วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ACADEMIC JOURNAL PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY

ปที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2562 Vol.10 No.2 July - December 2019 ISSN : 2228-8473 (Print) ISSN : 2651-236X (Online) เจ้าของ มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนคร วัตถุประสงค์ของการจัดพิมพ์วารสาร วำรสำรวิชำกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนคร สำขำมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ จัดท�ำเป็นวำรสำร รำย 6 เดือน (ปีละ 2 ฉบับ) มกรำคม - มิถุนำยน และ กรกฎำคม - ธันวำคม โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อเผยแพร่บทควำมวิชำกำร บทควำมวิจัย บทควำมปริทรรศน์ และบทวิจำรณ์หนังสือ ในสำขำวิชำที่เกี่ยวข้อง กับมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ เช่น รัฐศำสตร์ รัฐประศำสนศำสตร์ พัฒนำชุมชน กำรบริหำรและพัฒนำเมือง ประวัติศำสตร์ ภำษำไทย ภำษำอังกฤษ นำฏศิลปและกำรละคร ดนตรี นิติศำสตร์ ศิลปกรรม บรรณำรักษศำสตร์ และสำรนิเทศศำสตร์ กำรจัดกำรทั่วไป/คอมพิวเตอร์ธุรกิจ กำรจัดกำรทรัพยำกรมนุษย์ กำรตลำด กำรท่องเที่ยว และกำรโรงแรม นิเทศศำสตร์ เศรษฐศำสตร์ บัญชี บริหำรกำรศึกษำ กำรศึกษำปฐมวัย หลักสูตรและกำรสอน เทคโนโลยี กำรศึกษำ จิตวิทยำกำรศึกษำ และสำขำวิชำอื่น ๆ ตำมกำรพิจำรณำของกองบรรณำธิกำร 2. เพื่อเป็นสื่อกลำงแลกเปลี่ยนข่ำวสำร สำระส�ำคัญ ประสบกำรณ์ด้ำนกำรวิจัยแก่นักวิจัย นักวิชำกำร และ บุคคลทั่วไปที่สนใจ นโยบายการจัดพิมพ์ของวารสาร 1. บทควำมที่น�ำเสนอเพื่อขอตีพิมพ์ ต้องเป็นบทควำมวิชำกำร บทควำมวิจัย บทควำมปริทรรศน์ หรือ บทวิจำรณ์หนังสือ ซึ่งอำจเขียนเป็นทั้งภำษำไทย หรือภำษำอังกฤษ 2. บทควำมที่จะได้รับกำรตีพิมพ์ต้องเขียนตำมรูปแบบของ วำรสำรวิชำกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนคร สำขำมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ และต้องผ่ำนกระบวนกำรพิจำรณำกลั่นกรองโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสำขำที่เกี่ยวข้อง ก่อน ทั้งนี้ บทควำมที่ตีพิมพ์จะต้องเป็นบทควำมที่ยังไม่เคยรับกำรตีพิมพ์เผยแพร่มำก่อน หรือระหว่ำงกำรพิจำรณำ จำกวำรสำรอื่น ๆ 3. บทควำมที่ตีพิมพ์/เผยแพร่ทุกบทควำมต้องผ่ำนพิจำรณำเห็นชอบจำกผู้ประเมินบทควำม (Peer Reviewed) ที่มีควำมเชี่ยวชำญในสำขำที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่ำสองท่ำนต่อหนึ่งบทควำม ซึ่งทั้งผู้ประเมินบทควำมและผู้แต่งจะไม่ทรำบชื่อ ซึ่งกันและกัน (Double-blind Peer Review) โดยบทควำมที่ลงตีพิมพ์ได้นั้นจะต้องผ่ำนควำมเห็นชอบจำกผู้ประเมิน บทควำมทั้งสองท่ำน หรือสองในสำมท่ำน คณะที่ปรึกษา ดร.ถนอม อินทรก�ำเนิด อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ศาสตราจารย์ ดร.สนิท อักษรแก้ว กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ศาสตราจารย์ ดร.จ�ำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.ผดุงชาติ สุวรรณวงศ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร รองศาสตราจารย์ ดร.เปรื่อง กิจรัตน์กร อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ศักดิ์ จักรกรณ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สืบวงศ์ กาฬวงศ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์ ดร.เดือน ค�ำดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.วัชระ งามจิตเจริญ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.ครองชัย หัตถา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศาสตราจารย์ ดร.นิพนธ์ ตั้งธรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ศรีณัฐ ไทรชมภู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร รองศาสตราจารย์ ดร.อาชัญญา รัตนอุบล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ แสงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ รองศาสตราจารย์ ดร.นาตยา ปิลันธนานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชนาธิป ชินะนาวิน ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจ�ำกองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ม.ล.จิราภา อาภากร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย มงคลเกียรติศรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันดี เกษมสุขพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พสชนัน นิรมิตไชยนนท์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสิต อินทมาโน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณ ไชยนิตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐดนัย สุภัทรากุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุเทน ทองทิพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภกาญจน์ วิชานาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณกมล ปุณชเขตต์ทิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาติเมธี หงษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัญณภัทร นิธิศวราภากุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นาวาโท ดร.ก�ำพล ภิญโญกุล บริษัท การบินกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ดร.พิกุล เอกวรางกูร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.อุดมลักษม์ กูลศรีโรจน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.ปิยะดา จุลวรรณา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.ภาณุพงศ์ สามารถ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.ธัชทฤต เทียมธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.สุไม บิลไบ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์นนทนันท์ แย้มวงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ประสานงานและเผยแพร่ นางเดือนเพ็ญ สุขทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวมัธนา เกตุโพธิ์ทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวศุภราพร เกตุกลม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวทัศนา ปิ่นทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวนวกมล พลบุญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวสุธารัตน์ จุ้ยเจริญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นายรัชตะ อนวัชกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นายจักรพันธ์ ก้อนมณี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ติดต่อกองบรรณาธิการ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 9 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรศัพท์/โทรสาร 0 - 2521 - 2288, 0 - 2521 - 1234 E-mail: [email protected] และ https://www.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/login

ก�ำหนดออก 2 ฉบับ ต่อปี (มกราคม - มิถุนายน และ กรกฎาคม - ธันวาคม) การเผยแพร่ ผู้ที่สนใจสามารถค้นหาที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/issue/archive

พิมพ์ที่ หจก. ประยูรสาส์นไทย การพิมพ์ 44/132 ถนนก�ำนันแม้น แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ 0-2802-0377, 0-2802-0379, 08-1566-2540 รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ (Readers) ประจ�ำวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)

รองศาสตราจารย์ ดร.กรองทิพย์ นาควิเชตร วิทยาลัยราชสีมา รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธพงษ์ ลีลากิจไพศาล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต รองศาสตราจารย์ ดร.ระพีพรรณ พิริยะกุล มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ปานจันทร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง รองศาสตราจารย์พงศ์สัณห์ ศรีสมทรัพย์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง รองศาสตราจารย์ ดร.ฉวีวรรณ เพ็ชรศิริ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธินันทน์ พรหมสุวรรณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ รองศาสตราจารย์ทัศนีย์ เมธาพิสิฐ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บูรณจิตร แก้วศรีมล มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีร์ธนิกษ์ ศิริโวหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิติพงษ์ ลือนาม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประวิทย์ ประมาน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ วรรณธนัง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูชิตต์ ภูริปาณิก มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา พรรณราย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุกัญญา แช่มช้อย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสิต อินทมาโน. มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ศักดิ์ จักรกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธ์ กิตตินรรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐดนัย สุภัทรากุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสวียน เจนเขว้า มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณวัฒน์ หลาวทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวิทย์ ประสิทธิ์ผล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญมิ่ง ค�ำประเสริฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสริมศิริ นิลด�ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชนาธิป ชินะนาวิน ผู้พิพากษาประจ�ำศาลฏีกา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรุณี หันวิสัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ดร.กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร.ศิริวรรณ มุนินทรวงศ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดร.แก้วตา ม่วงเกษม มหาวิทยาลัยมหิดล ดร.เอกพงศ์ สารน้อย มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดร.ธิติ ทัศนกุลวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ดร.อาพัทธ์ เตียวตระกูล มหาวิทยาลัยนเรศวร ดร.ขวัญชีวา ไตรพิริยะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ดร.สุไม บิลไบ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.จันทนา อุดม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.ไพโรจน์ บุตรชีวัน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.พรเพชร ชลศักดิ์ตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร บทบรรณาธิการ

วำรสำรวิชำกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนคร สำขำมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพื้นที่กำรเผยแพร่ควำมรู้ด้ำนวิชำกำรและกำรวิจัย ของนักวิชำกำร นักศึกษำทั้งภำยในและภำยนอกมหำวิทยำลัย อันจะน�ำไปสู่กำรขยำยวงแห่งกำรประยุกต์ กำรใช้ผลงำนวิชำกำรเพื่อกำรพัฒนำสังคมในวงกว้ำง โดยก�ำกับคุณภำพและกระบวนกำร ของกำรจัดท�ำวำรสำรให้เป็นไปตำมมำตรฐำนวิชำกำร วำรสำรฉบับนี้ประกอบด้วยบทควำมวิจัย และบทควำมวิชำกำรของนักวิชำกำร นักศึกษำ ผู้ปฏิบัติงำนในหน่วยงำนทั้งในและต่ำงประเทศซึ่งผ่ำนกำรพิจำรณำจำกผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 25 เรื่อง ครอบคลุมประเด็นควำมรู้ส�ำคัญทั้งด้ำนมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ ขอขอบคุณผู้เขียนบทควำมและผู้ทรงคุณวุฒิที่พิจำรณำบทควำม ที่ปรึกษำภำยใน และภำยนอกทุกท่ำน ที่ได้ให้ข้อเสนอแนะในกำรปรับปรุงแก้ไขบทควำมให้มีควำมถูกต้อง สมบูรณ์ ตลอดจนผู้บริหำรมหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนคร และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ให้กำร สนับสนุนทรัพยำกร และให้ค�ำแนะน�ำ จนท�ำให้วำรสำรฉบับนี้ มีบทควำมที่น่ำสนใจ และได้ มำตรฐำนมีคุณค่ำทำงวิชำกำร สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของผู้ที่สนใจ และเป็นข้อมูล อ้ำงอิงทำงวิชำกำรได้เป็นอย่ำงดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สืบวงศ์ กาฬวงศ์ บรรณาธิการ สารบัญ หน้ำ

บทความวิจัย

 มำตรกำรทำงกฎหมำยในกำรเพิ่มประสิทธิภำพในคดีอำญำ ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทำงกำรเมือง 1 ณัฐดนัย สุภัทรากุล  มำตรกำรทำงกฎหมำยในกำรจ้ำงแรงงำนผู้สูงอำยุในภำคเอกชน 19 พรเพ็ญ ไตรพงษ์ กัลยา ตัณศิริ ภูมิ มูลศิลป และ สมจิตร์ ทองศรี  ปัจจัยก�ำหนดค่ำจ้ำงแรงงำนเฉลี่ยของไทย 37 ดรันต์ วันเที่ยง  บทบำทผู้น�ำทำงกำรเมืองของ มหำธีร์ โมฮัมหมัด 55 รวิกานต์ อ�านวย และ ธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน  ประสิทธิผลของกำรให้บริกำรจดทะเบียนขององค์กำรภำครัฐไทย 73 อัจฉรา ประไพพักตร์ และ สุวรรณี แสงมหาชัย  ยุทธศำสตร์กำรส่งเสริมกำรวิจัยและพัฒนำเทคโนโลยี ในวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม ภำคอุตสำหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธำนี 87 อนันต์ รุ่งพรทวีวัฒน์ ภาณุพงศ์ สามารถ เตชิต ตรีชัย และ พงศ์เทพ อันตะริกานนท์  ประสิทธิผลของกำรบริหำรมหำวิทยำลัยรำชภัฏเพื่อกำรพัฒนำท้องถิ่น 101 นันทัชพร ปานะรัตน์ และ ปยะนุช เงินคล้าย  ทัศนคติและควำมคิดเห็นที่มีต่อกำรสอบวัดระดับทักษะ กำรใช้ภำษำญี่ปุนเชิงธุรกิจ (BJT) ในประเทศไทย 117 วิษณุ หาญศึก และ ไอลดา ลิบลับ  กำรถอดบทเรียนเชิงสำระวิชำกำรและข้อเสนอแนะกำรด�ำเนินกำร กรณีพื้นที่คุ้งบำงกะเจ้ำ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปรำกำร 131 สราวุธ ณ พัทลุง และ ศรีณัฐ ไทรชมภู  กำรมีส่วนร่วมในกำรบริหำรจัดกำรกำรท่องเที่ยว หมู่บ้ำนท�ำกลองเอกรำช อ.ปำโมก จังหวัดอ่ำงทอง 141 ขวัญมิ่ง ค�าประเสริฐ เกรียงไกร โพธิ์มณี และ สุภาภรณ์ พรหมฤาษี หน้า

 พัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวไปสู่การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ชุมชน แบบมีส่วนร่วมของชาวต�ำบลเชียงรากใหญ่ อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี 156 ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุล  การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภค ในการตัดสินใจซื้อสินค้าท้องถิ่นของวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 168 อังคณา จัตตามาศ อัชฌาพร กว้างสวาสดิ์ และ พัชราภรณ์ บ่อน้อย  การพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร 180 วีรยุทธ ด้วงใย ภาณุพงศ์ สามารถ เตชิต ตรีชัย และ พรหมมา วิหคไพบูลย์  การวิเคราะห์ความต้องการจ�ำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร 194 มลธิชา กลางณรงค์ และ นันทรัตน์ เจริญกุล  การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 209 จักรพงษ์ ตรียุทธ์ นพพร แหยมแสง และ วินิจ เทือกทอง  ความต้องการจ�ำเป็นของการพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรม ของผู้บริหารโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ 224 ตฤณเศรษฐ์ รัตนรังสฤษฏ์ และ สุกัญญา แช่มช้อย  การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ส�ำหรับนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ระดับชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาการจัดการ 238 อรอนงค์ โฆษิตพิพัฒน์  ความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรม ตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรม 252 สุรเชษฐ์ หิรัญสถิตย์ และ สุกัญญา แช่มช้อย หน้า

 การเพิ่มศักยภาพของ Conjoint Analysis โดยใช้หลักการแบ่งกลุ่ม ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยแบบสายล�ำดับ 268 อินทกะ พิริยะกุล และ จริยาภรณ์ ศรีสังวาลย์  วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูง และวัฒนธรรมไทยที่ส่งผลต่อการฝังลึก ในงานวิชาชีพพยาบาล: โรงพยาบาลภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 284 ชุติมา นิลเพ็ชร์ และ ระพีพรรณ พิริยะกุล  การศึกษาเพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ : กรณีศึกษาครูไพฑูรย์ อุณหะกะ 300 วิศรุต ภู่นาค และ วีระ พันธุ์เสือ บทความวิชาการ

 การวิเคราะห์และการน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ 314 วัชรินทร์ อินทพรหม  ความเหมาะสมในการน�ำระบบการเข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้พิพากษาศาลยุติธรรม ในสหรัฐอเมริกามาใช้ในประเทศไทย 334 พรเพชร ชลศักดิ์ตระกูล และ ณัฐดนัย สุภัทรากุล  คุณลักษณะของหัวหน้าทีมกีฬา 345 เกษม ช่วยพนัง  ความฉลาดทางสังคมกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 357 ธานี ชูก�ำเนิด และ สิรภพ สินธุประเสริฐ

การเตรียมต้นฉบับบทความเพื่อตีพิมพ์

 แนวทางการเตรียมต้นฉบับและการส่งต้นฉบับ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 367  จริยธรรมในการตีพิมพ์ 379

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1

บทความวิจัย

มาตรการทางกฎหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพในคดีอาญา ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง LEGAL MEASURES FOR THE ENHANCEMENT OF CRIMINAL CASES OF POLITICAL POSITIONS ณัฐดนัย สุภัทรากุล* Nutdanai Supatrakul*

สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ ประเทศไทย* Laws Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, *

Email: [email protected]*

Received: 2019-04-15 Revised: 2019-04-29 Accepted: 2019-07-12

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) หลักการและระบบด�ำเนินคดีอาญา แนวคิด วัตถุประสงค์ และหลักเกณฑ์ของการด�ำเนินคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองทั้งของ ประเทศไทยและต่างประเทศ 2) วิเคราะห์รูปแบบความเหมาะสมของการบริหารจัดการคดีมาใช้ ในคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง และ 3) มาตรการทางกฎหมายคดีอาญาของผู้ด�ำรง ต�ำแหน่งทางการเมืองที่เหมาะสมกับประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ และการสัมภาษณ์แบบ เจาะลึก โดยผู้ที่เกี่ยวข้องหรือมีความรู้ความเชี่ยวชาญกับกระบวนการด�ำเนินกระบวนการยุติธรรม ด้านคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองจ�ำนวนสี่คน ประกอบกับการสนทนากลุ่ม กับ ผู้พิพากษา พนักงานอัยการ ทนายความ นักวิชาการ เจ้าพนักงานที่ปฏิบัติงานด้านกระบวนการยุติธรรมในองค์กร อิสระ และประชาชนทั่วไปในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑล ที่ผู้วิจัยเจาะจงเลือก มาจากพนักงานอัยการหรือผู้พิพากษา ทนายความหรือ ที่ปรึกษากฎหมายทางด้านการเมือง นักวิชาการด้านกฎหมาย และประชาชนทั่วไป กลุ่มละสองคน รวมสี่กลุ่มเป็นแปดคน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้พิพากษาขาดความเชี่ยวชาญและตระหนักถึงหลักการค้นหา ความจริงในระบบไต่สวน จึงก�ำหนดให้ศาลฎีกาจัดอบรมภาคทฤษฎีและรวมถึงการฝึกภาคปฏิบัติ ให้กับผู้พิพากษาในศาลฎีกาโดยเฉพาะผู้พิพากษาที่จะท�ำหน้าที่เป็นองค์คณะในศาลฎีกาแผนกคดี วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 2

อาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง 2) การให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติด�ำเนินการฟ้องร้องด�ำเนินคดีเองหรือจะจ้างทนายความเอกชนมาว่าความต่างรัฐ ถือได้ว่า เป็นการละเมิดต่อแนวคิดในการด�ำเนินคดีอาญาโดยรัฐและขัดกับหลักการด�ำเนินคดีอาญาโดย ดุลยพินิจของพนักงานอัยการอันทรงไว้ซึ่งเป็นผู้มีบทบาทหลักในชั้นการสอบสวนฟ้องร้องเห็นควร แก้ไขบทบัญญัติให้อัยการสูงสุดมีอ�ำนาจยื่นฟ้องคดีเพียงองค์กรเดียว 3) การให้สิทธิอุทธรณ์ ค�ำพิพากษา โดยคดีควรเริ่มต้นกระบวนพิจารณาตั้งแต่ศาลอุทธรณ์ และเมื่อคู่ความฝ่ายใดไม่พอใจ ในค�ำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ก็สามารถอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ทางการเมืองได้ 4) ก�ำหนดให้มีพนักงานแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองซึ่งแต่งตั้ง มาจากนิติกรในศาลฎีกาที่ผ่านการอบรมหลักสูตรพนักงานแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง การเมือง เพื่อช่วยเหลือผู้พิพากษาในการพิจารณาคดีและรับฟังพยานหลักฐานต่าง ๆ ตลอดจน ช่วยเรียบเรียงค�ำพิพากษาเพื่อให้ระบบการพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง มีประสิทธิภาพสูงสุด

ค�ำส�ำคัญ: ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง การอุทธรณ์ คดีอาญา

ABSTRACT This research has objectives to study: 1) Principles concerning and system of criminal proceedings, ideas, purposes, and the criteria on criminal proceedings of persons holding political positions in Thailand and foreign countries, 2) Analysis of patterns and suitability of an adoption of case management system in criminal cases concerning persons holding political positions, and 3) Appropriate legal measures dealing with criminal cases concerning persons holding political positions for Thailand. This includes qualitative research by in-depth interview of with four persons who have involvement and expertise in the criminal justice system concerning persons holding political positions, focus group with judges, public prosecutors, lawyers, academics, officials working in justice system of independent entity, and general public in Bangkok and its surrounding provinces. These eight professionals were chosen two persons from each group of public prosecutors or judges, lawyers or legal counsel on politics, legal academics, and the general public. According to the research’s result, it was found that first of all, judges still lacks an awareness on fact-finding principles in the inquisitorial system, as well as an expertise in such trial system. To solve this problem, it is recommended that the Supreme Court shall conduct both theoretical and practical training for judges in the Supreme Court, particularly วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 3 those acting as a quorum in the Supreme Court’s Criminal Division for Holders of Political Positions. Secondly, allowing the National Anti-Corruption Commission to institute prosecution itself or hire private lawyers to institute prosecution on behalf of the state must be deemed as an infringement of idea of state prosecution. Also, this is contrary to the opportunity principle which requires public prosecutors to play a major role at the stage of prosecution. Therefore, it is suggested that the law should be amended so that the Attorney General should have the sole power to institute prosecution in these cases. Thirdly, the right to appeal the judgment should be granted. The proceedings of these cases should be initiated in the Appeal Court. Whenever, any party is not satisfied with the Appeal Court’s judgment, they are entitled to appeal such judgment to the Supreme Court’s Criminal Division for Holders of Political Positions. Fourthly, there shall be officials in the Criminal Division for Persons Holding Political Positions. These officials should be appointed from legal officers working in the Supreme Court with training on the Course on Officials of Criminal Division for Persons Holding Political Positions. Their tasks should be to assist judges in trials and in an aspect of admissibility of evidence, as well as to write up the judgment. This is to ensure the most efficient trials in criminal cases concerning persons holding political

Keywords: Persons holding political positions, appeal, criminal case

บทน�ำ เนื่องจากประเทศไทยประสบปัญหา ร้องขอให้ทรัพย์สินของบุคคลดังกล่าวตกเป็น เกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบของ ของแผ่นดิน แล้วแต่กรณี โดยท�ำหน้าที่แทน นักการเมืองและข้าราชการระดับสูงเพิ่มมากขึ้น พนักงานสอบสวนในระบบสอบสวนเดิม และ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 เพื่อให้การด�ำเนินคดีต่อผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการ มาตรา 234 จึงก�ำหนดให้มีคณะกรรมการป้องกัน เมืองในชั้นศาลเป็นไปด้วยความรวดเร็วและ และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติท�ำหน้าที่ เที่ยงธรรมมากกว่าเดิม รัฐธรรมนูญแห่งราช และมีอ�ำนาจในการไต่สวนและมีความเห็นกรณี อาณาจักรไทยตั้งแต่ พุทธศักราช 2540 เป็นต้นมา มีการกล่าวหาว่าผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง จึงก�ำหนดให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง มีพฤติการณ์ร�่ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ หรือ ทางการเมืองขึ้นในศาลฎีกาเพื่อพิจารณาพิพากษา จงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อ�ำนาจขัดต่อบทบัญญัติ คดีดังกล่าว (Wankovit, 2014) แห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย เพื่อพิจารณาส่งเรื่อง นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราช- ให้อัยการสูงสุดฟ้องร้องด�ำเนินคดีอาญาหรือ อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 195 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 4

ยังก�ำหนดให้คงไว้ซึ่งแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรง หน้าที่ตามกฎหมาย ป.ป.ช. กรณีปล่อยปละ ต�ำแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกา โดยองค์คณะ ละเลยให้เกิดการทุจริตในโครงการรับจ�ำน�ำข้าว ผู้พิพากษาประกอบด้วยผู้พิพากษาในศาลฎีกา ในค�ำฟ้องนี้ พนักงานอัยการไม่ได้ระบุมูลค่าความ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งไม่ต�่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา เสียหาย แต่คณะกรรมการสอบความเสียหายของ หรือผู้พิพากษาอาวุโสซึ่งเคยด�ำรงต�ำแหน่ง กระทรวงการคลังประเมินว่า สร้างความเสียหาย ไม่ต�่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา โดยได้รับคัดเลือก แก่รัฐ 5.1 แสนล้านบาท ซึ่งในช่วง 28 เดือน โดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาจ�ำนวนไม่น้อยกว่า ที่ผ่านมา จ�ำเลยต้องไปศาลจ�ำนวน 26 นัด ห้าคนแต่ไม่เกินเก้าคน มีอ�ำนาจพิจารณา เนื่องจากศาลก�ำหนดให้เข้าร่วมกระบวนการ พิพากษาคดีตามพระราชบัญญัติประกอบ ไต่สวนพยานทุกนัดตั้งแต่วันแรกถึงวันสุดท้าย รัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของ ไม่เช่นนั้นจะถูกสั่งถอนประกัน - ปรับเงินประกัน ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 30 ล้านบาทและออกหมายจับ (Thairath Online ในขณะที่สถิติคดีที่ขึ้นสู่ศาลฎีกา News Agency, 2017) จึงเห็นได้ว่าการพิจารณา แผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง คดีที่ยืดเยื้อนั้นส่งผลให้จ�ำเลยนั้นต้องเสียทั้งเวลา พ.ศ. 2544 - 2560 จากส�ำนักอ�ำนวยการประจ�ำ และการด�ำรงชีวิตตามปกติ ดังสุภาษิตกฎหมาย ศาลฎีกา จะพบว่า ในปี พ.ศ. 2551 มีเพียง 21 คดี ที่ว่า ความยุติธรรมที่ล่าช้า ก็คือความไม่ยุติธรรม และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เป็น 96 คดีในปี พ.ศ. 2558 ดังนี้ หากรัฐมีมาตรการที่จะท�ำให้คดี กระทั่งปี พ.ศ. 2560 เพิ่มเป็น 307 คดี (Office เสร็จสิ้นอย่างรวดเร็ว ก็ย่อมจะท�ำให้คดีอาญา of the Supreme Court, 2018) แต่จ�ำนวน นักการเมืองมีการพิจารณาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้พิพากษาในคดีอาญานักการเมืองกลับมิได้ และประหยัดงบประมาณมากขึ้น เช่น การน�ำ เพิ่มขึ้นและมีจ�ำนวนจ�ำกัด ยิ่งคดีนักการเมืองที่มี หลักการด�ำเนินคดีอาญาโดยการค้นหาความจริง ความสลับซับซ้อนและมีผลกระทบต่อประเทศ ในระบบไต่สวนอย่างสมบูรณ์มาใช้ในวิธีพิจารณา ในวงกว้าง การวินิจฉัยคดีของศาลจ�ำเป็นต้อง คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง บริหารจัดการ มีกระบวนการสืบสวนสอบสวน หรือการก�ำหนดให้คู่ความมีสิทธิอุทธรณ์ไปยัง อย่างรอบคอบ ก็ยิ่งต้องใช้ระยะเวลานานในการ ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรง พิจารณาด�ำเนินคดี อาทิ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ต�ำแหน่งทางการเมือง ซึ่งเป็นศาลที่มีสถานะ ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ได้อ่านค�ำ เดียวกันกับศาลที่เคยพิจารณาพิพากษาคดีนั้น พิพากษาในคดีจ�ำน�ำข้าว เมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2558 มาก่อน คือ ศาลฎีกาด้วยกัน อันขัดต่อหลักการ ให้จ�ำคุกจ�ำเลย น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายก ทบทวนค�ำพิพากษาที่จะต้องได้รับการพิจารณา รัฐมนตรี เป็นเวลา 5 ปี โดยไม่รอลงอาญา คดีนี้ ทบทวนในศาลที่สูงขึ้น และขัดต่อหลักการเรื่อง ศาลรับฟ้องเป็นคดีที่ อม.22/2558 หลังพนักงาน การพิจารณาคดีโดยศาลสองชั้นขึ้นไปซึ่งได้รับ อัยการสูงสุดยื่นฟ้อง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ในความผิดฐาน การรับรองและบัญญัติไว้ในกฎหมายระหว่าง ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ และความผิดต่อต�ำแหน่ง ประเทศ อีกทั้งการที่กฎหมายก�ำหนดให้อ�ำนาจ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 5

ในการฟ้องคดีอาจกระท�ำโดยอัยการสูงสุดหรือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 1. ท�ำให้ทราบถึงหลักการด�ำเนินคดี แห่งชาติยังคงมีปัญหาว่าขัดต่อหลักการด�ำเนิน อาญาและระบบด�ำเนินคดีอาญา คดีอาญาโดยรัฐที่พนักงานอัยการแต่องค์กรเดียว 2. ท�ำให้ทราบแนวคิด วัตถุประสงค์ เท่านั้นที่คงไว้ซึ่งอ�ำนาจการฟ้องร้องคดี และ และหลักเกณฑ์ของการด�ำเนินคดีอาญาของ ประการสุดท้าย การก�ำหนดเพิ่มบทบัญญัติให้มี ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองทั้งของประเทศไทย พนักงานคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง และต่างประเทศ การเมืองโดยคัดเลือกจากนิติกรของศาลฎีกา 3. ท�ำให้ทราบถึงรูปแบบความเหมาะสม โดยจัดอบรมพิเศษเฉกเช่นเดียวกับหลักสูตร ของการบริหารจัดการคดีมาใช้ในคดีอาญาของ พนักงานคดีปกครองของศาลปกครอง หรือ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พนักงานคดีของคณะกรรมการการเลือกตั้ง 4. ท�ำให้ทราบถึงมาตรการทางกฎหมาย เพื่อช่วยเหลือผู้พิพากษาศาลฎีกาและองค์คณะ คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ในการพิจารณาส�ำนวนคดี ย่อมเป็นแนวทางแก้ไข ที่เหมาะสมกับประเทศไทย คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองได้ อีกทางหนึ่ง ทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายหรือต้นทุน ขอบเขตของการวิจัย ในกระบวนการยุติธรรมอันก่อเกิดให้ระบบ ในงานวิจัยฉบับนี้จ�ำกัดขอบเขต กระบวนพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง การศึกษาเอาไว้ที่ หลักการด�ำเนินคดีอาญา ทางการเมืองเกิดประสิทธิภาพ และระบบการด�ำเนินคดีอาญา แนวคิดและ วัตถุประสงค์ของการด�ำเนินคดีอาญาของผู้ด�ำรง วัตถุประสงค์ของการวิจัย ต�ำแหน่งทางการเมือง การฟ้องร้องด�ำเนินคดี 1. เพื่อศึกษาหลักการด�ำเนินคดีอาญา ของอัยการสูงสุด สิทธิการอุทธรณ์ค�ำพิพากษา และระบบด�ำเนินคดีอาญา และ การก�ำหนดมาตรการช่วยเหลือผู้พิพากษา 2. เพื่อศึกษาแนวคิด วัตถุประสงค์ และ ศาลฎีกาโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative หลักเกณฑ์ของการด�ำเนินคดีอาญาของผู้ด�ำรง Research) และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ต�ำแหน่งทางการเมืองทั้งของประเทศไทยและ (In-depth Interview) ประกอบกับการสนทนากลุ่ม ต่างประเทศ (Focus Group) กับ ผู้พิพากษา พนักงานอัยการ 3. เพื่อศึกษาวิเคราะห์รูปแบบความ ทนายความ นักวิชาการ เจ้าพนักงานที่ปฏิบัติงาน เหมาะสมของการบริหารจัดการคดีมาใช้ใน ด้านกระบวนการยุติธรรมในองค์กรอิสระ และ คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ประชาชนทั่วไปว่ามีความคิดเห็นอย่างไร เพื่อจัก 4. เพื่อเสนอมาตรการทางกฎหมาย น�ำมาวิเคราะห์และเสนอรูปแบบที่เหมาะสมและ คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองที่ มีประสิทธิภาพในการด�ำเนินคดีอาญาของผู้ด�ำรง เหมาะสมกับประเทศไทย ต�ำแหน่งทางการเมืองในประเทศไทย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 6

สมมติฐาน ด�ำเนินคดีอาญาโดยรัฐ การให้คู่ความมีสิทธิได้รับ กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของ การทบทวนค�ำพิพากษาจากศาลที่สูงขึ้น และ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองได้ด�ำเนินการมาเป็น การก�ำหนดเพิ่มบทบัญญัติให้มีพนักงานคดี เวลานาน แต่ปริมาณคดีที่ขึ้นสู่การพิจารณาคดี อาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองเพื่อท�ำให้ ของศาลฎีกา กลับมีจ�ำนวนเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ การบริหารจัดการคดีอาญานักการเมืองเป็นไป ดังนี้จึงมีความจ�ำเป็นอยู่เองที่กระบวนการ ด้วยความมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ยุติธรรมต้องหามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง กรอบแนวคิดของการวิจัย ทางการเมืองอาทิ การน�ำหลักการค้นหาความจริง บทความวิจัยเรื่อง “มาตรการทาง ในระบบไต่สวนที่สมบูรณ์มาใช้ในการพิจารณาคดี กฎหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพในคดีอาญา การก�ำหนดให้อัยการสูงสุดเพียงองค์กรเดียว ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง” มีกรอบแนว ในการมีอ�ำนาจฟ้องร้องด�ำเนินคดีตามหลักการ ความคิดของการวิจัย ดังนี้

อ�ำนาจ สิทธิการ ฟ้องคดี อุทธรณ์ มาตรการ ระบบ ช่วยเหลือ ไต่สวน ตุลาการ 2. คุ้มครองสิทธิของคู่ความ และการช่วยเหลือในการ พิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรง ต�ำแหน่งทางการเมือง 3. รัฐธรรมนูญ ฯ พรป. พรบ. 1. รูปแบบการด�ำเนิน และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง การด�ำเนินคดีอาญาของผู้ด�ำรง ทางการเมือง ต�ำแหน่งทางการเมือง

มาตรการทางกฎหมายในการ เพิ่มประสิทธิภาพในคดีอาญา ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง

5. การแก้ไขเพิ่มเติม 4. ระบบการด�ำเนินคดีอาญา กฎหมายการด�ำเนินคดีอาญา ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ทางการเมือง ทางการเมือง ของต่างประเทศ

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 7

ระเบียบวิธีวิจัย รวมสี่กลุ่มเป็นแปดคน เพื่อระดมความคิดเห็น การด�ำเนินการวิจัยจะใช้การวิจัยเชิง เกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายในคดีอาญา คุณภาพ โดยเป็นการวิจัยเอกสาร (Document นักการเมืองที่มีความเหมาะสมส�ำหรับประเทศไทย research) เพื่อเป็นการทบทวนวรรณกรรม อาทิ ในประเด็นความเหมาะสมถึงหลักการ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีกฎหมาย เพื่อให้ทราบถึง ด�ำเนินคดีอาญาในระบบไต่สวน การฟ้องร้อง มาตรการทางกฎหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพ ด�ำเนินคดีของอัยการสูงสุด การอุทธรณ์ใน ในการบริหารจัดการคดีอาญานักการเมือง คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง โดยในการศึกษาครั้งนี้จะศึกษาค้นคว้าทั้งใน และการก�ำหนดมาตรการช่วยเหลือผู้พิพากษา เอกสารที่เป็นข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ศาลฎีกาในการพิจารณาพิพากษาคดี และทุติยภูมิ (Secondary data) ทั้งในและ ต่างประเทศ อาทิ ไม่ว่าจะเป็นผลงานวิจัย หนังสือ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ต�ำรา บทความ วารสาร รายงานการศึกษา ข้อมูล ในงานวิจัยฉบับนี้ผู้วิจัยได้สรุปผลการ สถิติ วิทยานิพนธ์ ค�ำพิพากษาของศาล ความเห็น วิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ดังนี้ ของนักวิชาการ เอกสารอื่น ๆ จากแหล่งต่าง ๆ สรุปผลการวิจัย เช่น หอสมุดกลางมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ห้องสมุด การด�ำเนินคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง สถาบันพระปกเกล้า ส�ำนักงานคณะกรรมการ ทางการเมืองในอดีต เป็นไปด้วยความยากยิ่ง กฤษฎีกา ส�ำนักงานศาลยุติธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ เพราะโดยทั่วไปแล้วในกระบวนการยุติธรรมทาง และค้นคว้าจากสื่อออนไลน์ (Internet) อาญาจะแบ่งกระบวนการสอบสวนฟ้องร้อง และ นอกจากนี้มีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก กระบวนพิจารณาพิพากษา แต่ในชั้นของการ (In-depth Interview) โดยผู้ที่เกี่ยวข้องหรือ สอบสวนฟ้องร้องซึ่งเป็นต้นธารในกระบวนการ มีความรู้ความเชี่ยวชาญกับกระบวนการด�ำเนิน ด�ำเนินคดีนั้นกลับเป็นอ�ำนาจหน้าที่ของพนักงาน กระบวนการยุติธรรมด้านคดีอาญาของผู้ด�ำรง สอบสวนในการสอบสวนเพียงฝ่ายเดียว จริงอยู่ ต�ำแหน่งทางการเมืองจ�ำนวนสี่คน เพื่อทราบถึง แม้คดีเมื่อท�ำการสอบแล้วเสร็จจะต้องส่งส�ำนวน ปัญหาและการเพิ่มประสิทธิภาพในการด�ำเนิน ให้พนักงานอัยการในการฟ้องร้องด�ำเนินคดีต่อศาล คดีอาญานักการเมืองและหลักการด�ำเนินคดี แต่พนักงานอัยการหากเห็นว่าส�ำนวนของ อาญานักการเมืองและมีการสนทนากลุ่ม (Focus พนักงานสอบสวนไม่สมบูรณ์ก็มีอ�ำนาจเพียง group)ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและพื้นที่ สั่งให้พนักงานสอบสวนสอบเพิ่มเติมในบาง ปริมณฑลที่ผู้วิจัยเจาะจงเลือกมาจากพนักงาน ประเด็นที่ยังสงสัยหรือพยานหลักฐานยังไม่ อัยการหรือผู้พิพากษา ทนายความหรือ ที่ปรึกษา หนักแน่นเพียงพอจะท�ำให้ศาลเชื่อว่านักการเมือง กฎหมายทางด้านการเมือง นักวิชาการด้าน ผู้นั้นกระท�ำผิดจริงตามข้อกล่าวหาซึ่งพนักงาน กฎหมาย และประชาชนทั่วไป กลุ่มละสองคน สอบสวนเองก็อยู่ภายใต้อ�ำนาจบังคับบัญชาของ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 8

ผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติซึ่งถูกนายกรัฐมนตรี อภิปรายผลการวิจัย อันเป็นข้าราชการฝ่ายการเมืองควบคุมดูแล การอภิปรายผลของการวิจัยในครั้งนี้ อย่างใกล้ชิด เป็นการน�ำผลการวิจัยที่ค้นพบทั้งปัญหาข้อเท็จจริง ดังนั้นหากมีการกระท�ำผิดอาญาเกิดขึ้น และปัญหาข้อกฎหมายของรูปแบบการด�ำเนิน ไม่ว่าจะเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ในกรณีต่าง ๆ คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง นักการเมืองก็มักจะไหวตัวทันและมีการใช้ ตลอดจนแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ อ�ำนาจเข้าไปแทรกแซงการท�ำหน้าที่ของพนักงาน 1. ปัญหาในการน�ำระบบไต่สวนมาใช้ สอบสวน ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนของการสืบเสาะ ในวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง แสวงหาพยานหลักฐานทั้งพยานเอกสาร ทางการเมือง พยานบุคคล และพยานวัตถุ มีหลายกรณีที่มีการ แนวคิดของการมีหลักการด�ำเนินคดี ข่มขู่พยานไม่ให้มาให้การในชั้นสอบสวนหรือ อาญาในระบบไต่สวนของกระบวนการยุติธรรม การพิจารณาของศาล การใช้อ�ำนาจของฝ่าย ทางอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง การเมืองในการแต่งตั้งโยกย้ายพนักงานสอบสวน มีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่พระราชบัญญัติ ที่ท�ำหน้าที่ในการสอบสวนคดีอาญาที่เกี่ยวข้องกับ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา นักการเมือง ท�ำให้การด�ำเนินคดีอาญานักการเมือง ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542 ในอดีตไม่สามารถน�ำตัวผู้กระท�ำผิดมาลงโทษได้ กระทั่งมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย อย่างมีประสิทธิภาพ พนักงานสอบสวนขาดความ พุทธศักราช 2560 และให้มีพระราชบัญญัติ กล้าหาญในการด�ำเนินคดีเนื่องจากเกรงทั้งตัวเอง ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา ครอบครัวตลอดจนเครือญาติใกล้ชิด จะได้รับ ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองพุทธศักราช อันตรายแก่ชีวิตและร่างกาย อีกทั้งองค์กรอัยการ 2560 มาใช้บังคับแทน ระบบไต่สวนก็ยังคงถูก ก็เพิ่งจะเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เมื่อปี บัญญัติไว้ในกฎหมายฉบับใหม่ โดยก�ำหนดให้ พุทธศักราช 2550 เป็นต้นมา กระทั่งมีการบัญญัติ ศาลพิจารณาคดีให้ใช้ระบบไต่สวน อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธี ในทางปฏิบัติ ศาลยังคงท�ำตัววางเฉย (passive) พิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการ ไม่กระตือรือร้น(active) มีความเคร่งครัดในวิธี เมือง พ.ศ. 2542 จวบจนมีการยกเลิกและให้มี พิจารณาความเฉกเช่นเดียวกับการด�ำเนินคดี พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธี อาญาในศาลยุติธรรมโดยทั่วไป เช่น ระบบการ พิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง ถามค้าน ถามติง สาเหตุที่ศาลฎีกาไม่อาจใช้ การเมืองพุทธศักราช 2560 มาใช้บังคับแทนก็ยัง ความกระตือรือร้นได้มาก ก็เนื่องมาจาก พยาน คงมีประเด็นปัญหาอันสืบเนื่องมาจากการด�ำเนิน หลักฐานของคู่ความที่น�ำเสนอขึ้นสู่ศาลในการ คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ด�ำเนินคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง อันท�ำให้การด�ำเนินคดีไม่อาจเกิดประสิทธิภาพ มีมากมายมหาศาลประกอบกับมีความสลับ สูงสุดได้ ซับซ้อน เอกสารที่ส่งมาให้ศาลนั้นเริ่มตั้งแต่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 9

การตั้งรูปเรื่องโดยมีการตั้งคณะกรรมการชุดต่าง ๆ การเมืองจึงเกิดขึ้นได้ยาก แม้ตามพระราชบัญญัติ กว่าจะถึงกระบวนการสอบสวนกันจริง ๆ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา ซึ่งจ�ำนวนเอกสารในตั้งคณะกรรมการชุดต่าง ๆ นั้น ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พุทธศักราช ก็มีมากกว่า 30 แผ่น (ChinaNavin, 2018) 2560 และกฎหมายประกอบที่เกี่ยวข้อง จะก�ำหนด ในขณะที่คดีทุจริตโครงการออกสลากพิเศษ รายละเอียดและวิธีการในการรับฟังพยานหลักฐาน แบบเลขท้าย 3 ตัว 2 ตัว ของส�ำนักงานสลาก ที่ไม่เคร่งครัด หรือแม้กระทั่งอาจมีการด�ำเนิน กินแบ่งรัฐบาล โดยจ�ำเลยถูกยื่นฟ้องในฐาน กระบวนพิจารณาที่ผิดพลาดบางประการก็ตาม กระท�ำความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าที่ราชการ และ ศาลก็สามารถซักพยานเองได้ตามสมควร จริงอยู่ ความผิดต่อพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิด แม้กฎหมายจะก�ำหนดให้ศาลซักพยานเอง แต่ใน ของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ทางปฏิบัติศาลมีลักษณะการค้นหาความจริง พุทธศักราช 2502 และความผิดตามประมวล มุ่งเน้นไปในทางหาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน กฎหมายอาญา แต่คู่ความในคดีซึ่งเป็นโจทก์ ที่จะเอาตัวผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองหรือจ�ำเลย ไม่ได้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบ มาลงโทษแทนที่จะมุ่งค้นหาความจริงแห่งคดี รัฐธรรมนูญว่าด้วยการด�ำเนินคดีอาญากับ ไม่ว่าความจริงหรือพยานหลักฐานนั้นจะเป็นคุณ นักการเมือง พุทธศักราช 2542 แต่เป็นคณะ หรือเป็นโทษแก่จ�ำเลยหรือไม่ก็ตาม กรรมการตรวจสอบการกระท�ำที่ก่อให้เกิดความ นอกจากนี้การที่กฎหมายก�ำหนดให้น�ำ เสียหายแก่รัฐ (ค.ต.ส.) ซึ่งเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้น ส�ำนวนการไต่สวนของคณะกรรมการป้องกันและ อันเกิดจากการยึดอ�ำนาจสมัย พลเอกสนธิ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมาใช้เป็นพยาน บุญยรัตกลิน เมื่อปี พุทธศักราช 2551 เป็นคดี หลักฐานในชั้นศาลได้ ท�ำให้ผู้พิพากษาเจ้าของ หมายเลขด�ำที่ อม. 1/2551 และคดีหมายเลขแดง ส�ำนวนและผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดี ที่ อม. 1/2552 พยานหลักฐานทั้งหมดประมาณ อาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองต่างเพิกเฉย 700 กว่าแฟ้ม ส�ำนวนทั้งหมดบรรทุกรถสิบแปดล้อ (passive) ไม่กระตือรือร้นที่จะค้นหาความจริง ยังไม่ถึงขั้นตอนสอบข้อเท็จจริง (Kwankua, 2018) โดยการซักถามให้สิ้นกระแสความ โดยทาง เมื่อเอกสารที่เกี่ยวข้องกับพยานหลักฐานมีจ�ำนวน ปฏิบัติผู้พิพากษาจะถามพอเป็นพิธีและจะให้ มากมายมหาศาลประกอบกับผู้พิพากษา พยานตอบรับรองว่าได้ให้การเป็นไปอย่าง ซึ่งจะท�ำหน้าที่ในการพิจารณาคดีได้ต้องเป็น ถูกต้องแล้วในเอกสารที่เคยให้ไว้กับคณะกรรมการ ผู้พิพากษาระดับศาลฎีกาหรือผู้พิพากษาอาวุโส ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ โดยมิได้ ซึ่งมีความแก่ชราและมีโรคประจ�ำตัวต่าง ๆ ท�ำให้ ซักถามพยานเพิ่มเติมในประเด็นที่อาจมีความ ประสิทธิภาพในการรับฟังพยานหลักฐานมีจ�ำกัด เคลือบแคลงสงสัยในพฤติกรรมและการตอบ จะเห็นได้ว่า ด้วยเหตุที่กล่าวมาแล้ว ค�ำถาม (Viewitsevee, 2001) แม้ตามพระราช ข้างต้น ความกระตือรือร้นในระบบไต่สวนคดีที่ บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณา สมบูรณ์ของคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 10

พุทธศักราช 2560 มาตรา 6 ให้อ�ำนาจศาล ในขณะที่ประเทศที่มีการด�ำเนินคดี ในการวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริง โดยรับฟังพยาน อาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองต่างก็ใช้ หลักฐานต่าง ๆ ได้ แม้กระทั่งว่าการไต่สวน ระบบไต่สวน อาทิ ประเทศประเทศฝรั่งเศส พยานหลักฐานนั้นจะมีข้อผิดพลาดคลาดเคลื่อน (Iammayura and others, 2013) นอกจากมี ไปจากขั้นตอน วิธีการ หรือกรอบเวลาที่กฎหมาย หลักการที่ศาลจะต้องกระตือรือร้นในการค้นหา ก�ำหนดไว้ ถ้าศาลได้ให้โอกาสแก่คู่ความในการ ความจริงในเนื้อหาแห่งคดีแล้ว ในประเทศ โต้แย้งคัดค้านพยานหลักฐานนั้นแล้ว เพื่อให้ได้ ฝรั่งเศสยังมีการเคารพต่อหลักการต่อสู้โต้แย้ง ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องตรงตามความจริงที่เกิดขึ้น ของคู่ความด้วย มิใช่ว่าเมื่อเป็นระบบไต่สวน ในคดีนั้น แต่การพิจารณาคดีที่ผ่านมาผู้พิพากษา ซึ่งผู้พิพากษาเป็นคนคอยควบคุมกติกาค้นหา ที่นั่งพิจารณาคดีต่างคิดว่าการด�ำเนินคดีเป็นเรื่อง ความจริงทุกประการแล้วจะสามารถลิดรอนสิทธิ ระหว่างคู่ความที่ต้องต่อสู้กันอย่างเสมอภาค ในหลักการต่อสู้โต้แย้งหาได้ไม่ เพราะหลักการ ด้วยพยานหลักฐาน และการพิจารณาพิพากษา ดังกล่าวเป็นหลักการพื้นฐานของกฎหมาย ของศาลจะชั่งน�้ำหนักพยานหลักฐานว่าของ วิธีพิจารณาความและน�ำไปใช้ในทุกขั้นตอน ฝ่ายใดมีความน่าเชื่อถือกว่า โดยหากมีความ ในกระบวนการพิจารณาด้วย โดยศาลต้องแจ้งให้ เคลือบแคลงสงสัยตามสมควรศาลก็สามารถ คู่ความทราบล่วงหน้าว่าจะแสวงหาข้อเท็จจริงใด ยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จ�ำเลยได้ ซึ่งหาก และเมื่อด�ำเนินมาตรการนั้นแล้วได้ผลประการใด เป็นการด�ำเนินคดีในระบบไต่สวนแล้ว ศาลไม่พึง ก็ต้องแจ้งให้คู่ความได้ทราบเพื่อเปิดโอกาสให้ ที่จะพิพากษายกฟ้องเพราะเหตุมีความสงสัย คู่ความได้ชี้แจงหรือโต้แย้งได้ อาทิ การเรียก ตามสมควร เพราะศาลนั้นมีเครื่องมือในการพิสูจน์ หรือน�ำสืบพยานบุคคล พยานวัตถุ พยานเอกสาร ให้คลายความสงสัยได้อยู่แล้วตามพระราชบัญญัติ หรือพยานผู้เชี่ยวชาญ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา 2. อ�ำนาจในการฟ้องคดีของอัยการ ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ศาลมิอาจ สูงสุดและคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม ท�ำหน้าที่เป็นเพียงกรรมการห้ามมวยบนเวที การทุจริตแห่งชาติในวิธีพิจารณาคดีอาญาของ แต่เจตนารมณ์กฎหมายต้องการที่จะให้ศาลนั้น ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง เป็นผู้ก�ำหนดบทบาทในการแสวงหาข้อเท็จจริง ผู้มีอ�ำนาจฟ้องคดีอาญาตามพระราช หรือการไต่สวนค้นหาข้อความจริงในทุกด้าน บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณา อย่างรอบคอบอันเป็นไปตามหลักการด�ำเนิน คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง คดีอาญาโดยรัฐ โดยคู่ความทั้งสองฝ่ายมีหน้าที่ พุทธศักราช 2560 มาตรา 23 ได้ก�ำหนดให้เป็น ในการให้ความร่วมมือต่อศาลในการค้นหา อ�ำนาจของอัยการสูงสุดและคณะกรรมการ ความจริง ไม่มีการยกฟ้องด้วยเหตุเทคนิคทาง ป.ป.ช. ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ กระบวนพิจารณาความดังเช่นคดีทั่วไป กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 11

และปราบปรามการทุจริตก�ำหนด ในขณะที่ ด�ำเนินคดีอาญาโดยรัฐและหลักการค้นหา ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย ความจริงในระบบไต่สวนของประเทศเหล่านั้น วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง มาปรับใช้ ได้แก่ ประเทศเยอรมัน และประเทศ การเมือง พุทธศักราช 2542 มาตรา 23 (1) ประกอบ ฝรั่งเศส โดยเฉพาะในประเทศฝรั่งเศสในอดีตถือว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช อัยการเป็นผู้แทนพระมหากษัตริย์ทรงอ�ำนาจแต่ 2550 มาตรา 275 วรรคหก และมาตรา 272 วรรคสี่ ผู้เดียวในการด�ำเนินคดีอาญาในฐานะตัวแทน ก�ำหนดให้องค์กรอัยการซึ่งได้แก่อัยการสูงสุด ของรัฐเพื่อการป้องกันสังคมและรักษาความสงบ เป็นหลักในการมีหน้าที่ฟ้องร้องคดีอาญาของ เรียบร้อยในบ้านเมือง โดยมีพนักงานสอบสวน ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองเพียงผู้เดียวโดยต้อง และผู้ด�ำรงต�ำแหน่งอื่นที่ท�ำหน้าที่คล้ายการ ยื่นฟ้องภายในเวลาสามสิบวันนับแต่วันที่ได้ สอบสวนของพนักงานสอบสวนเป็นเพียงผู้ช่วย รับเรื่อง อย่างไรก็ดีมีข้อยกเว้นหากอัยการสูงสุด พนักงานอัยการในการรวบรวมและแสวงหา เห็นว่าส�ำนวนคดีมีความไม่สมบูรณ์ด้วย พยานหลักฐานต่าง ๆ เพื่อน�ำมาพิสูจน์ความผิด ประการใด ก็ต้องแจ้งให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบ หรือบริสุทธิ์ของจ�ำเลย โดยทั้งพนักงานอัยการ และต้องตั้งคณะท�ำงานโดยมาจากตัวแทนของ ในฝรั่งเศสและเยอรมันต่างมีอ�ำนาจในการด�ำเนิน ทั้งสององค์กรอย่างละเท่า ๆ กันในการด�ำเนินการ คดีอาญาตามดุลยพินิจที่มิใช่เพียงหลักการด�ำเนิน รวบรวมพยานหลักฐานให้สมบูรณ์เพื่ออัยการ คดีอาญาตามกฎหมาย คือไม่มีความจ�ำเป็นต้องมี สูงสุดจะได้ด�ำเนินการฟ้องร้องในขั้นตอนต่อไป การฟ้องร้องด�ำเนินคดีทุกคดี หากแม้คดีที่พนักงาน เว้นแต่หากหาข้อยุติไม่ได้ภายในสิบสี่วันนับแต่ สอบสวนแสวงหาพยานหลักฐานต่าง ๆ ชี้มูลว่า ตั้งคณะท�ำงาน คณะกรรมการ ป.ป.ช. สามารถ ผู้ต้องหากระท�ำผิดจริง แต่พนักงานอัยการก็ ฟ้องร้องคดีได้เองหรือแต่งตั้งทนายความฟ้องคดี ทรงอ�ำนาจตามลักษณะขององค์กรที่ใช้อ�ำนาจ แทนก็ได้ ทั้งนี้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร กึ่งตุลาการในการพิจารณาสั่งไม่ฟ้องคดีนั้นได้ ไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 275 วรรคหก และ หากพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่เป็นประโยชน์ มาตรา 275 วรรคห้า ดังนี้ จึงเกิดประเด็นปัญหาว่า สาธารณะ และทั้งสองประเทศต่างบัญญัติ บทบัญญัติที่ให้องค์กรป.ป.ช. ฟ้องร้องคดีได้เอง กฎหมายในท�ำนองที่การสอบสวนฟ้องร้องเป็น ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย กระบวนการเดียวกัน โดยถือว่าพนักงานสอบสวน วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง เป็นผู้ช่วยพนักงานอัยการในการด�ำเนินคดีและ การเมือง พุทธศักราช 2560 นี้ ถือว่าขัดกับหลักการ ให้ความยุติธรรมควบคู่กันไป ซึ่งหากมองใน ด�ำเนินคดีอาญาโดยรัฐ ที่พนักงานอัยการทรงไว้ บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ซึ่งอ�ำนาจกึ่งตุลาการในการสั่งคดีเพื่อฟ้องร้อง ความอาญาก็มีพัฒนาการยอมรับและเคารพ หรือสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาอย่างไรหรือไม่ หลักการดังกล่าวเรื่อย ๆ แม้ในอดีตจะท�ำให้ ในอดีตถึงปัจจุบัน ประเทศไทยและ เห็นภาพไปว่าการสอบสวนและการฟ้องร้องมีการ ประเทศในสหภาพยุโรปซึ่งไทยได้น�ำหลักการ แยกกระบวนการกัน ไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 12

โดยตามวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 140 - 142 จะก�ำหนดคดีเข้าร่วมการสอบสวนในคดีที่มี อาจมองได้ในลักษณะเช่นนั้นเพราะอัยการไม่มี อัตราโทษอย่างต�่ำให้จ�ำคุกตั้งแต่สิบปีขึ้นไป แต่ใน อ�ำนาจเข้าไปสอบสวนได้เลย มีเพียงอ�ำนาจในการ อนุมาตราอื่น ๆ นั้น ก็ไม่ตัดอ�ำนาจการเข้าร่วมการ ตรวจส�ำนวนที่พนักงานสอบสวนส่งมาแล้วพบว่า สอบสวนแม้จะเป็นกรณีหากเป็นคดีที่มีอัตราโทษ อาจมีความไม่สมบูรณ์ของการสอบสวนอยู่พอ อาญาอื่นใดที่ไม่ใช่คดีที่มีอัตราโทษอย่างต�่ำ ที่จะสั่งฟ้องหรือสั่งไม่ฟ้องคดี โดยหากเห็นว่า ให้จ�ำคุกตั้งแต่สิบปี และท้ายที่สุดพนักงานอัยการ ไม่สมบูรณ์ก็มีอ�ำนาจเพียงสั่งให้พนักงานสอบสวน จะทรงไว้ซึ่งอ�ำนาจการฟ้องร้องคดีอย่างเด็ดขาด ไปด�ำเนินการสอบในประเด็นที่พนักงานอัยการ แต่เพียงองค์กรเดียว โดยพนักงานสอบสวนเป็น เห็นว่ายังมีช่องโหว่หรือไม่ครบถ้วนกระบวนความ ผู้ช่วยพนักงานอัยการในการสอบสอนนั่นเอง แต่นับแต่ปัจจุบันตั้งแต่มีการแก้ไขให้พนักงาน จึงเห็นได้ว่า รัฐเคารพไว้ซึ่งอ�ำนาจของพนักงาน อัยการเข้าร่วมกันสอบสวนในคดีที่มีความ อัยการในการเป็นผู้น�ำหรือทรงไว้ซึ่งอ�ำนาจในการ สลับซับซ้อนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น เข้าร่วมการ สอบสวนฟ้องร้องของไทยให้เกิดหลักการสอบสวน สอบปากค�ำหรือสอบสวนในคดีที่ผู้ต้องหานั้น ฟ้องร้องเป็นกระบวนการเดียวกันเฉกเช่นนานา เป็นเด็กซึ่งอายุไม่เกินสิบแปดปีในวันที่พนักงาน อารายประเทศที่เห็นว่ากระบวนการดังกล่าว สอบสวนได้แจ้งข้อหาแก่เด็กตามประมวล ไม่ควรแยกออกจากกันอันอาจท�ำให้ขั้นตอน กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 134/2 อันเป็นต้นธารในกระบวนการยุติธรรมขาดความ ประกอบ มาตรา 133 ทวิ หรือการสอบปากค�ำ สมบูรณ์อันน�ำมาซึ่งความเสียหายแก่ผู้เสียหาย ผู้เสียหายหรือพยานที่เป็นเด็กก็ล้วนแล้วแต่ต้อง และกระบวนการยุติธรรมทางอาญาทั้งระบบ มีพนักงานอัยการเข้าร่วมกันสอบสวนทั้งสิ้นตาม ดังนี้ คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง มาตรา 133 ทวิ หรือกรณีที่พนักงานอัยการเข้าร่วม การเมืองนั้นก็ถือว่าเป็นคดีอาญาประเภทหนึ่ง เป็นคณะสอบสวนคดีพิเศษตาม พระราชบัญญัติ ที่อ�ำนาจการสอบสวนหรือไต่สวนนั้นแทนที่จะ การสอบสวนคดีพิเศษ พุทธศักราช 2547 หรือ เป็นอ�ำนาจของพนักงานสอบสวนแต่กลายเป็น แม้กระทั่งร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล อ�ำนาจของคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2562 การทุจริตแห่งชาติ หรือ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็มีการบัญญัติให้พนักงานอัยการเข้าร่วมการ ซึ่งอ�ำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. นั้น สอบสวนในคดีที่มีอัตราโทษอย่างต�่ำให้จ�ำคุก ก็เฉกเช่นเดียวกับพนักงานสอบสวนในประมวล ตั้งแต่สิบปีขึ้นไป หรือโทษสถานที่หนักกว่านั้น กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กล่าวคือ คดีที่ผู้มีส่วนได้เสียในคดีร้องขอให้พนักงาน ตามระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบ อัยการเข้าร่วมท�ำการสอบสวน คดีที่พนักงาน ปรามการทุจริตแห่งชาติว่าด้วยการตรวจสอบ สอบสวนเห็นว่าควรได้รับค�ำปรึกษาแนะน�ำจาก ทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าพนักงานของรัฐ พนักงานอัยการ หรือ คดีอื่นตามที่ก�ำหนดไว้ใน และการด�ำเนินคดีที่เกี่ยวข้องกับการยื่นบัญชี กฎกระทรวง ซึ่งเห็นได้ว่าแม้ร่างกฎหมายดังกล่าว พุทธศักราช 2561ซึ่งอาศัยอ�ำนาจตามพระราช วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 13

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณา คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่เป็นเพียงสถานะพนักงาน คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. สอบสวนประเภทหนึ่ง แทนที่จะเป็นอ�ำนาจของ 2560 อาทิ ข้อ 29 อ�ำนาจในการด�ำเนินการ พนักงานอัยการซึ่งเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ที่มีอ�ำนาจในการสอบสวนฟ้องร้องในคดีอาญา ทางการเมือง ข้อ 33 อ�ำนาจการพิจารณาผลการ โดยตรงแต่เพียงองค์กรเดียว แต่กฎหมายกลับ ตรวจสอบของอนุกรรมการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ก�ำหนดให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ฟ้องคดีได้ด้วย ในแต่ละคดีว่าบัญชีและการรายงานบัญชีทรัพย์สิน โดยไม่จ�ำเป็น ถือได้ว่าเป็นการละเมิดต่อแนวคิด และหนี้สินผิดมีความปกติหรือไม่ อีกทั้งในหมวด 3 ในการด�ำเนินคดีอาญาโดยรัฐซึ่งเป็นผู้รักษา ที่ว่าด้วยเรื่องอ�ำนาจการแจ้งข้อกล่าวหา การชี้แจง ความสงบเรียบร้อยที่ให้อ�ำนาจพนักงานอัยการ แก้ข้อกล่าวหา และการด�ำเนินคดีที่เกี่ยวข้องกับ ในการรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง การยื่นบัญชีของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เช่น ข้อ 36 และขัดกับหลักการด�ำเนินคดีอาญาโดยดุลยพินิจ กรณีมีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะสนับสนุน ของพนักงานอัยการเนื่องจากหากอัยการสูงสุด ข้อกล่าวหาว่าผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สิน และ ไม่เห็นพ้องด้วยกรณีเห็นว่าพยานหลักฐานยังไม่ หนี้สินผู้ใดจงใจไม่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน สมบูรณ์ซึ่งต้องตั้งคณะท�ำงาน โดยคณะท�ำงาน หรือจงใจยื่นบัญชีทรัพย์สินหรือหนี้สินด้วย มีอ�ำนาจหน้าที่พิจารณาพยานหลักฐานที่ไม่ ข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควร สมบูรณ์ และรวบรวมพยานหลักฐานให้สมบูรณ์ แจ้งให้ทราบ และมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่า แล้วส่งให้อัยการสูงสุดเพื่อฟ้องคดีต่อไป เว้นแต่ มีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สินนั้น หากไม่อาจหาข้อยุติเกี่ยวการฟ้องคดีได้ก็ไม่ตัด ให้ผู้ตรวจสอบทรัพย์สินซึ่งเป็นเจ้าพนักงานของ อ�ำนาจของคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม คณะกรรมการ ป.ป.ช. แจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้นั้นทราบ การทุจริตแห่งชาติที่จะด�ำเนินการฟ้องร้องด�ำเนิน โดยพิเคราะห์ชั่งน�้ำหนักพยานหลักฐานว่าผู้ถูก คดีเองหรือจะจ้างทนายความเอกชนมาว่าความ กล่าวหาได้กระท�ำการอันเป็นมูลความผิดตาม ต่างรัฐก็ได้ ข้อกล่าวหาหรือไม่ อย่างไร เพื่อเสนอคณะกรรมการ 3. สิทธิในการอุทธรณ์หรือโต้แย้ง ป.ป.ช. พิจารณาส�ำนวนคดีด�ำเนินการตามพระราช คัดค้านค�ำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญา บัญญัติวิธีพิจารณาความอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ทางการเมือง พ.ศ. 2560 ในการลงมติชี้มูลความผิด ในอดีต ตามรัฐธรรมนูญแห่งราช ให้เข้าสู่กระบวนการฟ้องร้องคดีต่อศาลต่อไป อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 278 ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า การที่พระราชบัญญัติ วรรคสองบัญญัติว่า ค�ำพิพากษาของศาลฎีกา ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา แผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 ถือเป็นที่สุด เว้นแต่เป็นกรณีตามมาตรา 276 ก�ำหนดให้ ผู้มีสิทธิฟ้องคดีให้รวมถึงคณะกรรมการ วรรคสาม คือมีพยานหลักฐานใหม่ซึ่งอาจท�ำให้ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือ ข้อเท็จจริงเปลี่ยนแปลงไปในสาระส�ำคัญ โดยที่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 14

ผ่านมายังไม่เคยมีกรณีใดที่ศาลฎีกาแผนกคดี ของศาลนั้น สามารถใช้สิทธิในฐานะที่ตนเอง อาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า มีส่วนเกี่ยวข้องหรือส่วนได้เสียกับคดีโดยตรง ผู้ยื่นค�ำร้องมีพยานหลักฐานใหม่ซึ่งอาจท�ำให้ โดยการอุทธรณ์คัดค้านค�ำพิพากษาของศาลล่าง ข้อเท็จจริงเปลี่ยนแปลงไปในสาระส�ำคัญ ท�ำให้เกิด (voie de reformation) ซึ่งหลักการโต้แย้งดังกล่าว ข้อเคลือบแคลงขึ้นว่าการที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ มีปรากฏให้เห็นในทุก ๆ ระบบศาล ไม่ว่าจะเป็น เช่นนี้ เท่ากับว่าไม่เปิดโอกาสให้คู่ความได้ใช้สิทธิ ศาลปกครอง ศาลทหาร ศาลช�ำนาญพิเศษ โต้แย้งคัดค้านตามหลักการสากล ต่าง ๆ ที่อยู่ในขอบอ�ำนาจของศาลยุติธรรม ต่อมา เพื่อเป็นการเคารพสิทธิหลักการ อาทิ ศาลแรงงานกลาง ศาลภาษีอากร ศาล โต้แย้งคัดค้านของคู่ความ ตามพระราชบัญญัติ ทรัพย์สิน ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา ศาลล้มละลาย ศาลเยาวชนและครอบครัว ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 ศาลอาญา ศาลแพ่ง ฯลฯ เหล่านี้ แสดงให้เห็น มาตรา 68 จึงก�ำหนดให้ค�ำพิพากษาของศาลฎีกา ว่าระบบกฎหมายของไทยนั้นมีการเคารพถึง แผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง หลักการศาลสองชั้นเสมอมา เพราะคุณภาพของ ให้อุทธรณ์ต่อที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาได้ภายใน การพิจารณาพิพากษาคดีของผู้พิพากษาในศาล สามสิบวันนับแต่วันที่ศาลมีค�ำพิพากษา อย่างไร ชั้นต้นอันเป็นศาลเริ่มแรกสุดนั้น อาจเกิดปัญหา ก็ดีแม้จะก�ำหนดให้คู่ความมีสิทธิอุทธรณ์ได้แต่ และไม่อาจจะมีกระบวนการเยียวยาได้ทันท่วงที การอุทธรณ์ดังกล่าวนั้นมีความเหมาะสมและ ก่อนศาลมีค�ำพิพากษา สอดคล้องกับหลักการสากลหรือไม่เพียงใด นอกจากนี้ หลักการเรื่องการพิจารณาคดี ส�ำหรับการอุทธรณ์ค�ำพิพากษานั้น โดยศาลสองชั้นขึ้นไปนั้นได้รับการรับรองและ ถือได้ว่าเป็นกระบวนการหนึ่งที่คู่ความที่ไม่เห็นด้วย บัญญัติไว้ในกฎหมายระหว่างประเทศอย่างน้อย กับค�ำพิพากษาของศาลล่างนั้นได้มีโอกาสในการ สองประการ คือ ในเรื่องการรับรองสิทธิในการ พิจารณาทบทวนโดยศาลที่เหนือกว่า เนื่องจาก โต้แย้งค�ำพิพากษาในคดีอาญาของกติการะหว่าง อาจมีการผิดพลาดในการชั่งน�้ำหนักพยานหลักฐาน ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง หรือการรับฟังพยานหลักฐานต่าง ๆ ของศาลล่าง (International Covenant on Civil and Political ที่มีประสบการณ์ในการพิจารณาพิพากษาคดี Rights: ICCPR) ในมาตรา 14 วรรคห้าไว้ว่า น้อย การที่กฎหมายเปิดโอกาสให้มีการอุทธรณ์ “บุคคลผู้ถูกพิพากษาว่ามีความผิดทางอาญา ท�ำให้ค�ำพิพากษานั้นมีความเป็นเอกภาพและ มีสิทธิได้รับการตรวจสอบค�ำพิพากษาดังกล่าวได้ ท�ำให้หลักกฎหมายเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อีกครั้งโดยศาลที่มีล�ำดับชั้นสูงกว่าทั้งนี้ตามที่ จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า การที่ กฎหมายบัญญัติ” และอนุสัญญายุโรปว่าด้วย กระบวนการยุติธรรมไม่ว่าของไทยหรือสากล สิทธิมนุษยชน ในมาตรา 2 ของโปรโตคอล อาทิประเทศฝรั่งเศสต่างได้วางหลักการให้ผู้ที่ หมายเลข 7 ซึ่งบัญญัติว่า “บุคคลใดที่ถูกศาล ไม่เห็นด้วยกับค�ำพิพากษาหรือค�ำวินิจฉัยคดี พิพากษาว่ามีความผิดอาญาย่อมมีสิทธิได้รับ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 15

การตรวจสอบซึ่งค�ำพิพากษานั้นโดยศาลล�ำดับ จะเห็นได้ว่าการที่พระราชบัญญัติ ที่สูงกว่า การใช้สิทธิดังกล่าวตลอดจนมูลเหตุ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา ที่บุคคลสามารถใช้สิทธิดังกล่าวให้เป็นไปตามที่ ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 กฎหมายก�ำหนด” ก�ำหนดให้ค�ำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดี เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบโครงสร้างของ อาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองให้อุทธรณ์ ต่างประเทศและประเทศไทย พบว่าหลักการ ต่อที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาที่มิใช่ศาลที่อยู่ในชั้น ดังกล่าวมีความสอดคล้องกับหลักการด�ำเนินคดี ที่เหนือกว่านั้นจึงไม่ถือเป็นการอุทธรณ์อย่างแท้จริง ทั้งอดีตและในปัจจุบันของไทย องค์กรตุลาการ ที่เป็นหลักของการอุทธรณ์ของนานาอารยะประเทศ ทั้งในระบบศาลยุติธรรม ศาลปกครอง หรือ ที่ต้องได้รับการทบทวนค�ำพิพากษาโดยศาลที่อยู่ ศาลทหาร ต่างก็เคารพซึ่งหลักการพิจารณาคดี สูงกว่าศาลที่เคยมีค�ำพิพากษา โดยศาลสองชั้นเสมอมา แต่ยกเว้นในศาลฎีกา ดังนั้น ผู้วิจัยเห็นว่า เพื่อให้สิทธิโต้แย้ง แผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการ คัดค้านมีผลอย่างจริงจัง การอุทธรณ์ค�ำพิพากษา เมืองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง พุทธศักราช 2550 มาตรา 278 วรรคสอง บัญญัติ การเมืองนั้น คดีควรเริ่มต้นกระบวนพิจารณา ให้ค�ำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ ตั้งแต่ศาลอุทธรณ์ โดยมีองค์คณะที่ไม่จ�ำต้องมี ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองถือเป็นที่สุด เว้นแต่ มากถึงเก้าคน เนื่องจากว่าเป็นศาลแรกของการ มีพยานหลักฐานใหม่ซึ่งอาจท�ำให้ข้อเท็จจริง พิจารณาคดี แต่ควรมีจ�ำนวนห้าคน เนื่องจากเป็น เปลี่ยนแปลงไปในสาระส�ำคัญ ท�ำให้คู่ความที่ คดีอาญาที่มีความส�ำคัญ ประกอบกับมีเอกสาร แพ้คดีไม่สามารถใช้สิทธิอุทธรณ์ขอให้ศาลที่ พยานหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนิน สูงกว่าทบทวนค�ำวินิจฉัยได้อันเป็นการไม่เคารพ คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง หลักการคุ้มครองสิทธิของคู่ความที่สมควร มากมายมหาศาล และคดีมีความเกี่ยวพัน ได้รับการตรวจสอบค�ำพิพากษาในชั้นที่สูงกว่า กับคดีที่มีนักการเมืองไม่ว่าระดับท้องถิ่นและ ชั้นเดิมและเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย ระดับชาติ และเมื่อคู่ความฝ่ายใดไม่พอใจใน ระหว่างประเทศ และต่างประเทศในระดับสากล ค�ำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ก็สามารถอุทธรณ์ จึงได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมใน พระราชบัญญัติ ต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา ทางการเมืองโดยมีผู้พิพากษาในศาลฎีกาเก้าคน ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พุทธศักราช เป็นองค์คณะ 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้วันที่ 29 กันยายน 2560 4. มาตรการในการช่วยเหลือผู้พิพากษา ในมาตรา 60 บัญญัติให้สิทธิคู่ความสามารถ ที่ท�ำหน้าที่ในพิจารณาพิพากษาคดีอาญาของ อุทธรณ์ต่อที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาได้ภายใน ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง สามสิบวันนับแต่มีค�ำพิพากษา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 16

ในการพิจารณาของศาลแผนกคดีอาญา ประเด็นดังกล่าว สอดคล้องกับ ผู้ช่วย ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองจะมีเลือกตั้ง ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.ชนาธิป ชินะนาวิน องค์คณะเพื่อพิจารณาพิพากษาคดี โดยองค์คณะ โดยให้ทัศนะว่าการให้ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น ผู้พิพากษาที่นั่งท�ำการพิจารณาแต่ละคดีนั้น และศาลอุทธรณ์มาช่วยงาน ในขณะที่ศาลชั้นต้น จะมีผู้พิพากษาศาลฎีกาหนึ่งคนและมีผู้ช่วย และศาลอุทธรณ์ต่างมีปริมาณคดีคั่งค้างเป็น ผู้พิพากษาศาลฎีกาซึ่งคัดเลือกมาจากศาล อย่างมาก หากดึงอัตราก�ำลังมาช่วยท�ำคดีอาญา อุทธรณ์และศาลชั้นต้นมาประกบไม่น้อยกว่า ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง คดีในศาลชั้นต้น สองคน บางคดีส�ำคัญหรือมีเอกสารหรือประเด็น และศาลอุทธรณ์ย่อมขาดแคลนอัตราก�ำลัง เงื่อนแง่ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่ยุ่งยาก ประสิทธิภาพการพิจารณาพิพากษาย่อมลดลง สลับซับซ้อน อาจจะขออัตราก�ำลังจากผู้พิพากษา และเห็นด้วยกับผู้วิจัยว่าควรให้มีการจัดตั้ง ทั้งในระดับศาลอุทธรณ์และศาลชั้นต้นหลายคน ต�ำแหน่งที่เรียกว่า พนักงานคดีอาญาของผู้ด�ำรง มาช่วยงานคดีรวมถึงนิติกรในศาลฎีกา เพื่อช่วย ต�ำแหน่งทางการเมืองเป็นการเฉพาะเพื่อให้เป็น ในการบันทึกค�ำพยาน และสนับสนุนในการ ผู้ช่วยหรือคณะท�ำงานให้กับผู้พิพากษาในศาล พิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง ฎีกาในการร่วมบันทึกค�ำพยาน การไต่สวนคดี การเมือง รวมทั้งถึงขั้นช่วยเหลือผู้พิพากษา อีกทั้งท�ำให้นิติกรในศาลฎีกาที่ได้รับและผ่านการ เจ้าของส�ำนวนเขียนค�ำพิพากษา ฝึกอบรมในหลักสูตรพิเศษมีค่าตอบแทนพิเศษ อย่างไรก็ดี เมื่อพิเคราะห์ถึงจ�ำนวนคดี เพื่อให้เหมาะสมกับปริมาณงานและคุณภาพของ ที่คั่งค้างอยู่เป็นจ�ำนวนมากเมื่อเทียบกับจ�ำนวน งานที่อยู่ในความรับผิดชอบอย่างสูงยิ่ง ผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมทั่วประเทศที่มีจ�ำนวน ดังนั้น มาตรการคุ้มกันการท�ำหน้าที่ของ ประมาณสามพันคน ย่อมเป็นสาเหตุประการ ผู้พิพากษาหรือตุลาการในองค์กรศาลต่าง ๆ นั้น ส�ำคัญที่ท�ำให้การพิจารณาคดีเป็นไปด้วยความ ผู้วิจัยเห็นว่าควรเป็นลักษณะองค์กรเฉพาะที่ ล่าช้าอันส่งผลกระทบต่อกระบวนการยุติธรรม เข้ามาเพื่ออารักขาหรือคุ้มกันการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งระบบ ดังคติที่มักมีการกล่าวถึงบ่อยครั้งว่า ของผู้พิพากษา โดยไม่ใช่เป็นการแต่งตั้งจาก ความล่าช้า คือ ความไม่ยุติธรรม อีกสาเหตุ เจ้าหน้าที่ศาลหรือนิติกรของศาล เพราะบุคลากร ประการส�ำคัญคือ ผู้พิพากษาในศาลชั้นต้น เหล่านี้ยังขาดความเชี่ยวชาญในทางการใช้อาวุธ ไม่ว่าจะเป็น ศาลอาญาหรือศาลจังหวัด หากมี เพื่อปกป้องหรืออารักขาบุคคลอื่น ทั้งยังต้องมี ความรู้ความสามารถสูง มีความเชี่ยวชาญเป็น ความอดทนต่อสภาวะบีบคั้นทั้งร่างกายและ พิเศษ ผู้พิพากษาในศาลฎีกา มักขอตัวผู้พิพากษา จิตใจเป็นอย่างสูง แต่การจะน�ำเจ้าพนักงาน เหล่านั้นไปช่วยราชการที่ศาลฎีกา เพื่อไปช่วยงาน ต�ำรวจซึ่งสังกัดส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติมา การรับฟังค�ำพยาน รวมถึง การพิจารณาและช่วย อารักขาให้กับองค์กรตุลาการ โดยมีการจัดก�ำลัง เรียบเรียงค�ำพิพากษาในคดีในศาลฎีกาแผนกคดี เจ้าหน้าที่ต�ำรวจในเครื่องแบบจ�ำนวนหนึ่ง อาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองด้วย มาประจ�ำการดูแลความปลอดภัยของศาล ร่วมกับ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 17

เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของศาลเอง ก็อาจ ของคู่ความในการโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานต่าง ๆ มีปัญหาเรื่องงบประมาณและการขาดแคลน เพื่อให้ได้มาซึ่งความกระจ่างแจ้งในคดีอาญาของ ก�ำลังพลของหน่วยงานต้นสังกัดเดิม ดังนั้นจึงควร ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองในที่สุด มีหน่วยงานพิเศษที่จัดตั้งเป็นแผนกของศาล 2. ผู้วิจัยเห็นว่าควรแก้ไขเพิ่มเติม หรือจัดตั้งเป็นหน่วยงานอิสระขึ้นตรงต่อองค์กร บทบัญญัติ มาตรา 23 แห่ง พระราชบัญญัติ ตุลาการนั้น ๆ ที่เรียกว่า ต�ำรวจศาลหรือ court ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา marshal ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 ผู้วิจัยเห็นว่าการจัดตั้งองค์กรที่เรียกว่า ให้ผู้มีอ�ำนาจฟ้องคดี ได้แก่ พนักงานอัยการ ต�ำรวจศาลนั้น ย่อมจะท�ำให้การใช้ดุลพินิจในการ และในกรณีที่คณะท�ำงานไม่อาจหาข้อยุติเกี่ยวกับ พิจารณาพิพากษาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง การฟ้องคดีได้ภายในก�ำหนดเวลาสิบสี่วันนับแต่ ทางการเมืองไม่ว่าจะเป็นการสืบพยานบุคคล วันตั้งคณะท�ำงาน ให้อัยการสูงสุด มีอ�ำนาจ พยานเอกสาร พยานวัตถุ ตลอดถึงการชั่งน�้ำหนัก ยื่นฟ้องคดีเองแต่ต้องฟ้องภายในสิบสี่วับนับแต่ พยานของผู้พิพากษา มีความมั่นคงในระดับหนึ่ง วันครบก�ำหนด ว่าหากตนพิจารณาพิพากษาคดีแล้ว จะไม่ได้รับ 3. ผู้วิจัยเห็นว่าเพื่อให้สิทธิโต้แย้ง ผลกระทบต่อทั้งตนเอง ครอบครัว หรือกระทั่ง คัดค้านมีผลอย่างจริงจัง การอุทธรณ์ค�ำพิพากษา องค์กรศาลที่อยู่ในเขตอ�ำนาจ อันเป็นการสร้าง ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง มาตรการคุ้มกันและคุ้มครองการท�ำหน้าที่ของ การเมืองนั้น คดีควรเริ่มต้นกระบวนพิจารณา ตุลาการในการพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรง ตั้งแต่ศาลอุทธรณ์ โดยมีองค์คณะจ�ำนวนห้าคน ต�ำแหน่งทางการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่อคู่ความฝ่ายใดไม่พอใจในค�ำพิพากษา ของศาลอุทธรณ์ก็สามารถอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา ข้อเสนอแนะ แผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง 1. ผู้วิจัยเห็นว่าควรให้ศาลฎีกาจัดอบรม โดยมีผู้พิพากษาในศาลฎีกาเก้าคนเป็นองค์คณะ ภาคทฤษฎีและรวมถึงการฝึกภาคปฏิบัติให้กับ 4. ผู้วิจัยเห็นว่าควรแก้ไขเพิ่มเติม ผู้พิพากษาในศาลฎีกาโดยเฉพาะผู้พิพากษา พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย ที่จะท�ำหน้าที่เป็นองค์คณะในศาลฎีกาแผนก วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง คดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง การเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 6 วรรคสามและ ให้ตระหนักและมีความเชี่ยวชาญถึงหลักการ วรรคสี่ โดยก�ำหนดให้มีพนักงานแผนกคดีอาญา ค้นหาความจริงในระบบไต่สวน อันจะท�ำให้ ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองซึ่งแต่งตั้ง ผู้พิพากษาที่ผ่านการฝึกอบรมมีความเชี่ยวชาญ มาจากนิติกรในศาลฎีกาที่ผ่านการอบรมหลักสูตร ในการค้นหาความจริงในระบบไต่สวน อาทิ พนักงานแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง การสืบพยานหลักฐานต่าง ๆ การบันทึกถ้อยค�ำ ทางการเมือง อันเทียบเคียงคุณสมบัติและอ�ำนาจ การเขียนค�ำพิพากษา โดยยังคงมีการเคารพสิทธิ หน้าที่เฉกเช่นเดียวกับพนักงานคดีปกครอง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 18

ในศาลปกครอง นอกจากนี้ควรมีมาตรการ Marshall) โดยอาจจัดตั้งเป็นพระราชบัญญัติเฉพาะ ป้องกันการถูกประทุษร้ายจากการท�าหน้าที่ทั้งของ หรือแก้ไขเพิ่มเติมในพระราชบัญญัติจัดตั้งองค์กร ผู้พิพากษาและพนักงานคดีอาญาของผู้ด�ารง ศาลโดยเพิ่มหมวดว่าด้วยการให้มาตรการคุ้มกัน ต�าแหน่งทางเมือง ที่เรียกว่าต�ารวจศาล (Court การท�าหน้าที่ของผู้พิพากษาหรือตุลาการ

REFERENCES

ChinaNavin Chanathip. (2018). Judge of the Supreme Court. Interview, 20 November 2018. Iammayura Chanjira and others. (2013). Development of a political case management system in the judiciary. Bangkok: Rapeepattanasak Research Institute Office of the Judiciary. Kwankua Suchart. (2018). Legal Advisor, Office of The National Broadcasting and Telecommunications Commission (NBTC). Interview, 5 November 2018. Office of the Supreme Court. (2018). Statistics of cases that go up to the Supreme Court, criminal division for persons holding political positions. Bangkok: the Supreme Court. (in Thai) Supsang Prapan. (2005). The search for the truth of the Supreme Court’s criminal case department: the approach to the full inquiry system. Research report of the senior justice process management program, Class 8, College of Justice Office of the Judiciary. Bangkok: Justice Office of the Judiciary. (in Thai) Thairath Online News Agency. (2017). Imprisonment of Yingluck 5 years, rice pledge case issued by force bring the penalty. Retrieved October 19, 2017, from https://www. thairath.co.th/content/1082262 Viewitsevee Wichai. (2001). Criminal case, politician The method of consideration must be changed. Journal of the Court of Justice, 1 (4) Wankovit Thanan. (2014). Supreme Court, Criminal Division for Persons Holding Political Positions. Bangkok: Justice Office of the Judiciary. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 19

บทความวิจัย

มาตรการทางกฎหมายในการจ้างแรงงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน LEGAL MEASURES FOR HIRING ELDERLY WORKERS IN THE PRIVATE SECTOR พรเพ็ญ ไตรพงษ์1* กัลยา ตัณศิริ2 ภูมิ มูลศิลป์3 และ สมจิตร์ ทองศรี4 Pornpen Traiphong1*, Kanlaya Thanasiriprathan2, Poom Munsilp3 and Somchit Thongsri4

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1* คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย2 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย3 ศาลฎีกา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย4 Bachelor of Laws Program School of Law and Politics Suan Dusit University Bangkok, Thailand1* Faculty of Law Ramkhamhaeng university Bangkok, Thailand2 Bachelor of Laws Program Faculty of Social Sciences Srinakharinwirot University Bangkok, Thailand3 Supreme Court Bangkok, Thailand4

Email: [email protected]*

Received: 2019-07-06 Revised: 2019-17-07 Accepted: 2019-07-26

บทคัดย่อ การวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการ จ้างแรงงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน เปรียบเทียบกฎหมายเกี่ยวกับการจ้างแรงงานผู้สูงอายุในภาค เอกชนของประเทศไทยและต่างประเทศ และน�ำผลการศึกษาวิเคราะห์และแสวงหามาตรการทาง กฎหมายที่เหมาะสมในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้มีความสมบูรณ์และเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ ด�ำเนินการโดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพใช้เทคนิคผสมผสานระหว่างการวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์ เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม จากการวิจัยพบว่า ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 เป็นกฎหมายแม่บทในการคุ้มครองแรงงาน และยังมีพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ที่บัญญัติเกี่ยวกับผู้สูงอายุไว้ ถึงแม้ว่ากฎหมายจะระบุเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงาน แต่ยังไม่ระบุชัดเจน ถึงแรงงานผู้สูงอายุ เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายของญี่ปุ่นที่ก�ำหนดอายุเกษียณไว้ที่อายุ 60 ปี แต่มี วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 20

แนวโน้มขยายอายุมากกว่า 60 ปี แต่เยอรมนี ฝรั่งเศส เกาหลี อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย ก�ำหนดไว้อายุ 65 ปี ส่วนสิงคโปร์ก�ำหนดอายุ 67 ปี ในส่วนปัญหาการก�ำหนดอัตราส่วนการจ้างแรงงาน ผู้สูงอายุ พบว่า เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีการวางมาตรการทางกฎหมายในเรื่องการจ้างแรงงาน ผู้สูงอายุ แต่ส�ำหรับคนพิการมีมาตรการก�ำหนดไว้แล้ว จึงควรน�ำมาตรการดังกล่าวมาใช้ด้วย ส่วนแนวทางการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้มีความสมบูรณ์ ควรมีการแก้ไขเพิ่มเติมเรื่อง ประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพให้ผู้มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์และสิ้นสุดสภาพการเป็นลูกจ้าง มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรา 118 นอกจากนี้ แนวทางการ พัฒนากฎหมายในการจ้างแรงงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน ควรแก้ไขเพิ่มเติมการคุ้มครองแรงงาน โดยเพิ่มหมวดผู้สูงอายุขึ้นมา เพื่อคุ้มครองแรงงานผู้สูงอายุ

ค�ำส�ำคัญ : มาตรการทางกฎหมาย การจ้างแรงงานผู้สูงอายุ ภาคเอกชน

ABSTRACT This research aims to study the problems and legal measures in hiring elderly workers in the private sector. To comparison the employment law of elderly workers in the private sector of Thailand and other countries. To analyze and develop appropriate legal measures to improve the law to be complete and beneficial to the nation. This research is a qualitative research method. They are using a combination of research documents, interviews, and group discussions. Research indicates that Thailand has the Labor Protection Act BE 2541 as the master law for labor protection. Moreover, it still has the Elderly Act 2003, which stipulates about the elderly. Nevertheless, not yet clear to the elderly workers when compared with the Japanese law that determines the retirement age at the age of 60, but tends to extend over the age of 60 years. Germany, France, Korea, the United Kingdom, the United States of America and Australia law are extent elderly workers to 65 years old. The law does not enact a proportion of elderly workers, but for people with disabilities, there is already a course. The guidelines to improve the law to be effective should amendment the old-age benefit scheme for those who are 60 years old to comply with Section 118. Also, the guidelines for the development of the law in hiring elderly workers in the private sector should amend labor protection by adding the elderly category to protect elderly workers. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 21

Keywords: Legal measures, hiring elderly workers, the private sector

บทน�ำ โดยที่อัตราการเจริญเติบโตของจ�ำนวน มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงขึ้น โดยผลการส�ำรวจ ประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทยมีอัตราสูงขึ้น ประชากรสูงอายุในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557 อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากพัฒนาการด้านการ สะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทยก�ำลังเข้าสู่สังคม สาธารณสุขและวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะวิธีการ ผู้สูงอายุ (Ageing Society) โดยมีจ�ำนวนผู้ที่มี ป้องกันและรักษาโรค ท�ำให้มีอัตราการเสียชีวิต อายุ 60 ปีขึ้นไปประมาณ 10.015 ล้านคนหรือ ลดลงและท�ำให้ประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น ร้อยละ 14.9 ของประชากรทั้งประเทศ (National ข้อมูลจากการฉายภาพประชากรโดยส�ำนักงาน Statistical Office, 2014) และเพิ่มขึ้นเป็น คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ร้อยละ 15.07 ในปี พ.ศ. 2559 (Department ประมาณการจ�ำนวนประชากรผู้สูงอายุ พบว่า of Elderly Affairs, 2017) โดยอ้างอิงข้อมูลสถิติ ในปี พ.ศ. 2547 มีจ�ำนวน 6.5 ล้านคนคิดเป็น ทางการลงทะเบียน กรมการปกครอง ณ วันที่ ร้อยละ 10.1 ของประชากรทั้งหมด และอัตราส่วน 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามี ผู้สูงอายุสูงขึ้นถึงร้อยละ 11.3 ในปี พ.ศ. 2552 ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องในแต่ละปี (Office of the National Economic and เมื่อพิจารณาจ�ำนวนผู้สูงอายุในกลุ่มประเทศ Social Development Board, 2003) และมีการ สมาชิกอาเซียน ประเทศไทยและสิงคโปร์มีจ�ำนวน คาดการณ์ว่าจ�ำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอีกเป็น ผู้สูงอายุสูงที่สุดสองอันดับแรก มีการคาดการณ์ 10.7 ล้านคนหรือร้อยละ 15.28 ในปี พ.ศ. 2563 ว่าประเทศไทยและสิงคโปร์จะมีสัดส่วนประชากร ซึ่งจะเป็นสังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบในปีดังกล่าว ผู้สูงอายุเกินกว่าร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2583 อย่างไรก็ตาม สิทธิของผู้สูงอายุที่จะได้รับการ (Arunthip Paitoon, 2014) คุ้มครอง ส่งเสริม สนับสนุนในการประกอบอาชีพ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม ซึ่งนอกจากจะมีสิทธิ หลายฉบับจนถึงปัจจุบันได้ชี้ให้เห็นสภาพบริบท ที่จะได้ท�ำงานจนกว่าจะถึง 60 ปีบริบูรณ์ หรือ สังคมไทยหลายประการที่เกี่ยวข้องและกระทบ ในปัจจุบันบางอาชีพที่ไม่ต้องใช้ก�ำลังแรงงาน ต่อผู้สูงอายุ ได้แก่ ภาวะความเหลื่อมล�้ำและ หนักก็ขยายไปถึง 70 ปีหากมีสุขภาพดีพอ การกระจุกตัวทางเศรษฐกิจและการพัฒนา อย่างไรก็ดี การด�ำเนินการตามสิทธิดังกล่าว มีความจ�ำเป็นในการหารายได้และแข่งขันกัน ยังไม่ได้รับการปฏิบัติที่สอดคล้องกับกฎหมาย มากขึ้น ท�ำให้คนวัยท�ำงานต้องออกนอกพื้นที่ ตลอดจนยังไม่มีการคุ้มครองสวัสดิการและ ไปท�ำงานในเมืองหรือต่างถิ่น ในขณะเดียวกัน ความปลอดภัยในการท�ำงานของผู้สูงอายุที่ ผู้สูงอายุยังขาดหลักประกันรายได้ แม้ได้รับ เหมาะสมกับลักษณะของผู้สูงอายุเท่าที่ควร เบี้ยยังชีพจากภาครัฐก็ยังไม่เพียงพอในการด�ำรง ซึ่งจ�ำนวนประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย ชีวิตของผู้สูงอายุเป็นหลัก ในอนาคตการพึ่งพา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 22

รายได้จากบุตรจะยิ่งยากขึ้นเนื่องจากการที่ ปัญหากฎหมาย ปัญหาการก�ำหนดอายุในการ ผู้สูงอายุรุ่นต่อ ๆ ไปมีบุตรน้อยลง รวมทั้ง เกษียณอายุการจ้างแรงงานของเอกชน ปัญหา ลักษณะของสังคมอุตสาหกรรมและสังคมเมือง การก�ำหนดอัตราส่วนการจ้างแรงงานผู้สูงอายุ ไม่เอื้ออ�ำนวยให้ผู้สูงอายุเข้าสู่ตลาดแรงงาน ปัญหาการก�ำหนดอัตราค่าจ้างให้แก่แรงงาน หรือพึ่งพาการท�ำงานหาเลี้ยงชีพด้วยตนเอง ผู้สูงอายุ ปัญหาการก�ำหนดประเภทงานที่แรงงาน (Secretariat of the National Reform Council. ผู้สูงอายุสามารถท�ำได้ และปัญหาการคุ้มครอง The Commission on Social Reform in the การท�ำงานของแรงงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน Country, 2017) อย่างไรก็ตาม เมื่อประเทศไทย เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุปัญหาประการหนึ่งที่ไม่อาจ วัตถุประสงค์ของการวิจัย หลีกเลี่ยงได้คือปัญหาการขาดแคลนแรงงาน 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและมาตรการ ซึ่งการขยายการจ้างงานผู้สูงอายุจึงเป็นพลัง ทางกฎหมายเกี่ยวกับการจ้างแรงงานผู้สูงอายุ ช่วยขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่ส�ำคัญในอนาคต ในภาคเอกชน ดังนั้นจึงเกิดแนวคิดในการส่งเสริม คุ้มครอง 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกฎหมาย และขยายโอกาสในการท�ำงานของผู้สูงอายุขึ้น เกี่ยวกับการจ้างแรงงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน การส�ำรวจสภาวะการท�ำงานของประชากร ของประเทศไทยและต่างประเทศ ทั่วราชอาณาจักร โดยส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ 3. เพื่อน�ำผลการศึกษาวิเคราะห์และ ในช่วงเดือน มกราคม - มีนาคม พ.ศ. 2559 แสวงหามาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสม พบว่า มีแรงงานผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้มีความสมบูรณ์ มีสัดส่วนการจ้างงานร้อยละ 35.6 ซึ่งแสดงว่า และเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ แรงงานผู้สูงอายุยังสามารถเป็นก�ำลังแรงงานได้ โดยพิจารณาตามความสามารถและเหมาะสม ขอบเขตของการวิจัย (National Statistical Office, 2016) จากรายงาน งานวิจัยนี้ท�ำการศึกษาเฉพาะสภาพปัญหา ของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าสัดส่วน และมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการจ้าง ของประชากรสูงวัยที่ยังท�ำงานอยู่มีแนวโน้ม แรงงานผู้สูงอายุในภาคเอกชนของประเทศไทย เพิ่มขึ้น จากปี พ.ศ. 2543 ถึง พ.ศ. 2553 และ และต่างประเทศ โดยเน้นรัฐธรรมนูญแห่งราช จากรายงานการส�ำรวจภาวการณ์ท�ำงานของ อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประมวล ประชาการพบว่าในปี พ.ศ. 2557 มีผู้สูงอายุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติ ที่ยังท�ำงานอยู่จ�ำนวน 3.84 ล้านคน หรือคิดเป็น ผู้สูงอายุ พุทธศักราช 2546 พระราชบัญญัติ ร้อยละ 38.2 ของผู้สูงอายุทั้งหมด (National คุ้มครองแรงงาน พุทธศักราช 2541 พระราช Statistical Office, 2014) ซึ่งกล่าวได้ว่าผู้สูงอายุ บัญญัติประกันสังคม พุทธศักราช 2533 ยังมีศักยภาพและสุขภาพที่ยังสามารถท�ำงานได้ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต จึงเห็นสมควรท�ำการศึกษาและวิเคราะห์ประเด็น คนพิการ พุทธศักราช 2550 เพื่อน�ำผลการศึกษา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 23

วิเคราะห์และแสวงหามาตรการทางกฎหมาย ระเบียบวิธีวิจัย ที่เหมาะสมในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้มี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ความสมบูรณ์และเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แนวคิดการจ้างแรงงานผู้สูงอายุตามหลักสากล แบบสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (In-Depth Interview) ได้แก่ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เป็นการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured (The Universal Declaration of Human Interview) หรือการสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ Rights/ UDHR) กติการะหว่างประเทศ (Formal Interview) โดยท�ำการสัมภาษณ์ผู้ทรง ว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม คุณวุฒิด้านกฎหมายเพื่อให้ได้ข้อมูลแบบเชิงลึก (International Covenant on Economic, (Purposive Sampling) และหาข้อมูลเกี่ยวกับ Social and Cultural Rights-ICESCR) ปัญหาการจ้างแรงงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน แผนปฏิบัติการระหว่างประเทศเวียนนาว่าด้วย พร้อมแนวทางการจ้างแรงงานผู้สูงอายุในภาค เรื่องผู้สูงอายุ (The Vienna International เอกชน ซึ่งวิธีการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกจะเป็น Plan of Action on Ageing, 1982) หลักการ การรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ประชากร ส�ำหรับผู้สูงอายุขององค์การสหประชาชาติ ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ (Key Information Interview) (United Nations Principles for Older Persons, ลักษณะของการสัมภาษณ์เป็นค�ำถามและ 1991) แผนปฏิบัติการว่าด้วยผู้สูงอายุส�ำหรับ ข้อก�ำหนดแน่นอนตายตัวจะสัมภาษณ์ผู้ใดก็ใช้ เอเชียและแปซิฟิก (Macao Plan of Action on ค�ำถามแบบเดียวกัน ในส่วนของความตรงของ Ageing for Asia and Pacific) ปฏิญญาทาง เนื้อหา (Content Validity) ความชัดเจนของ การเมืองและแผนปฏิบัติการระหว่างประเทศ ส�ำนวนความครอบคลุมของเนื้อหา โดยใช้ค�ำถาม มาดริดว่าด้วยเรื่องผู้สูงอายุ (The Political แบบปลายเปิด Declaration and the Madrid International 2. ประเด็นในการสนทนากลุ่มได้น�ำ Plan of Action on Ageing, 2002) ปฏิญญา ผลสรุปจากการสัมภาษณ์เชิงลึกมาก�ำหนดเป็น กรุงกัวลาลัมเปอร์เรื่องอายุ: เพิ่มขีดความสามารถ ประเด็น ของผู้สูงอายุในอาเซียน (The Kuala Lumpur 2.1 ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมจาก Declaration on Ageing: Empowering older เอกสารแนวคิด ทฤษฎีและหลักกฎหมายข้อมูล Persons in ASEAN, 2015) อนุสัญญาองค์การ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กฎหมาย ระเบียบ ข้อ แรงงานระหว่างประเทศ (ILO) กฎหมายเกี่ยวกับ บังคับ หนังสือหรือต�ำราตามห้องสมุดในสถาบัน การจ้างแรงงานผู้สูงอายุของต่างประเทศ ได้แก่ การศึกษา วารสาร บทความ รายงานการวิจัย สิงคโปร์ เกาหลี ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา ดุษฎีนิพนธ์ เอกสารราชการ และเอกสารอื่น ๆ อังกฤษ ออสเตรเลีย และเยอรมนี ที่เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 24

2.2 การสัมภาษณ์เชิงลึก โดยแบ่ง ความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ทางสังคม และ ประชากรเป้าหมายเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ให้ ท�ำความเข้าใจกับความหลากหลายและความ ข้อมูลภาครัฐ ผู้ให้ข้อมูลภาคเอกชน นักวิชาการ แตกต่างของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาโดยตรวจสอบ และผู้ประกอบการวิชาชีพกฎหมาย รวมทั้งสิ้น สมมติฐานนั้นเป็นขั้น ๆ ไปจนมั่นใจว่าเป็นข้อค้นพบ 23 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive ที่สามารถลงเป็นข้อสรุปได้ Sampling) 3. หลังจากที่ได้สนทนากลุ่มจะได้ 2.3 การสนทนากลุ่ม ประกอบด้วย ท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์ค�ำพูด ทนายความ นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ด้านต่าง ๆ หรือถ้อยค�ำบรรยาย (Speech Analysis) เป็นการ ที่เกี่ยวข้อง และบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวม 8 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ข้อมูลที่ได้มาโดยท�ำเป็น โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive ข้อสรุปที่เหมือนกัน คล้ายกัน หรือแตกต่าง Sampling) ท�ำการเข้าร่วมสนทนากลุ่ม ออกจากกัน ในประเด็นที่ได้ท�ำการสนทนาและ เพื่อพิจารณาและตรวจสอบความถูกต้องของ น�ำผลที่ได้สรุปข้อมูลและจัดท�ำเป็นหลักเกณฑ์ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าเอกสาร และ และแนวทางการปฏิรูปกฎหมายการจ้างแรงงาน การสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้สูงอายุในภาคเอกชนของประเทศไทย การวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย เป็นการน�ำข้อมูลและบันทึก และน�ำผลการ สรุปผลการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลเอกสารและผลการศึกษา 1. ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ศึกษา กฎหมายที่เกี่ยวกับการจ้างแรงงานผู้สูงอายุ สภาพปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการ ในภาคเอกชนในต่างประเทศ และประเทศไทย จ้างแรงงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน จากการ มาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ความเหมือนและ ศึกษา พบว่า ส�ำหรับนิยามของผู้สูงอายุใน ความแตกต่าง ผลของความเหมือนและความ ประเทศไทยที่มีอยู่ในปัจจุบันนั้น กฎหมายแม่บท แตกต่าง รวมทั้งน�ำมาเป็นแนวทางในการแสวงหา ในการคุ้มครองแรงงาน คือ พระราชบัญญัติ มาตรการทางกฎหมายในการจ้างแรงงานผู้สูงอายุ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ยังไม่มีการก�ำหนด ในภาคเอกชนที่เหมาะสม โดยใช้เทคนิคการ นิยามไว้ แต่มีเพียงพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในการสร้าง พ.ศ. 2546 ที่ได้ก�ำหนดนิยามของผู้สูงอายุไว้ ฐานข้อมูลความรู้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพียงฉบับเดียว ซึ่งได้บัญญัติความหมายของ เปรียบเทียบ ผู้สูงอายุไว้ หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 60 ปี 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจาก บริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) 1.1 ปัญหาการก�ำหนดอายุในการ ทั้งหมดมาด�ำเนินการสู่กระบวนการของการ เกษียณอายุการจ้างแรงงานของภาคเอกชน วิเคราะห์ข้อมูล ท�ำการจัดหมวดหมู่ของข้อมูล จากการศึกษา พบว่า ในกรณีที่มิได้มีการตกลง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 25

หรือก�ำหนดการเกษียณอายุไว้ หรือมีการตกลง ผู้สูงอายุที่จะเพิ่มขึ้นทุกปี ท�ำให้ขาดแคลนแรงงาน หรือก�ำหนดการเกษียณอายุไว้เกินกว่า 60 ปี มาท�ำงานในภาคเอกชน ให้ลูกจ้างที่มีอายุครบ 60 ปีขึ้นไปมีสิทธิแสดง 1.3 ปัญหาการก�ำหนดค่าจ้างให้แก่ เจตนาเกษียณอายุได้โดยให้แสดงเจตนาต่อ แรงงานผู้สูงอายุ จากการศึกษา พบว่า เนื่องจาก นายจ้างและให้มีผลเมื่อครบสามสิบวันนับแต่วัน ในปัจจุบันการก�ำหนดอัตราค่าจ้างแรงงาน แสดงเจตนา และให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ ผู้สูงอายุยังไม่มีอัตราที่ชัดเจน ลูกจ้างที่เกษียณอายุนั้น โดยที่มีกฎหมายก�ำหนด 1.4 ปัญหาการก�ำหนดประเภทงาน เกี่ยวกับเรื่องของเกษียณอายุไว้ว่า การเกษียณ ที่แรงงานผู้สูงอายุสามารถท�ำได้ จากการศึกษา อายุตามที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันหรือ พบว่า กฎหมายคุ้มครองแรงงานในปัจจุบันยังไม่มี ตามที่นายจ้างก�ำหนดไว้ ให้ถือว่าเป็นการเลิกจ้าง การบัญญัติในเรื่องการจ้างแรงงานผู้สูงอายุไว้ แต่ประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพนั้นก�ำหนด มีเพียงบัญญัติถึงแรงงานเด็กและหญิงมีครรภ์ ให้ผู้มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์และสิ้นสุดสภาพ เท่านั้นที่ก�ำหนดประเภทงานที่ไม่สามารถท�ำได้ การเป็นลูกจ้างมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน 1.5 ปัญหาการคุ้มครองแรงงาน กรณีชราภาพในส่วนเงินบ�ำนาญชราภาพและเงิน ผู้สูงอายุ จากการศึกษา พบว่า เนื่องจาก บ�ำเหน็จชราภาพ ซึ่งเป็นการบัญญัติก�ำหนดอายุ ในปัจจุบันพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ของผู้มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ พ.ศ. 2541 ยังไม่มีการก�ำหนดในเรื่องการจ้าง จากกองทุนประกันสังคมเท่านั้น แต่ถ้าลูกจ้างที่มี แรงงานผู้สูงอายุ จึงยังไม่มีการคุ้มครองแรงงาน อายุ 55 ปี ยังคงท�ำงานอยู่ก็ยังถือเป็นผู้ประกันตน ผู้สูงอายุโดยเฉพาะไว้อย่างชัดเจน ที่ต้องส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคมแต่ไม่มี 2. ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อศึกษา สิทธิประโยชน์กรณีชราภาพจึงท�ำให้ส่วนใหญ่ เปรียบเทียบกฎหมายเกี่ยวกับการจ้างแรงงาน ภาคเอกชนจึงก�ำหนดอายุเกษียณไว้ที่อายุ 55 ปี ผู้สูงอายุในภาคเอกชนของประเทศไทยและ 1.2 ปัญหาการก�ำหนดอัตราส่วน ต่างประเทศ ได้แก่ หลักการส�ำหรับผู้สูงอายุ การจ้างแรงงานผู้สูงอายุ จากการศึกษา พบว่า ขององค์การสหประชาชาติ กฎหมายเกี่ยวกับ เนื่องจากในปัจจุบันกฎหมายคุ้มครองแรงงาน การจ้างแรงงานผู้สูงอายุของประเทศเยอรมนี ยังไม่มีการวางมาตรการทางกฎหมายในเรื่อง ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เกาหลี อังกฤษ สหรัฐอเมริกา การจ้างแรงงานผู้สูงอายุ แต่ส�ำหรับคนพิการ ออสเตรเลีย และสิงคโปร์ ผลการศึกษา พบว่า มีมาตรการก�ำหนดอัตราส่วนการจ้างแรงงาน 2.1 ปัญหาการก�ำหนดอายุในการ คนพิการให้นายจ้างและหน่วยงานของรัฐ เกษียณอายุการจ้างแรงงานของภาคเอกชน รับคนพิการเข้าท�ำงานตามลักษณะของงาน จากการศึกษา พบว่า เมื่อพิจารณาหลักการ ในอัตราส่วนที่เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงานในสถาน ส�ำหรับผู้สูงอายุขององค์การสหประชาชาติ ประกอบการหรือหน่วยงานของรัฐ โดยในอนาคต (United Nations Principles for Older Persons, จะมีจ�ำนวนแรงงานน้อยลงแต่สวนทางกับจ�ำนวน 1991) สอดคล้องกับบทบัญญัติในพระราช- วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 26

บัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 ก�ำหนดอัตราค่าจ้างให้แก่แรงงานผู้สูงอายุไว้ และพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ของ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009 (พ.ศ. 2552) ซึ่งอัตราค่าจ้าง ประเทศไทยที่ได้ก�ำหนดนิยามของผู้สูงอายุ ขั้นต�่ำก�ำหนดโดยรัฐบาลกลางอยู่ที่ 7.25 ดอลล่าร์ และการเกษียณอายุไว้ที่ อายุ 60 ปี รวมถึง สหรัฐ สอดคล้องกับประเทศไทยในปัจจุบัน สอดคล้องกับญี่ปุ่นที่ก�ำหนดไว้ที่อายุ 60 ปี แม้การก�ำหนดอัตราค่าจ้างแรงงานผู้สูงอายุ แต่มีแนวโน้มขยายเกณฑ์อายุออกไปให้มีอายุ ยังไม่มีอัตราที่ชัดเจนในพระราชบัญญัติคุ้มครอง มากกว่า 60 ปี ถึงแม้ว่าประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส แรงงาน พ.ศ. 2541 แต่พบว่ามีการก�ำหนด เกาหลี อังกฤษสหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายค่าตอบแทน ก�ำหนดไว้ที่อายุ 65 ปี และสิงคโปร์ที่ก�ำหนดไว้ ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ที่มีอายุครบ 60 ปี ที่อายุ 67 ปี บริบูรณ์ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย 2.2 ปัญหาการก�ำหนดอัตราส่วน การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วน การจ้างแรงงานผู้สูงอายุ จากการศึกษา พบว่า ราชการ พ.ศ. 2553 หมวด 1 ค่าตอบแทน ข้อ 10 เมื่อพิจารณาหลักการของเกาหลีมีการก�ำหนด และมีเพียงอัตราค่าจ้างขั้นต�่ำใหม่ตามประกาศ อัตราส่วนการจ้างแรงงานผู้สูงอายุ และภาครัฐ คณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต�่ำ ของเกาหลีโดยสนับสนุนให้บริษัทต่าง ๆ รับแรงงาน (ฉบับที่ 9) ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่ ผู้สูงอายุเข้าท�ำงานในอัตราส่วนที่ชัดเจนไว้ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 โดยคณะรัฐมนตรี คิดเป็นร้อยละ 2 ในโรงงานทั่วไป และร้อยละ 6 มีมติเห็นชอบประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง ในบริษัทเกี่ยวกับการขนส่งสอดคล้องกับ ดังกล่าว ประเทศไทยที่มีมาตรการก�ำหนดอัตราส่วนการ 2.4 ปัญหาการก�ำหนดประเภทงาน จ้างแรงงานคนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริม ที่แรงงานผู้สูงอายุสามารถท�ำได้ จากการศึกษา และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการซึ่งให้นายจ้าง พบว่า เมื่อพิจารณาหลักการของญี่ปุ่นที่กฎหมาย และหน่วยงานของรัฐรับคนพิการเข้าท�ำงานตาม ก�ำหนดให้ศูนย์ทรัพยากรมนุษย์ผู้สูงวัย (Silver ลักษณะของงานในอัตราส่วนที่เหมาะสมกับ Human Resource Center) มีหน้าที่จัดหางาน ผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการหรือหน่วยงาน ให้แก่ผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และเป็นสมาชิก ของรัฐ ของศูนย์ฯ ประสงค์จะท�ำงานชั่วคราว ระยะสั้น 2.3 ปัญหาการก�ำหนดค่าจ้าง หรืองานเบา ๆ สอดคล้องกับหลักการของอังกฤษ ให้แก่แรงงานผู้สูงอายุ จากการศึกษา พบว่า ซึ่งก�ำหนดประเภทงานที่แรงงานผู้สูงอายุสามารถ เมื่อพิจารณาหลักการของญี่ปุ่น และเกาหลี ท�ำได้แบบไม่เต็มเวลา (Part-time) หรืออาจอยู่ใน สอดคล้องกับหลักการของอังกฤษซึ่งรัฐบาล รูปแบบการเป็นนายจ้างตนเอง (Self-employed) ประกาศอัตราค่าจ้างด�ำรงชีพ (National living และการกลับเข้าไปท�ำงานใหม่หลังจากเกษียณ wage/ NLW) อยู่ที่ 7.83 ปอนด์ต่อชั่วโมงและ อายุไปแล้ว (Un-retirement) สอดคล้องกับ สอดคล้องกับหลักการของสหรัฐอเมริกาที่มีการ หลักการของสหรัฐอเมริกา โดยงานที่ผู้สูงอายุ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 27

สามารถท�ำได้นั้นเป็นงานที่แย่ลง ไม่ว่าจะเป็น Principles for Older Persons, 1991) งานที่ไม่มั่นคง งานที่ได้ค่าจ้างต�่ำ สอดคล้องกับ ที่เกี่ยวข้องกับการจ้างแรงงานผู้สูงอายุ และ หลักการของสิงคโปร์ที่ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุท�ำงาน สอดคล้องกับปฏิญญาทางการเมืองและแผน ที่ไม่ได้ใช้ทักษะที่สูงมากนัก สอดคล้องกับหลักการ ปฏิบัติการระหว่างประเทศมาดริดว่าด้วยเรื่อง ของเกาหลีซึ่งมีมาตรการส่งเสริมการท�ำงาน ผู้สูงอายุ (The Political Declaration and the ของผู้สูงอายุ ในปี ค.ศ. 2003 กฎหมายการ Madrid International Plan of Action on Ageing, ส่งเสริมการมีงานท�ำของผู้สูงอายุก�ำหนดให้งาน 2002) ที่ได้วางแนวคิดในการสร้างแรงงาน 160 ประเภทที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ และ ผู้สูงอายุว่าผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการ สนับสนุนให้ผู้ประกอบการรับแรงงานผู้สูงอายุ ท�ำงานตามความต้องการและความสามารถ เข้าท�ำงานในต�ำแหน่งงาน และสอดคล้องกับ รวมถึงการเรียนรู้และการฝึกอาชีพอย่างต่อเนื่อง หลักการของเยอรมนีก�ำหนดไม่ให้มีการเลือก และการมีส่วนร่วมในก�ำลังแรงงานของผู้สูงอายุ ปฏิบัติในการจ้างแรงงานผู้สูงอายุเว้นแต่การ นั้นเป็นสิ่งส�ำคัญต่อสังคมและตัวผู้สูงอายุเอง เลือกปฏิบัติทางอายุนั้นเป็นลักษณะเฉพาะของ 3. ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อน�ำ อาชีพหรือลักษณะของงานที่ต้องท�ำ หรือต้อง ผลการศึกษาวิเคราะห์และแสวงหามาตรการ ก�ำหนดเงื่อนไขเฉพาะอาชีพหรืองานนั้น ๆ โดย ทางกฎหมายที่เหมาะสมในการปรับปรุงแก้ไข การเลือกปฏิบัติจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตาม กฎหมายให้มีความสมบูรณ์และเป็นประโยชน์ วัตถุประสงค์ของกฎหมายและต้องกระท�ำด้วย ต่อประเทศชาติ ผลการศึกษา พบว่า มาตรการ ความเหมาะสม มีเหตุผลอันสมควรและจ�ำเป็น ทางกฎหมายที่เหมาะสมในการปรับปรุงแก้ไข 2.5 ปัญหาการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายให้มีความสมบูรณ์สามารถแบ่งเป็น ผู้สูงอายุ จากการศึกษา พบว่า เมื่อพิจารณา ประเด็นที่ส�ำคัญ ดังนี้ คือ หลักการของการก�ำหนดข้อห้ามการเลือกปฏิบัติ 3.1 การก�ำหนดอายุในการเกษียณ ทางอายุที่ทุกประเทศได้น�ำมาใช้ สอดคล้อง อายุการจ้างแรงงานของภาคเอกชน จากการ กับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็น ศึกษา พบว่า ควรก�ำหนดเรื่องประโยชน์ทดแทน เกณฑ์มาตรฐานในการปฏิบัติต่อกันของมวล ในกรณีชราภาพให้ผู้มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์และ มนุษย์ชาติและของนานาประเทศ สอดคล้องกับ สิ้นสุดสภาพการเป็นลูกจ้างมีสิทธิได้รับประโยชน์ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ ทดแทนกรณีชราภาพ ถึงแม้ว่าเงินบ�ำนาญชราภาพ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) ค.ศ. 1966 และเงินบ�ำเหน็จชราภาพเป็นการบัญญัติก�ำหนด มีผลบังคับใช้เมื่อมกราคม ค.ศ. 1976 เป็นต้นมา อายุของผู้มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณี ซึ่งในส่วนที่ 2 ก�ำหนดให้รัฐภาคีด�ำเนินมาตรการ ชราภาพจากกองทุนประกันสังคมเท่านั้น แต่ถ้า ต่าง ๆ อย่างเหมาะสมโดยปราศจากการเลือก ลูกจ้างที่มีอายุ 55 ปียังคงท�ำงานอยู่ก็ยังถือเป็น ปฏิบัติ สอดคล้องกับหลักการส�ำหรับผู้สูงอายุ ผู้ประกันตนที่ต้องส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ขององค์การสหประชาชาติ (United Nations แต่ไม่มีสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพจึงท�ำให้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 28

