอแรกซ� แผ�นไม�อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�เติมสารบ อ แ ร ก ซ� ร� อ ย ล ะ 5 และร� อ ย ล ะ 10 ของน้ําหนักเนื้อ 5 Fomitopsis palustris) และปลวก (Coptotermes ไม่ได้ส่งผลต่อความต้านทานต่อการเข้าทำ�ลายของปลวก 6 กาวแห�ง formosamusมีความต�านทานต�อการเข�าทําลายของเชื้อราผุสีน้ําตาล) ได้ Kartal et al. (2007) นำ�ไม้บางของ (Gloeophylใต้ดินอย่างมีนัยสำlum striatum�คัญ ) แผ่นไม้อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียไม�แตกต�างกัน โดยมีการสูญเสียน้ําหนัก 7 เฉลี่ยหลังการเข�าทําลายของเชื้อราผุสีน้ําตไม้ Ekaba (Tetaberlinia bifoliolataาลที่อุณหภูมิห�องเป�นเวลา) แช่ในสารละลาย 12ฟอร์มัลดีไฮด์เติมสารบอแรกซ์ร้อยละ สัปดาห� เท�ากับร� อ ย ล ะ 8.16, 7.71, 7.265, 10 และ และ 6.49 15 ตามลําดับ 8 ปริมาณการเติมบอแรกซ์และสารละลายกรดบอริกสารบอแรกซ�ในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด� ความเข้มข้นร้อยละร� อ ย ล ะ 156 ของน้ําหนักของนํ้าหนักเนื้อกาวแห้งเนื้อกาวแห�งเท�านั้นที่มากพอในการเพิ่มความต�านทานของ มีการสูญเสียนํ้าหนักร้อยละ 9 แผ�นไม�อัดต�อการเข�าทําลายของเชื้อราผุสีน้ําตาลได�ก่อนนำ�ไปผลิตแผ่นไม้อัด 5 ชั้น ด้วยกาวฟีนอลฟอร์มัล- ผลการทดลองดังกล�าวสามารถสรุปได�ว�า8.72±1.10, 7.11±0.26 กาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ที่ใช�ในการผลิต และ 6.57±0.76 ตามลำ�ดับ แ ผ� น 10 ไม�อัดไม�สามารถชะลอและยับยั้งการเข�าทําลายของเชื้อราผุทั้งสองชนิดได�ดีไฮด์ พบว่า สารละลายดังกล่าวสามารถเพิ่มความ (Figure Kartal 4) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ and Ayrilmis (2005) พ บ ว� า การนําไม�บางแช�กรดพบว่า การ 11 บอริกความเข�มข�นต้านทานของแผ่นไม้อัดต่อการเข้าทำร� อ ย ล ะ 7.5 ก�อนนําไปผลิต�ลายของเชื้อราผุ blockboard ด�วยกาวฟ�นอลฟอร�มัลดีไฮด�เติมสารบอแรกซ์ในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ร้อยละ ช�วยเพิ่มความทนทานของ 10blockboard หรือ ต� อ 12 การเข�าทําลายของเชื้อราผุสีขาว (Trametes (Trametes versicolor versicolor) และราผุสีน กับ Fomitopsisํ้าตาล palustrisร้อยละ 15) ของนและปลวกํ้าหนักเนื้อกาวแห้ง (Coptotermes มีผลต่อความต้านทาน formosamus) ไ ด� Kartal 13 et al. (2007)(Fomitopsis นําไม�บางของไม� palustris Ekaba) ได้ (Tetaberlinia bifoliolata) แช�ในสารละลายบอแรกซ�และสารละลายกรดบอริกของแผ่นไม้อัดต่อการเข้าทำ�ลายของปลวกใต้ดินเหมือน ความเข�มข�น 14 ร� อ ย ล ะ 6ความต้านทานต่อการเข้าทำ ก�อนนําไปผลิตแผ�นไม�อัด 5 ชั้น�ลายของปลวกใต้ดิน ด�วยกาวฟ�นอลฟอร�มัลดีไฮด� พบว�ากัน สารละลายดังกล�าวสามารถเพิ่มความต�านทานของแ ผ� น ไ ม� 15 อัดต�อการเข�าทําลายของเชื้อราผุสีขาว(Coptotermes gestroi )(Trametes versicolor) และราผุสีน้ําตาล การประเมินความเสียหายจากการเข้าทำ (Fomitopsis palustris) ไ ด� �ลาย ของปลวกด้วยสายตาตามมาตรฐาน ASTM D 3345-74 16 ผลการทดลองการเข้าทำ�ลายของปลวกใต้ดิน พบว่า การสูญเสียนํ้าหนักของไม้บางยางพาราและแผ่น (ASTM, 1999) พบว่า ไม้บางยางพาราและแผ่นไม้อัดที่ 17 ความต�านทานต�อการเข�าทําลายของปลวกดิน (Coptotermes gestroi) ไม้อัดที่ผลิตจากไม้บางยางพาราและกาวยูเรียฟอร์มัล- ผลิตจากกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ไม่เติมสารบอแรกซ์มี

25 18.58a 20 16.93a

15 %) ( 8.72b 10 7.11bc 6.57c 5 Weight loss loss Weight

0 0% 5% 10% 15% Rubberwood Borax loading content veneer 18 Figure 4 Weight loss of rubberwood veneer, rubberwood plywood produced with urea-formaldehyde 19 Figure 4 Weight lossand ofrubberwood rubberwood plywood veneer, produced rubberwood with plywood urea-formaldehyde produced with added urea borax-formaldehyde after 28 days and 20 rubberwoodof exposure plywood to producedsubterranean with termite urea-formaldehyde (Coptotermes added gestroi borax). after 28 days of exposure to 21 subterranean termite (Coptotermes gestroi). 22 9

1 ผลการทดลองการเข�าทําลายของปลวกใ ต� ด ิน พ บ ว� า การสูญเสียน้ําหนักของไม�บางยางพาราและแ ผ� น ไม�อัดที่ผลิตจากไ ม� บาง 2 ยางพาราและกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด� มีการสูญเสียน้ําหนักไม�แตกต�างกันอย�างมีนัยสําคัญ (p<0.05) ทั้งนี้มีค�าการสูญเสียน้ําหนักเฉลี่ย 3 เ ท� า ก ับ ร� อ ย ล ะ 18.58±2.56 และร� อ ย ล ะ 16.93±1.05 ตามลําดับ สรุปได�ว�า กาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ที่ใช�ในการผลิตแ ผ� น ไม�อัดไม�ได�ส�งผล 4 ต�อความต�านทานต�อการเข�าทําลายของปลวกใต�ดินอย�างมีนัยสําคัญ แผ�นไม�อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�เติมสารบ อ แ ร ก ซ� ร� อ ย ล ะ 5 5, 10 และ 15 ของน้ําหนักเนื้อกาวแห�ง มีการสูญเสียน้ําหนักร� อ ย ล ะ 8.72±1.10, 7.11±0.26 และ 6.57±0.76 ตามลําดับ ผลการ 6 วิเคราะห�ข�อมูลทางสถิติ พ บ ว� า การเติมสารบอแรกซ�ในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ร� อ ย ล ะ 10 หรือร� อ ย ล ะ 15 ของน้ําหนักเนื้อกาวแห�ง มีผล 7 ต�อความต�านทานของ200 แผ�นไม�อัดต�อการเข�าทําลายของปลวกใต�ดินเหมือนกันThai J. For. 39 (1) : 191-202 (2020) 8 การประเมินความเสียหายจากการเข�าทําลายของปลวกด�วยสายตาตามมาตรฐาน ASTM D 3345-74 (ASTM, 1999) พ บ ว� า 9 ไม�บางยางพาราและคะแนนความเสียหายของเนื้อไม้เฉลี่ยแ ผ� น ไม�อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ไม�เติม 2.73 และ 5.13 สารเข้าทำบ� อลายของปลวกใต้ดิน แ ร ก ซ� มีคะแนนความเสี ตามที่ได้อธิบายไว้แล้วข้างยหายของเนื้อไม�เฉลี่ย 2.73 และ 10 5.13 