ส่วนใหญ่ภาคเอกชนจึงก�ำหนดอายุเกษียณ จากการศึกษา พบว่า ควรคุ้มครองแรงงาน ไว้ที่อายุ 55 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรา 118 ผู้สูงอายุโดยออกเป็นกฎหมายคุ้มครองแรงงาน วรรคสอง ที่ก�ำหนดว่า ในกรณีที่มิได้มีการตกลง ผู้สูงอายุเช่นเดียวกับการคุ้มครองแรงงาน สตรี หรือก�ำหนดการเกษียณอายุไว้ หรือมีการตกลง เด็ก แรงงานทั่วไป จึงควรมีการคุ้มครองแรงงาน หรือก�ำหนดการเกษียณอายุไว้เกินกว่า 60 ปี เฉพาะส�ำหรับผู้สูงอายุ โดยเพิ่มหมวดผู้สูงอายุ ให้ลูกจ้างที่มีอายุครบ 60 ปีขึ้นไปมีสิทธิแสดง ขึ้นมา เพื่อคุ้มครองแรงงานผู้สูงอายุ เจตนาเกษียณอายุได้โดยให้แสดงเจตนาต่อ อภิปรายผลการวิจัย นายจ้างและให้มีผลเมื่อครบสามสิบวันนับแต่วัน จากผลการศึกษาสามารถอภิปราย แสดงเจตนา และให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ ประเด็นที่ส�ำคัญได้ดังนี้ ลูกจ้างที่เกษียณอายุ 1. ปัญหาการก�ำหนดอายุในการ 3.2 การก�ำหนดอัตราส่วนการจ้าง เกษียณอายุการจ้างแรงงานของเอกชน แรงงานผู้สูงอายุ จากการศึกษา พบว่า ควรน�ำ จากการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับ มาตรการก�ำหนดอัตราส่วนการจ้างแรงงาน การจ้างแรงงานของประเทศไทย พบว่า ในกรณี คนพิการมาใช้กับการจ้างแรงงานผู้สูงอายุได้เริ่ม ที่มิได้มีการตกลงหรือก�ำหนดการเกษียณอายุไว้ ที่ 100:1 คน สัดส่วนให้มีการเพิ่ม % ตามขั้นบันได หรือมีการตกลงหรือก�ำหนดการเกษียณอายุไว้ เพราะในอนาคตผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นทุกปีอาจจะ เกินกว่า 60 ปี ให้ลูกจ้างที่มีอายุครบ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็น ร้อยละ 1 ของ 3 ปี 5 ปี 7 ปี เป็นการเพิ่ม มีสิทธิแสดงเจตนาเกษียณอายุได้โดยให้แสดง อัตราส่วนตามปี เจตนาต่อนายจ้างและให้มีผลเมื่อครบสามสิบวัน 3.3 การก�ำหนดค่าจ้างให้แก่แรงงาน นับแต่วันแสดงเจตนา และให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชย ผู้สูงอายุ จากการศึกษา พบว่า ควรมีการก�ำหนด ให้แก่ลูกจ้างที่เกษียณอายุนั้น โดยที่มีกฎหมาย ค่าจ้างขั้นต�่ำ แต่ต้องไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต�่ำ ก�ำหนดเกี่ยวกับเรื่องของเกษียณอายุไว้ว่า การ โดยคิดเป็นรายชั่วโมงก็ได้ เกษียณอายุตามที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน 3.4 การก�ำหนดประเภทงานที่แรงงาน หรือตามที่นายจ้างก�ำหนดไว้ ให้ถือว่าเป็นการ ผู้สูงอายุสามารถท�ำได้ จากการศึกษา พบว่า ควรมี เลิกจ้าง ตามมาตรา 118/1 พระราชบัญญัติ การคุ้มครองแรงงานเฉพาะส�ำหรับผู้สูงอายุด้วย คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 หมวด 11 ด้วยการก�ำหนดชั่วโมงการท�ำงานที่เหมาะสมไว้ ค่าชดเชย แต่ไม่สอดคล้องกับการได้รับประโยชน์ 6 - 7 ชั่วโมงเท่านั้น และห้ามท�ำงานบางประเภท ทดแทนในกรณีชราภาพที่ก�ำหนดให้ผู้มีอายุครบ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ท�ำนองเดียวกับที่ 55 ปีบริบูรณ์และสิ้นสุดสภาพการเป็นลูกจ้าง คุ้มครองลูกจ้างหญิงและเด็ก ส่วนกรณีที่ไม่เข้า มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ ข้อห้าม ก็ควรให้ผู้สูงอายุท�ำงานได้ในงานประเภท ในส่วนเงินบ�ำนาญชราภาพและเงินบ�ำเหน็จ เดียวกับลูกจ้างทั่วไป ชราภาพ ซึ่งเป็นการบัญญัติก�ำหนดอายุของ 3.5 การคุ้มครองแรงงานผู้สูงอายุ ผู้มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 29

จากกองทุนประกันสังคมเท่านั้น แต่ถ้าลูกจ้างที่มี ในต�ำแหน่งสาขาอาชีพที่ขาดแคลนได้ขยายอายุ อายุ 55 ปียังคงท�ำงานอยู่ก็ยังถือเป็นผู้ประกันตน การท�ำงานต่อไป สอดคล้องกับ ส�ำนักเศรษฐกิจ ที่ต้องส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคมแต่ไม่มี การแรงงาน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน สิทธิประโยชน์กรณีชราภาพจึงท�ำให้ส่วนใหญ่ (Bureau of Labor Economics Office of the ภาคเอกชนจึงก�ำหนดอายุเกษียณไว้ที่อายุ 55 ปี Permanent Secretary for Labor, 2010) ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นยังสอดคล้อง ศึกษาวิจัยเรื่อง ศึกษาอาชีพและโอกาสที่จะได้รับ กับ เฉลิมพล แจ่มจันทร์ (Chaemchan, 2012) ค่าตอบแทนที่เหมาะสมสอดคล้องกับผู้สูงอายุ ที่ได้ศึกษาข้อพิจารณามโนทัศน์ใหม่ชองนิยาม เสนอข้อเสนอด้านนโยบายและมาตรการต่าง ๆ ผู้สูงอายุ และอายุเกษียณในประเทศไทย มีข้อเสนอต่อรัฐบาลให้ปรับปรุงแก้ไขพระราช สอดคล้องกับ ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ บัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 โดยขยาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (Office of สิทธิประโยชน์กรณีชราภาพจาก 55 ปี เป็น 60 ปี Policy and Strategy Office of the Permanent หรือมากกว่า ข้อดีคือเป็นการจูงใจแรงงานที่ Secretary for Labor, 2010) ศึกษาวิจัยเรื่อง อยู่ในระบบให้ท�ำงานยาวขึ้น รายได้ที่จะได้รับ ผลกระทบการขยายอายุการท�ำงานของภาค หลังเกษียณเพิ่มขึ้นเพียงพอต่อการด�ำรงชีวิต เอกชน ได้มีการน�ำเสนอรูปแบบของการขยาย ช่วงหลังเกษียณ ขณะเดียวกันการที่แรงงาน อายุการท�ำงานของภาคเอกชน โดยรูปแบบที่ 3 สูงอายุยังอยู่ในระบบประกันสังคม แรงงานเหล่านี้ การขยายอายุเกิดสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพ จะยังได้รับการคุ้มครองในกรณีเจ็บป่วยประสบ ของแรงงานในระบบประกันสังคม จาก 55 ปี อันตราย เงินสงเคราะห์กรณีหยุดงาน ค่าท�ำศพ เป็น 60 ปี มีข้อเสนอแนะให้ปรับแก้ไขพระราช และเงินสงเคราะห์ทายาท ได้รับการคุ้มครอง บัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 เพื่อขยายอายุ ถ้าว่างงาน ซึ่งเป็นการแบ่งเบาภาระด้านสวัสดิการ เกิดสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพ จาก 55 ปี ของภาครัฐลง เป็น 60 ปีสอดคล้องกับ ส�ำนักนโยบายและ จากการศึกษา พบว่า หลักการส�ำหรับ ยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ผู้สูงอายุขององค์การสหประชาชาติ (United (Office of Policy and Strategy Office of the Nations Principles for Older Persons, 1991) Permanent Secretary for Labor, 2008) วิจัย สอดคล้องกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัติ เรื่อง การขยายก�ำหนดเกษียณอายุและการออม คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 และ ส�ำหรับวัยเกษียณอายุ ได้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ของ รูปแบบการบริหารจัดการในการก�ำหนดการ ประเทศไทยที่ได้ก�ำหนดนิยามของผู้สูงอายุ ขยายเกษียณอายุที่มีความเป็นรูปธรรมและ และการเกษียณอายุไว้ที่ อายุ 60 ปี รวมถึง พิจารณาในเชิงระบบของการจัดการและองค์กร สอดคล้องกับญี่ปุ่นที่ก�ำหนดเกณฑ์อายุส�ำหรับ ที่เกี่ยวข้อง โดยการปรับปรุงพระราชบัญญัติ การเกษียณอายุไว้ที่อายุ 60 ปี แต่มีแนวโน้ม ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเปิดโอกาสให้บุคลากรของภาครัฐ ขยายเกณฑ์อายุออกไปให้มีอายุมากกว่า 60 ปี วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 30

สอดคล้องกับ Suwanrada (2013) วิจัยเรื่อง ยุโรปและอเมริกามักเรียกคนอายุ 65 ปีขึ้นไปเป็น ถอดบทเรียนประสบการณ์ทางนโยบายการขยาย ผู้สูงอายุ แต่ภาคพื้นเอเชียถือเอา 60 ปีขึ้นไป อายุการท�ำงานจากประเทศญี่ปุ่นของภาครัฐและ เป็นเกณฑ์ผู้สูงอายุ อย่างไรก็ตามเป็นที่ตกลงกัน เอกชน รวมถึงสอดคล้องกับที่ พล.ต.ต.อรรถสิทธิ์ ในวงการระหว่างประเทศแล้วว่า ให้ยึดเอา 60 ปี สิทธิสุนทร บัญญัติความหมายขึ้นครั้งแรกใน ขึ้นไปเป็นผู้สูงอายุ เช่นเดียวกับ ศศิพัฒน์ ประเทศไทยในการประชุมระหว่างแพทย์อาวุโส ยอดเพชร (Yodpetch, 2001) ได้เสนอข้อความคิด และผู้สูงอายุจากวงการต่าง ๆ ซึ่งให้ความหมาย ของ Barrow and Smith ว่าเป็นการยากที่จะ ของค�ำว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ก�ำหนดว่าผู้ใดชราภาพหรือผู้สูงอายุแต่สามารถ มีความเสื่อมของร่างกายตามสภาพ มีก�ำลัง พิจารณาจากองค์ประกอบจากประเพณีนิยม ถดถอยเชื่องช้าหรือเป็นผู้ที่มีโรค สมควรจะได้รับ (Tradition) เป็นการก�ำหนดผู้สูงอายุ โดยยึด การช่วยเหลืออุปการะ สอดคล้องกับ องค์การ ตามเกณฑ์อายุที่ออกจากงาน เช่น ประเทศไทย อนามัยโลกซึ่งได้แบ่งเกณฑ์อายุตามสภาพของ ก�ำหนดอายุเกษียณเมื่อครบ 60 ปี ส�ำหรับ การมีอายุเพิ่มขึ้นเริ่มตั้งแต่อายุ 60 ปีขึ้นไป สหรัฐอเมริกาก�ำหนดอายุ 65 ปี เป็นต้น เช่นเดียวกับ Veetpheth (1988) และ Eastern 2. ปัญหาการก�ำหนดอัตราส่วน Non-formal Education Center (2000) รวมถึง การจ้างแรงงานผู้สูงอายุ Yuriek and Others (2008) ซึ่งได้เสนอการ จากการศึกษา พบว่า เนื่องจาก แบ่งช่วงอายุของผู้สูงอายุตามสถาบันผู้สูงอายุ ในปัจจุบันกฎหมายคุ้มครองแรงงานยังไม่มี แห่งชาติ (National Institute of Aging) การวางมาตรการทางกฎหมายในเรื่องการ สหรัฐอเมริกาเริ่มต้นที่อายุ 60 ปี สอดคล้องกับ จ้างแรงงานผู้สูงอายุ จึงยังไม่มีการก�ำหนด Academic Service Center, Chulalongkorn อัตราส่วนการจ้างแรงงานผู้สูงอายุไว้ แต่ส�ำหรับ University (2008) ซึ่งวิจัย เรื่อง แนวทาง คนพิการมีมาตรการก�ำหนดอัตราส่วนการจ้าง และมาตรการส่งเสริมการมีงานท�ำในผู้สูงอายุ แรงงานคนพิการให้นายจ้างและหน่วยงานของรัฐ สรุปได้ความว่า โดยมีการจ�ำแนกผู้สูงอายุเป็น รับคนพิการเข้าท�ำงานตามลักษณะของงาน 3 กลุ่ม โดยกลุ่มผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ (อายุ 60 ในอัตราส่วนที่เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงานในสถาน - 69 ปี) ประกอบการหรือหน่วยงานของรัฐ สอดคล้อง ถึงแม้ว่าจะไม่สอดคล้องกับเยอรมนี กับแนวคิดของรัฐในประเด็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ฝรั่งเศส เกาหลี อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และ ในการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ออสเตรเลียที่ก�ำหนดเกณฑ์อายุส�ำหรับการเกษียณ ในปี พุทธศักราช 2534 โดยเห็นว่าผู้สูงอายุ อายุในการจ้างแรงงานผู้สูงอายุภาคเอกชนไว้ที่ เป็นบุคคลด้อยโอกาสอยู่ในกลุ่มเดียวกับบุคคล อายุ 65 ปี และสิงคโปร์ก�ำหนดอายุ 67 ปี ที่พิการทางกายภาพเป็นบุคคลที่เป็นภาระซึ่งต้อง ซึ่งสอดคล้องกับ บรรลุ ศิริพานิช (Siriphanich, ได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษจากรัฐ แนวนโยบาย 1999) กล่าวว่าส่วนใหญ่ฝรั่งหรือคนภาคพื้น ของรัฐเกี่ยวกับผู้สูงอายุจึงเป็นการสงเคราะห์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 31

ให้ความช่วยเหลือเช่นเดียวกับบุคคลด้อยโอกาส Council and Ministry of Labor, 2006) ศึกษา กลุ่มอื่น ๆ สอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์ชาติ วิจัยเรื่อง เมื่อแรงงานสูงอายุต้องอยู่ได้ ด้วยความ 20 ปี ที่มี 6 ด้าน ในด้านที่ 2 เรื่องยุทธศาสตร์ ห่วงใยจากไตรภาคี เสนอมาตรการที่เกี่ยวข้อง ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และ กับการจ้างงานผู้สูงอายุให้มีการพิจารณาเลื่อน ด้านที่ 3 เรื่องยุทธศาสตร์การพัฒนาและ ระยะเวลาการเกษียณอายุทั้งในภาครัฐและ เสริมสร้างศักยภาพคน รวมถึงด้านที่ 4 ในเรื่อง ภาคเอกชน โดยอาจแยกตามประเภทของงาน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค หรือตามความสามารถของบุคคล และเท่าเทียมกันทางสังคมอีกด้วย 3. ปัญหาการก�ำหนดอัตราค่าจ้าง อย่างไรก็ตาม จากการศึกษา พบว่า ให้แก่แรงงานผู้สูงอายุ หลักการดังกล่าวสอดคล้องกับหลักการของ จากการศึกษา พบว่า บางประเทศ เกาหลีมีการก�ำหนดอัตราส่วนการจ้างแรงงาน เท่านั้นที่มีการก�ำหนดอัตราค่าจ้างให้แก่แรงงาน ผู้สูงอายุ และภาครัฐของเกาหลีโดยสนับสนุน ผู้สูงอายุเท่านั้น โดยประเทศไทยในปัจจุบัน ให้บริษัทต่าง ๆ รับแรงงานผู้สูงอายุเข้าท�ำงาน ยังไม่มีอัตราที่ชัดเจน โดยหลักการของญี่ปุ่น และ ในอัตราส่วนที่ชัดเจนไว้ คิดเป็นร้อยละ 2 ใน เกาหลี สอดคล้องกับหลักการของอังกฤษซึ่งรัฐบาล โรงงานทั่วไป และร้อยละ 6 ในบริษัทเกี่ยวกับ ประกาศอัตราค่าจ้างด�ำรงชีพ (National living การขนส่งซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์ผู้สูงอายุ wage/ NLW) อยู่ที่ 7.83 ปอนด์ต่อชั่วโมงและ ของประเทศไทยที่จะเข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่าง สอดคล้องกับหลักการของสหรัฐอเมริกาที่มีการ สมบูรณ์” เมื่อประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมีสัดส่วน ก�ำหนดอัตราค่าจ้างให้แก่แรงงานผู้สูงอายุไว้ สูงถึงร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด สอดคล้อง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009 (พ.ศ. 2552) ซึ่งอัตราค่าจ้าง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ขั้นต�่ำก�ำหนดโดยรัฐบาลกลางอยู่ที่ 7.25 ดอลล่าร์ ฉบับที่ 12 ซึ่งประเทศไทยมีความเสี่ยงจากการ สหรัฐ สอดคล้องกับประเทศไทยในปัจจุบันแม้การ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมสูงวัย ก�ำหนดอัตราค่าจ้างแรงงานผู้สูงอายุยังไม่มีอัตรา มากขึ้น จ�ำนวนประชากรวัยแรงงานลดลง จึงควร ที่ชัดเจนในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล�้ำ พ.ศ. 2541 แต่พบว่ามีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ ให้ความส�ำคัญกับการจัดบริการของรัฐที่มีคุณภาพ และวิธีปฏิบัติในการจ่ายค่าตอบแทนในการ ทั้งด้านการศึกษา สาธารณสุข ให้กับผู้ที่ด้อย ปฏิบัติงานให้แก่ผู้ที่มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ โอกาสและผู้ที่อาศัยในพื้นที่ห่างไกลการจัดสรร ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการ ที่ดินท�ำกิน สนับสนุนในเรื่องการสร้างอาชีพ เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วน รายได้ และสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพ ผู้ด้อย ราชการ พ.ศ. 2553 โอกาสสตรี และผู้สูงอายุ สอดคล้องกับ สภา อย่างไรก็ดี การก�ำหนดอัตราค่าจ้างให้แก่ ที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแห่งชาติและ แรงงานผู้สูงอายุในประเทศไทย สอดคล้องกับ กระทรวงแรงงาน (National Labor Advisory ยุทธศาสตร์ของกรมกิจการผู้สูงอายุ สอดคล้องกับ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 32

สภาที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแห่งชาติและ ของเกาหลีซึ่งมีมาตรการส่งเสริมการท�ำงานของ กระทรวงแรงงาน (National Labor Advisory ผู้สูงอายุ ในปี ค.ศ. 2003 กฎหมายการส่งเสริม Council and Ministry of Labor, 2006) ศึกษา การมีงานท�ำของผู้สูงอายุก�ำหนดให้งาน 160 วิจัยเรื่อง เมื่อแรงงานสูงอายุต้องอยู่ได้ ด้วยความ ประเภท ที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ และสนับสนุน ห่วงใยจากไตรภาคี เสนอมาตรการที่เกี่ยวข้อง ให้ผู้ประกอบการรับแรงงานผู้สูงอายุเข้าท�ำงาน กับการจ้างงานผู้สูงอายุโดยส่งเสริมการท�ำงาน ในต�ำแหน่งงาน และสอดคล้องกับหลักการของ แบบไม่เต็มเวลา หรือไม่ต้องมาท�ำงานทุกวันให้แก่ เยอรมนีก�ำหนดไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติในการ ผู้สูงอายุ โดยให้ผลตอบแทนลดหลั่นจากการ จ้างแรงงานผู้สูงอายุเว้นแต่การเลือกปฏิบัติ ท�ำงานตามปกติ ทางอายุนั้นเป็นลักษณะเฉพาะของอาชีพหรือ 4. ปัญหาการก�ำหนดประเภทงาน ลักษณะของงานที่ต้องท�ำ หรือต้องก�ำหนด ที่แรงงานผู้สูงอายุสามารถท�ำได้ เงื่อนไขเฉพาะอาชีพหรืองานนั้น ๆ โดยการเลือก จากการศึกษา พบว่า ในปัจจุบัน ปฏิบัติจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ประเทศไทยยังไม่มีการบัญญัติในเรื่องการ ของกฎหมายตามหลักความเสมอภาค (Principle จ้างแรงงานผู้สูงอายุไว้ มีเพียงการบัญญัติถึง of Equity) ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แรงงานเด็กและหญิงมีครรภ์เท่านั้นที่ก�ำหนด พุทธศักราช 2560 และต้องกระท�ำด้วยความ ประเภทงานที่ไม่สามารถท�ำได้ ไม่สอดคล้องกับ เหมาะสม มีเหตุผลอันสมควรและจ�ำเป็น หลักการของญี่ปุ่นที่กฎหมายก�ำหนดให้ศูนย์ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงสอดคล้องกับ ส�ำนัก ทรัพยากรมนุษย์ผู้สูงวัย (Silver Human นโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง Resource Center) มีหน้าที่จัดหางานให้แก่ แรงงาน (Office of Policy and Strategy Office ผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และเป็นสมาชิก of the Permanent Secretary for Labor, 2010) ของศูนย์ฯ ประสงค์จะท�ำงานชั่วคราว ระยะสั้น วิจัยเรื่อง การขยายก�ำหนดเกษียณอายุและ หรืองานเบา ๆ สอดคล้องกับหลักการของอังกฤษ การออมส�ำหรับวัยเกษียณอายุ ได้มีข้อเสนอแนะ ซึ่งก�ำหนดประเภทงานที่แรงงานผู้สูงอายุสามารถ เกี่ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการในการก�ำหนด ท�ำได้แบบไม่เต็มเวลา (Part-time) หรืออาจอยู่ใน การขยายเกษียณอายุที่มีความเป็นรูปธรรมและ รูปแบบการเป็นนายจ้างตนเอง (Self-employed) พิจารณาในเชิงระบบของการจัดการและองค์กร และการกลับเข้าไปท�ำงานใหม่หลังจากเกษียณ ที่เกี่ยวข้อง โดยก�ำหนดขอบเขต และ/หรือ อายุไปแล้ว (Un-retirement) สอดคล้องกับหลัก ลักษณะงานของบุคลากรหลังเกษียณที่ผ่าน การของสหรัฐอเมริกา โดยงานที่ผู้สูงอายุสามารถ การประเมินความพร้อมแล้วให้เหมาะสม ท�ำได้นั้นเป็นงานที่มีคุณภาพด้อยลง ไม่ว่าจะเป็น 5. ปัญหาการคุ้มครองการท�ำงาน งานที่ไม่มั่นคง งานที่ได้ค่าจ้างต�่ำ สอดคล้องกับ ของแรงงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน หลักการของสิงคโปร์ที่ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุท�ำงาน จากการศึกษา พบว่า เนื่องจาก ที่ไม่ได้ใช้ทักษะที่สูงมากนัก สอดคล้องกับหลักการ ในปัจจุบันพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 33

พ.ศ. 2541 ยังไม่มีการก�ำหนดในเรื่องการจ้างแรงงาน แผนปฏิบัติการระหว่างประเทศมาดริดว่าด้วย ผู้สูงอายุ จึงยังไม่มีการคุ้มครองแรงงานผู้สูงอายุ เรื่องผู้สูงอายุ (The Political Declaration and โดยเฉพาะไว้อย่างชัดเจน จึงควรมีการคุ้มครอง the Madrid International Plan of Action on แรงงานผู้สูงอายุไว้โดยเฉพาะ สอดคล้องกับ Ageing, 2002) ที่ได้วางแนวคิดในการสร้าง ส�ำนักเศรษฐกิจการแรงงาน ส�ำนักงานปลัด แรงงานผู้สูงอายุว่าผู้สูงอายุควรได้รับโอกาส กระทรวงแรงงาน (Bureau of Labor Economics ในการท�ำงานตามความต้องการและความสามารถ Office of the Permanent Secretary for Labor, รวมถึงการเรียนรู้และการฝึกอาชีพอย่างต่อเนื่อง 2010) เสนอแนวทางในการสร้างโอกาสการ และการมีส่วนร่วมในก�ำลังแรงงานของผู้สูงอายุนั้น มีงานท�ำของผู้สูงอายุในด้านนโยบาย กฎหมาย เป็นสิ่งส�ำคัญต่อสังคมและตัวผู้สูงอายุเอง และการปฏิบัติในด้านกฎหมาย ควรมีกฎหมาย สอดคล้องกับ ส�ำนักเศรษฐกิจการแรงงาน คุ้มครองแรงงานสูงอายุ ทั้งในด้านค่าจ้าง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (Bureau of สวัสดิการ ความปลอดภัยในการท�ำงาน และ Labor Economics Office of the Permanent การเลือกปฏิบัติต่อผู้สูงอายุ รวมทั้งกฎหมาย Secretary for Labor, 2008) ศึกษาวิจัยเรื่อง การจ้างงานบางช่วงเวลา (Part - time job) ศึกษาอาชีพและโอกาสที่จะได้รับค่าตอบแทนที่ เพื่อส่งเสริมให้นายจ้างยืดการจ้างแรงงานสูงอายุ เหมาะสมสอดคล้องกับผู้สูงอายุ เสนอข้อเสนอแนะ ออกไป ทั้งงานในรูปแบบเต็มเวลาและบางช่วง ด้านนโยบายและมาตรการต่าง ๆ มีข้อเสนอต่อ เวลา รัฐบาลให้ออกกฎหมายเกี่ยวกับการห้ามเลือก เมื่อพิจารณาหลักการของการก�ำหนด ปฏิบัติต่อผู้สูงอายุไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือโดย ข้อห้ามการเลือกปฏิบัติทางอายุที่ทุกประเทศ ทางอ้อม โดยเนื้อหาของกฎหมายฉบับนี้ควร ได้น�ำมาใช้ สอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วย ครอบคลุมการห้ามใช้อายุเป็นเกณฑ์ในการ สิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการ จ้างงานรัฐบาลต้องสนับสนุนให้สังคมยอมรับ ปฏิบัติต่อกันของมวลมนุษย์ชาติและของนานา ว่าทุกคนในสังคมมีสิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องการ ประเทศ สอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศว่า ศึกษาและการเข้ารับการฝึกอบรม และบทลงโทษ ด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ส�ำหรับการจ้างงานที่เลือกปฏิบัติ (ICESCR) ค.ศ. 1966 มีผลบังคับใช้เมื่อมกราคม ค.ศ. 1976 เป็นต้นมา ซึ่งในส่วนที่ 2 ก�ำหนดให้ ข้อเสนอแนะ รัฐภาคีด�ำเนินมาตรการต่าง ๆ อย่างเหมาะสม 1. จากปัญหาการก�ำหนดอายุในการ โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ สอดคล้องกับ เกษียณอายุการจ้างแรงงานของภาคเอกชน หลักการส�ำหรับผู้สูงอายุขององค์การสหประชาชาติ 1.1 ควรเพิ่มค�ำนิยาม ในพระราช (United Nations Principles for Older Persons บัญญัติคุ้มครองแรงงาน ดังนี้ (1991)) ที่เกี่ยวข้องกับการจ้างแรงงานผู้สูงอายุ ความหมายของนิยามค�ำว่า และสอดคล้องกับปฏิญญาทางการเมืองและ “ผู้สูงอายุ” โดยใช้ถ้อยค�ำตามนิยามของค�ำว่า วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 34

“ผู้สูงอายุ” หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปี 3. จากปัญหาการก�าหนดค่าจ้างให้แก่ บริบูรณ์ขึ้นไป แรงงานผู้สูงอายุ 1.2 ควรแก้ไขเพิ่มเติม ในพระราช ควรออกกฎกระทรวงในเรื่องการ บัญญัติประกันสังคม ในมาตรา 77 ทวิ วรรคแรก ก�าหนดอัตราค่าจ้างขั้นต�่าของแรงงานผู้สูงอายุ เป็น แต่ต้องไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต�่า โดยคิดเป็น ในกรณีที่ผู้ประกันตนจ่ายเงิน รายชั่วโมงก็ได้ สมทบมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบเดือน 4. จากปัญหาการก�าหนดประเภทงาน ให้มีสิทธิได้รับเงินบ�านาญชราภาพตั้งแต่เดือน ที่แรงงานผู้สูงอายุสามารถท�าได้ ถัดจากเดือนที่อายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ เว้นแต่ 4.1 ควรเพิ่มเติม หมวด 4/1 การใช้ เมื่อมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์และความเป็น แรงงานผู้สูงอายุ ในพระราชบัญญัติคุ้มครอง ผู้ประกันตนยังไม่สิ้นสุดลงตามมาตรา 38 หรือ แรงงาน โดยระบุประเภทงานที่แรงงานผู้สูงอายุ มาตรา 41 ให้ผู้นั้นมีสิทธิ ได้รับตั้งแต่เดือนถัดจาก ไม่สามารถท�าได้เช่นเดียวกับการคุ้มครอง เดือนที่ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง แรงงาน สตรีและเด็ก 2. จากปัญหาการก�าหนดอัตราส่วน 4.2 ควรเพิ่มเติม หมวด 4/1 การใช้ การจ้างแรงงานผู้สูงอายุ แรงงานผู้สูงอายุ ในพระราชบัญญัติคุ้มครอง ควรน�ามาตรการก�าหนดอัตราส่วน แรงงาน โดยการก�าหนดชั่วโมงการท�างานที่ การจ้างแรงงานคนพิการมาใช้กับการจ้าง เหมาะสมไว้ 6 - 7 ชั่วโมงเท่านั้น แรงงานผู้สูงอายุได้เริ่มที่ 100:1 คน สัดส่วนให้มี 5. จากปัญหาการคุ้มครองแรงงาน การเพิ่ม % ตามขั้นบันไดเพราะในอนาคต ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นทุกปีอาจจะเพิ่มเป็น ร้อยละ 1 ควรเพิ่มเติม หมวด 4/1 การใช้แรงงาน ของ 3 ปี 5 ปี 7 ปี เป็นการเพิ่มอัตราส่วนตามปี ผู้สูงอายุ ในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 35

REFERENCES

Bureau of Labor Economics Office of the Permanent Secretary for Labor. (2010). Study project to find employment promotion model for the elderly in rural areas. (in Thai) Bureau of Labor Economics Office of the Permanent Secretary for Labor. (2010). Career education programs and opportunities to receive appropriate compensation Consistent with the elderly. (in Thai) Chaemchan, C. (2012). Consideration of new concepts of “Definition of the elderly” and “retirement age” in Thailand, 4(1), 131-150. (in Thai) Department of Elderly Affairs. (2017). Statistics of the number of elderly people in Thailand in 2016. Retrieved July 21, 2017, from http://www.dop.go.th/upload/knowledge/ knowledge_th_20170707092742_1.pdf. (in Thai) Eastern Non-formal Education Center. (2000). The follow-up report on the survey of disadvantaged people in the eastern region (Disadvantaged children, disabled people, elderly people, vulnerable groups). Rayong: Eastern Non-Formal Education Center. (in Thai) National Labor Advisory Council and Ministry of Labor. (2006). Academic Tripartite Seminar Report when older workers must live with concern from the tripartite. Bangkok: (in Thai) National Statistical Office. (2014). Elderly population survey report in Thailand. Bangkok: Bureau of Forecasting Statistics National Statistical Office. (in Thai) National Statistical Office. (2016). Elderly population survey report in Thailand. Bangkok: Bureau of Forecasting Statistics National Statistical Office. (in Thai) Office of Policy and Strategy Office of the Permanent Secretary for Labor. (2008).Project to create and expand the opportunity to access basic social security for the elderly: to study and research on the extension of retirement and saving for retirement age. Bangkok: (in Thai) Office of Policy and Strategy Office of the Permanent Secretary for Labor. (2010). Study of the impact of the extension of working life of the private sector. Bangkok: (in Thai) Office of the National Economic and Social Development Board. (2003).Summary of workshop topics Development direction of integrated family institutions. Bangkok: Office of the National Economic and Social Development Board. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 36

Paitoon, S. (2014). The operation of the elderly in the country under the framework of the United Nations: the international action plan for the elderly. Bangkok: Bureau of the Promotion and Protection of the Elderly Office for the Promotion of Child Welfare, Youth, Underprivileged and Elderly Ministry of Social Development and Human Security. (in Thai) Secretariat of the National Reform Council. The Commission on Social Reform in the Country (2017). Elderly preparation Important and urgent reform agenda (27 agenda) in 2017. Bangkok: Bureau of the Commissioner 3, Secretariat of the House of Representatives. (in Thai) Siriphanich, B. (1999). Thai elderly. Bangkok: Publishing House Doctor. (in Thai) Suwanrada, W. (2013). Experience lessons in policy to extend working life from Japan. Bangkok: Thai Elderly Research and Development Institute Foundation. (in Thai) Veetpheth, C. (1988). Physiology of exercise. Bangkok: Mahidol University Department of Physiology. (in Thai) Yodpetch, S. (2001). Elderly welfare. Bangkok: Thammasat University Press. (in Thai) Yurick, A. G., et al. (2008). The aged person and nursing process. New York: Appleton Century-Crofts. Academic Service Center, Chulalongkorn University. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 37

บทความวิจัย

ปัจจัยก�ำหนดค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย FACTORS DETERMINING IN THE AVERAGE WAGE IN THAILAND ดรันต์ วันเที่ยง* Darun Wantiang*

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย* Faculty of Economics, Ramkhamhaeng University Bangkok, Thailand*

Email: [email protected]*

Received: 2019-03-14 Revised: 2019-06-26 Accepted: 2019-07-15

บทคัดย่อ การศึกษาเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยก�ำหนดค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย โดยใช้ ข้อมูลอนุกรมเวลารายไตรมาส ตั้งแต่ไตรมาส 2 ปี 2544 - ไตรมาส 1 ปี 2560 และพยากรณ์ค่าจ้าง แรงงานเฉลี่ยของไทย ตั้งแต่ไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2560 - ไตรมาส 1 ปี 2561 ด้วยวิธีก�ำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Squares--OLS) การพยากรณ์ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยในช่วงไตรมาส 2 ปี 2560 - ไตรมาส 1 ปี 2562 ด้วยวิธีอนุกรมเวลาแบบคลาสสิค ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่ก�ำหนดอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย คือ จ�ำนวนนักท่องเที่ยว

ต่างประเทศฯ (T) จ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ (UNlabor) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic

Product--GDP) และจ�ำนวนแรงงานในหน่วยธุรกิจ (LB) โดยท�ำการศึกษาตั้งแต่ไตรมาส 1 ปี 2554 - ไตรมาส 1 ปี 2560 พบว่า อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยต่อจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศฯ (T) และอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product-- GDP) มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยต่อจ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ

(UNlabor) และอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยต่อจ�ำนวนแรงงานของหน่วยธุรกิจ (LB) มีความสัมพันธ์ ในทิศทางตรงกันข้าม ส�ำหรับการพยากรณ์อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และ ในเวลาอันใกล้ค่าจ้างเฉลี่ยของไทยสามารถเพิ่มขึ้นถึง 500 บาท/วัน หรือ 15,000 บาท/เดือน

ค�ำส�ำคัญ: ปัจจัยก�ำหนดค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย อนุกรมเวลา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 38

ABSTRACT This research aimed to study factors determining the average wage in the Kingdom of Thailand (Thailand). Relevant quarterly time series data from the second quarter of 2001 to the first quarter of 2017 were collected and subsequently analyzed. On the one hand, utilizing the ordinary least squares (OLS) method, the researcher predicted the average wage from the second quarter of 2017 to the first quarter of 2018. In contrast, employing the classic time series method, the average wage in Thailand was also predicted for the second quarter of 2017 to the first quarter of 2019. Finding showed that determining factors for the average wage were the quantity of foreign tourists traveling to Thailand (T), the quantity of unskilled laborers (UNlabor), the gross domestic product (GDP), and the quantity of laborers in business units (LB). It was found that from the first quarter of 2003 to the first quarter of 2017 that the wage rate directly correlated with T and GDP and inversely correlated with UNlabor and LB Furthermore, the average wage was predicted to increase. In the near future, the average wage was predicted to increase 500 baht per day or 15,000 baht per month.