คะแนนคะแนน ตามลําดับ ตามลำ �หรือมีคะแนนความเสียหายดับ หรือมีคะแนนความเสียหาย 4 4คะแนนตามมาตรฐาน คะแนน ต้น ปลวกใต้ดินทำ ASTM D �3345ลายไม้บางในแต่ละชั้นตามแนวเสี้ยน-74 (ASTM, 1999) นอกจากนี้ แผ�นไ ม� อ ัด 11 ที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ที่เติมตามมาตรฐาน ASTM D สาร3345-74บ อ แ ร ก(ASTM, ซ� ร� อ ย ล ะ 1999) 5, 10 และ 15ลักษณะความเสียหายจากการเข้าทำ ของน้ําหนักกาวแห�ง มีคะแนนความเสียหายของเนื้อไม�เฉลี่ย�ลายของปลวกใต้ดิน 12 เท�ากับ 7.73,นอกจากนี้แผ่นไม้อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ที่ 8.67 และ 9.27 คะแนน ตามลําดับ หรือ 7, 9 และ 9 คะแนนตามมาตรฐานบนแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากไม้บางยางพาราและใช้กาวยูเรีย ASTM D 3345-74 (ASTM, 1999) ตามลําดับ 13 คะแนนความเสียหายจากการเข�าทําลายของปลวกใต�ดินเติมสารบอแรกซ์ร้อยละ 5, 10 และ 15 ของนํ้าหนักกาว สอดคล�องกับค�าการสูญเสียน้ําหนักฟอร์มัลดีไฮด์ที่ไม่เติมสารบอแรกซ์รุนแรงกว่าความเสียจากการเข�าทําลายของปลวกใต�ดิน ตามที่ได� 14 อธิบายไว�แล�วข�างต�นแห้ง มีคะแนนความเสียหายของเนื้อไม้เฉลี่ยเท่ากับ ปลวกใ ต� ด ิน ทําลายไม�บางในแต�ละชั้น 7.73,ตามแนวเสี้ยน หายที่พบในแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ ลักษณะความเสียหายจากการเข�าทําลายของปลวกใต�ดินบน 15 แผ�นไม�อัดที่ผลิตจากไม�บางยางพาราและใช�กาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ที่ไม�เติมสารบอแรกซ�8.67 และ 9.27 คะแนน ตามลำ�ดับ หรือ 7, 9 และ 9 เติมสารบอแรกซ์รุนแรงกว�าความเสียหายที่ แต่ปริมาณสารบอแรกซ์ที่เติมในกาวยูพบในแ ผ� น ไม�อัดที่ผลิต 16 จากกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�เติมคะแนนตามมาตรฐานสาร ASTMบ อ แ รD ก 3345-74 ซ� แต�ปริมาณ (ASTM,สาร 1999)บ อ แ ร ก ซ� ที่เติมในกาวยูเรียฟอร�มัลดีไฮด�ภายใต�การศึกษาครั้งนี้ไม�ส�งผลทําให�เรียฟอร์มัลดีไฮด์ภายใต้การศึกษาครั้งนี้ไม่ส่งผลทำ�ให้ 17 ปลวกใต�ดินตายตามลำ เพียงแต�ทําให�ความสามารถในการทําลาย�ดับ คะแนนความเสียหายจากการเข้าทำ�ลายของแผ�นไม�อัดของปลวกใต�ดินลดลงเท�านั้นปลวกใต้ดินตาย เพียงแต่ทำ� ให้ความสามารถในการทำ�ลาย 18 ปลวกใต้ดิน สอดคล้องกับค่าการสูญเสียนํ้าหนักจากการ แผ่นไม้อัดของปลวกใต้ดินลดลงเท่านั้น (Figure 5)

19 20 Figure 5 Subterranean termite infestation on rubberwood plywood produced with urea-formaldehyde 21 Figure 5 Subterraneanadhesive termite (left), infestation a destroyed on rubberwoodrubberwood plywoodplywood producedproduced with ureaurea-formaldehyde-formaldehyde adhesive 22 (left), a destroyedadhesive rubberwoodafter exposure plywood to subterranean produced termite with urea(center),-formaldehyde and a destroyed adhesive rubberwood after exposure to 23 subterraneanplywood termite produced (center) ,with and urea-formaldehydea destroyed rubberwood adhesive plyw withood 10% produced borax loading with urea content-formaldehyde added after exposure to subterranean termite (right). 24 adhesive with 10% borax loading content added after exposure to subterranean termite (right). 25 การตรวจเอกสาร พบว่า ก่อนหน้านี้ได้มีการนำ� สรุป การตรวจเอกสารกรดบอริกและสารบอแรกซ์มาใช้เพื่อเพิ่มความต้านทาน พ บ ว� า ก�อนหน�านี้ได�มีการนํากรดบอริกและสารบอแรกซ�มาใช�เพื่อเพิ่มความต�านทานของแ ผ� น ไม�อัดต�อการ 26 การเติมสารบอแรกซ์ลงในกาวยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ ของแผ่นไม้อัดต่อการเข้าทำ�ลายของปลวกใต้ดินเช่นกัน 27 เข�าทําลายของปลวกใต�ดินเช�นกัน Kartal et al. (2007) นําไม�บางของไม�ทำ�ให้ค่า EkabapH ของกาวอยู่ในสภาวะด่าง (Tetaberlinia bifoliolata และหากเติมสาร) แช�ในสารละลาย Kartal et al. (2007) นำ�ไม้บางของไม้ Ekaba (Tetaberlinia 28 บอแรกซ� และสารละลายกรดบอริก ความเข�มข�นร� อ ย ล ะ 6 ก�อนนําไปผลิตบอแรกซ์ในปริมาณที่เพียงพอแ ผ� น ไ ม� อ ัด 5 ชั้น ด�วยกาวฟ�นอลฟอร�มัลดีไฮด� (ร้อยละ 15 ของนํ้าหนัก พบว�า ความ bifoliolata) แช่ในสารละลายบอแรกซ์ และสารละลาย 29 ต�านทานของแ ผ� น ไ ม� อัดต�อการเข�าทําลายของปลวกใต�ดิน (Coptotermesเนื้อกาวแห้ง) formosanus ทำ�ให้ค่า Shiraki) gel timeเพิ่มขึ้น ของกาวสั้นลง โดยมีค�าการสูญเสียน้ําหนัก หรือ กรดบอริก ความเข้มข้นร้อยละ 6 ก่อนนำ�ไปผลิตแผ่น 30 ร� อ ย ล ะ 3-5 หลังจากการเข�าทําลายของปลวกเป�นเวลา 3 สัปดาห� ในขณะที่กาวเกิดการสุกตัวได้เร็วขึ้นแ ผ� น ไม�อัดที่ผลิตจากไม�บางที่ไม�ผ�านการแช�สารละลายกรด เมื่อนำ�กาวดังกล่าวไปใช้ใน ไม้อัด 5 ชั้น ด้วยกาวฟีนอลฟอร์มัลดีไฮด์ พบว่า ความ 31 บอริกและสารละลายบอแรกซ�มีค�าการสูญเสียน้ําหนักสูงถึงร� อ ย ล ะ 23.9 การผลิตแผ่นไม้อัดจากไม้บางยางพารา แผ่นไม้อัดที่ได้ ต้านทานของแผ่นไม้อัดต่อการเข้าทำ�ลายของปลวกใต้ดิน 32 มีความต้านแรงเฉือน ความต้านทานต่อการเข้าทำ�ลาย (Coptotermes formosanus Shiraki) เพิ่มขึ้น โดยมี ของเชื้อราผุและปลวกใต้ดินเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น ปริมาณ 33 ค่าการสูญเสียนํ้าหนักร้อยละ 3-5 หลังจากการเข้าทำ�ลาย สรุป การระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์จากแผ่นไม้อัดลดลง เมื่อ ของปลวกเป็นเวลา 3 สัปดาห์ ในขณะที่แผ่นไม้อัดที่ผลิต เทียบกับแผ่นไม้อัดที่ผลิตจากไม้บางยางพาราและกาว จากไม้บางที่ไม่ผ่านการแช่สารละลายกรดบอริกและ ยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ สารละลายบอแรกซ์มีค่าการสูญเสียนํ้าหนักสูงถึงร้อยละ 23.9 วารสารวนศาสตร์ไทย 39 (1) : 191-202 (2563) 201