Keywords: determining factors in the average wage in Thailand, average wage in Thailand, time series

บทน�ำ ปัญหาเกี่ยวกับอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย และเนื่องจากงานวิจัยเรื่องนี้มุ่งเน้นเพื่อศึกษา ของไทยนั้น พบว่า มีการปรับขึ้นอย่างต่อเนื่อง ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย จึงได้น�ำผลการส�ำรวจ ก็จริง แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าการปรับค่าจ้าง ภาวะการท�ำงานของประชากร ปี พ.ศ. 2560 ในกลุ่ม แรงงานนั้นไม่สัมพันธ์กับภาวะเงินเฟ้อที่มีการ ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จ�ำนวน 55.96 ล้านคน ปรับตัวเพิ่มขึ้นในอัตราที่มากกว่า ดังนั้น งานวิจัย มาใช้ประกอบในการศึกษา พบว่า เป็นผู้อยู่ใน เรื่องนี้จึงได้ท�ำการศึกษาสถานการณ์ตลาด ก�ำลังแรงงาน 38.10 ล้านคน และเป็นผู้มีงานท�ำ แรงงาน ภาวะการมีงานท�ำ และอัตราการว่างงาน 37.46 ล้านคน (Labour Market Information โดยผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากกรมการจัดหางาน Administration Dirision, 2017) จากตัวเลข ซึ่งเป็นข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อการวิจัยในครั้งนี้ โดย ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าประชากรกลุ่มผู้มี ผู้วิจัยได้น�ำข้อมูลดังกล่าวมาท�ำการศึกษาใน งานท�ำเหล่านี้มีเป็นจ�ำนวนมาก ถือได้ว่าเป็น เบื้องต้นเพื่อให้เห็นภาพรวมของตลาดแรงงานไทย กลุ่มหนึ่งที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ผู้วิจัย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 39

จึงเห็นว่าการศึกษาเรื่องค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย ทั่วประเทศกับการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อ ของไทยอาจท�ำให้ทราบถึงปัจจัยที่เป็นตัวก�ำหนด ทั้งประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2554 ค่าจ้างแรงงาน รวมถึงการพยากรณ์ค่าจ้าง พบว่า อัตราเงินเฟ้อทั้งประเทศสะสม 10 ปี แรงงานเฉลี่ย เพื่อเป็นการแสดงให้เห็นแนวโน้ม มีการปรับเพิ่มขึ้นมากกว่าการเพิ่มขึ้นของอัตรา ในการปรับขึ้นของอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยให้มี ค่าจ้างขั้นต�่ำเฉลี่ยทั้งประเทศ กล่าวคืออัตรา ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวการณ์ เงินเฟ้อทั้งประเทศสะสมเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.6 เศรษฐกิจของสังคมไทยได้ ในขณะที่อัตราค่าจ้างขั้นต�่ำทั้งประเทศสะสม นิยามของค�ำว่า “ค่าจ้างแรงงานขั้นต�่ำ” ปรับเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 25.7 ซึ่งหมายถึงอัตรา ในช่วงแรกเริ่ม คือ อัตราค่าจ้างที่ช่วยให้แรงงาน เงินเฟ้อทั้งประเทศมีการปรับเพิ่มขึ้นมากกว่า พร้อมด้วยสมาชิกในครอบครัวอีก 2 คน มีรายได้ การเพิ่มขึ้นของอัตราค่าจ้างขั้นต�่ำทั้งประเทศ เพียงพอเพื่อการใช้จ่ายให้ด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่าง เฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 0.19 ซึ่งก่อให้เกิดปัญหา สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในสังคม ต่อมาในปี ในการด�ำรงชีวิตของประชากร คือ เมื่อรายได้ พ.ศ. 2518 รัฐบาลได้เปลี่ยนแปลงนิยาม “ค่าจ้าง มีน้อยกว่ารายจ่าย ปัญหาความยากจนจึงเกิดขึ้น ขั้นต�่ำ” เป็นอัตราค่าจ้างตามความจ�ำเป็นที่ ตามมา นอกจากนี้ ยังมีการว่างงานโดยไม่สมัครใจ ลูกจ้างคนเดียว (ไม่รวมสมาชิกในครอบครัว) ซึ่งเกิดจากปัญหาเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ท�ำให้ ให้สามารถด�ำรงชีพอยู่ได้ โดยใช้ความหมายนี้ หน่วยธุรกิจจ�ำเป็นต้องเลิกจ้างแรงงาน เพื่อเป็น ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน (Ministry of Industry, การลดรายจ่ายประจ�ำ และเพื่อความอยู่รอด 2011) ของธุรกิจ หรือการว่างงานแบบแอบแฝงในภาค จะเห็นได้ว่าการก�ำหนดอัตราค่าจ้าง เกษตรกรรมที่เกิดขึ้นอย่างสม�่ำเสมอในชนบท ขั้นต�่ำนั้นถือเป็นนโยบายหนึ่งที่รัฐบาลให้ความ จากเหตุที่กล่าวมานั้น ส่งผลต่อรายได้เฉลี่ยของ ส�ำคัญมาตลอดในทุกยุคทุกสมัย เนื่องมาจาก แรงงานไทยทั้งสิ้น เนื่องจากท�ำให้อัตราค่าจ้าง นโยบายในเรื่องนี้จะน�ำไปสู่การได้ประโยชน์ ขั้นต�่ำเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ สาเหตุอีกประการหนึ่ง ในเชิงเศรษฐกิจ กล่าวคือ รัฐบาลสามารถก�ำหนด ก็คือ มีแรงงานที่ต้องการท�ำงานแต่ความรู้ นโยบายเพื่อควบคุมต้นทุนการผลิตสินค้าได้ ความสามารถหรือทักษะไม่ตรงกับงาน ท�ำให้ ด้วยการก�ำหนดค่าจ้างแรงงานขั้นต�่ำ ซึ่งเป็น ต้องลดอัตราค่าจ้างของตนลง เพื่อให้ได้งานท�ำ ไปเพื่อการได้เปรียบในการแข่งขันทางการค้า เพื่อมีรายได้ไว้จับจ่ายใช้สอย จะเห็นได้ว่าสิ่งต่าง ๆ และท�ำให้สามารถรักษาการเป็นฐานการผลิต เหล่านี้ท�ำให้ประสิทธิภาพของแรงงานต�่ำลง สินค้าไว้ได้ ด้วยเหตุนี้อาจมีส่วนท�ำให้การเพิ่มขึ้น และการได้ค่าจ้างในอัตราที่เหมาะสมจึงเป็นไป ของอัตราค่าจ้างในประเทศไทยจึงค่อนข้างต�่ำ ได้ยาก เพราะท�ำงานได้ไม่คุ้มค่ากับอัตราค่าจ้าง นอกจากนี้การวิเคราะห์ของส�ำนักงานคณะ ที่นายจ้างต้องจ่ายไป นับเป็นอีกสาเหตุหนึ่งของ กรรมการค่าจ้างกระทรวงแรงงาน พบว่า เมื่อ การเกิดขึ้นของปัญหาความยากจนในสังคมไทย เปรียบเทียบการปรับขึ้นของอัตราค่าจ้างขั้นต�่ำ ความยากจนเป็นปัญหาที่ไม่เคยหมดไปจาก วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 40

สังคมไทย ปัญหาความยากจนเป็นต้นเหตุให้เกิด สูงขึ้นจากอัตราค่าจ้างที่เพิ่มขึ้นในอนาคต ซึ่งจะ ปัญหาทางสังคมอื่น ๆ ตามมา เช่น ปัญหายาเสพติด เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการบริหารต้นทุน ปัญหาความรุนแรง ปัญหาครอบครัว และปัญหา ในภาคธุรกิจ ด้านสุขภาพอนามัย เป็นต้น อาจกล่าวได้ว่า “ปัญหาความยากจน” จึงเป็นปัญหาในเชิงระบบ วัตถุประสงค์ของการวิจัย และเป็นปัญหาระดับโครงสร้างของประเทศที่ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการก�ำหนด สั่งสมมานานในสังคมไทย จนเป็นอุปสรรคที่ อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย และพยากรณ์ ส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ แม้ว่าภาครัฐจะให้ อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย ในช่วงไตรมาส ความสนใจในการแก้ไขปัญหาความยากจน ที่ 2 ปี พ.ศ. 2560 ถึงไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2562 มาโดยตลอด นับตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 - 2529) ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย เป็นต้นมา แต่ยังไม่สามารถแก้ไขให้บรรลุผล ผลจากการศึกษาครั้งนี้ ท�ำให้ทราบว่า ที่จริงจัง ซึ่งนับวันยิ่งทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ปัจจัยใดที่ส่งผลทางบวกและทางลบต่ออัตรา เห็นได้ชัดจากการมีช่องว่างทางเศรษฐกิจ และ ค่าจ้างแรงงาน และเพื่อเป็นการพยากรณ์อัตรา การเกิดช่องว่างระหว่างการพัฒนาเมืองและ ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย ซึ่งหากผลการ ชนบท ศึกษาเป็นไปตามสมมติฐานที่วางไว้ อาจเป็น ดังนั้น เพื่อให้ทราบถึงแนวทางในการ ประโยชน์ต่อหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในเรื่อง ลดความเหลื่อมล�้ำของรายได้ในประเทศไทย การก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย และผลการศึกษาอาจท�ำให้ทราบถึงแนวทางที่ ของไทย เช่น กระทรวงแรงงาน เป็นต้น และอาจ สามารถน�ำมาช่วยลดปัญหาความยากจนลงได้ น�ำมาใช้เพื่อเป็นข้อมูลในการก�ำหนดนโยบาย ผู้วิจัยจึงเห็นว่าการน�ำปัจจัยต่าง ๆ มาศึกษา ที่น�ำไปสู่การกระจายรายได้ถือเป็นการลดความ เพื่อให้ทราบว่าปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลทางบวกและ เหลื่อมล�้ำทางสังคมได้อีกทางหนึ่ง รวมถึงเป็นการ ทางลบต่ออัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย เตรียมรับมือกับสถานการณ์ที่ส่งผลต่อปัจจัยต่าง ๆ นอกจากนี้ การน�ำปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นมาศึกษา อันมีผลต่ออัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย เพื่อน�ำไปสู่การพยากรณ์อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย นอกจากนี้ อาจใช้เป็นแนวทางในการวางแผน ของไทย อาจจะเกิดประโยชน์ไม่มากก็น้อย การด�ำเนินธุรกิจของภาคเอกชนในการบริหาร ในประเด็น ดังนี้ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ต้นทุนด้านอัตราค่าจ้างแรงงานให้เป็นไปอย่าง วางแผนเพื่อก�ำหนดค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย เหมาะสม และเพื่อทราบถึงแนวโน้มในเรื่องต้นทุนที่อาจเพิ่ม วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 41

ขอบเขตของการวิจัย ข้อมูลย้อนหลังครบถ้วนทั้ง 65 ไตรมาส ส่วนการ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาองค์ประกอบ พยากรณ์อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย แนวโน้ม และปัจจัยที่มีผลต่ออัตราค่าจ้าง ครั้งนี้ จะท�ำการพยากรณ์ใน 8 ไตรมาสข้างหน้า แรงงานเฉลี่ยของไทย โดยใช้ข้อมูลแบบอนุกรม หรือเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 2 ปี ตั้งแต่ไตรมาสที่ 2 เวลารายไตรมาสตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2544 ปี พ.ศ. 2560 ถึง ไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2562 ถึง ไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2560 จ�ำนวน 65 ไตรมาส ส�ำหรับข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลทุติยภูมิ สมมติฐาน อนุกรมเวลารายไตรมาสตั้งแต่ ไตรมาส 1 ปี สมมติฐานที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ β พ.ศ. 2544 ถึงไตรมาส 1 ปี พ.ศ. 2560 จ�ำนวน INCOME = C + 0 (LogT) β 65 ไตรมาส ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ + 1 (Log UNlabor) β ดังนี้ ข้อมูลอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย + 2 (LogGDP) β จากตาราง EC_RL_018 ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย + 3 (LogLB) จ�ำแนกตามอาชีพ (Bank of Thailand, 2017) โดยก�ำหนดให้

ข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศจากตาราง INCOME = อัตราค่าจ้างแรงงาน All tables QGDP (Office of the National เฉลี่ยของไทย Economic and Social Development (หน่วย : บาทต่อคน Council, 2017) ข้อมูลจ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ ต่อไตรมาส) จากตาราง 2.2 ตารางท้ายเล่มรายงานภาวะ Log (T) = จ�ำนวนนักท่องเที่ยว สังคมรายไตรมาส ปี พ.ศ. 2544 - 2560 (Office ต่างประเทศที่เดินทาง of the National Economic and Social เข้าประเทไทย Development Council, 2017) ข้อมูลจ�ำนวน (หน่วย : พันคน)

แรงงานของหน่วยธุรกิจจากตาราง EC_RL_010 Log (UNlabor) = จ�ำนวนแรงงาน ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพท�ำงาน (Bank ไร้ทักษะ of Thailand, 2017) ข้อมูลจ�ำนวนนักท่องเที่ยว (หน่วย : พันคน) ต่างประเทศที่เดินทางเข้าประเทศไทยจากตาราง Log (GDP) = ผลิตภัณฑ์มวลรวม EC_EI_028 เครื่องชี้ภาวการณ์ท่องเที่ยวจาก ในประเทศ GDP (Bank of Thailand, 2017) วารสารเอกสารงาน (หน่วย : ล้านบาท)

วิจัย และเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยท�ำการ Log (LB) = จ�ำนวนแรงงาน คัดเลือกปัจจัยที่น�ำมาศึกษาว่าปัจจัยใดบ้างที่มี ของหน่วยธุรกิจ (หน่วย : พันคน) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 42

จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดิน โดยใช้เลือกตัวแปรอิสระตามสมมติฐาน ทางเข้าประเทศไทย จ�ำนวนแรงงานของหน่วย ของวิธีการก�ำลังสองน้อยที่สุดดังต่อไปนี้ ธุรกิจ และผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ GDP 1. รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับอัตรา ตามกับตัวแปรอิสระรวมถึงตัวคลาดเคลื่อน ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย โดยที่จ�ำนวนแรงงาน จะต้องเป็นเส้นตรง ไร้ทักษะมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับ 2. ตัวแปรอิสระต้องไม่มีความสัมพันธ์ อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย เชิงเส้นอย่างสมบูรณ์ หรือตัวแปรอิสระไม่ควร

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ตัวแปรต้น - จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ ที่เดินทางเข้าประเทศไทย ตัวแปรตาม - จ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ - ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย - ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ - จ�ำนวนแรงงานในหน่วยธุรกิจ

ระเบียบวิธีวิจัย มีความสัมพันธ์เชิงเส้นกันสูงมากไป ใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (quantitative หรือไม่ควรมีปัญหา analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ Multicollinearity ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพล 3. ตัวคลาดเคลื่อน (Eror term) จะต้อง ต่อการก�ำหนดอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย มีการกระจายตัวแบบปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเป็นศูนย์ ได้แก่ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทาง และมีค่าความแปรปรวนคงที่ [ Cov ( , ) เข้าประเทศไทย ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ = 0 ส�ำหรับทุกค่าที่ i = j] หรือ ไม่มีปัญหา (Gross Domestic Product--GDP) จ�ำนวน Autocorrelation แรงงานไร้ทักษะ จ�ำนวนแรงงานของหน่วยธุรกิจ 4. ตัวแปรอิสระจะต้องไม่มีความสัมพันธ์ จากการน�ำข้อมูลที่รวบรวมได้มาประมวลผลโดยใช้ กับตัวคลาดเคลื่อน (Untong, A. , 2003) วิธีการถดถอยพหุเชิงเส้น (Multiple Linear การทดสอบความนิ่งของข้อมูล (Unit Regression) ซึ่งการวิเคราะห์เชิงปริมาณนี้จะอาศัย Root Test) ในการศึกษานี้จะท�ำการทดสอบ โปรแกรม EViews 8.1 ความนิ่งของข้อมูลอนุกรมเวลาที่น�ำมาใช้ใน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 43

แบบจ�ำลองเป็นอันดับแรก ก่อนที่จะน�ำชุดข้อมูล ประเทศไทย (T) จ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ (UNlabor) นั้น ๆ ไปใช้ในการประมาณค่า ซึ่งโดยทั่วไป ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic มักพบว่าข้อมูลอนุกรมเวลามีลักษณะไม่นิ่ง Product--GDP) และจ�ำนวนแรงงานในหน่วย

(Non-stationary) ดังนั้นจึงต้องน�ำข้อมูลเหล่านี้ ธุรกิจ (LB) เมื่อท�ำการศึกษาตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปี มาทดสอบคุณสมบัติว่ามีความนิ่งหรือไม่ ในการ พ.ศ. 2544 ถึงไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2560 พบว่า ศึกษานี้เลือกทดสอบความนิ่งของข้อมูลอนุกรม อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยต่อจ�ำนวน เวลาโดยใช้วิธี Augmented Dickey-Fuller--ADF นักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้าประเทศ test (Dickey & Fuller, 1981) เนื่องจากเป็นวิธี ไทย (T) และอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย ที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross ในการศึกษาความนิ่งของข้อมูลอนุกรม Domestic Product--GDP) มีความสัมพันธ์ วิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Correlation ในทิศทางเดียวกัน ส่วนอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย

Analysis) หลังจากที่ได้ทดสอบความนิ่งของ ของไทยต่อจ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ (UNlabor) และ ตัวแปรทุก ๆ ตัวแล้ว จะน�ำตัวแปรที่ผ่านการ อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยต่อจ�ำนวน

ทดสอบไปแทนค่าในสมการถดถอยพหุแล้วจะ แรงงานของหน่วยธุรกิจ (LB) มีความสัมพันธ์ น�ำมาวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพื่อวัดระดับความ ในทิศทางตรงกันข้ามกัน กล่าวคือ ภาคธุรกิจ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ด้วยค่าสัมประสิทธิ์ จะจ้างแรงงานสูงสุดที่อัตราค่าจ้างแท้จริง (W/P) สหสัมพันธ์ โดย จะมีค่าตั้งแต่ -1 ถึง 1 ถ้าตัวแปร เท่ากับผลิตภาพหน่วยสุดท้ายของแรงงาน ไม่มีความสัมพันธ์กัน จะมีค่าสหสัมพันธ์ = 0 (MPN) หรือเท่ากับจุดที่ W = MPN*P ดังนั้น การพยากรณ์อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย เมื่อหน่วยธุรกิจจ้างแรงงานเกินจุดดังกล่าว ของไทย ใช้วิธีการพยากรณ์อนุกรมเวลา (Time ถ้าไม่เพิ่มราคาสินค้าก็ต้องลดจ�ำนวนแรงงานลง Series Analysis) จะท�ำการพยากรณ์อัตรา เพื่อรักษาก�ำไรสูงสุดไว้ และในอนาคตหน่วยธุรกิจ ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยในอนาคตรวม มีแนวโน้มที่จะลดจ�ำนวนแรงงานคนลง เนื่องจาก 8 ไตรมาส โดยวิธีแยกส่วน จ�ำแนกตาม จะใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการผลิตมากขึ้น องค์ประกอบทั้ง 4 ชนิด คือ แนวโน้ม (T) ดัชนี เพื่อลดต้นทุน ท�ำให้ความต้องการแรงงานของ ฤดูกาล (S) ดัชนีวัฎจักร (C) และดัชนีความ หน่วยธุรกิจลดลง แต่ถึงแม้ว่าหน่วยธุรกิจจะลด ผันแปรไม่สม�่ำเสมอ (I) จ�ำนวนการจ้างงานลง แต่จะเพิ่มคุณสมบัติ ทักษะ และความรู้ความสามารถของแรงงานมากขึ้น สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ท�ำให้ค่าจ้างเฉลี่ยแรงงานเพิ่มขึ้นตามลักษณะงาน สรุปผลการวิจัย ที่ซับซ้อนและใช้ความรู้ความสามารถมากขึ้น ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ก�ำหนดอัตรา นั่นเอง โดยการเปลี่ยนแปลงตัวแปรหรือปัจจัย ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย ได้แก่ จ�ำนวน เหล่านี้ สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงอัตรา นักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้า ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยประมาณร้อยละ 94.23 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 44

และส�ำหรับค่า Durbin-Watson stat มีค่าเท่ากับ ดังกล่าวอาจท�ำให้เกินผลเสียหลาย ๆ ด้านต่อตัว 1.766362 ซึ่งอยู่ในช่วงที่สรุปได้ว่าไม่เกิดปัญหา ประมาณค่าของสมการถดถอย นอกจากนี้ปัญหา สหสัมพันธ์ในตัว (Autocorrelation) การตรวจสอบ Multicollinearity ไม่ได้ก่อให้เกิด Bias และ ปัญหา Multicollinearity ตรวจสอบด้วย Simple ในบางครั้งก็ไม่ได้ท�ำให้ T-statistic ที่ค�ำนวณได้ Correlation Coefficients ได้ค่าสหสัมพันธ์มีค่า มีขนาดลดลงจนไม่มีนัยส�ำคัญทางสถิติ และ อยู่ระหว่าง 0.7-1 (ไม่ควรมีค่าเกินสหสัมพันธ์เกิน ผู้วิจัยท�ำตรวจสอบปัญหา Heteroskedasticity 0.80) พบว่าตัวแปรอิสระบางตัวมีค่าสหสัมพันธ์กัน ด้วยการพิจารณากราฟกระจายตัวระหว่าง ค่อนข้างสูงมาก ซึ่งผู้วิจัยแก้ไขปัญหาดังกล่าว ค่าคลาดเคลื่อนกับตัวแปรอิสระทุกตัวดังภาพ โดย ไม่ด�ำเนินการแก้ไขปัญหา Multicollinearity ต่อไปนี้ เนื่องจากความพยาพยามในการแก้ไขปัญหา

ภาพที่ 1 ตรวจสอบปัญหา Heteroskedasticity ระหว่างค่าคลาดเคลื่อนกับ Log(T) ที่มา: จากการค�ำนวณ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 45

ภาพที่ 2 ตรวจสอบปัญหา Heteroskedasticity ระหว่างค่าคลาดเคลื่อนกับ Log(UNlabor) ที่มา: จาการค�ำนวณ

จากภาพที่ 1 แสดงถึงการกระจายตัว จากภาพที่ 2 แสดงถึงการกระจายตัว

ระหว่างค่าคลาดเคลื่อนกับ Log (T) ซึ่งเป็นการ ระหว่างค่าคลาดเคลื่อนกับ Log(UNlabor) ซึ่งเป็น กระจายตัวแบบไม่มีแบบแผนของการกระจายตัว การกระจายตัวแบบไม่มีแบบแผนของการ

และไม่ขึ้นอยู่กับ Log(T) กระจายตัว และไม่ขึ้นอยู่กับ Log(UNlabor) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 46

ภาพที่ 3 ตรวจสอบปัญหา Heteroskedasticity ระหว่างค่าคลาดเคลื่อนกับ Log(GDP) ที่มา: จากการค�ำนวณ

ภาพที่ 4 ตรวจสอบปัญหา Heteroskedasticity ระหว่างค่าคลาดเคลื่อนกับ Log(LB) ที่มา: จากการค�ำนวณ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 47

จากภาพที่ 3 แสดงถึงการกระจายตัว เข้าประเทศไทย ระหว่างค่าคลาดเคลื่อนกับ Log(GDP) ซึ่งเป็น (หน่วย : พันคน)

การกระจายตัวแบบไม่มีแบบแผนของการ Log(UNlabor) = จ�ำนวนแรงงาน กระจายตัว และไม่ขึ้นอยู่กับ Log(GDP) ไร้ทักษะ (หน่วย : พันคน) จากภาพที่ 4 แสดงถึงการกระจายตัว Log(GDP) = ผลิตภัณฑ์มวลรวม

ระหว่างค่าคลาดเคลื่อนกับ Log(LB) ซึ่งเป็นการ ในประเทศ GDP กระจายตัวแบบไม่มีแบบแผนของการกระจายตัว (หน่วย : ล้านบาท)

และไม่ขึ้นอยู่กับ Log(LB) Log(LB) = จ�ำนวนแรงงานของหน่วย ธุรกิจ (หน่วย : พันคน) สามารถเขียนในรูปสมการได้ดังนี้ การพยากรณ์อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย

INCOME = 47,174.82 + 3,561.451 Log(T) ของไทยมีขั้นตอนในการค�ำนวณ ดังนี้ น�ำค่าที่ได้

– 4,894.594 Log(UNlabor) จากการวิเคราะห์อนุกรมเวลา คือ ค่าแนวโน้ม (1.9884)* (2.8984)** ดัชนีฤดูกาล และดัชนีวัฏจักร แล้วท�ำการพยากรณ์ (-6.5608)*** แนวโน้ม จากนั้นน�ำค่าที่ได้จากการพยากรณ์ + 11,539.31 Log(GDP ) แนวโน้มของตัวแปร จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่าง

- 24,333.23 Log(LB) ประเทศที่เดินทางเข้าประเทศไทย ผลิตภัณฑ์ (5.0079)*** (-3.5422)*** มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product- โดยก�ำหนดให้ -GDP) จ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ โดยใช้ตัวแบบ

INCOME = อัตราค่าจ้างแรงงาน เชิงคูณ (Multiplicative Model) Y = T x C x S x I เฉลี่ยของไทย ในการวิเคราะห์อนุกรมเวลา โดยใช้ข้อมูลในช่วง (หน่วย : บาทต่อคน เวลาระหว่าง ไตรมาส 1 ปี พ.ศ. 2544 ถึงไตรมาส ต่อไตรมาส) 1 ปี พ.ศ.2560 เพื่อพยากรณ์แนวโน้ม ระหว่าง Log(T) = จ�ำนวนนักท่องเที่ยว ไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2561 ถึงไตรมาส 1 ปี ต่างประเทศที่เดินทาง พ.ศ. 2562 ดังตารางต่อไปนี้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 48

ตารางที่ 1 ค่าพยากรณ์จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้าประเทศไทยระหว่าง ไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2560 ถึง ไตรมาส 1 ปี พ.ศ.2562

ปี ไตรมาส ค่าแนวโน้ม ดัชนี ดัชนี ดัชนีความผันแปร ค่าพยากรณ์จ�ำนวนนักท่องเที่ยว ที่ ฤดูกาล วัฏจักร ไม่สม�่ำเสมอ ต่างประเทศที่เดินทางเข้าประเทศไทย (T) (S) (C) (I) Y = T * S * C * I 2560 2 8,873.94 0.898 1.008 0.960 7,713.89 3 9,086.10 0.940 0.991 1.035 8,755.36 4 9,301.81 1.026 0.994 1.043 9,903.13 2561 1 9,521.07 1.136 1.007 0.961 10,469.37 2 9,743.87 0.898 1.008 0.960 8,470.10 3 9,970.22 0.940 0.991 1.035 9,607.30 4 10,200.12 1.026 0.994 1.043 10,859.50 2562 1 10,433.56 1.136 1.007 0.961 11,472.74 ที่มา: จากการค�ำนวณ

จากตารางที่ 1 แสดงถึงดัชนีฤดูกาล ประเทศไทยมากที่สุดคือ ช่วงไตรมาส 2 ของทุกปี มีผลต่อจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทาง โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 และดัชนีความผันแปร เข้าประเทศไทยมากที่สุดคือ ช่วงไตรมาส 1 ของ ไม่สม�่ำเสมอ มีผลต่อจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ทุกปี โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 13 ดัชนีวัฏจักรมีผลต่อ ต่างประเทศที่เดินทางเข้าประเทศไทยมากที่สุด คือ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้า ช่วงไตรมาส 4 ของทุกปี โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.3 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 49

ตารางที่ 2 ค่าพยากรณ์จ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ ระหว่าง ไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2560 ถึง ไตรมาส 1 ปี พ.ศ.2562

ปี ไตรมาส ค่าแนวโน้ม ดัชนี ดัชนี ดัชนีความผันแปร ค่าพยากรณ์ ที่ ฤดูกาล วัฏจักร ไม่สม�่ำเสมอ จ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ (T) (S) (C) (I) Y = T * S * C * I 2560 2 218.03 1.023 1.007 0.962 215.94 3 208.76 0.823 1.000 1.029 176.85 4 199.49 1.038 0.988 1.047 214.22 2561 1 190.22 1.117 1.005 0.962 205.25 2 180.95 1.023 1.007 0.962 179.21 3 171.68 0.823 1.000 1.029 145.44 4 162.41 1.038 0.988 1.047 174.40 2562 1 153.14 1.117 1.005 0.962 165.24 ที่มา: จากการค�ำนวณ

จากตารางที่ 2 แสดงถึงดัชนีฤดูกาล เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 และดัชนีความผันแปร มีผลต่อจ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะมากที่สุดคือ ไม่สม�่ำเสมอมีผลต่อจ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ ช่วงไตรมาส 1 ของทุกปี โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.7 มากที่สุดคือ ช่วงไตรมาส 4 ของทุกปี โดยเพิ่มขึ้น ดัชนีวัฏจักรมีผลต่อจ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ ร้อยละ 4.7 มากที่สุดคือ ช่วงไตรมาส 2 ของทุกปี โดย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 50

ตารางที่ 3 ค่าพยากรณ์ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ GDP ระหว่าง ไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2560 ถึง ไตรมาส 1 ปี พ.ศ. 2562

ปี ไตรมาส ค่าแนวโน้ม ดัชนี ดัชนี ดัชนีความผันแปร ค่าพยากรณ์ผลิตภัณฑ์ ที่ ฤดูกาล วัฏจักร ไม่สม�่ำเสมอ มวลรวมในประเทศ GDP (T) (S) (C) (I) Y = T * S * C * I 2560 2 3,758,390.97 1.014 1.005 0.964 3,693,652.98 3 3,797,094.10 0.953 0.995 1.037 3,733,046.41 4 3,835,797.22 0.976 0.994 1.036 3,857,900.45 2561 1 3,874,500.35 1.056 1.006 0.964 3,964,292.99 2 3,913,203.47 1.014 1.005 0.964 3,845,798.84 3 3,951,906.60 0.953 0.995 1.037 3,885,247.60 4 3,990,609.72 0.976 0.994 1.036 4,013,605.03 2562 1 4,029,312.85 1.056 1.006 0.964 4,122,693.31 ที่มา: จากการค�ำนวณ

จากตารางที่ 3 แสดงถึงดัชนีฤดูกาล ของทุกปี โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 และดัชนีความ มีผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ GDP ผันแปรไม่สม�่ำเสมอมีผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม มากที่สุดคือ ช่วงไตรมาส 1 ของทุกปี โดยเพิ่มขึ้น ในประเทศ GDP มากที่สุดคือ ช่วงไตรมาส 3 ร้อยละ 5.6 ดัชนีวัฏจักรมีผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม ของทุกปี โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 ในประเทศ GDP มากที่สุดคือ ช่วงไตรมาส 1 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 51

ตารางที่ 4 ค่าพยากรณ์จ�ำนวนแรงงานของหน่วยธุรกิจ ระหว่าง ไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2560 ถึงไตรมาส 1 ปี พ.ศ.2562

ปี ไตรมาส ค่าแนวโน้ม ดัชนี ดัชนี ดัชนีความผันแปร ค่าพยากรณ์จ�ำนวน ที่ ฤดูกาล วัฏจักร ไม่สม�่ำเสมอ แรงงานของหน่วยธุรกิจ (T) (S) (C) (I) Y = T * S * C * I 2560 2 37,706.33 0.989 0.999 1.002 37,340.89 3 37,615.00 1.021 1.000 0.997 38,328.77 4 37,517.94 1.012 1.001 0.999 37,941.83 2561 1 37,415.16 0.978 1.000 1.002 36,640.84 2 37,306.66 0.989 0.999 1.002 36,945.09 3 37,192.43 1.021 1.000 0.997 37,898.18 4 37,072.47 1.012 1.001 0.999 37,491.32 2562 1 36,946.79 0.978 1.000 1.002 36,182.16 ที่มา: จากการค�ำนวณ

จากตารางที่ 4 แสดงถึงดัชนีฤดูกาล ตั้งแต่ไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2561 ถึงไตรมาสที่ 1 มีผลต่อจ�ำนวนแรงงานของหน่วยธุรกิจมากที่สุด ปี พ.ศ. 2562 รวมทั้งสิ้น 8 ไตรมาส คือ ช่วงไตรมาส 3 ของทุกปี โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 โดยวิธีการพยากรณ์เพื่อจะได้ค่า ดัชนีวัฏจักรมีผลต่อจ�ำนวนแรงงานของหน่วยธุรกิจ พยากรณ์ของอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของ มากที่สุดคือ ช่วงไตรมาส 4 ของทุกปี โดยเพิ่มขึ้น ไทย ในไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2560 จ�ำนวน ร้อยละ 0.1 และดัชนีความผันแปรไม่สม�่ำเสมอ 14,121.43 บาท, ในไตรมาสที่ 3 ปี พ.ศ. 2560 มีผลต่อจ�ำนวนแรงงานของหน่วยธุรกิจมากที่สุด จ�ำนวน 14,519.03 บาท, ในไตรมาสที่ 4 ปี คือ ช่วงไตรมาส 1 และ 2 ของทุกปี โดยเพิ่มขึ้น พ.ศ. 2560 จ�ำนวน 14,574.16 บาท, ในไตรมาส ร้อยละ 0.2 ที่ 1 ปี พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 15,256.14 บาท, ใน เมื่อน�ำข้อมูลในตารางที่ 1 2 3 และ 4 ไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 14,977.30 บาท, แทนค่าลงในสมการโดยใช้วิธีการวิเคราะห์การ ในไตรมาสที่ 3 ปี พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 15,397.9 บาท, ถดถอยพหุคูณ (Multiple Linear Regression ในไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 15,478.42 บาท, Analysis) เพื่อหาอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย และในไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2562 จ�ำนวน ของไทย การพยากรณ์นั้นจะท�ำการพยากรณ์ 16,188.08 บาท วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 52

ภาพที่ 5 อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย ไตรมาส 1 พ.ศ. 2544 ถึงไตรมาส 2 พ.ศ. 2560 และ ค่าพยากรณ์ค่าจ้างเฉลี่ยของประเทศไทย ตั้งแต่ ไตรมาส 2 พ.ศ. 2560 ถึง ไตรมาส 1 ปี พ.ศ. 2562 ที่มา: จาการค�ำนวณ

จากภาพที่ 5 เมื่อน�ำข้อมูลค่าจ้างเฉลี่ย ธุรกิจ (LB) จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลบวก ของประเทศไทย และค่าพยากรณ์อัตราค่าจ้าง ต่ออัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย ได้แก่ แรงงานเฉลี่ยของไทยมาสร้างกราฟจะเห็นว่า จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้า อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของประเทศไทย และ ประเทศไทย Log(T) และผลิตภัณฑ์มวลรวม ค่าพยากรณ์ใกล้เคียงกันมากสุดในช่วงไตรมาส 4 ในประเทศ GDP Log(GDP) ซึ่งสอดคล้องกับ พ.ศ. 2546 ถึงไตรมาส 4 พ.ศ. 2548 ส�ำหรับ ทฤษฎี และสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ส�ำหรับปัจจัย การพยากรณ์อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย ที่มีผลลบต่ออัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทย

มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และในเวลาอันใกล้ ค่าจ้างเฉลี่ย ได้แก่ จ�ำนวนแรงงานไร้ทักษะ Log(UNlabor)

ของไทยจะสามารถเพิ่มขึ้นได้ถึง 500 บาทต่อวัน และจ�ำนวนแรงงานของหน่วยธุรกิจ Log(LB) หรือ 15,000 บาทต่อเดือน โดยปัจจัยต่าง ๆ สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลง อภิปรายผลการวิจัย อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยของไทยได้อย่างมี ปัจจัยที่ก�ำหนดอัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย นัยส�ำคัญทางสถิติ ของไทย คือ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ผลการพยากรณ์อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย ต่างประเทศที่เดินทางเข้าประเทศไทย (T) จ�ำนวน ของไทย มีลักษณะเป็นเส้นแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น และ

แรงงานไร้ทักษะ (UNlabor) ผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ในเวลาอันใกล้ค่าจ้างเฉลี่ยของไทยจะสามารถ ประเทศ (GDP) และจ�ำนวนแรงงานของหน่วย เพิ่มขึ้นได้ถึง 500 บาทต่อวัน หรือ 15,000 ต่อเดือน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 53

ทั้งนี้ในไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2560 อัตราค่าจ้าง เดินทางไปตามจังหวัดต่าง ๆ ยังเป็นการช่วย แรงงานเฉลี่ยของไทย 14,574.16 บาทต่อเดือน กระจายรายได้สู่ท้องถิ่นได้ดีอีกทางหนึ่ง ลดความ หรือ 485.81 บาทต่อวัน เหลื่อมล�้าทางด้านรายได้ และกระจายต�าแหน่ง งานว่างจากเมืองสู่ภูมิภาคมากยิ่งขึ้น การส่งเสริม ข้อเสนอแนะ นโยบายการท่องเที่ยวต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเป็น การน�าผลการศึกษาที่ได้ในครั้งนี้ไปใช้ ช่องทางหนึ่งที่จะท�าให้ประเทศไทยหลุดจาก ในการพยากรณ์ อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง สู่ประเทศที่มีรายได้ ของไทย หรือใช้ก�าหนดค่าจ้างเฉลี่ยให้อยู่ใน สูงได้ นอกจากนี้หากลดจ�านวนแรงงานไร้ทักษะลง ระดับที่เหมาะสม และน�าไปใช้แก้ปัญหาการ ด้วยการอบรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ผ่านหลักสูตร กระจุกตัวของรายได้ โดยเห็นควรว่าควรเพิ่ม ระยะสั้น หรือเพิ่มระดับการศึกษาแก่แรงงานก็จะ จ�านวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้า ท�าให้อัตราค่าจ้างของแรงงานไทยเพิ่มขึ้น แต่วิธีนี้ ประเทศไทย เพราะมีผลต่ออัตราค่าจ้างแรงงาน จะใช้ระยะเวลานานกว่าถึงจะเห็นผลที่เป็นรูปธรรม เฉลี่ยของไทย นอกจากนี้การที่นักท่องเที่ยว แต่ก็เป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน

REFERENCES

Bank of Thailand. (2017). Average wage by occupation. Retrieved December 13, 2017, from https://www.bot.or.th/statistics/BOTWEBSTAT.aspx?reportID=667&language=TH (in Thai) Bank of Thailand. (2017). Number of employed persons classified by work status. Retrieved December 20, 2017, from http://www.bot.or.th/statistic/BOTWEBSTAT. aspx?4reportID=627&language=TH (in Thai) Bank of Thailand. (2017). Tourism Indicators. Retrieved December 25, 2017, from https://www.bot. or.th/App/BTWS_STAT/statistics/BOTWEBSTAT.aspx?reportID=624&language=TH (in Thai) Dickey, D. and W. Fuller. (1981). Likel ihood ratio statistics for autoregressive time series with a unit root. Econometrica, 49(4), 1057-1072. doi: 10.2307/1912517 Labour Market Information Administration Dirision. (2017). Labour Market Situation in 2017. Bangkok : Department of Employment. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 54

Ministry of Industry. (2011). Minimum wage for working capital. Investment Promotion Journal. 22(9). 11-17. (in Thai) Office of the National Economic and Social Development Council. (2017). All tables QGDP. Retrieved December 15, 2017, from http://social.nesdb.go.th/SocialStat/ StatReport_Final aspx?reportid=3456&template=2R2C&yeartype=M&subcatid=7 (in Thai) Office of the National Economic and Social Development Council. (2017).Information on job vacancies. Retrieved December 15, 2017, from http://social.nesdb.go.th/SocialStat/ StatReport_Final aspx?reportid=3456&template=2R2C&yeartype=M&subcatid=7 (in Thai) Untong, A. (2003). Handbook for Eviews Program to analyze unit root, cointegration and error correction model (according to Engle and Granger method). Retrieved November 4, 2016, from https://piboonrungroj.files.wordpress.com/2011/08/akarapong_handbook_ eviews_unit_root_conintegration_error_correction.pdf (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 55

บทความวิจัย

บทบาทผู้น�ำทางการเมืองของ มหาธีร์ โมฮัมหมัด POLITICAL LEADERSHIP ROLE OF MAHATHIR MOHAMAD รวิกานต์ อ�ำนวย1* และ ธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน2 Rawikarn Amnuay1* and Thanasarit satawetin2

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Doctor of philosophy (Politics), Faculty of political science ramkhamhaeng University, Bangkok, Thailand1*, 2

Email: [email protected]*

Received: 2019-06-21 Revised: 2019-09-02 Accepted: 2019-09-17

บทคัดย่อ บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิหลัง บทบาท และเส้นทางการรักษาอ�ำนาจทาง การเมืองของมหาธีร์ โมฮัมหมัด ในฐานะนายกรัฐมนตรี ระหว่างปี ค.ศ. 1981 - ค.ศ. 2003 ผลการศึกษาพบว่า 1. ภูมิหลังที่มีอิทธิพลท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด มีบทบาททางการเมืองในฐานะนายกรัฐมนตรี ได้แก่ การกล่อมเกลาจากครอบครัว สถานศึกษา กลุ่มเพื่อน และเข้ามามีบทบาททางการเมือง โดยเป็นนักกิจกรรมทางการเมืองตั้งแต่เป็นนักศึกษาแพทย์จนได้เข้าเป็นสมาชิกพรรคอัมโน ซึ่งเป็น รากฐานของพฤติกรรมทางการเมืองให้กับมหาธีร์ โมฮัมหมัด 2. เส้นทางการรักษาอ�ำนาจทางการเมือง พบว่า มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้การรักษาอ�ำนาจ ในการลดอ�ำนาจของสุลต่าน และปลดนายอันวาร์ อิบราฮิม ออกจากการรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง และสมาชิกพรรคอัมโน 3. บทบาทผู้น�ำทางการเมืองของมหาธีร์ โมฮัมหมัด ในฐานะนายกรัฐมนตรี ในระหว่างปี ค.ศ.1983 - 2003 ที่ส�ำคัญได้แก่ การน�ำนโยบายมองตะวันออกจากญี่ปุ่นมาใช้ และได้วางแผน ให้มาเลเซียเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วใน ค.ศ.2020 และก�ำหนดนโยบายคงค่าเงินริงกิตเพื่อแก้ไขวิกฤต เศรษฐกิจ พร้อมกับส่งเสริมค่านิยมแบบเอเชีย อีกทั้งได้เสนอแนวคิดกลุ่มเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 56

ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด มีบทบาทที่โดดเด่นในฐานะการมีจุดยืนในการมีทิศทาง ของตนเอง และเป็นแบบอย่างของอาเซียน อีกทั้งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล

ค�ำส�ำคัญ: บทบาท ผู้น�ำทางการเมือง มหาธีร์ โมฮัมหมัด

ABSTRACT In this research article, the researcher studies the background, roles, and the path to political power of Mahathir Mohamad as the Prime Minister of Malaysia between 1981 and 2003. Findings are as follows: 1. Familial socialization, educational institutions, and groups of friends constituted the background influence on Mahathir Mohamad’s political role as Prime Minister. He played a political role by becoming a political activist from the time he was a student of medicine until becoming a member of the United Malays National Organisation (UMNO). This background was the foundation for the political behavior of Mahathir Mohamad. 2. In regard to his path to political power, Mahathir Mohamad has maintained power by reducing the power of the two Sultans who were political activists in their states, dismissed Anwar Ibrahim as Deputy Prime Minister and Minister of Finance, demoted another Minister of Finance, and suspended members of the UMNO Party. 3. In his role as political leader as Prime Minister between 1983 and 2004, Mahathir Mohamad played important roles in the implementation of the Japan-oriented Look East Policy and in respect to his plan for Malaysia to become a developed country by 2020. He determined the policy of maintaining the value of the ringgit as Malaysia’s currency so as to solve the economic crisis of 1997-1998. He also promoted Asian values in addition to proposing a concept of an East Asia Economic Group. All of these factors converged to the end of Mahathir Mohamad being able to assume an outstanding role on the basis of a standpoint in which one follows one’s own direction as well as being a role model for the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN). He is internationally accepted.