คำ�นิยม formaldehyde resin (UF) containing borax. Holz als Roh- und Werkstoff โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก 64(3): 250-251. กองทุนวิจัย วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสงขลา Japanese Standards Association. 1994. General นครินทร์ ปีงบประมาณ 2557 (สัญญาทุนเลขที่ 003/2557) testing methods for adhesives. JIS K REFERENCES 6833:1994. Akpabio, U.D. 2012. Effect of pH on the properties Kartal, S.N. and N. Ayrilmis. 2005. Blockboard of urea formaldehyde adhesives. with boron-treated veneers: Laboratory International Journal of Modern decay and termite resistance tests. Chemistry 2(1): 15-19. International Biodeterioration & 55(2): 93-98. American Society for Testing and Materials Biodegradation , and Y. Imamura. 2007. Decay [ASTM]. 1999. Standard Test Method and termite resistance of plywood for Laboratory Evaluation of Wood treated with various fire retardants. and Other Cellulosic Materials for Building and Environment 42(3): 1207- . ASTM D 3345- Resistance to Termites 1211. 74 (Reapproved 1999). Lesar, B., A. Ugovšek, M. Kariž, M. Šernek and . 2007. Standard Test Method for M. Humar. 2011. Influence of boron Wood Preservatives by Laboratory compounds in adhesives on the bonding Soil-Block Cultures. ASTM D1413-07e1. quality and fungicidal properties of British Standards Institution. 1996. BS EN 717- wood. Wood Research 56(3): 285-296. 3:1996 Wood-based panels - Özçifçi, A. 2008. Impacts of impregnation with Determination of formaldehyde boron compounds on the bonding release. Formaldehyde release by strength of wood material. Construction the flask method. London. and Building Materials 22(4): 541-545. Boran, S., M. Usta, S. Ondaral and E. Gümüşkaya. Sensogut, C., M. Ozalp and H. Yesil. 2009. The 2012. The efficiency of tannin as a effect of boric acid pentahydrate addition formaldehyde scavenger chemical in to urea formaldehyde on the mechanical medium density fiberboard. Composites characteristics and free formaldehyde Part B: Engineering 43(5): 2487-2491. content of plywood. International Colak, S. and G. Colakoglu. 2004. Volatile acetic Journal of Adhesion & Adhesives 29: acid and formaldehyde emission from 589-592. plywood treated with boron compound. Teoh, Y.P., M.M. Don and S. Ujang. 2011. Building and Environment 39(5): 533- Assessment of the properties, utilization, 536. and preservation of rubberwood (Hevea Çolakoğlu, G. and C. Demirkir. 2006. Characteristics brasiliensis): a case study in . of plywood panels produced with urea Journal of Wood Science 57: 255-266. 202 Thai J. For. 39 (1) : 191-202 (2020)