Keywords: role political leadership Mahathir Mohamad วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 57

บทน�ำ ผู้น�ำทางการเมืองถือได้ว่าเป็นกลไกที่ ต่อเนื่องและไม่ค่อยแตกต่างกันมากนัก เว้นแต่ ส�ำคัญในโครงสร้างของระบบการเมือง ไม่ว่า จะเกิดวิกฤติที่ส�ำคัญขึ้นในระบบการเมืองนั้น ๆ จะเป็นผู้น�ำทางการเมืองในต�ำแหน่งนายก แต่ความไม่มั่นคงของผู้น�ำทางการเมืองที่มักจะ รัฐมนตรีของระบบการเมืองที่ปกครองโดย เกิดขึ้นพร้อมกับความผันผวนของระบอบการเมือง ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา หรือผู้น�ำ และความไม่ต่อเนื่องของสถาบันที่ส�ำคัญทาง ทางการเมืองในต�ำแหน่งประธานาธิบดีของระบบ การเมือง ไม่ว่าจะเป็นรัฐธรรมนูญ รัฐสภา การเมืองที่ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย การเลือกตั้ง และพรรคการเมือง (Glenn D. แบบประธานาธิบดี ทั้งในระบบการเมืองที่ยึดถือ Paige,1977) ดังนั้น การด�ำเนินบทบาทของผู้น�ำ อุดมการณ์ประชาธิปไตยหรือแม้แต่อุดมการณ์ ทางการเมืองมีความครอบคลุมถึงปรากฏการณ์ แบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ผู้น�ำและระบอบ การเมืองในด้านต่าง ๆ ของระบบการเมืองทั้ง การเมืองการปกครองแต่ละระบบจึงสัมพันธ์กัน ระบบ เนื่องจากการด�ำเนินบทบาททางการเมือง มหาธีร์ โมฮัมหมัด เป็นนักการเมือง โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ มาเลเซียที่มีบทบาททางการเมืองมานานกว่า ตัดสินใจและการใช้อ�ำนาจทางการเมืองของ ครึ่งศตวรรษ และเคยด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี ผู้น�ำก็จะสะท้อนต่อสังคมโดยรวม และผู้น�ำจะ มาเลเซียในช่วงปี ค.ศ. 1981- 2003 ด�ำรง กระท�ำบทบาททางการเมืองต่อการสร้างผลการ ต�ำแหน่งมานาน 22 ปี ท�ำให้ได้รับสมญานาม เปลี่ยนแปลงให้เกิดแก่ระบบการเมืองและสังคม หลายอย่าง เช่น ผู้น�ำที่สร้างความทันสมัยให้ ในแบบใดนั้น ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับด้านอื่นที่ปัจจัย มาเลเซีย ผู้น�ำของประเทศก�ำลังพัฒนาที่กล้า แวดล้อมอยู่ภายใต้บริบทของสังคมการเมืองด้วย วิจารณ์ต่อการครอบง�ำทางเศรษฐกิจของประเทศ แต่ถ้าในทางกลับกันหากการด�ำเนินบทบาท ตะวันตก ถือว่าเป็นผู้น�ำที่เด่นและมีชื่อเสียง ทางการเมืองของผู้น�ำทางการเมืองถูกก�ำหนด มากที่สุด ทั้งด้านการปกครองภายในประเทศ โดยปัจจัยแวดล้อมแต่เพียงด้านเดียว โดยไม่ และการด�ำเนินนโยบายต่างประเทศ มหาธีร์ สามารถเป็นผู้ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของปัจจัย โมฮัมหมัด มีลักษณะพิเศษส่วนตัวที่มีความ แวดล้อมต่าง ๆ ในระบบการเมืองได้ ความอ่อนแอ เด็ดเดี่ยว และใช้การตอบโต้ที่รุนแรง มหาธีร์ ของรัฐบาล ความขัดแย้งที่รุนแรงระหว่างกลุ่ม โมฮัมหมัด เริ่มชีวิตทางการเมืองในสมัย ตุนกู อ�ำนาจ และความไม่ต่อเนื่องของสถาบันส�ำคัญ อับดุล ราหมัน ซึ่งเป็นผู้น�ำคนแรกของมาเลเซีย และระบอบการเมืองก็จะปรากฏขึ้นภายใต้การ ภายหลังได้รับเอกราชมหาธีร์ โมฮัมหมัด เป็น ปกครองของผู้น�ำทางการเมืองยุคนั้น ๆ ซึ่งใน นักการเมืองและผู้น�ำประเทศยุคใหม่ที่สามารถ สังคมที่ระบบการเมืองพัฒนาในระดับสูง บทบาท ท�ำตัวทันต่อเหตุการณ์และการปรับประเทศ อ�ำนาจทางการเมืองของผู้น�ำและกลไกสถาบัน มาเลเซียเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีระดับสูง ท�ำให้ในช่วง ที่ส�ำคัญของระบบการเมือง จะมีลักษณะมั่นคง 22 ปี ของการปกครองประเทศ การเมืองและ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 58

เศรษฐกิจของมาเลเซียมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งการ 2. เพื่อศึกษาเส้นทางการรักษาอ�ำนาจ บริหารภายในประเทศและความสัมพันธ์ระหว่าง ทางการเมืองของ มหาธีร์ โมฮัมหมัด ในการด�ำรง ประเทศ ขณะเดียวกันมหาธีร์ โมฮัมหมัด ก็มี ต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี ระหว่างปี ค.ศ. 1981- ความเป็นประเพณีนิยมในการรักษาค่านิยมของ 2003 ชาวมลายู ด้วยการให้ศาสนาอิสลามเป็นหัวใจ 3. เพื่อศึกษาบทบาทผู้น�ำทางการเมือง ของศีลธรรมคนในสังคม แต่ไม่ยึดติดกับแนวคิด ของ มหาธีร์ โมฮัมหมัด ในการด�ำรงต�ำแหน่ง แบบเดิม มีการปรับหลักการของศาสนาและค่านิยม นายกรัฐมนตรี ระหว่างปี ค.ศ. 1981 - 2003 ให้เข้ากับเทคโนโลยี (Chaichok Chunlasiriwong, 2005) ขอบเขตของการวิจัย ในการศึกษาบทบาทผู้น�ำทางการเมือง การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาบทบาทผู้น�ำ ของมหาธีร์ โมฮัมหมัด โดยเฉพาะการด�ำเนิน ทางการเมืองของมหาธีร์ โมฮัมหมัด โดยศึกษา บทบาทผู้น�ำทางการเมือง เป็นเรื่องที่ควรแก่การ ข้อมูลเอกสารและเก็บข้อมูลในประเทศมาเลเซีย ศึกษาในฐานะผู้น�ำการเมืองที่ต่อต้านชาติตะวันตก โดยแบ่งขอบเขตการวิจัยออกเป็น 4 ด้าน คือ ซึ่งแตกต่างจากผู้น�ำทางการเมืองคนอื่น ๆ โดย ขอบเขตด้านเนื้อหา มหาธีร์ โมฮัมหมัด มีแนวความคิดที่จะไม่เดิน การวิจัยเรื่อง บทบาทผู้น�ำทางการเมือง ตามรอยของตะวันตก แต่กลับให้คุณค่ากับเอเชีย ของ มหาธีร์ โมฮัมหมัด ในการด�ำรงต�ำแหน่ง โดยการยึดนโยบายมองตะวันออกทั้งนี้เนื่องจาก นายกรัฐมนตรี ช่วงปี ค.ศ. 1981-2003 ซึ่งผู้วิจัย มหาธีร์ โมฮัมหมัด มีประสบการณ์การต่อสู้ ได้ท�ำการศึกษาภูมิหลังและเส้นทางการเข้ามา เรียกร้องเอกราชจากนักล่าอาณานิคมตะวันตก มีบทบาททางการเมืองของ มหาธีร์ โมฮัมหมัด (อังกฤษ) และมีแนวทางพัฒนามาเลเซียให้ก้าวขึ้น ศึกษาด�ำเนินบทบาททางการเมืองและรักษา เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วให้ทัดเทียมชาติตะวันตก อ�ำนาจทางการเมือง ที่พัฒนาแล้วทั้งหลาย ท�ำให้มาเลเซียกลายเป็น ขอบเขตด้านผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ ประเทศก�ำลังพัฒนาที่ประสบความส�ำเร็จมากสุด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประเทศหนึ่งเป็นแบบอย่างว่าประเทศมุสลิม (qualitative research) ในลักษณะวิเคราะห์ สามารถมีระบอบการเมืองประชาธิปไตยและการ เนื้อหา (content analysis)และบรรยาย ควบคู่ พัฒนาที่ทันสมัย ไปกับการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ คือ นายกรัฐมนตรี วัตถุประสงค์ของการวิจัย มาเลเซีย นักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่น และ 1. เพื่อศึกษาภูมิหลังการเข้ามามีบทบาท ประชาชน รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซียโดยน�ำ ทางการเมืองของมหาธีร์ โมฮัมหมัดในการด�ำรง ข้อมูลทั้งจากการสัมภาษณ์และจากเอกสารมา ต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี ระหว่างปี ค.ศ. 1981- ศึกษาวิเคราะห์และตีความร่วมกัน 2003 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 59

ขอบเขตด้านพื้นที่ Interview) เป็นวิธีการหลักในการศึกษา โดยจะใช้ เกาะลังกาวี รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย วิธีการสังเกตช่วยในการตรวจสอบข้อมูล การศึกษา ขอบเขตด้านเวลา ครั้งนี้ผู้วิจัย ใช้แนวคิดเกี่ยวกับการกล่อมเกลา การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาบทบาทผู้น�ำทางการ ทางการเมืองและแนวคิดเกี่ยวกับบทบาทผู้น�ำ เมืองของมหาธีร์ โมฮัมหมัด ในฐานะนายก ทางการเมือง แนวคิดเกี่ยวกับอ�ำนาจเป็นแนวคิด รัฐมนตรี ในระหว่าง ค.ศ. 1981 - ค.ศ. 2003 หลักในการศึกษา แต่ในการตรวจสอบผลการ ศึกษานั้นผู้วิจัยได้ใช้หลากหลายแนวคิดและ ระเบียบวิธีวิจัย งานวิจัยจากสาขาวิชารัฐศาสตร์ สังคมวิทยาและ การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษาวิจัย มานุษยวิทยา และใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการ ด้วยการตีความเชิงอุปนัยและการวิเคราะห์เชิง ศึกษาเอกสาร ได้แก่ หนังสือ เอกสารวิชาการ ตรรกะแล้วใช้การพรรณนาความ (Descriptive) ทางรัฐศาสตร์ บทความทั้งภาษาไทยและภาษา ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว อังกฤษ รวมไปถึงข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตที่เกี่ยวข้อง กับนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ควบคู่กับ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ คือ นายกรัฐมนตรี สรุปผลการวิจัย มาเลเซีย นักการเมืองระดับชาติและระดับท้องถิ่น 1. ภูมิหลังการเข้ามามีบทบาททาง ผู้น�ำชุมชนและประชาชน ในพื้นที่เกาะลังกาวี การเมืองของมหาธีร์ โมฮัมหมัด รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย จ�ำนวน 16 คน และ ภูมิหลังการของมหาธีร์ โมฮัมหมัด การเก็บรวบรวมโดยมีการจัดการอย่างมีระบบ เป็นผู้น�ำทางการเมืองที่มาจากชนชั้นกลาง ระเบียบ แม้จะมียุทธวิธีในการศึกษาที่ยืดหยุ่น ซึ่งแตกต่างจากผู้น�ำคนก่อน ๆ ที่มาจากชนชั้นสูง และอ่อนไหวไปตามบริบท โดยมีการตรวจสอบ ชีวิตในวัยเยาว์ได้รับการอมรมทางด้านศาสนา ความน่าเชื่อถือของการวิจัย (Trustworthiness) อิสลามทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน อีกทั้งบิดาของ ด้วยการใช้วิธีการตรวจสอบแบบสามเส้า คือ มหาธีร์ โมฮัมหมัด เป็นครูจึงต้องการให้ลูกมี ใช้วิธีการตรวจสอบข้อมูลจากหลากหลายวิธีวิจัย การศึกษา มีอาชีพที่ดี มีความเคารพอาวุโส (Methodological Triangulation) โดยผู้วิจัย มีความรับผิดชอบ ฝึกให้เอาชนะอุปสรรคและ ท�ำการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบทบาทผู้น�ำ ให้รู้จักคุณค่าและเคารพตนเอง มหาธีร์ ทางการเมืองของ มหาธีร์ โมฮัมหมัด จากค�ำ โมฮัมหมัด ได้เข้าศึกษาระดับประถมศึกษา บอกเล่าของผู้ให้ข้อมูลเป็นหลัก เนื่องจากผู้วิจัย ในโรงเรียนมาเลย์และในระดับมัธยมศึกษา ต้องการศึกษาเหตุการณ์ที่อยู่ในความทรงจ�ำ เข้าศึกษาที่โรงเรียนอังกฤษ ครั้งเกิดสงครามโลก จากประสบการณ์ชีวิตจริงของผู้ให้ข้อมูลหรือเป็น ครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองมาเลเซียตั้งแต่ ข้อมูลจากมุมมองของผู้ให้ข้อมูลเอง ดังนั้นผู้วิจัย ค.ศ.1941 - 1945 เป็นระยะเวลา 4 ปี หลังจากนั้น จึงใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth โรงเรียนในมาเลย์ได้ปิดตัวลง และโรงเรียน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 60

ญี่ปุ่นเปิดขึ้นมาแทน ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด นโยบายของนายกรัฐมนตรี ตุนกู อับดุล รามาน ต้องเข้าศึกษาในโรงเรียนญี่ปุ่น และได้รับเลือก รัฐบาลในสมัยนั้นว่าล้มเหลวไม่อยู่ข้างเดียว ให้เป็นหัวหน้าห้อง จากสงครามครั้งนี้ได้ปลูก กับคนมลายูในการต่อสู้จากการถูกครอบง�ำ จิตส�ำนึกของการตกเป็นอาณานิคม ท�ำให้ ทางเศรษฐกิจของคนจีนซึ่งเป็นคนกลุ่มน้อย มหาธีร์ โมฮัมหมัด เริ่มสนใจและเข้ามาเกี่ยวข้อง ในประเทศ และต่อมามหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้กลับ กับการเมืองมากขึ้น โดยร่วมกับเพื่อน ๆ ต่อต้าน คืนสู่พรรคอัมโนอีกครั้ง หลังตุนกู อับดุล รามาน ข้อเสนอตั้งสหพันธ์มาเลเซียตามแนวคิดของ ลาออกจากต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี และตุน ราซัค อังกฤษ หลังจากนั้นอังกฤษก็ล้มเลิกแนวคิด ขึ้นด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของ ดังกล่าว (Mahathir Mohamad, 2011 pp. 84 -86) มาเลเซีย ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้รับเลือก ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด รู้สึกถึงความจ�ำเป็น ให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอีกทั้งได้รับการ ที่ต้องมีการศึกษาที่สูงขึ้นเพื่อให้ได้การยอมรับ แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการอีกด้วย ในฐานะผู้น�ำ หลังจากจบการศึกษาระดับมัธยม ต่อมานายกรัฐมนตรีตุน ราซัค ได้ลาออก และ ด้วยคะแนนที่ดีเยี่ยม ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด ฮุสเซน ออน ได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นด�ำรงต�ำแหน่ง ได้รับทุนการศึกษาเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัย นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคอัมโนแทนในปี แพทย์ศาสตร์ ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาทางการ ค.ศ.1976 ซึ่งถือได้ว่ามหาธีร์ โมฮัมหมัด เป็น แพทย์ที่ดีที่สุดในมาเลเซีย (มลายา) หลังจาก ทายาททางการเมืองของนายกรัฐมนตรีฮุสเซน ออน ส�ำเร็จการศึกษาได้เข้ารับราชการเป็นแพทย์และ ท�ำให้ได้ด�ำรงต�ำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ได้แต่งงานกับแพทย์หญิงฮาสมา ซึ่งคบหากันมา รองหัวหน้าพรรคอัมโน และรัฐมนตรีกระทรวง ตั้งแต่เรียนในวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ โดยเริ่ม การค้าและอุตสาหกรรม ซึ่งกระทรวงดังกล่าวถือ เข้าท�ำงานเป็นแพทย์ในโรงพยาบาลอลอน์สตาร์ เป็นกระทรวงที่มีความส�ำคัญที่สุดกระทรวงหนึ่ง เป็นเวลา 2 ปี ก่อนจะลาออกจากราชการมาเปิด ของมาเลเซีย ต่อมาในปี ค.ศ.1981 ฮุสเซน ออน คลีนิคในบ้านเกิดของตน โดยให้การรักษาฟรี ได้ลาออกจากต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจาก แก่คนยากจนในชนบทจนกลายเป็นหมอที่มี ปัญหาสุขภาพ ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด ที่เป็น ชื่อเสียง และท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด รู้จักกับ ทายาททางการเมืองได้รับเลือกให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้คนหลากหลายกลุ่มทั้งพ่อค้าและนักธุรกิจ นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคอัมโน ซึ่งถือได้ว่า จนมีโอกาสร่วมทุนกันท�ำธุรกิจ มหาธีร์ โมฮัมหมัด เป็นนายกรัฐมนตรีที่ด�ำรง มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้ผันตัวเองเข้าสู่ ต�ำแหน่งยาวนานถึง 22 ปี ยาวนานที่สุดใน การเมือง ใน ค.ศ.1964 โดยได้รับเลือกตั้งให้เป็น ประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศมาเลเซีย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสังกัดพรรคอัมโน ในรัฐ โดยสะท้อนได้จากผลการเลือกตั้งทั้ง 5 ครั้ง เคดาห์บ้านเกิด และในปี ค.ศ.1969 มหาธีร์ ใน ค.ศ. 1982, ค.ศ. 1986, ค.ศ. 1990, ค.ศ. 1995, โมฮัมหมัด แพ้การเลือกตั้งและถูกขับออกจาก ค.ศ. 1999 โดยคะแนนของพรรคแนวร่วมแห่งชาติ พรรคอัมโน เนื่องจากได้ไปวิพากษ์วิจารณ์ ซึ่งมีพรรคอัมโนเป็นแกนน�ำ ซึ่งมีคะแนนน�ำพรรค วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 61

ฝ่ายค้านมาตลอด ท�ำให้สามารถจัดตั้งรัฐบาล จะมุ่งไปที่วิธีการรักษาอ�ำนาจทางการเมืองของ และเป็นเสียงส่วนมากในรัฐสภามาเลเซียอีกด้วย ประเทศที่ก�ำลังพัฒนา ซึ่งชี้ให้เห็นว่าผู้น�ำของ มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้ประกาศยุติ ประเทศที่ก�ำลังพัฒนาหลังจากที่ได้อ�ำนาจมาแล้ว บทบาททางการเมืองในต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี พยายามที่จะสร้างและรักษาอ�ำนาจทางการเมือง และต�ำแหน่งต่าง ๆ ในพรรคอัมโนในปี ค.ศ.2003 ไว้ให้คงอยู่ต่อไปให้นานที่สุด โดยใช้วิธีใดวิธีหนึ่ง เนื่องจากหลายปัจจัยโดยปัจจัยแรกคืออายุที่ หรืออาจจะใช้หลายวิธีร่วมกันแล้วแต่บริบท มากขึ้นและปัญหาทางสุขภาพที่เริ่มชราภาพลง ของแต่ละประเทศ ซึ่งพบว่ามหาธีร์ โมฮัมหมัด ประการที่สองเกิดความขัดแย้งทางความคิด ได้รักษาอ�ำนาจทางการเมืองดังนี้ ที่เกิดจากกระแสระหว่างคนรุ่นใหม่กับมหาธีร์ 2.1 การสร้างอุดมการณ์ทาง โมฮัมหมัด ที่คนรุ่นใหม่ต้องการปรับเปลี่ยน การเมือง หลังจากเข้าด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี โฉมหน้ามาเลเซียภายใต้แนวคิดของมหาธีร์ ใน ค.ศ. 1981 นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด โมฮัมหมัด แต่คนรุ่นใหม่กลับปฏิเสธแนวคิดของ ได้เริ่มเผชิญกับปัญหาทางการเมืองโดยมีเหตุการณ์ มหาธีร์ โมฮัมหมัด ซึ่งคนรุ่นใหม่ต้องการที่จะเป็น ส�ำคัญที่ มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้ด�ำเนินบทบาท ผู้ชี้น�ำทิศทางของมาเลเซียเอง และปัจจัยที่สาม ในช่วงด�ำรงต�ำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี คือ คือคะแนนนิยมในตัวของมหาธีร์ โมฮัมหมัด การแก้ไขรัฐธรรมนูญในการลดอ�ำนาจของสุลต่าน จากประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศลดลงอย่าง เนื่องจากมหาธีร์ โมฮัมหมัด เห็นว่าสุลต่านมีอ�ำนาจ เห็นได้ชัด ดังนั้น มหาธีร์ โมฮัมหมัด จึงได้มีการ มากเกินไปท�ำให้ขัดขวางกระบวนการทางการเมือง วางตัวทายาททางการเมือง คือ นายอับดุลลาห์ และการบริหารประเทศเป็นไปอย่างล่าช้าใน อาหมัด บาดาวี มาสานงานต่อ ซึ่งก่อนที่มหาธีร์ ทุก ๆ ด้าน ซึ่งความขัดแย้งระหว่างนายกรัฐมนตรี จะลงจากต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้วางระบบ มหาธีร์ โมฮัมหมัด กับสุลต่าน จุดเริ่มต้นเกิดจาก การบริหารประเทศตามแนวทางและอุดมการณ์ การแย่งชิงผลประโยชน์เกี่ยวกับการท�ำไม้ระหว่าง ของตนไว้ ถึงแม้บทบาททางการเมืองของมหาธีร์ สุลต่านของรัฐปาหังกับมุขมนตรีของรัฐ ซึ่งที่ โมฮัมหมัด จะสิ้นสุดลงแล้วแต่คุณูปการต่อประเทศ ผ่านมาจะเห็นว่านายกรัฐมนตรีหลายคนก่อนหน้า มาเลเซียมีมากมายมหาศาล ให้ความเคารพอย่างเหมาะสมต่อสุลต่านและ 2. เส้นทางการรักษาอ�ำนาจทางการเมือง หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า แต่ในยุคของมหาธีร์ ของมหาธีร์ โมฮัมหมัด โมฮัมหมัด ได้เกิดความขัดแย้งกับผู้น�ำระดับต่าง ๆ เส้นทางการรักษาอ�ำนาจทางการ ในหลายครั้ง ต่อมานายกรัฐมนตรีมหาธีร์ เมืองของมหาธีร์ โมฮัมหมัด ในการด�ำรงต�ำแหน่ง โมฮัมหมัด ได้มองเห็นช่องทางที่จะลดอ�ำนาจ ทางการเมืองในฐานะนายกรัฐมนตรีในช่วง ของสุลต่านที่ขัดขวางกระบวนการทางการเมือง ค.ศ. 1981 - ค.ศ. 2003 สามารถอยู่บนเส้นทาง ซึ่งถ้ามีการแต่งตั้งสุลต่านหรือ ยังดี เปอร์ตวน อ�ำนาจทางการเมืองได้ยาวนานถึง 22 ปี ในฐานะ อากง และถ้าหากผู้ช่วยที่ไม่ให้ความร่วมมือกับ นายกรัฐมนตรี ซึ่งเส้นทางในการรักษาอ�ำนาจนั้น รัฐบาลด้วยการถ่วงการลงพระนามในข้อฎีกา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 62

ซึ่งบางครั้งอาจใช้เวลาหลายเดือน ท�ำให้การ แก่สุลต่านและพระราชวงศ์ที่ท�ำผิดกฎหมาย บริหารประเทศเกิดความล่าช้า หรือชะลอการ บ้านเมืองขึ้นมาในปี ค.ศ.1993 (Anthony ลงพระนามรับรองกฎหมายที่สุลต่านไม่เห็นด้วย S.K.Shome, 2002 pp. 137 - 139) ซึ่งกฎหมาย ทั้งที่กฎหมายนั้นผ่านการลงมติรับรองจากรัฐสภา ฉบับดังกล่าวถือเป็นการควบคุมอ�ำนาจและสถานะ มาแล้ว ท�ำให้นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ทางการเมืองให้อยู่ภายใต้กฎหมายและอ�ำนาจรัฐ ได้ผลักดันให้มีการด�ำเนินการแก้ไขกฎหมาย หรือการอยู่ภายใต้การควบคุมของฝ่ายการเมือง รัฐธรรมนูญ โดยการน�ำเรื่องของสุลต่านเข้าพิจารณา 2.2 การสร้างคุณสมบัติส่วนตัว ในรัฐสภา ซึ่งก็สามารถแก้ไขรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับ ให้เป็นที่นิยมนับถือในหมู่ประชาชน โดย มหาธีร์ อ�ำนาจของสุลต่านได้โดยให้ยกเลิกรัฐธรรมนูญ โมฮัมหมัด ได้ท�ำให้ตนเองเป็นผู้น�ำที่เปี่ยมด้วย บางมาตรา ท�ำให้นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด บารมี โดยการให้ความส�ำคัญกับศาสนาอิสลาม สามารถลดบทบาทของสุลต่านลงได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งเป็นศาสนาประจ�ำชาติมีการน�ำหลักการ และยังท�ำให้สุลต่านไม่สามารถขัดขวาง ศาสนาอิสลามมาประยุกต์ใช้อย่างจริงจัง กระบวนการทางนิติบัญญัติได้อีกหลังจากมีการ ในสังคมมาเลเซีย อีกทั้งยังเป็นบุคคลที่สนับสนุน แก้ไขรัฐธรรมนูญโดยรัฐสภาเป็นที่เรียบร้อย ชาวมลายูให้มีสถานะทัดเทียมกับเชื้อชาติอื่น ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายการเมืองที่ และเป็นผู้น�ำที่มีความรู้ความสามารถ มีวิสัยทัศน์ น�ำโดยนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด กับ ที่กว้างไกล มีความเด็ดขาดกล้าหาญ อีกทั้ง สถาบันสุลต่านยังคงด�ำเนินมาเป็นระยะจนกระทั่ง นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด เป็นคนมีความ ความขัดแย้งทางการเมืองของทั้งสองฝ่ายก็เกิดขึ้น เชื่อมั่นสูง มีความเด็ดขาด สามารถน�ำเสนอ อีกครั้ง ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวน�ำไปสู่การตัดสินใจ แนวคิดและภาพลักษณ์ของการเป็นผู้น�ำที่มุ่งเน้น ออกกฎหมายเพื่อควบคุมพระราชอ�ำนาจของ การพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการผลักดันให้เกิด สุลต่านและพระราชวงศ์ในมาเลเซีย โดยนายก โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ทั่วประเทศมาเลเซีย รัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้เริ่มด�ำเนินการ ท�ำให้ประชาชนมาเลเซียยอมรับว่านายกรัฐมนตรี ตัดทอนสิทธิพิเศษของสุลต่านที่เคยมีมา ท�ำให้ มหาธีร์ โมฮัมหมัด เป็นบุคคลส�ำคัญที่มีส่วน นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ถูกกล่าวหา สร้างความเจริญ ก้าวหน้าให้แก่ประเทศมาเลเซีย ว่าต้องการท�ำให้อ�ำนาจของสถาบันสุลต่าน เป็นอันมาก ซึ่งบุคลิกลักษณะของนายกรัฐมนตรี อ่อนแอลงเพื่อเสริมอ�ำนาจให้กับตัวเอง และครั้งนี้ มหาธีร์ โมฮัมหมัด นั้นเป็นคนที่พูดค่อยและ ผลปรากฏว่าภายในหนึ่งเดือนของการเสนอร่าง มีท่าทีสุภาพ สุขุม นุ่มนวล และเป็นผู้น�ำที่มี แก้ไขรัฐธรรมนูญ สถาบันสุลต่านยินยอมที่จะสละ สติปัญญาที่ชาญฉลาด คือ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ความคุ้มครองตามกฎหมายของตนเอง แต่เรียกร้อง มีบทบาทในการก�ำหนดนโยบายพัฒนาประเทศ ว่าการด�ำเนินคดีของสุลต่านจะต้องกระท�ำที่ศาล เป็นคนเด็ดขาด ฉับไว ทั้งความคิดและการกระท�ำ พิเศษเท่านั้น ท�ำให้มีการประกาศใช้กฎหมาย ที่ท�ำให้พัฒนาประเทศประสบผลส�ำเร็จ แก้ไข ฉบับใหม่ที่ว่าด้วยการยกเลิกการให้อภัยโทษ ปัญหาเศรษฐกิจได้อย่างรวดเร็ว ท�ำให้การเมือง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 63

มาเลเซียมีเสถียรภาพสูง และสามารถบริหาร คะแนนเสียงจาการสนับสนุนจากชาวมลายู ประเทศได้อย่างสะดวก โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ ในชนบทซึ่งเป็นคนส่วนมากของประเทศ อีกทั้ง ของประเทศชาติเป็นหลัก การสนับสนุนจากต�ำรวจ ถือได้ว่าต�ำรวจมีบทบาท 2.3 การสร้างกลุ่มทางการเมืองขึ้นมา และฐานะส�ำคัญที่จะช่วยให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด สนับสนุน นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด คงไว้ซึ่งฐานอ�ำนาจทางการเมืองของตน ต�ำรวจ ได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากสมาชิกรัฐสภา เป็นก�ำลังส�ำคัญของ มหาธีร์ โมฮัมหมัด โดยเป็น จึงมีอ�ำนาจตามรัฐธรรมนูญมาเลเซียในการ กลไกในการปราบปรามกลุ่มผู้ชุมนุม และสามารถ ออกนโยบายและโครงการต่าง ๆ ซึ่งแต่ละครั้งนั้น ปราบปรามได้เด็ดขาดอันน�ำไปสู่ความสงบ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากสมาชิกในรัฐสภา เรียบร้อยของมาเลเซียในที่สุด ดังนั้น ต�ำรวจ ซึ่งได้รับคะแนนโหวตจาก 2 ใน 3 ของสมาชิก จึงต้องปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายที่ได้บัญญัติไว้ ในรัฐสภาทั้งหมด และนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ ในรัฐธรรมนูญในการรักษาความสงบเรียบร้อย โมฮัมหมัด ได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจาก ภายในบ้านเมืองให้เป็นปกติสุข โดยการสั่งการ สมาชิกรัฐสภาทั้งในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ การออก ของรัฐบาลของประเทศมาเลเซีย นโยบาย โครงการ จนได้รับความไว้วางใจในการ 2.4 การใช้อ�ำนาจและกฎหมายก�ำจัด เป็นผู้น�ำของประเทศมาเลเซียตลอด 22 ปี และ ฝ่ายปรปักษ์ทางการเมือง มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้รับการสนับสนุนจากสมาชิกพรรคอัมโน ซึ่งถือ ในฐานะนายกรัฐมนตรีได้ด�ำเนินการบริหาร เป็นฐานเสียงที่ส�ำคัญ และถือว่าพรรคการเมืองนั้น ปกครองประเทศตามแนวคิดและความต้องการ ได้สร้างฐานการเมืองเชื่อมโยงกับประชาชน ของตนเป็นส�ำคัญ โดยเฉพาะการก�ำหนดนโยบาย ส่วนใหญ่ของมาเลเซีย ซึ่งพรรคการเมืองในมาเลเซีย ต่าง ๆ ซึ่งใช้เป็นหลักในการบริหารและปกครอง จะเป็นพรรคที่เน้นเชื้อชาติและศาสนาเป็นส�ำคัญ ประเทศนั้นล้วนมาจากนโยบายของนายกรัฐมนตรี ส่วนพรรคอัมโนเองก็สามารถสนองตอบต่อความ มหาธีร์ โมฮัมหมัด ทั้งสิ้น ซึ่งปกครองแบบอ�ำนาจ ต้องการของของประชาชนกลุ่มภูมิบุตรได้เป็น นิยม โดยมีกฎหมายการรักษาความมั่นคงภายใน อย่างดี จากนโยบายที่เน้นการประสานประโยชน์ ของประเทศมาเลเซีย (Internal Security Act : ระหว่างเชื้อชาติท�ำให้พรรคอัมโนสามารถจัดตั้ง ISA) ท�ำให้กฎหมายความมั่นคงภายในก็กลาย รัฐบาลได้อย่างต่อเนื่องและมีการก่อตั้งพรรค เป็นเครื่องมือที่สมบูรณ์และรอบด้านที่สุดของ รัฐบาลที่เรียกว่า พรรคแนวร่วมแห่งชาติ ซึ่งเป็น ผู้มีอ�ำนาจ แม้จะมีการปรับแก้ข้อบังคับบางมาตรา การดึงเอาเสียงสนับสนุนจากพรรคการเมืองที่มี แต่ก็ยังมีลักษณะของความเป็นเผด็จการอย่าง พื้นฐานและอุดมการณ์ต่าง ๆ ให้มาอยู่ในองค์กร ชัดเจน ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือส�ำคัญที่รัฐบาล เดียวกันเพื่อรักษาผลประโยชน์และอ�ำนาจทาง มาเลเซียใช้เพื่อรักษาความสงบของประเทศ การเมือง อีกทั้งพรรคอัมโนมีเครือข่ายและกลไก มาอย่างยาวนาน โดยที่กฎหมายฉบับนี้ให้อ�ำนาจ ในด้านอุปถัมภ์มากมายช่วยให้สมาชิกพรรค อย่างสูงแก่ รัฐบาลมหาธีร์ โมฮัมหมัด และ สามารถชนะการเลือกตั้ง และสามารถรักษา เจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 64