Thai Industrial Standards Institute [TISI]. 2006. affected by the pH value, solid content, Veneer Plywood. TIS 178-2549. (in Thai) and catalyst. Journal of Applied Vishnuvarthanan, M. and N. Rajeswari. 2013. Polymer Science 103(3): 1566-1569. Additives for enhancing the drying Yanjuan, W., F. Yanxiong, T. Wei and L. Chunying. properties of adhesives for corrugated 2013. Preservation of aged paper using boards. Alexandria Engineering Journal 52(1): 137-140. borax in alcohols and the supercritical Xing, C., S.Y. Zhang, J. Deng. and S. Wang. 2007. carbon dioxide system. Journal of Urea-formaldehyde-resin gel time as Cultural Heritage 14: 16-22. คำ�แนะนำ�สำ�หรับผู้เขียนวารสารวนศาสตร์ไทย (tci.thaijo.org/index.php/tjf) วารสารวนศาสตร์ไทย (ชื่อเดิม วารสารวนศาสตร์) เป็นวารสารทางวิชาการป่าไม้ จัดทำ�โดยศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำ�หนดพิมพ์เผยแพร่ทุก 6 เดือน (ปีละ 2 ฉบับ) วัตถุประสงค์เพื่อพิมพ์ เผยแพร่ผลงานวิจัยทางป่าไม้สาขาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยวารสารนี้มีการเผยแพร่ ไปยังห้องสมุดของสถาบันและหน่วยงานต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ การส่งต้นฉบับ ต้นฉบับต้องไม่เคยลงตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร หรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ผลงานจัดอยู่ในงานเขียนประเภทหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) นิพนธ์ต้นฉบับ (original article) เป็นการ เสนอผลงานวิจัยแบบสมบูรณ์ที่ผู้เขียนได้ดำ�เนินการวิจัยด้วยตนเอง (2) บทความวิจัยสั้น (short communications) เป็นงานวิจัยที่น่าสนใจหรือการค้นพบสิ่งใหม่แต่มีเนื้อหาสมบูรณ์น้อยกว่า และ (3) บทวิจารณ์ (review article) เป็น บทความทางวิชาการที่นำ�เสนอสาระซึ่งผ่านการวิเคราะห์หรือประมวลจากการตรวจเอกสาร ทั้งนี้เรื่องที่เป็นนิพนธ์ ต้นฉบับ และ บทความวิจัยสั้น จะได้รับพิจารณาให้ลงตีพิมพ์ก่อนเรื่องที่เป็นบทวิจารณ์ การเตรียมต้นฉบับ ต้นฉบับ ต้นฉบับเขียนเป็นภาษาไทย ควรมีการตรวจทานการใช้ภาษาและคำ�สะกดต่างๆ อย่างถี่ถ้วนก่อนนำ�เสนอ ความยาวไม่เกิน 12 หน้า กระดาษ A4 (ไม่รวมหน้าแรก) การพิมพ์ 1. การพิมพ์ใช้ตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาด 14 สำ�หรับภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ 2. หัวข้อหลัก ใช้ ขนาด 18 ตัวหนาและจัดกึ่งกลางหน้า เช่น คำ�นำ� อุปกรณ์และวิธีการ ฯลฯ ถ้าเรื่องที่เขียน เป็นภาษาอังกฤษ หัวข้อหลักใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ เช่น ABSTRACT REFERENCES เป็นต้น 3. หัวข้อย่อยแรก ใช้อักษรตัวหนาและจัดชิดซ้าย ขนาด 16 และเริ่มใส่หมายเลขข้อ ในหัวข้อย่อยถัดไปโดย ใช้อักษร ตัวหนา ขนาด 14 4. ใส่หมายเลขหน้า มุมขวา ด้านบน 5. ใส่หมายเลขบรรทัด (เริ่มแต่ละหน้าใหม่) 6. รายละเอียดใน Table และ Figure เป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด ใช้ตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาด 14 รายละเอียดของเนื้อหา หน้าแรก (Title page) แยกออกจากเนื้อหาอื่นๆ ประกอบด้วย 1. ชื่อเรื่อง เรื่องที่เขียนเป็นภาษาไทย ให้ระบุชื่อเรื่องทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรกระชับและตรงกับ เนื้อเรื่อง จัดให้อยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ 2. ชื่อผู้เขียน เรื่องที่เขียนเป็นภาษาไทย ใช้ชื่อเต็มทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไม่ต้องระบุเพศ ยศ ตำ�แหน่ง 3. สถานที่ทำ�งานของผู้เขียน ให้ระบุสถานที่ทำ�งานและที่อยู่ของผู้เขียนทุกท่านทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมระบุที่อยู่ที่ติดต่อได้ของผู้เขียน โดยระบุชื่อหน่วยงาน สถานที่ทำ�งาน เขต/อำ�เภอ จังหวัด รหัส ไปรษณีย์ และ Corresponding Author E-mail เนื้อหา ประกอบด้วยหัวข้อหลัก ดังนี้ 1. บทคัดย่อ สรุปสาระสำ�คัญของผลงานไว้โดยครบถ้วน และมีความยาวไม่เกิน 300 คำ� เรื่องที่เขียนเป็น ภาษาไทย ต้องมีบทคัดย่อเป็นภาษาอังกฤษ (ABSTRACT) ด้วย (ภาษาอังกฤษก่อนและตามด้วยภาษา ไทย) ให้ระบุ Keywords จำ�นวนไม่เกิน 5 คำ�ไว้ในตอนท้ายบทคัดย่อภาษาอังกฤษด้วย 2. คำ�นำ� อธิบายความสำ�คัญของปัญหา การตรวจเอกสาร (literature review) เฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับ งานวิจัยเท่านั้น และวัตถุประสงค์ของงานวิจัย ในกรณีงานวิจัยทางสังคมศาสตร์อาจเพิ่มเติมขอบเขตการ วิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย และสมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี) 3. อุปกรณ์และวิธีการ เขียนให้รัดกุม ไม่พรรณนาวิธีการวิเคราะห์ ใช้วิธีการอ้างอิงชื่อหรือองค์กร เช่น ใช้ ตามวิธีของ AOAC (1990) 4. ผลและวิจารณ์ ผลการทดลองและวิจารณ์ผลเขียนรวมกัน ภาพและตาราง ต้องมีเนื้อหาและคำ�อธิบาย เป็นภาษาอังกฤษ ให้แสดงเฉพาะข้อมูลสำ�คัญและจำ�เป็น แทรกภาพและตารางตามลำ�ดับในเนื้อหา โดย ใช้คำ�ว่า Figure ในการอ้างอิงภาพและใช้คำ�ว่า Table ในการอ้างอิงตาราง 5. สรุป ให้กระชับ ยกใจความสำ�คัญที่ได้จากการวิจัย 6. คำ�นิยม (ถ้ามี) ไม่ควรเกิน 50 คำ� 7. REFERENCES หลักเกณฑ์และรูปแบบการเขียน REFERENCES เรียบเรียงโดยใช้ภาษาอังกฤษทั้งหมด ในกรณีเอกสารอ้างอิงเป็นภาษาไทย ให้ปรับเป็นภาษาอังกฤษและต่อท้ายเอกสารอ้างอิงนั้นด้วยคำ�ว่า (in Thai) ยึดตามคู่มือวิทยานิพนธ์ สายวิทยาศาสตร์ ปีล่าสุดของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ สามารถดาวน์โหลดที่ www.grad.ku.ac.th/thesis/template_ss.php ก่อนส่งต้นฉบับควรตรวจทาน การอ้างอิงในเนื้อหาและในท้ายบทให้ตรงกัน และถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ระบุไว้ในคู่มือดังกล่าว 7.1 การอ้างอิง (citation) ในเนื้อหาใช้ระบบ name-and-year system 7.2 การเรียงลำ�ดับ REFERENCES เรียงตามลำ�ดับตัวอักษร เอกสารทั้งหมดที่ถูกอ้างอิงในเนื้อหาต้อง ปรากฏในรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง 7.3 การเขียน REFERENCES ชื่อผู้เขียนให้เขียนนามสกุลก่อนและตามด้วยชื่ออื่นๆ ซึ่งย่อเฉพาะอักษร ตัวแรก 7.4 ตัวอย่างการเขียน REFERENCES หนังสือ และตำ�รา Kramer, P. J. and T. T. Kozlowski. 1979. Physiology of Woody Plants. Academic Press, Inc., New York. วารสาร Kongsom, C. and I. A. Munn. 2003. Optimum rotation of Eucalyptus camaldulensis plantations in Thailand based on financial return and risk.Thai Journal of Forestry 22 (1): 29-35. รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการ Nikles, D. G. 1993. Breeding methods for production of interspecific hybrids in clonal selection and mass propagation programmes in the tropics and subtropics, pp. 218-252. In J. Davidson, ed. Regional Symposium on Recent Advances in Mass Clonal Multiplication of Forest Trees for Plantation Programmes. December 1-8, 1992. FAO/UN, Bogor. ข้อมูลสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลอิเลคทรอนิกส์ Sillery, B. 1998. Urban rain forest: An African jungle come to life on New York’s west side. Popular Sci. Available source: http://www.epnet.com/hosttrial/ligin.htm, March 27, 1998.