การใช้อ�ำนาจและกฎหมายก�ำจัดฝ่าย กฎหมายฉบับนี้มาใช้เพื่อจับกุมและคุมขังบุคคล ปรปักษ์ทางการเมืองสะท้อนให้เห็นได้จาก จ�ำนวนมากโดยมักมีความผิดฐานภัยคุกคามต่อ เหตุการณ์ กรณีนายอันวาร์ อิบราฮิม รองนายก ความมั่นคงของชาติ รัฐมนตรี ซึ่งเกิดจากการมีแนวความคิดด้าน 2.5 การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ นโยบายเศรษฐกิจที่แตกต่างกันประกอบกับ ให้เจริญมั่งคั่ง นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ความต้องการที่จะขจัดการท้าทายจากคู่แข่ง ถือได้ว่าในการต่อสู้ทางการเมืองได้ให้ความ ท�ำให้นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ปลด ส�ำคัญกับเรื่องเศรษฐกิจเป็นเรื่องที่ส�ำคัญที่สุด รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ซึ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญ การคลัง นายอันวาร์ อิบราฮิม ออกในปี ค.ศ. 1998 มั่งคั่งจะเน้นการส่งเสริมความร่วมมือทาง และใช้กฎหมายความมั่นคงภายใน (Internal เศรษฐกิจกับกลุ่มประเทศตะวันออกมากขึ้น Security Act : ISA) ด�ำเนินคดีในการจัดการ อีกด้วย โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ นายอันวาร์ อิบราฮิม และกรณีการควบคุมสื่อ ที่มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ อีกทั้งได้ให้ความ ซึ่งมหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้ใช้อ�ำนาจในการควบคุม ส�ำคัญกับกลุ่มประเทศตะวันออกที่ก�ำลังเจริญ สื่ออย่างจ�ำกัด ท�ำให้การแสดงความคิดเห็นของ รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจที่จะสามารถท�ำให้ประเทศ สื่อในทางการเมืองถูกจ�ำกัดมากขึ้น สื่อต่าง ๆ มาเลเซียมีโอกาสที่มีความหลากหลายในการ ถูกจ�ำกัดการรายงานจนท�ำให้การวิเคราะห์และ พัฒนาเศรษฐกิจมากขึ้น โดยผ่านการลงทุนและ การสืบเสาะหาข่าวเพื่อมาน�ำเสนอต่อประชาชน องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทั้งนี้นายก แทบจะไม่มีให้เห็นหรือให้อ่านเลยก็ว่าได้ โดยเฉพาะ รัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้ใช้ยุทธศาสตร์ ข่าวนั้นไปกระทบต่อรัฐบาล ยกเว้นการน�ำเสนอ การผลิตในประเทศเพื่อทดแทนการน�ำเข้า และ ข่าวในทางลบเกี่ยวกับฝ่ายค้านหรือการเปิดโปง เพื่อลดการพึ่งพาตลาดโลกด้วยการพัฒนา ความผิดของศัตรูทางการเมืองเท่านั้น ส่วนกรณี อุตสาหกรรม โดยน�ำเอาการพัฒนาเศรษฐกิจ การควบคุมกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมือง การที่ แบบญี่ปุ่นที่ประสบความส�ำเร็จ อีกทั้งได้ก�ำหนด นายกรัฐมนตรีนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด แนวทางของนโยบายและวิธีปฎิบัติที่จะใช้ ใช้อ�ำนาจในจัดการขบวนการภาคประชาชน ด�ำเนินการพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองและสังคม ซึ่งเป็นขบวนการที่ตรวจสอบการท�ำงานของ ของประเทศไว้ไปจนถึงอนาคตในปี ค.ศ. 2020 รัฐบาลและนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด โดยได้มุ่งเน้นในการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มาอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้รัฐบาลมหาธีร์ โมฮัมหมัด ความทันสมัย และท�ำให้เป็นอุตสาหกรรม อีกทั้ง ใช้ยุทธวิธีทางการเมืองและอ�ำนาจที่มีอยู่ควบคุม การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจจะต้องอาศัยเอกชน คู่แข่งทางการเมืองหรือผู้ที่วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล เป็นส�ำคัญในการขับเคลื่อน โดยการให้เอกชน อยู่เสมอ และมักใช้ความรุนแรงจัดการกับ ด�ำเนินการได้อย่างอิสระ ให้มีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ขบวนการภาคประชาชนที่คัดค้าน โครงการ และเปิดการค้าเสรีอย่างกระบวนการชัดเจน ต่าง ๆ ของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลมาเลเซียเริ่มน�ำ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 65

2.6 การใช้นโยบายต่างประเทศ ที่เน้นให้ประเทศมาเลเซียพึ่งพาตนเอง และ นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้ใช้นโยบาย ไม่รับการช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่าง ต่างประเทศมุ่งสร้างเสริมความสัมพันธ์แบบ ประเทศ (International Monetary Fund :IMF) รอบด้านกับทุกประเทศ โดยยึดหลักผลประโยชน์ เหมือนกับประเทศอื่น ๆ ที่ประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจ สูงสุดของชาติเป็นส�ำคัญ นโยบายของนายก เช่นกัน อีกทั้งมหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้ผลักดันให้ รัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ในช่วงเวลาดังกล่าว มาเลเซียเกิดการเปลี่ยนแปลงจากประเทศ จึงเป็นความสัมพันธ์แบบรอบทิศเป็นความ เกษตรกรรมไปสู่ประเทศอุตสาหกรรม จนกลาย สัมพันธ์ที่ยึดหลักผลประโยชน์สูงสุดของชาติ เป็นหนึ่งในประเทศที่เป็นผู้น�ำด้านเศรษฐกิจ เป็นส�ำคัญ ซึ่งเพื่อนบ้านในแถบเอเชียนั้นต่างก็ จนได้รับฉายาว่าเป็น “บิดาแห่งความทันสมัย” ให้การยอมรับนับถือในตัวของนายกรัฐมนตรี (Father of Modernization) โดยมีบทบาท มหาธีร์ โมฮัมหมัด เป็นอย่างมาก สามารถน�ำพา ที่ส�ำคัญดังนี้ ประเทศมาเลเซียผ่านพ้นวิกฤตเศรษฐกิจมาได้ 3.1 บทบาทการสานต่อนโยบาย อย่างรวดเร็ว จากวิกฤติเศรษฐกิจเมื่อปี ค.ศ. 1997 เศรษฐกิจใหม่ (New Economic Policy : NEP) ตลอดจนการพัฒนาเศรษฐกิจของมาเลเซีย ซึ่งนโยบายดังกล่าวมีการก�ำหนดขึ้นครั้งแรก ท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพตัวเลขทางเศรษฐกิจ ตั้งแต่ ค.ศ.1971 ในสมัยรัฐบาล ตนอับดุล รอซัก ของประเทศอยู่ในระดับที่สูงในระดับภูมิภาคนี้ (Tun Abdul Razak) นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 เป็นรองเพียงสิงคโปร์ ทั้งยังเป็นตัวอย่างที่ดีในการ ของมาเลเซีย โดยมีวัตถุประสงค์ที่ส�ำคัญคือ พัฒนาประเทศตามแนวทางของตนโดยการ เพื่อขจัดความยากจนทั่วไปโดยไม่ค�ำนึงถึงเชื้อชาติ ไม่พึ่งพามหาอ�ำนาจตะวันตก และเพื่อปรับโครงสร้างทางสังคมใหม่โดยมุ่งหวัง 3. บทบาทผู้น�ำทางการเมืองของมหาธีร์ ให้ชาวมาเลย์หรือภูมิบุตรามีส่วนร่วมในกิจกรรม โมฮัมหมัด ทางเศรษฐกิจมากขึ้น โดยเฉพาะในด้าน ในช่วงเวลาที่มหาธีร์ โมฮัมหมัด อุตสาหกรรมและการพาณิชย์ จนถึงในสมัยของ ด�ำรงต�ำแหน่งในฐานะนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ซึ่งได้สานต่อ การเมืองของมาเลเซียมีเสถียรภาพและมีความ นโยบายดังกล่าวและจนสิ้นสุดลงแผนนโยบาย เป็นปึกแผ่นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการประกาศใช้ ดังกล่าว นับได้ว่ารัฐบาลมหาธีร์ โมฮัมหมัด นโยบายต่าง ๆ การใช้อ�ำนาจที่เด็ดขาด สามารถ ประสบความส�ำเร็จในการสร้างงาน สร้างรายได้ สั่งการได้อย่างเบ็ดเสร็จทันท่วงทีและสอดคล้อง จากการน�ำมาตรการต่าง ๆ ไปปฏิบัติ สามารถ กับสถานการณ์บ้านเมืองที่เกิดขึ้นในขณะนั้น แก้ไขปัญหาความยากจน สร้างความเป็นอยู่ที่ จนเป็นผู้น�ำที่ผู้คนยอมรับทั้งในเวทีระดับประเทศ ดีขึ้น สามารถพัฒนาประเทศจากที่มีโครงสร้าง และเวทีระดับโลก จะเห็นได้ว่านายกรัฐมนตรี พื้นฐานทางการเกษตรไปสู่โครงสร้างพื้นฐาน มหาธีร์ โมฮัมหมัด มีบทบาทส�ำคัญในด้าน ทางด้านอุตสาหกรรม เศรษฐกิจโดยเฉพาะการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 66

3.2 บทบาทในการก�ำหนดนโยบาย รัฐบาลภายใต้การน�ำของนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ วิสัยทัศน์ 2020 (Vision 2020) จากนโยบาย โมฮัมหมัด ได้มีมาตรการที่สวนกระแสกับประเทศ เศรษฐกิจใหม่ที่สิ้นสุดลงไปในปี ท�ำให้นายก เพื่อนบ้าน ซึ่งมาตรการแก้ไขตามขั้นตอนทาง รัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัดได้ก�ำหนดนโยบาย เศรษฐกิจที่นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ขึ้นมาใหม่ โดยภายในปี 2020 มาเลเซียจะต้อง ด�ำเนินการในการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจ คือ ได้ฟื้น กลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมและเป็นประเทศ สภาปฏิบัติการเศรษฐกิจแห่งชาติ (National ที่พัฒนาแล้ว โดยมุ่งเน้นในการเจริญเติบโต Economic Action Councill) ขึ้นมาใหม่ ทางเศรษฐกิจ ความทันสมัย และท�ำให้เป็น เพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน โดยสภา อุตสาหกรรม โดยที่ชาวมาเลย์จะต้องเป็นหุ้นส่วน ปฎิบัติการเศรษฐกิจแห่งชาติ จากข้อเสนอดังกล่าว ในระบบเศรษฐกิจ โดยการยกระดับรายได้เฉลี่ย ท�ำให้นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัดได้ประกาศ ของชาวมาเลย์และให้ชาวมาเลย์ท�ำงานหนักขึ้น ก�ำหนดนโยบายคงค่าเงินริงกิต อัตราแลกเปลี่ยน เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสูงขึ้น และ และการไหลเข้า - ออกของเงินตราต่างประเทศ การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจจะต้องอาศัยเอกชน เพื่อช่วยรักษาเสถียรภาพทางการเงินและ เป็นส�ำคัญ โดยการให้เอกชนด�ำเนินการได้อย่าง การคลังของประเทศ และไม่ขอรับความช่วยเหลือ อิสระ ให้มีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และเปิดการค้าเสรี จากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International มีขั้นตอนกระบวนการชัดเจน โดยนายกรัฐมนตรี Monetary Fund : IMF) เหมือนกับประเทศไทย มหาธีร์ โมฮัมหมัด ต้องการให้มาเลเซียเป็นชาติ เกาหลีใต้ และอินโดนีเซีย อีกทั้งได้สั่งระงับและ ที่มีเอกภาพพร้อมกับสังคมที่มีค่านิยมทางศีลธรรม ชะลอโครงการลงทุนที่มีขนาดใหญ่หลายโครงการ และจริยธรรมที่เข้มแข็ง มีชีวิตในสังคมที่เป็น ลดการน�ำเข้าสินค้าประเภทอุตสาหกรรมหนัก ประชาธิปไตย มีเสรีภาพและใจกว้าง มีความ เพื่อป้องกันเงินตราไหลออกนอกประเทศ พร้อมกับ เอาใจใส่มีความยุติธรรม และเที่ยงธรรมทาง ได้อัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบการผลิตให้มากขึ้น และ เศรษฐกิจ มีความก้าวหน้า รุ่งเรือง และครอบครอง ได้ออกนโยบายควบคุมเงินทุน โดยก�ำหนด เศรษฐกิจที่มี มีการแข่งขัน มีพลัง มีความแข็งขัน ดอกเบี้ยให้อยู่ในอัตราต�่ำเพื่อกระตุ้นระบบ และยืดหยุ่นได้อย่างเต็มที่ จึงน�ำไปสู่การก�ำหนด เศรษฐกิจ และประคับประคองธุรกิจไม่ให้เผชิญ นโยบายทางเศรษฐกิจควบคู่กับนโยบายทาง กับภาวะล้มละลาย ท�ำให้มาเลเซียสถานผ่าน การเมือง และสังคม วิกฤติเศรษฐกิจไปได้ภายในระยะเวลา 13 เดือน 3.3 บทบาทการแก้ไขปัญหาวิกฤต บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรี เศรษฐกิจ จากปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจที่ลุกลาม มหาธีร์ โมฮัมหมัด นั้นนับเป็นรากฐานและผลงาน ไปทั่วเอเชีย รวมทั้งในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ที่ส�ำคัญที่มุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพึ่ง ก็ได้รับผลกระทบตามไปด้วย โดยจุดเริ่มต้นเกิดขึ้น ตนเอง เพื่อให้มาเลเซียมีพื้นฐานในการพัฒนา ที่ประเทศไทยท�ำให้มาเลเซียและประเทศอื่น ๆ เศรษฐกิจที่ดีและเข้มแข็ง อีกทั้งนายกรัฐมนตรี ได้รับผลกระทบตามไปด้วยเช่นกัน จะเห็นได้ว่า มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้ให้ความสนใจและความ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 67

ส�ำคัญอยู่กับเรื่องเศรษฐกิจเป็นอันดับต้น เพราะ ของประชาชน เพื่อไม่ให้มีความรุนแรงเกิดขึ้น นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด มีแนวคิดว่า ดังที่เคยมีมาในอดีต ซึ่งนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ ถ้าเศรษฐกิจมาเลเซียเจริญเติบโตได้ดี โครงการ โมฮัมหมัด ได้ใช้นโยบายนี้ส่งเสริมกลุ่มภูมิบุตร ทั้งหมดที่ได้วางแผนไว้ก็จะมีโอกาสได้รับความ ให้มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีสิทธิและเสรีภาพ ส�ำเร็จ แต่ถ้าหากว่าเศรษฐกิจตกต�่ำเรื่องอื่น ๆ มากขึ้นอีกด้วย อีกทั้งนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ ก็เป็นไปได้ยาก ไม่ว่าจะเป็นนโยบายวิสัยทัศน์ โมฮัมหมัด มองว่าสถานะทางเศรษฐกิจของกลุ่ม 2020 หรือเรื่องอื่น ๆ ก็ตาม ภูมิบุตรายังอยู่ในระดับที่ต�่ำกว่ากลุ่มอื่น ๆ จึงยังคง 3.4 บทบาทในการสานต่อนโยบาย มีบทบาทในการให้การสนับสนุนนโยบายดังกล่าวนี้ ภูมิบุตรา นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด เพราะนโยบายภูมิบุตรายังคงมีนัยส�ำคัญต่อการ มีบทบาทในการก�ำหนดนโยบายที่จะส่งเสริม ครองต�ำแหน่งในการบริหารประเทศ เนื่องจาก ความเป็นอยู่ที่ดี และสถานะทางเศรษฐกิจของ กลุ่มภูมิบุตรเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ชาวภูมิบุตรที่อยู่ในชนบทเป็นส่วนใหญ่ มีการ ซึ่งมีผลต่อการเลือกตั้งเข้ามาเป็นรัฐบาล ผลักดันนโยบายวิสัยทัศน์ 2020 (Vision 2020) 3.5 บทบาทการด�ำเนินนโยบาย ที่มีเป้าหมายที่จะท�ำให้มาเลเซียเป็นประเทศ ต่างประเทศ ในช่วงการด�ำรงต�ำแหน่งนายก ที่พัฒนาแล้ว ขจัดความยากจนทั่วประเทศ รัฐมนตรีมหาธีร์โมฮัมหมัด ประสบความส�ำเร็จ โดยมีการน�ำนโยบายมองตะวันออก (Look ในเวทีระหว่างประเทศอย่างสูง โดยสามารถ East Policy) มาใช้โดยเอาประเทศพัฒนาแล้ว สร้างบทบาทให้เป็นที่ยอมรับในฐานะผู้น�ำ ในเอเชียเป็นแบบอย่าง ซึ่งแนวทางดังกล่าว ประเทศก�ำลังพัฒนาและเป็นประเทศมุสลิม ก็เป็นแนวทางที่จะสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ สายกลาง ท�ำให้มาเลเซียสามารถมีบทบาทน�ำ ให้กับคนมลายูมากกว่าชนชาติอื่น เพราะคนจน ในเวทีการเมืองระหว่างประเทศได้ทั้งในกรอบ ที่อยู่ในชนบทเกือบทั้งหมดเป็นคนมลายู โดยการ ของโลกมุสลิมและโลกตะวันตก ซึ่งนายกรัฐมนตรี แก้ไขปัญหาความยากจนนั้นรัฐบาลมหาธีร์ มหาธีร์ โมฮัมหมัด มีบทบาทในการด�ำเนินนโยบาย โมอัมหมัด พยายามให้โอกาสชาวมลายู ต่างประเทศที่เน้นความมั่นคงปลอดภัยและรักษา เพิ่มมากขึ้นในทางเศรษฐกิจ สิ่งที่รัฐบาลท�ำ ผลประโยชน์แห่งชาติ ด้วยการก�ำหนดนโยบาย และประสบความส�ำเร็จคือ การผลักดันนโยบาย การน�ำประเทศเข้าไปผูกพันด้วยการท�ำสัญญา ทางเศรษฐกิจที่ส่งผลดีต่อคุณภาพชีวิตของ กับชาติมหาอ�ำนาจและเพื่อนบ้าน ในขณะเดียวกัน ประชาชนชาวมลายู นอกจากนี้สิ่งส�ำคัญที่ควบคู่ ก็แสดงนโยบายเป็นกลางด้วยการติดต่อ ไปกับนโยบายเศรษฐกิจคือ พรรคการเมืองต่าง ๆ สร้างความสัมพันธ์กับทุกประเทศไม่ว่าประเทศ ในประเทศมาเลเซียที่มีฐานะเป็นตัวแทนของ ที่มีอุดมการณ์ที่ต่างกัน อีกทั้งยังด�ำเนินนโยบาย กลุ่มชาติพันธุ์ มีการด�ำเนินนโยบายที่ตอบสนอง ที่มุ่งเน้นการพัฒนาประเทศและเศรษฐกิจ โดยได้ ต่อกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อเป็นการลดแรงปะทะโดยตรง ด�ำเนินบทบาทที่ส�ำคัญได้แก่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 68

1) บทบาทการน�ำเอานโยบาย วัฒนธรรมตะวันตกจะเข้ามาบั่นทอนและท�ำลาย มองตะวันออก (Look East Policy) มาใช้ คุณค่าของเอเชีย ท�ำให้นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ ซึ่งนโยบายดังกล่าวถือก�ำเนิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่น โมฮัมหมัด ได้แสดงความคิดเห็นอย่างตรงไป เมื่อ ค.ศ. 1982 โดยมีการพัฒนาด้านจริยธรรม ตรงมาเกี่ยวกับประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตก ในการท�ำงานของคนญี่ปุ่นและการพัฒนา อย่างไม่เกรงกลัว และการที่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ทักษะความสามารถของบุคลากร อีกทั้งความรู้ เอารัดเอาเปรียบประเทศด้อยพัฒนา สืบเนื่อง ด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ตลอดเวลา โดยรัฐบาล มาจากนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ต้องการ มาเลเซียได้ส่งบุคลากรไปฝึกและท�ำงานใน ที่จะแสดงความเป็นชาตินิยมและความเป็นมลายู ประเทศญี่ปุ่นทั้งในสถาบันมหาวิทยาลัยและ ที่มีศักดิ์ศรี จนดูเป็นเหมือนต่อต้านตะวันตก ในบริษัทต่าง ๆ เพื่อให้สามารถอยู่ได้ด้วยตัวเอง นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ซึ่งมหาธีร์ โมฮัมหมัด ต้องการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบาย การท�ำงานของคนมาเลเซียโดยการศึกษา ต่างประเทศที่เน้น “ค่านิยมแบบเอเชีย” (Asian ตัวอย่างการพัฒนาประเทศแบบญี่ปุ่นและ Value) ที่แตกต่างกับแนวคิดตะวันตกโดยการ เกาหลีใต้ และปลูกฝังค่านิยมแบบคนญี่ปุ่น น�ำนโยบายมองตะวันออกเป็นแรงผลักดันให้ ให้แก่ชาวมาเลเซีย รวมถึงการส่งเสริมความ นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัดได้เสนอแนวคิด ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับกลุ่มประเทศตะวันออก “กลุ่มเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก” (East Asian มากขึ้นอีกด้วย ซึ่งประเทศญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ Economic Group: EAEG) เพื่อเป็นการต่อต้าน มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ ขณะที่จีนก็ยังมี โลกตะวันตก ใน ค.ศ. 1990 ซึ่งประกอบด้วย ความส�ำคัญทางยุทธศาสตร์เพื่อจะได้คานอ�ำนาจ สมาชิกอาเซียนและเอเชียตะวันออก ได้แก่ กับสหรัฐอเมริกา อีกทั้งให้ความส�ำคัญกับกลุ่ม ญี่ปุ่น จีน และเกาหลีใต้ เพื่อตอบโต้การรวมกลุ่ม ประเทศตะวันออกที่ก�ำลังเจริญรุ่งเรืองทาง เศรษฐกิจโดยเฉพาะเอเปคที่ตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1989 เศรษฐกิจที่จะท�ำให้ประเทศมาเลเซียมีโอกาส แต่การจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกได้รับ ที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยผ่านการลงทุน การคัดค้านอย่างรุนแรง ส่งผลให้รัฐบาลของ และองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาเลเซียต้องออกมาแก้ไขข้อมูลเพื่อลดทอน 2) บทบาทในการต่อต้านตะวันตก ความตึงเครียดโดยกล่าวว่ากลุ่มเศรษฐกิจเอเชีย ในช่วงที่มหาธีร์ โมฮัมหมัด ด�ำรงต�ำแหน่งนายก ตะวันออกไม่ใช่กลุ่มกีดกันทางการค้า และอาจ รัฐมนตรี นโยบายของมาเลเซียต่อประเทศตะวันตก ใช้สร้างความร่วมมือพหุภาคีด้านเศรษฐกิจใน จะออกมาในรูปแบบการต่อต้านและขัดแย้ง อนาคตได้ และต่อมาได้มีการแก้ไขโดยเปลี่ยน ตลอดเวลา เนื่องจากมหาธีร์ โมฮัมหมัด มีความ ชื่อเป็น “ความร่วมมือเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก” เชื่อว่าโลกตะวันตกต้องการครองโลกและมุ่งหา (East Asian Economic Caucus: EAEC) แต่ประโยชน์กับประเทศด้อยพัฒนา อีกทั้งด�ำเนิน 3) บทบาทการร่วมมือกับกลุ่ม นโยบายที่เป็นปฏิปักษ์ต่อโลกมุสลิม ยังมองอีกว่า ประเทศอิสลาม นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 69

ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนมุสลิมใน โดยมีพื้นฐานมาจากชาตินิยม ความเป็นกลาง ประเทศตะวันออกกลาง ทั้งซาอุดิอาระเบียและ ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด รักพวกพ้อง และเป็นมิตรกับ อียิปต์ เป็นอย่างดีในการแก้ไขปัญหา อีกทั้ง ทุกประเทศ โดยแนวทางส่วนใหญ่จะมุ่งไปในเรื่อง ได้แสดงบทบาทส�ำคัญในการเป็นส่วนหนึ่ง ของการสร้างความร่วมมือกับประเทศโลกที่สาม ของโลกมุสลิม การที่มาเลเซียมีความสัมพันธ์ที่ดี เพื่อขยายตลาดและพัฒนาความร่วมมือทาง กับประเทศในกลุ่มมุสลิมเนื่องจากมีความรู้สึก เศรษฐกิจ และนโยบายการจัดตั้งกลุ่มการค้า ที่ว่าต่างเป็นพี่เป็นน้องกันภายใต้ศาสนาอิสลาม เอเชียตะวันออกซึ่งเป็นนโนบายแห่งชาติของ ซึ่งเมื่อไหร่ก็ตามที่ประเทศในกลุ่มมุสลิมถูก มาเลเซีย เอารัดเอาเปรียบหรือได้รับความเดือดร้อน อภิปรายผลการวิจัย นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัดก็จะแสดงออกถึง ภูมิหลังการเข้ามามีบทบาททางการเมือง การต่อต้านทันที แต่ถ้าเป็นประเทศมุสลิมกระท�ำ ของมหาธีร์ โมฮัมหมัด สะท้อนให้เห็นว่า ผิดเองนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัดก็จะ ครอบครัวเป็นตัวการส�ำคัญในการกล่อมเกลา ไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวหรือแสดงความคิดเห็นใด ๆ ทางการเมืองที่มีอิทธิพลสูงและต่อเนื่องเป็น ต่อปัญหานั้น เพื่อไม่ให้เกิดความบาดหมางกัน ระยะยาว ทั้งโดยตรงและทางอ้อม ซึ่งการเรียนรู้ 4) บทบาทการเข้าร่วมประเทศ การกล่อมเกลาทางการเมือง ได้แก่ การเลียนแบบ โลกที่สาม หรือเรียกอีกอย่างว่ากลุ่มประเทศ พฤติกรรมของคนที่ใกล้ชิด เช่น พ่อ แม่ หรือ ที่ไม่ฝักใฝ่ ฝ่ายใด (Non-aligned Movement- จากการพบเห็นและเกิดความชอบบุคคลนั้น NAM) การด�ำเนินนโยบายต่างประเทศกับกลุ่ม หรือเกิดจากประสบการณ์ที่ได้รับในการเข้าไป ประเทศโลกที่สามของนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ มีส่วนร่วมทางการเมือง ดังนั้น ครอบครัวจึงเป็น โมฮัมหมัด ในช่วงเวลาดังกล่าวจึงเป็นความ สถาบันแรกและสถาบันที่ส�ำคัญที่สุดในการ สัมพันธ์แบบรอบทิศ โดยได้เดินทางไปเยือน ถ่ายทอดความรู้ทางการเมืองให้แก่สมาชิก ประเทศต่าง ๆ ที่อยู่ในกลุ่มประเทศโลกที่สาม ในสังคม อีกทั้งยังมีอิทธิพลในการวางพื้นฐาน ทั้งแอฟริกาในลาตินอเมริกา หมู่เกาะในมหาสมุทร ด้านทัศคติ ความเชื่อ ค่านิยม และบุคลิกภาพ แปซิฟิกและประเทศในเล็ก ๆ ในแถบทะเล ในตัวบุคคลซึ่งครอบครัวของมหาธีร์ โมฮัมหมัด เมอร์ดิเตอร์เรเนียน เป็นต้น และมาเลเซียได้เป็น นั้นได้อบรมเลี้ยงดูของครอบครัวมุสลิมที่เข้มงวด เจ้าภาพจัดประชุมซัมมิทของขบวนการประเทศ ในเรื่องของการศึกษาเป็นส�ำคัญ พร้อมเรียน ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดขึ้นส่งผลให้เกิดความสัมพันธ์กันทาง หลักความเชื่อตามหลักศาสนาอิสลามและคัมภีร์ การเมืองและเศรษฐกิจ ยังส่งผลดีต่อภาพลักษณ์ โกหร่านจากมารดาและครูสอนศาสนา ท�ำให้ ของนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัดเองในเวที มหาธีร์ โมฮัมหมัดได้รับความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ระดับนานาชาติอีกด้วย ซึ่งในการด�ำเนินนโยบาย ประเพณีและวัฒนธรรมของมุสลิม ซึ่งถือได้ว่า ต่างประเทศของนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด เป็นการปลูกฝังแนวคิดชาตินิยมของมหาธีร์ ยึดหลักผลประโยชน์สูงสุดของชาติเป็นส�ำคัญ โมฮัมหมัด อีกทั้งบิดามารดา ได้อบรมสั่งสอนให้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 70

มหาธีร์ โมฮัมหมัด มีความรับผิดชอบ รู้หน้าที่ ไม่อนุญาตให้เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการเมือง ของตน การมีคุณค่าในตนเอง ให้เอาชนะอุปสรรค ก็ตาม และในการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ มหาธีร์ ต่าง ๆ และเป็นคนอ่อนน้อม ซึ่งถือว่าเป็นการ โมฮัมหมัด มักจะได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้า ถ่ายทอดการเรียนรู้ทางการเมืองให้กับมหาธีร์ อยู่เสมอ แต่มหาธีร์ โมฮัมหมัด กลับเลือกที่จะ โมฮัมหมัด โดยตรงตั้งแต่ยังเด็ก เป็นเลขามากกว่าเพราะได้ติดต่อประสานงาน สถาบันการศึกษาก็เป็นสถาบันที่เป็น กับส่วนต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นประสบการณ์ที่ส�ำคัญของ ตัวการในการกล่อมเกลาทางการเมืองที่ส�ำคัญ มหาธีร์ โมฮัมหมัด การกล่อมเกลาจากครอบครัว โดยการเสริมสร้างทัศคติ ความเชื่อและค่านิยม ยังเป็นส่วนผลักดันให้ มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้เข้า ของบุคคลนั้นเป็นอย่างมาก มีการเรียนการสอน ศึกษาในสถาบันการศึกษาที่ดีที่สุดในมลายา และสร้างทัศนคติทางสังคมที่ดี ซึ่งมีบทบาท ในเวลานั้น ท�ำให้ได้รับการปลูกฝังเรื่องการเมือง ส�ำคัญในการให้ความรู้แก่เด็กในลักษณะที่เป็น มาตั้งแต่เรียน ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญท�ำให้ รูปธรรมมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการศึกษา นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด ประสบความ สมัยใหม่ที่เด็กทุกคนต้องเข้าเรียนในสถาบัน ส�ำเร็จเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการ การศึกษา รัฐบาลจะใช้สถาบันการศึกษาเป็น น�ำพาประเทศก้าวไปสู่การพัฒนา นายกรัฐมนตรี เครื่องมือในการกล่อมเกลาทางการเมือง สะท้อน มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้ใช้ความสามารถในการ ได้จากการที่บิดาของมหาธีรื โมฮัมหมัด เข้มงวด ก�ำหนดนโยบาย โครงการต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์ ในเรื่องการเรียน ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด มุ่งมั่น แก่มาเลเซีย ศึกษาและมีผลการเรียนดีมาตั้งแต่เด็กได้เข้า เส้นทางการรักษาอ�ำนาจทางการเมือง ศึกษาในโรงเรียนอังกฤษ และช่วงสงครามโลก ของมหาธีร์ โมฮัมหมัด โดยได้ลดอ�ำนาจของ ครั้งที่ 2 ก็ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนญี่ปุ่นที่เปิดขึ้น สุลต่าน และปลดนายอันวาร์ อิบราฮิม ออกจาก แทนโรงเรียนอังกฤษที่ถูกสั่งปิด และในช่วง การเป็นรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ สงครามนี้ที่ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้รับรู้ กระทรวงการคลัง และสมาชิกพรรคอัมโน ความโหดร้ายจากภัยของสงคราม และได้ปลูก ซึ่ง โฮวาร์ด ริกกินส์ (Howard w.wriggins, จิตส�ำนึกทางการเมืองให้กับมหาธีร์ โมฮัมหมัด 1969) และ เจอรัล ซีเกอร์ (Gerald, A. Heeger) จากการที่ประเทศไม่มีเอกราชและอิสรภาพ ได้ชี้ให้เห็นถึงการสร้างและการรักษาอ�ำนาจ ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด ต้องการมีการศึกษา ทางการเมืองของผู้น�ำในประเทศก�ำลังพัฒนา ที่สูงและสนใจที่จะเข้าสู่การเมืองอย่างจริงจัง ว่า ผู้น�ำใหม่ของประเทศก�ำลังพัฒนาหลังจาก และในช่วงเรียนมหาวิทยาลัยถือเป็นจุดเริ่มต้น ที่ได้อ�ำนาจมาแล้วก็จะพยายามที่จะสร้าง ที่เข้ามาเกี่ยวข้องทางการเมือง โดยการร่วมมือ และรักษาอ�ำนาจทางการเมืองไว้ให้คงอยู่ กับกลุ่มเพื่อนต่อต้านข้อเสนอตั้งสหพันธ์มาเลเซีย นานที่สุดโดยใช้วิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีรวมกัน ตามแผนการของอังกฤษ ถึงแม้สถานศึกษา และสิ่งที่ผู้น�ำใหม่ของประเทศก�ำลังพัฒนาจะให้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 71

ความส�ำคัญเป็นอย่างมากก็คือ การสร้างและ อย่างยิ่งที่จะได้รับเชิดชูจากประชาชนและรัฐบาล รักษาฐานอ�ำนาจทางการเมืองไว้ให้คงอยู่ต่อไป มาเลเซียให้เป็นรัฐบุรุษของมาเลเซีย นานที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง การรักษาอ�ำนาจ โดยมหาธีร์ โมฮัมหมัด ได้สร้าง ข้อเสนอแนะ อุดมการณ์ทางการเมือง การสร้างคุณสมบัติ 1. ผู้น�ำที่เข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งต�ำแหน่ง ส่วนตัวให้เป็นที่นิยมนับถือในหมู่ประชาชน ทางการเมืองไม่ว่าจะเป็นนายกรัฐมนตรีหรือ การสร้างกลุ่มทางการเมืองขึ้นมาสนับสนุน รัฐบาล จะต้องบริหารประเทศให้มีความชอบธรรม การใช้อ�ำนาจและกฎหมายก�ำจัดฝ่ายปรปักษ์ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยค�ำนึงถึง ทางการเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ประโยชนของส่วนรวมเป็นหลัก อันจะน�ำมา ให้เจริญมั่งคั่ง และการใช้นโยบายต่างประเทศ ซึ่งความมีเสถียรภาพของระบบการเมือง ทั้งนี้ เพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ฐานอ�ำนาจทาง หากรัฐบาลบริหารประเทศให้ระบบการเมือง การเมืองของตน ซึ่งส�ำหรับในทางปฏิบัติแล้ว มีประสิทธิผลสูง และมีความชอบธรรมสูง ระบบ ผู้น�ำที่ประสบความส�ำเร็จในการรักษาอ�ำนาจทาง การเมืองนั้นมักจะมีเสถียรภาพสูงไปด้วย การเมืองของตนไว้ มักจะใช้วิธีการที่กล่าวนี้ปนเป 2. ผู้น�ำประเทศควรมุ่งให้ความส�ำคัญ กันไป คือ ไม่ได้ใช้วิธีหนึ่งวิธีใด หรือใช้ทั้งหมด ต่อนโยบายการประสานประโยชน์ในทางการเมือง แต่ใช้หลายวิธีปนกัน ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม เศรษฐกิจ และสังคม ระหว่างกลุ่มเชื้อชาติต่าง ๆ ของสภาพการณ์แวดล้อมของแต่ละประเทศ อย่างสมดุล และเป็นรูปธรรม เพื่อยกระดับคุณภาพ มหาธีร์ โมฮัหมมัด มีบทบาทที่ส�ำคัญ ชีวิตทุกเชื้อชาติที่ยากจนให้มีฐานะทางเศรษฐกิจ ในการน�ำนโยบายมองตะวันออกจากญี่ปุ่น ที่ดีขึ้น มาใช้ และได้วางแผนให้มาเลเซียเป็นประเทศ 3. การสร้างผู้น�ำของพรรคการเมืองหรือ ที่พัฒนาแล้ว ใน ค.ศ. 2020 และก�ำหนดนโยบาย สถาบันทางการเมือง จะต้องให้ความส�ำคัญต่อ คงค่าเงินริงกิตเพื่อแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจ พร้อมกับ การปลูกฝังคุณลักษณะพื้นฐานของการเป็นผู้น�ำ ส่งเสริมค่านิยมแบบเอเชีย (Asian Value) อีกทั้ง ที่ดี มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความคิดสร้างสรรค์ ได้เสนอแนวคิดกลุ่มเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก และมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล มีความสามารถ มีความ ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้มหาธีร์ โมฮัมหมัด เด็ดขาด กล้าตัดสินใจในสภาวะที่คับขัน และ มีบทบาทที่โดดเด่นในฐานการมีจุดยืนในการ มีคุณธรรม/จริยธรรม อันเป็นที่ยอมรับทั้งภายใน มีทิศทางของตนเอง และเป็นแบบอย่างของ และต่างประเทศ ดังนั้น สถาบันทางการเมืองควรมี อาเซียน อีกทั้งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล การพัฒนานักการเมืองในสังกัดพรรค อันน�ำไปสู่ นับได้ว่ามหาธีร์ โมฮัมหมัดเป็นผู้น�ำทางการเมือง การสร้างสถาบันทางการเมืองที่เข้มแข็งในระบบ ที่ยิ่งใหญ่และประสบผลส�ำเร็จในการบริหาร พรรคการเมือง เพื่อพัฒนานักการเมืองในสังกัดให้มี ประเทศมาเลเซีย ทั้งยังครองต�ำแหน่งผู้น�ำทาง คุณภาพ ได้รับการยอมรับและศรัทธาจากประชาชน การเมืองที่ยาวนานที่สุดในมาเลเซีย สมควร วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 72

REFERENCES

Chaichok Chunlasiriwong. (2005). “Malaysian leader,” in the leader in Southeast Asia: Study in Indonesia, Philippines, Singapore, Malaysia and Thailand. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai) Glenn D. Paige. (1977) .The Scientific study of Political Leadership. New York : The Free Prss. Gerald A. Heeger. (1974).The Political of Underdevelopment. New York: St.Martin Press Mahathir Mohamad. (2011). A Doctor in the House: The Memoirs of Tun Dr. Mahathir Mohamad.MPH Group Printing (M). Anthony S.K.Shome. (2002). Malay Political Leadership. London: RoutledgeCurzon Howard w.wriggins. (1969). The Ruler is Impreative : Strategies for Political Survival in Asia and Africa. New York: Columbia University Press. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 73

บทความวิจัย

ประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียนขององค์การภาครัฐไทย THE EFFECTIVENESS OF REGISTRATION SERVICES IN THAI PUBLIC ORGANIZATIONS อัจฉรา ประไพพักตร์1* และ สุวรรณี แสงมหาชัย2 Atchara Phraphaipug1* and Suwannee Sangmahachai2

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Doctor of philosophy (political science), Faculty of political science ramkhamhaeng University, Bangkok, Thailand1*, 2

Email: [email protected]*

Received: 2019-04-08 Revised: 2019-06-18 Accepted: 2019-07-12

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียนขององค์การ ภาครัฐไทย โดยศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการให้ บริการจดทะเบียน ได้แก่ เทคโนโลยีการให้บริการ การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ให้บริการ การวาง ระบบและขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่างเป็นทางการ โดยผู้วิจัยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพประเภท การศึกษาเฉพาะกรณี และเลือกจากกรมที่สังกัดในกระทรวง ได้มาทั้งหมด 4 กรม คือ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมสรรพากรเป็นหน่วยวิเคราะห์ โดยท�ำการ สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ (key informants) รวมทั้งสิ้น 28 คน และจากแบบสอบถาม โดยเก็บ จากเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการจ�ำนวน 294 คน และผู้รับบริการจ�ำนวน 1,600 คน วิธีในการศึกษาประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบสอบถาม ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้วิธีการ วิเคราะห์เอกสาร การวิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบเหตุการณ์ และการวิเคราะห์แบบอุปนัย โดยการ จ�ำแนกกลุ่มแล้วเปรียบเทียบเพื่อตีความสร้างข้อสรุปร่วมกัน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า กรมที่มีประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียนมากที่สุดคือ กรมสรรพากร ส่วนกรมที่มีประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียนน้อยที่สุด คือ กรมที่ดิน และ จากปัจจัยทั้ง 4 ด้าน พบว่า (1) เทคโนโลยีในการให้บริการ ปัจจุบันมีการให้บริการอยู่ 2 ระบบ คือ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 74