การแจ้งจำ�นงผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ผู้เขียนต้องแจ้งจำ�นงถึงความต้องการให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาบทความจำ�นวน 3 ท่าน โดยไม่อยู่สังกัดเดียวกัน กับผู้เขียน กรอกรายละเอียดในแบบเสนอต้นฉบับ

ข้อแนะนำ�ในการใช้ภาษา 1. ใช้คำ�ศัพท์ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานและประกาศของราชบัณฑิตยสถาน 2. การใช้ศัพท์บัญญัติทางวิชาการ ควรใช้ควบคู่กับศัพท์ภาษาอังกฤษ ในครั้งแรกที่ปรากฏในเอกสาร 3. การเขียนชื่อเฉพาะหรือคำ�แปลจากภาษาต่างประเทศ ควรพิมพ์ภาษาเดิมของชื่อนั้นๆ ไว้ในวงเล็บ ในครั้ง แรกที่ปรากฏในเอกสาร 4. ไม่ควรใช้ภาษาต่างประเทศในกรณีที่มีภาษาไทยอยู่แล้ว 5. รักษาความสมํ่าเสมอในการใช้คำ�ศัพท์และตัวย่อ โดยตลอดทั้งบทความ

กระบวนการพิจารณาบทความ การพิจารณากลั่นกรองบทความ (peer review) ทุกบทความจะได้รับการกลั่นกรองเบื้องต้นจากกองบรรณาธิการ เพื่อพิจารณาถึงความสำ�คัญของบทความ ความเหมาะสมต่อวารสารวนศาสตร์ไทย รวมถึงคุณภาพเนื้อหาทางด้าน วิทยาศาสตร์และข้อมูลที่นำ�เสนอ บทความที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจะถูกปฏิเสธ (reject) โดยไม่จำ�เป็นต้องส่งพิจารณา ตรวจทาน ส่วนบทความที่ผ่านเกณฑ์เบื้องต้นจะถูกส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิ (referee) ในแต่ละสาขาทำ�การพิจารณากลั่นกรอง (peer review) โดยชื่อของผู้ประพันธ์และผู้ทรงคุณวุฒิจะถูกปิดเป็นความลับ ข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิจะได้รับ การทบทวนจากกองบรรณาธิการ และส่งต่อไปยังผู้ประพันธ์เพื่อดำ�เนินการเปลี่ยนแปลงบทความตามคำ�แนะนำ�ดังกล่าว และส่งผลงานที่ปรับแก้ไขแล้วมายังกองบรรณาธิการเพื่อตัดสินใจขั้นสุดท้ายสำ�หรับการยอมรับ (accept) หรือปฏิเสธ (reject) บทความ ปกติการพิจารณาทบทวนบทความใช้เวลาประมาณ 3 เดือน นับจากวันที่ส่งบทความ หากเกินกว่า กำ�หนดนี้ผู้ประพันธ์สามารถสอบถามมายังกองบรรณาธิการเพื่อทราบความเหตุผลได้ บทความที่ถูกปฎิเสธ (rejected manuscripts) ทางกองบรรณาธิการจะส่งคืนเอกสารทั้งหมดรวมถึงข้อ คิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิให้กับผู้ประพันธ์ เพื่อเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงและส่งผลงานไปตีพิมพ์ยังวารสารอื่นๆ ที่มี ความเหมาะสม บทความที่ได้รับการยอมรับ (accept manuscripts) ทางกองบรรณาธิการจะส่งร่างบทความสำ�หรับตีพิมพ์ ให้กับผู้ประพันธ์เพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง (corrected proof) จากนั้นผู้ประพันธ์จะได้รับแจ้งกำ�หนดเวลาการตีพิมพ์ บทความนั้น การส่งต้นฉบับ ผู้เขียนจัดส่งรายละเอียดดังนี้ 1. ต้นฉบับ (manuscript) 1 ชุด ในรูป Microsoft Office Word 2003/2007/XP 2. แบบเสนอต้นฉบับ (submission form) 1 ชุดในรูป Microsoft Office Word 2003/2007/XP 3. ไฟล์ตารางในรูป Microsoft Office Word 2003/2007/XP 4. ไฟล์ภาพต้นฉบับที่สามารถปรับแก้ไขได้ สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ http://www.frc.forest.ku.ac.th ส่งมาที่ กองบรรณาธิการวารสาร วนศาสตร์ไทย ศูนย์วิจัยป่าไม้ ชั้น 5 อาคารวนศาสตร์ 72 ปี คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 หรือ อีเมล [email protected]

หมายเหตุ 1. เอกสารที่มีการเตรียมต้นฉบับไม่ถูกต้องตามข้อแนะนำ�จะไม่ได้รับการพิจารณา 2. ทางวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่คืนเอกสารข้างต้นให้ผู้เขียนไม่ว่ากรณีใดๆ ใบสมัคร สมาชิกวารสารวนศาสตร์ไทย

วารสารวนศาสตร์ไทย (ชื่อเดิม วารสารวนศาสตร์) เป็นเอกสารทางวิชาการของคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มีกำ�หนดออกปีละ 2 ครั้ง ในเดือนมิถุนายน และเดือนธันวาคม ค่าสมัครเป็นสมาชิกปีละ 200 บาท (รวมค่าส่งภายในประเทศ) ...... กรุณากรอกข้อความลงในแบบฟอร์มนี้

ชื่อ-สกุล ที่อยู่

รหัสไปรษณีย์ อัตราค่าสมาชิก “วารสารวนศาสตร์ไทย” m อัตราค่าสมาชิกวารสารราย 2 ปี จำ�นวนเงิน 400 บาท (4 ฉบับ) m อัตราค่าสมาชิกวารสารราย 3 ปี จำ�นวนเงิน 600 บาท (6 ฉบับ) m อัตราค่าสมาชิกวารสารราย 5 ปี จำ�นวนเงิน 1,000 บาท (10 ฉบับ)

การส่งเงินค่าสมัครสมาชิก 1. เงินสด (กรณีสมัครด้วยตัวเอง) 2. โอนเงินธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) สาขามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ชื่อบัญชี : ศูนย์วิจัยป่าไม้ (FRC) คณะวนศาสตร์ มก. บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 069-2-50360-0 (พร้อมแฟกซ์สำ�เนาใบโอนเงินพร้อมใบสมัครสมาชิกมาที่ งานวารสาร โทรสาร 02-579-1977 หรือ 02-942-8899)

สอบถามรายละเอียดการสมัครเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2561-4761, 0-2942-8899

ลงชื่อ...... ผู้สมัคร (...... ) ...... /...... /......