ระบบที่หนึ่งเป็นการจดทะเบียนแบบออนไลน์ และระบบที่สองเป็นการจดทะเบียน ณ ส�ำนักงาน ของแต่ละกรม ซึ่งล้วนส่งผลให้เกิดความแตกต่างกันในเรื่องของประสิทธิผลของการให้บริการ จดทะเบียนในแต่ละกรม (2) การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ เป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน หรือผู้รับบริการให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการให้บริการ เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการโดยตรง ซึ่งแต่ละกรมให้ความส�ำคัญกับเรื่องของการมีส่วนร่วมที่ไม่เหมือนกันแต่ไม่ ส่งผลต่อประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียนที่มีความแตกต่างกันมากนัก (3) การเสริมสร้าง สมรรถนะของผู้ให้บริการ เป็นสิ่งส�ำคัญของการให้บริการจดทะเบียน เนื่องจาก เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ จดทะเบียนต้องมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านจึงจ�ำเป็นต้องมีการเพิ่มทักษะของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ อยู่เสมอ ๆ เพื่อเป็นการให้บริการจดทะเบียนที่ดีส�ำหรับผู้รับบริการ และ (4) การวางระบบและขั้นตอน การปฏิบัติงานอย่างเป็นทางการ ซึ่งการมีขั้นตอนและคู่มือที่ชัดเจนไม่ยุ่งยากจะช่วยท�ำให้เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และเป็นการอ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้รับบริการด้วย ข้อเสนอแนะต่อนักวิจัยและผู้บริหารขององค์การภาครัฐไทย คือ ควรท�ำความเข้าใจปัจจัย ทั้ง 4 ด้าน ที่จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียน และศึกษาถึงปัญหา อุปสรรคของปัจจัยทั้ง 4 ด้าน เพื่อให้ผู้บริหารสามารถน�ำเอาผลที่ได้มาใช้ในการปรับเปลี่ยนการ ให้บริการจดทะเบียนหรือกลยุทธ์การบริหารงานทั้งระบบและขั้นตอนการท�ำงาน และการพัฒนา ทักษะของผู้ให้บริการ รวมถึงพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมส�ำหรับการออกแบบการให้บริการ จดทะเบียนให้ดียิ่งขึ้น

ค�ำส�ำคัญ: ประสิทธิผลขององค์การ การบริหารสาธารณะแนวใหม่ การพัฒนาการบริการแนวใหม่

ABSTRACT In this dissertation, the researcher investigates the effectiveness of registration services for Thai public organizations. The researcher also examines factors influencing the effectiveness of these registration services. These factors are service technology, participation by service receivers, the enhancement of the competencies of service providers, and establishing systems for service providers and developing operational steps. In this research inquiry, the researcher adopted a qualitative research approach involving case studies of departments under the administrative control of ministries. These are the Department of Lands, the Department of Land Transport, the Department of Business Development, and the Revenue Department, all of which served as units of analysis. In- depth interviews were carried out with 28 key informants. Copies of a questionnaire were distributed to 294 service providers and 1,600 service receivers. In collecting germane วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 75 data, the researcher used the methods of documentary research and in-depth interviews in addition to a questionnaire. The data collected were analyzed by means of documentary analysis, analytically comparing situations, and inductive analysis. The results were grouped and the groups were compared, thereby allowing the drawing of conclusions. Findings are as follows: The Revenue Department showed the highest level of effectiveness in registration services. The Department of Lands showed the lowest level of effectiveness in registration services. Four factors are determinative of the effectiveness of departmental registration services as follows: (1) Technology used for registration services are now twofold. The first system is online registration. The second system is registration at the offices of each department. This results in differences in the effectiveness of the registration services provided by each department. (2) The participation of service receivers encourages members of the general public as service receivers, thereby enhancing the development of services. This state of affairs constitutes a direct response to the needs of service receivers. Each department pays attention to the issue of participation in different ways, but this has minimal effects on registration services. (3) The enhancement of the competencies of providers of services is important in providing registration services. Officials providing registration services must have specialized expertise. It is therefore necessary to augment the skills of officials providing services continuously in order to ensure good registration services are provided to service receivers. (4) The official establishment of systems and operational steps with clear steps and manuals which are easy to understand will ensure that officials correctly carry out their work duties, not to speak of the fact that this facilitates the accurate provision of good services in addition to well serving service receivers. The researcher would like to proffer the following recommendations: Administrators of Thai public organizations must understand all of the aforementioned four factors. If so, this would result in the development of the effectiveness of registration services. Problems and obstacles involving all four factors must be studied, so that administrators can use the findings for making changes in registration services, administration strategies for the whole system, and performance steps. The skills of service providers should be improved. Participation in the design of registration services should be developed for the sake of better performance in the provision of services. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 76

Keywords: Effectiveness, New public service (NPS), New service development (NSD)

บทน�ำ การบริการสาธารณะ (Public Service) เป็นการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐไทย ที่มี ถือว่า มีความส�ำคัญต่อประชาชนเป็นอย่างมาก ความส�ำคัญต่อการประกอบธุรกิจและการท�ำ โดยเฉพาะการให้บริการจดทะเบียนของหน่วยงาน ธุรกรรมต่าง ๆ ของประชาชนหรือผู้รับบริการที่ ภาครัฐมีบทบาทส�ำคัญอย่างยิ่งต่อระบบการ ไม่ได้รับอนุญาตให้จดทะเบียน หรือการให้บริการ บริหารงานภาครัฐและระบบเศรษฐกิจ ซึ่งองค์การ จดทะเบียนมีความล่าช้า ก็จะส่งผลต่อกิจการ ภาครัฐไทยมีเจตนารมณ์ในการผลักดันให้มีการ หรือการท�ำธุรกิจของภาคเอกชน ล้วนส่งผลต่อ ปรับปรุงการให้บริการประชาชนตั้งแต่กระบวนการ เศรษฐกิจของประเทศตามมาด้วย การวิจัยครั้งนี้ ขั้นตอน ระยะเวลา ในการท�ำธุรกรรมต่าง ๆ กับ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาว่า การให้บริการในการ ภาครัฐให้มีความรวดเร็ว อ�ำนวยความสะดวก จดทะเบียนขององค์การภาครัฐไทยเป็นอย่างไร และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชนและ และสามารถพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้มีมาตรฐาน ภาคส่วนต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น รวมถึงรัฐบาลได้มีการ เดียวกันได้หรือไม่ อันจะน�ำมาซึ่งประสิทธิผล ผลักดันองค์การภาครัฐไทยให้น�ำเทคโนโลยี ในการจดทะเบียนที่ดี และผู้รับบริการมีความ สารสนเทศในยุคดิจิทัลมาปรับใช้ในการ พึงพอใจ ซึ่งเป็นการยกระดับคุณภาพการบริการ ให้บริการเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้ ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเป็นรูปธรรม อย่างง่าย สะดวก ปลอดภัย และให้เกิดความ การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้น�ำวรรณกรรม โปร่งใส มีความเป็นธรรมในการให้บริการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิผล การบริการ แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง ดังนั้น การพัฒนา สาธารณะแนวใหม่ (New Public Service หรือ คุณภาพการให้บริการในการจดทะเบียนจึงเป็น NPS) และการพัฒนาการบริการแนวใหม่ (New เป้าประสงค์อันดับแรกของยุทธศาสตร์การพัฒนา Service Development หรือ NSD) และทั้งใน ระบบราชการ และด้วยแรงกดดันจากภาคเอกชน และต่างประเทศ มาศึกษาในบริบทของการ ท�ำให้ในระยะหลังองค์การภาครัฐไทยต้องตระหนัก ให้บริการจดทะเบียนขององค์การภาครัฐไทย ถึงความส�ำคัญของคุณภาพและประสิทธิผล จนได้ตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ดังนี้ ของการให้บริการ รวมถึงการประเมินผลจากการ ประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียน ปฏิบัติงานขององค์การภาครัฐไทย จากเดิม หมายถึง การด�ำเนินงานขององค์การภาครัฐ ประชาชนเป็นเพียงผู้รับบริการที่รัฐจัดให้เท่านั้น ไทยที่มุ่งเน้นถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น โดยมีเป้าหมาย มาเป็นองค์การภาครัฐไทยต้องให้ความส�ำคัญ ส�ำคัญในด้านการให้บริการจดทะเบียนที่รวดเร็ว ในการจัดบริการสาธารณะตามอ�ำนาจหน้าที่ ประหยัด มีมาตรฐาน ทันสมัย ตอบสนองความ ความรับผิดชอบอย่างมีคุณภาพให้กับประชาชน พึงพอใจของประชาชน เพื่อให้องค์การภาครัฐ หรือผู้รับบริการ ฉะนั้น การให้บริการจดทะเบียน ไทยประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 77

เทคโนโลยีในการให้บริการ หมายถึง ก�ำหนดหน้าที่ให้ชัดเจนด้วยการจัดท�ำเป็นคู่มือ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือแอพพลิเคชัน ขั้นตอนอย่างเป็นทางการ ที่ท�ำให้เจ้าหน้าที่และ ที่สามารถให้บริการเชื่อมโยงกับอินเทอร์เน็ตแบบ ผู้รับบริการรู้ถึงขั้นตอนที่ชัดเจน และช่วยให้การ ออนไลน์ได้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน จดทะเบียนง่ายขึ้น ให้เข้าถึงการให้บริการจดทะเบียน และการติดต่อ สื่อสารกับหน่วยงานของภาครัฐได้โดยง่าย วัตถุประสงค์ของการวิจัย และลดความล่าช้า โดยเน้นการให้บริการแบบ 1. เพื่อพรรณนาประสิทธิผลของการ เบ็ดเสร็จภายในขั้นตอนเดียว (One-Stop-Service) ให้บริการจดทะเบียนขององค์การภาครัฐไทยว่า อีกทั้งต้องมีการพัฒนาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ เป็นอย่างไร การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ หมายถึง 2. เพื่อค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อ กระบวนการสร้างความร่วมมือและร่วมแบ่งปัน ประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียนของ ความรู้ระหว่างผู้รับบริการกับหน่วยงานที่ให้ องค์การภาครัฐไทย บริการ โดยการรับฟังความคิดเห็นจากผู้รับบริการ 3. เพื่อระบุปัญหาและอุปสรรคของ ผ่านช่องทางต่าง ๆ หรือการให้ผู้รับบริการที่พร้อม ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการให้ บริการ จะเข้ามา ร่วมวางแผนและตัดสินใจในการพัฒนา จดทะเบียนขององค์การภาครัฐไทย การให้บริการจดทะเบียน เพื่อเพิ่มความคิดเห็น ในการให้บริการจดทะเบียนในรูปแบบใหม่ ๆ ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย จากความหลากหลายของผู้รับบริการ 1. สามารถน�ำข้อค้นพบจากงานวิจัย การเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ให้บริการ ไปประยุกต์ และน�ำไปพัฒนาประสิทธิผลของการ หมายถึง ศักยภาพของผู้ให้บริการที่มีความรู้ ให้บริการจดทะเบียนขององค์การภาครัฐไทยให้ดี ความสามารถในการให้บริการเป็นอย่างดี ท�ำงาน ยิ่งขึ้น และเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป ได้เสร็จภายในก�ำหนดเวลา และมีจิตสาธารณะ 2. สามารถเพิ่มพูนองค์ความรู้ด้วยการ ในการให้บริการ นอกจากนี้ ยังมีการเรียนรู้ บูรณาการแนวคิด ทฤษฎี และความรู้ด้านต่าง ๆ โดยการเข้าฝึกอบรมเรื่องระบบการจดทะเบียน ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิจัย โดยศึกษาจากตัวอย่าง หรือการให้บริการที่ดีเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อพัฒนา ขององค์การภาครัฐไทย ฝีมือการท�ำงานให้มีทักษะเพิ่มขึ้น 3. สามารถน�ำข้อค้นพบจากการวิจัย การวางระบบและขั้นตอนการปฏิบัติ ไปต่อยอดการวิจัยเพื่อใช้ในการพัฒนาแนวคิด งานอย่างเป็นทางการ หมายถึง การวางแผน ประสิทธิผลของการให้บริการขององค์การ อย่างเป็นระบบโดยลดขั้นตอนที่ไม่จ�ำเป็น และ ภาครัฐไทยในด้านอื่น ๆ ต่อไป วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 78

ขอบเขตของการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้เป็นวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ 1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ เทคโนโลยี (Qualitative Research) โดยการออกแบบการ ในการให้บริการ การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ วิจัยมี 2 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการศึกษาเฉพาะ การเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ให้บริการ การวาง กรณี (Case Study Design) และรูปแบบการ ระบบและขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่างเป็น วิจัยเชิงพรรณนา (Cross-Sectional Descriptive ทางการ Research Design) และผู้วิจัยได้ออกแบบ 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ประสิทธิผลของ การวิจัยไว้เป็นล�ำดับขั้นตอน ดังนี้ การให้บริการจดทะเบียน 1. การออกแบบการวิจัย เป็นการศึกษา ขอบเขตด้านประชากร แบบตัดขวางโดยการเก็บข้อมูล ณ เวลาหรือ ผู้วิจัยได้ศึกษากรมที่ดิน กรมการ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว ขนส่งทางบก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และ 2. การเลือกกรณีศึกษา โดยเลือกจาก กรมสรรพากร ดังนี้ กรมที่สังกัดในกระทรวง และต้องเป็นกรมที่มี 1. กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ หน่วยการให้บริการจดทะเบียนในทุกจังหวัด และ เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และผู้รับบริการจดทะเบียน มีหน่วยให้บริการจดทะเบียนในกรุงเทพฯ ตั้งแต่ 2. กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ ได้แก่ 5 แห่งขึ้นไป โดย 1 กระทรวง เลือกมา 1 กรม ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และผู้รับบริการ จึงท�ำให้ได้หน่วยวิเคราะห์ศึกษา 4 กรม คือ จดทะเบียน กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมพัฒนาธุรกิจ

กรอบแนวคิดของการวิจัย

เทคโนโลยีในการให้บริการ

การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ ประสิทธิผลของการให้บริการ การเสริมสร้างสมรรถนะ จดทะเบียน ของผู้ให้บริการ

การวางระบบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน อย่างเป็นทางการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 79

การค้า และกรมสรรพากร ซึ่งมีหน่วยวิเคราะห์ การให้บริการจดทะเบียน การประหยัดเวลาและ ได้แก่ (1) เชิงพรรณนา คือ ผู้รับบริการจ�ำนวน ค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียน การให้บริการที่เป็น 400 คน/1 กรม เท่ากับ 1,600 คน เจ้าหน้าที่ มาตรฐานเดียวกัน ความทันสมัยของการปรับปรุง กรมที่ดินจ�ำนวน 164 คน เจ้าหน้าที่กรมการขนส่ง การให้บริการจดทะเบียน และความพึงพอใจของ ทางบกจ�ำนวน 23 คน เจ้าหน้าที่กรมพัฒนา ผู้รับบริการต่อการบริการเป็นอย่างไร ธุรกิจการค้าจ�ำนวน 17 คน และเจ้าหน้าที่ สรุปผลการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา กรมสรรพากรจ�ำนวน 90 คน (2) เชิงคุณภาพ การศึกษาจากเอกสาร และการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ผู้บริหารจ�ำนวน 4 คน เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ จากการสัมภาษณ์ ดังนี้ จ�ำนวน 10 คน และผู้รับบริการจดทะเบียนจ�ำนวน 1. สรุปผลจากการวิเคราะห์สถิติ 14 คน เชิงพรรณนา โดยกรมที่มีประสิทธิผลของการ 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ให้บริการจดทะเบียนมากที่สุด คือ กรมสรรพากร แบบสอบถาม และแบบแนวการสัมภาษณ์ ส่วนกรมที่มีประสิทธิผลของการให้บริการ 4. การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ จดทะเบียนน้อยที่สุด คือ กรมที่ดิน โดยที่กรม โดยการการสร้างตารางสรุปข้อค�ำถาม และ ที่มีความสะดวกรวดเร็วของการให้บริการ การท�ำ IOC ของผู้เชี่ยวชาญ เพื่อความเที่ยงตรง จดทะเบียน การประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการ ของเนื้อหา และการทดสอบความน่าเชื่อถือ จดทะเบียน ความทันสมัยของการปรับปรุงการ โดยการวิเคราะห์ค่า Cronbach’s Alpha ให้บริการจดทะเบียน ความพึงพอใจของผู้รับ 5. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ บริการต่อการบริการ จากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด (1) การกระจายแบบสอบถาม ใช้วิธีแจก ทั้งในมุมมองของเจ้าหน้าที่และผู้รับบริการ คือ แบบสอบถามด้วยตนเอง โดยวิธีการสุ่มตัวอย่าง (1) กรมสรรพากร (2) กรมพัฒนาธุรกิจการค้า แบบก�ำหนดสัดส่วน โดยมีการตอบกลับ (3) กรมการขนส่งทางบก และ (4) กรมที่ดิน แบบสอบถามจ�ำนวน 1,894 ชุด (2) การสืบค้น ส่วนกรมที่มีการให้บริการที่เป็น จากเอกสารคือ แผนปฏิบัติการ และรายงาน มาตรฐานเดียวกันจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด ประจ�ำปี (3) การสัมภาษณ์ Key Informants ในมุมมองของเจ้าหน้าที่ คือ (1) กรมสรรพากร จ�ำนวน 28 คน (2) กรมที่ดิน (3) กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และ 6. การวิเคราะห์ข้อมูล ได้ใช้วิธีการ (4) กรมการขนส่งทางบก ส่วนในมุมมองของ วิเคราะห์เอกสาร การวิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบ ผู้รับบริการ คือ (1) กรมสรรพากร (2) กรมพัฒนา เหตุการณ์ และการวิเคราะห์แบบอุปนัย ธุรกิจการค้า (3) กรมการขนส่งทางบก และ (4) กรมที่ดิน สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย 2. สรุปการศึกษาจากเอกสาร พบ สรุปผลการวิจัย ว่า องค์การภาครัฐไทยทุกกรมจะมีเป้าหมาย ข้อสรุปที่ 1 ความสะดวกรวดเร็วของ ของประสิทธิผลของการให้บริการที่คล้ายกันใน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 80

ทุก ๆ ด้าน มีเพียงด้านความสะดวกรวดเร็วของ ให้บริการจดทะเบียนขององค์การภาครัฐไทย การให้บริการจดทะเบียนของกรมที่ดินจะไม่เน้น อย่างไร และมีปัญหาอุปสรรคอย่างไร เรื่องความสะดวกรวดเร็วของการให้บริการ ปัจจัยในแต่ละด้านที่มีผลให้เกิด จดทะเบียนเป็นหลัก แต่กรมที่ดินจะพยายาม ประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียน พัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ สรุปผลการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา การศึกษา สนับสนุนงานอื่น ๆ ให้สะดวก รวดเร็ว จากเอกสาร และการวิเคราะห์ข้อมูลจากการ 3. สรุปผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลจาก สัมภาษณ์ ดังนี้ การสัมภาษณ์ของผู้บริการ เจ้าหน้าที่ และผู้รับ 1. สรุปผลจากการวิเคราะห์สถิติเชิง บริการ พบว่า ประสิทธิผลในด้านการให้บริการ พรรณนา พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผล ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และความทันสมัยของ ของการให้บริการจดทะเบียนในแต่ละมุมมองของ การปรับปรุงการให้บริการจดทะเบียน มีลักษณะ เจ้าหน้าที่และผู้รับบริการ ส่วนใหญ่กรมสรรพากร ที่คล้าย ๆ กัน ส่วนที่แตกต่างกันจะเป็นเรื่อง จะเป็นกรมที่มีความเป็นจริงสูงที่สุดเป็นล�ำดับ ของความสะดวกรวดเร็วของการให้บริการ ที่ 1 ส่วนกรมที่มีความเป็นจริงน้อยที่สุด คือ จดทะเบียน การประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย กรมที่ดิน และกรมการขนส่งทางบก จะสลับกัน ในการจดทะเบียน และความพึงพอใจของผู้รับ เป็นล�ำดับที่ 4 บริการต่อการบริการที่จะแตกต่างกัน เนื่องจาก 2. สรุปการศึกษาจากเอกสาร พบว่า การให้บริการแต่ละกรมไม่เหมือนกัน จึงส่งผล เทคโนโลยีในการให้บริการจะมีเป้าหมายของการ ต่อความสะดวกรวดเร็ว การประหยัดเวลาและ พัฒนาระบบการให้บริการจดทะเบียน โดยน�ำ ค่าใช้จ่าย รวมถึงผู้รับบริการมีความพึงพอใจ เทคโนโลยีต่าง ๆ มาช่วยในการปฏิบัติงานให้มีความ ต่อการบริการ เช่น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และ ทันสมัย รวดเร็ว และถูกต้อง โดยแต่ละกรม กรมสรรพากร ให้บริการจดทะเบียน 2 ช่องทาง จะมีการพัฒนาที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่ คือ จดทะเบียนแบบออนไลน์ และจดทะเบียน กรมที่ดินได้ท�ำการพัฒนาฐานข้อมูลด้วยระบบ ณ ส�ำนักงาน ท�ำให้ผู้รับบริการสามารถเลือก เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนกรมการขนส่งทางบก จดทะเบียนได้อย่างสะดวก ในช่องทางที่ผู้รับ ท�ำการพัฒนาการติดตั้งเครือข่ายผ่านระบบงาน บริการเห็นว่ารวดเร็ว ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย ออนไลน์ของกรมการขนส่งทางบก และระบบ ส�ำหรับตนเองมากที่สุด ผู้รับบริการจึงเกิดความ อินเทอร์เน็ต ส่วนกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และ พึงพอใจต่อการให้บริการ กรมสรรพากรได้พัฒนาระบบการปฏิบัติงานให้มี ข้อสรุปที่ 2 ปัจจัยด้านเทคโนโลยีในการ ประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีที่มีความทันสมัย ให้บริการ การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ ถูกต้อง รวดเร็ว เชื่อถือได้ และการบูรณาการ การเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ให้บริการ และ เชื่อมโยงข้อมูลระบบบริการดิจิทัลกับหน่วยงาน การวางระบบและขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่าง ภาครัฐ เป็นทางการ ส่งผลต่อประสิทธิผลของการ การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ มีเพียง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 81

กรมการขนส่งทางบกและกรมพัฒนาธุรกิจ ให้บริการจดทะเบียนแบบออนไลน์ ส่วนกรมที่ดิน การค้าที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ โดย และกรมการขนส่งทางบก มีการพัฒนาเรื่องการ กรมการขนส่งทางบกจะค�ำนึงถึงความต้องการ ติดต่อสื่อสารผ่านแอพพลิเคชัน ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ พบว่า มุ่งเน้นให้เกิดการตอบสนองที่ตรงตามความ มีการรับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์และกล่อง ต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย รับฟังความคิดเห็นที่ตั้งอยู่ ณ หน่วยให้บริการ แต่ละกลุ่มเป็นหลัก ส่วนกรมพัฒนาธุรกิจการค้า แต่จะมีความแตกต่างกันในเรื่องของการประเมินผล ได้ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนหรือ การให้บริการ โดยกรมที่ดินจะให้มีการประเมิน บุคคลภายนอกให้เข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติ โดยใช้แท็บแล็ตและบางแห่งเป็นการประเมิน ราชการของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าโดยให้เข้าร่วม ผ่านแบบสอบถาม ส่วนกรมสรรพากรก�ำลังเริ่ม เป็นคณะกรรมการต่าง ๆ และจัดกิจกรรมสัมมนา ให้มีการประเมินความพึงพอใจผ่านการสแกน การประชุมระดมความคิดเห็น คิวอาร์โค้ด ส่วนกรมการขนส่งทางบก และกรม การเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ให้บริการ พัฒนาธุรกิจการค้า ไม่มีการให้ประเมินผลการ ทุกกรมมีการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้องค์การ ให้บริการ ซึ่งมีเพียงการเชิญคนที่ติดต่องานกับ บรรลุเป้าหมาย โดยการจัดอบรมบุคลากร สัมมนา หน่วยงานที่ให้บริการหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ ตัวแทนมาร่วมแสดงความคิดเห็นในการพัฒนา ทั้งในและนอกสถานที่ราชการ และผ่านสื่อ การให้บริการ อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการบริหารก�ำลังคนเพื่อให้ การเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ให้บริการ สอดคล้องกับภารกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคต พบว่า การฝึกอบรมเป็นการเรียนรู้ในเรื่องของ การวางระบบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ทฤษฎี วิธีการปฏิบัติงานท�ำให้เข้าใจมากขึ้นแล้ว อย่างเป็นทางการ ทุกกรมมีการปรับปรุงกฎหมาย จึงน�ำเอามาปฏิบัติจริงซึ่งหลังจากนี้เป็นเรื่อง เพื่อให้รองรับกับการให้บริการที่ได้มีการก�ำหนด บุคลิกภาพของแต่ละบุคคล และประสบการณ์ ขั้นตอนในการให้บริการใหม่ โดยมีจุดประสงค์ ที่สะสมไปเรื่อย ๆ และสิ่งที่ได้จากการอบรม ให้ประชาชนผู้รับบริการมีความสะดวกในการมา อีกอย่าง คือ การได้เพื่อนต่างส�ำนักงาน ท�ำให้ ติดต่อราชการและลดอุปสรรค ขั้นตอน เอกสาร มีการแชร์ประสบการณ์ในเรื่องที่ไม่เคยเจอ ที่ไม่จ�ำเป็นบางอย่าง นอกจากนี้ ยังได้มีการจัดท�ำ ต่อกันและกัน โดยการโทรสอบถามจากเพื่อน คู่มือการปฏิบัติงาน และคู่มือประชาชน เพื่อสร้าง ต่างส�ำนักงานได้ มาตรฐานในการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ การวางระบบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. สรุปผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลจาก อย่างเป็นทางการ พบว่า คู่มือหรือกฎระเบียบ การสัมภาษณ์ของผู้บริการ เจ้าหน้าที่ และผู้รับ ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ช่วยท�ำให้เกิดความชัดเจน บริการ พบว่า เทคโนโลยีในการให้บริการ พบว่า ในการปฏิบัติงาน และช่วยป้องกันเจ้าหน้าที่ มีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมสรรพากรที่ ที่ท�ำตามคู่มือหรือกฎระเบียบอย่างถูกต้องไม่ให้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 82

โดนฟ้องด้วย ทั้งนี้ การมีคู่มือขั้นตอนที่ชัดเจน ให้บริการจดทะเบียนของกรมสรรพากรเป็นการ จะช่วยป้องกันการใช้อ�ำนาจดุลยพินิจ และ ให้บริการที่ผู้รับบริการยื่นค�ำขอพร้อมเอกสาร เจ้าหน้าที่ทุกคนก็จะปฏิบัติงานไปในทิศทาง ตามที่กรมสรรพากรก�ำหนดไว้เท่านั้น ไม่จ�ำเป็น เดียวกัน ลดปัญหาการเถียงกันในกรณีมีความเห็น ที่ผู้รับบริการต้องเจอกับเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ของเจ้าหน้าที่ไม่ตรงกัน ส�ำหรับผู้รับบริการ จึงท�ำให้ลักษณะการให้บริการมีหลากหลาย การมีคู่มือส�ำหรับประชาชนจะท�ำให้ผู้รับบริการ ช่องทาง ส่วนกรมที่ดินเป็นกรมที่มีประสิทธิผล รู้ว่าต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง ต้องด�ำเนินการ ของการให้บริการจดทะเบียนน้อยที่สุด แต่ในการ อย่างไรในเบื้องต้น ตรงจุดนี้ก็ช่วยท�ำให้ไม่เสียเวลา จดทะเบียนของกรมที่ดินเป็นเรื่องที่มีผลต่อ หากเตรียมเอกสารไปไม่ครบ กรรมสิทธิ์ในที่ดิน จึงจ�ำเป็นต้องมีการตรวจสอบ อภิปรายผลการวิจัย ความถูกต้องทั้งเอกสารและความเป็นเจ้าของ การอภิปรายผลที่ได้จากการวิจัย ที่ดิน ท�ำให้ลักษณะการให้บริการมีข้อจ�ำกัด จะเริ่มต้นอภิปรายผลเกี่ยวกับประสิทธิผลของ มากกว่าของกรมสรรพากร ดังนั้น ลักษณะการ การให้บริการจดทะเบียน และปัจจัยต่าง ๆ ที่มี ให้บริการจดทะเบียนของแต่ละกรมจึงมีความ ผลต่อประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียน แตกต่างกัน นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาปัญหาและอุปสรรค ปัญหาและอุปสรรค ของกรมที่ดิน ของการให้บริการจดทะเบียนขององค์การ และกรมการขนส่งทางบก คือ การเพิ่มช่องทาง ภาครัฐไทย ดังนี้ การให้บริการจดทะเบียน เพื่อเพิ่มความสะดวก 1. ประสิทธิผลของการให้บริการ รวดเร็วคือ ข้อจ�ำกัดเรื่องของการจดทะเบียน จดทะเบียน ที่มีผลต่อการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และ โดยสภาพทั่วไปของการให้บริการ ก่อให้เกิดผลกระทบกับบุคคลหลายฝ่าย (เจ้าของ มีลักษณะที่จับต้องไม่ได้ และการบริการแต่ละอย่าง ทรัพย์สินกับผู้รับโอนทรัพย์สิน) กรมที่ดินและ จะไม่เหมือนกัน (Avlonitis & Papastathopoulou, กรมการขนส่งทางบกจึงต้องถูกก�ำหนดด้วย 2000; Johne & Story, 1998; Levitt, 1981) ข้อกฎหมายที่เยอะมาก ดังนั้น การให้บริการ ท�ำให้การให้บริการแต่ละอย่างมีความแตกต่างกัน จดทะเบียนที่สะดวกรวดเร็วอย่างเดียวคงไม่ได้ ประกอบกับองค์การภาครัฐไทยในแต่ละกรม เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อไม่ให้ มีภารกิจการให้บริการจดทะเบียนที่ไม่เหมือนกัน เกิดความผิดพลาด หรือเกิดความผิดพลาด จึงท�ำให้ลักษณะการให้บริการมีความแตกต่างกัน น้อยที่สุด จึงท�ำให้ส่งผลต่อประสิทธิผลของการ มากขึ้น จะเห็นได้จากประสิทธิผลของการ ให้บริการจดทะเบียนในด้านการประหยัดเวลาและ ให้บริการจดทะเบียนขององค์การภาครัฐไทย ค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียน และความพึงพอใจ ที่แต่ละกรมมีประสิทธิผลไม่เท่ากัน โดยกรม ของผู้รับบริการต่อการบริการ สรรพากรเป็นกรมที่มีประสิทธิผลของการ 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการ ให้บริการจดทะเบียนมากที่สุด เนื่องจากการ ให้บริการจดทะเบียนขององค์การภาครัฐไทย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 83

ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการ จดทะเบียนบางอย่างยังไม่สามารถให้บริการ ให้บริการจดทะเบียนมีได้หลายปัจจัย ผู้วิจัย แบบออนไลน์ได้ ท�ำการศึกษาปัจจัยที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม ปัญหาและอุปสรรค ของกรมที่ดินและ ดังนี้ กรมการขนส่งทางบก คือ การไม่มีการให้บริการ 2.1 เทคโนโลยีในการให้บริการ จาก จดทะเบียนแบบออนไลน์ ท�ำให้ประสิทธิผล ผลการวิจัยเห็นว่า เทคโนโลยีในการให้บริการ ของการให้บริการจดทะเบียนค่อนข้างน้อย ส่งผลต่อประสิทธิผลของการให้บริการ การปรับปรุง 2.2 การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ การใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการท�ำงานจะช่วยให้ จากผลการวิจัยเห็นว่า การมีส่วนร่วมไม่ก่อให้เกิด การให้บริการมีความใหม่อยู่เสมอ และช่วยให้ ประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียน เพราะ องค์การมีประสิทธิผลมากขึ้น สอดคล้องกับแนวคิด ผู้รับบริการรู้สึกไม่เชื่อมั่นว่าองค์การภาครัฐไทย ของ Cummings and Worley (2013) ที่เห็นว่า จะน�ำข้อมูลความต้องการของผู้รับบริการไปพัฒนา องค์การที่ดีจะมีเทคโนโลยีที่มีสมรรถนะสูง การออกแบบการให้บริการ จึงท�ำให้การประสาน นอกจากนี้ การให้บริการจดทะเบียนในแต่ละกรม ความร่วมมือระหว่างผู้รับบริการกับองค์การ มีความแตกต่างกัน อย่างกรมที่ดินกับกรมการ ภาครัฐไทยในการออกแบบการให้บริการ หรือ ขนส่งทางบกถือว่าเป็นการให้บริการจดทะเบียน การเข้ามามีส่วนร่วมปรับปรุงการให้บริการไม่มีผล ในเรื่องที่เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์หรือการโอนความเป็น ต่อประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียนดีขึ้น เจ้าของในทรัพย์สิน ซึ่งต่างจากกรมพัฒนาธุรกิจ หรือแย่ลง ซึ่งผู้รับบริการยินดีให้ความคิดเห็น การค้า และกรมสรรพากรที่ให้บริการจดทะเบียน หากหน่วยงานแสดงเจตจ�ำนงที่ชัดเจนว่า จะน�ำ ในเรื่องของการจัดตั้งขึ้นใหม่ จึงไม่ท�ำให้มีผลกระทบ ความคิดเห็นนั้นไปพิจารณาปรับปรุงการให้บริการ ต่อการเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของ จดทะเบียนจริง ๆ ถึงแม้ว่า ผู้รับบริการจะเป็น ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการ ท�ำให้ลักษณะ แหล่งความคิดที่ส�ำคัญในการให้บริการโดย การให้บริการจดทะเบียนของกรมที่ดินและ ท�ำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และมีคุณค่าต่อ กรมการขนส่งทางบกมีความจ�ำเป็นต้องให้บริการ ผู้รับบริการที่ดีขึ้นกว่าเดิมก็ตาม แต่ด้วยบริบท จดทะเบียนแบบเห็นหน้าผู้มาติดต่อขอรับบริการ ของผู้รับบริการประกอบด้วยผู้รับบริการที่มี เพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนกรรมสิทธิ์ อายุและการศึกษาที่หลากหลายท�ำให้ความรู้ รวมถึงประเด็นด้านการจดทะเบียนออนไลน์ ความสามารถในการให้ข้อมูลของผู้รับบริการ และด้านการพัฒนาการติดต่อรูปแบบใหม่ของ จึงไม่แน่นอน นอกจากนี้ จากข้อมูลเอกสาร กรมที่ดินและกรมการขนส่งทางบกจะแตกต่าง พบว่า กรมสรรพากรไม่ได้เน้นเรื่องการมีส่วนร่วม กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากร ของผู้รับบริการ กรมสรรพากรก็มีประสิทธิผล ทั้งหมด โดยที่กรมที่ดินและกรมการขนส่งทางบก ของการให้บริการจดทะเบียนมากที่สุด ซึ่งไม่ จะมีค่าเฉลี่ยน้อยกว่ากรมพัฒนาธุรกิจการค้า สอดคล้องกับ Lin & Germain (2004); Matthing และกรมสรรพากรเสมอ เพราะขั้นตอนในการ et al. (2004) ที่เห็นว่า การมีส่วนร่วมของลูกค้า วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 84

ถือว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญในการพัฒนาบริการ ทักษะของเจ้าหน้าที่แต่การต้องไปฝึกอบรม ที่ประสบความส�ำเร็จ กลับเป็นเรื่องของการเสียเวลา ปัญหาและอุปสรรค ของการมีส่วนร่วม 2.4 การวางระบบและขั้นตอนการ คือ การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการขาดความ ปฏิบัติงานอย่างเป็นทางการ จากผลการวิจัย ต่อเนื่อง และกลุ่มของผู้รับบริการไม่ชัดเจน และ พบว่า การวางระบบและขั้นตอนการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพันธกิจ ท�ำให้ไม่สามารถทราบ งานอย่างเป็นทางการอาจอยู่ในรูปแบบของกฎ ความต้องการได้อย่างชัดเจนหรือแท้จริง ระเบียบ คู่มือ ที่มีแบบแผนชัดเจน ซึ่งสอดคล้อง 2.3 การเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ให้ กับ Jin et al. (2014) และในมุมมองของผู้รับ บริการ จากผลการวิจัยเห็นว่า การฝึกอบรม บริการเห็นว่ามีความส�ำคัญมาก เพราะผู้รับ เป็นการอบรมทฤษฎี วิธีการปฏิบัติงานท�ำให้ บริการต้องการทราบขั้นตอนที่ชัดเจน และการมี เข้าใจมากขึ้น และสิ่งที่ได้จากการอบรมอีกอย่าง คู่มือท�ำให้ผู้รับบริการเตรียมเอกสารมาครบถ้วน คือ การได้เพื่อนต่างส�ำนักงานที่สามารถช่วยแชร์ และด�ำเนินการตามขั้นตอนได้อย่างสะดวก ข้อมูลและประสบการณ์ในการท�ำงานซึ่งกัน รวดเร็วโดยไม่เสียเวลา อีกทั้งท�ำให้ผู้รับบริการ และกันได้ การฝึกอบรมจึงเป็นเรื่องส�ำคัญที่ช่วย รู้สึกว่าได้รับบริการจากเจ้าหน้าที่อย่างมีมาตรฐาน ท�ำให้เกิดประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียน เดียวกัน และเป็นการสร้างความโปร่งใส และ นอกจากการฝึกอบรมจะเป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนา ความเท่าเทียมกันในการให้บริการ เพราะการ ทักษะที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติงานแล้ว (Holland & พัฒนาอย่างเป็นระบบท�ำให้มีความเป็นมาตรฐาน DeCieri, 2006) จ�ำนวนของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และมีการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดอย่างเป็นระบบ ก็มีส่วนส�ำคัญ หากเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีความ ขั้นตอน ส่วนในมุมมองของเจ้าหน้าที่การมีขั้นตอน สมดุลกับจ�ำนวนผู้รับบริการก็จะเป็นการช่วย การปฏิบัติงานอย่างเป็นทางการช่วยให้เจ้าหน้าที่ ท�ำให้เจ้าหน้าที่ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความมั่นใจในการให้บริการว่า การท�ำตาม และประสิทธิผลมากขึ้น ดังนั้น จ�ำเป็นต้องมี คู่มือหรือกฎระเบียบอย่างถูกต้องจะท�ำให้ไม่โดน การบริหารก�ำลังคนให้สอดคล้องกับภารกิจ ฟ้องร้อง และเป็นการลดการใช้ดุลยพินิจของ และจ�ำนวนผู้รับบริการทั้งในปัจจุบันและอนาคต เจ้าหน้าที่ด้วย อีกทั้งยังลดปัญหาการเถียงกัน เพื่อลดระยะเวลาในการรอเจ้าหน้าที่ให้บริการ ในกรณีมีความเห็นของเจ้าหน้าที่ไม่ตรงกัน และเจ้าหน้าที่มีเวลาได้พักบ้าง และสลับกันไป ปัญหาและอุปสรรค ของการมีขั้นตอน ฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะในการให้บริการจดทะเบียน อย่างเป็นทางการ คือ การมีกฎ ระเบียบ คู่มือที่ใช้ ปัญหาและอุปสรรค ของการฝึกอบรม ในการควบคุมเจ้าหน้าที่มากเกินไป ไม่ก่อให้เกิด คือ ไม่มีการประเมินผลการฝึกอบรมว่ามีความ ประสิทธิผลของการให้บริการจดทะเบียน เพราะ คุ้มค่า มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการ เจ้าหน้าที่ไม่ชอบการถูกควบคุม หรือยึดติดกับ ฝึกอบรม และวิธีการฝึกอบรม หรือเนื้อหาที่ใช้ กฎ ระเบียบ คู่มือ ที่มากเกินไป ในการอบรมอาจไม่ได้เป็นการเพิ่มความรู้หรือ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 85

ข้อเสนอแนะ แรงจูงใจในการเข้าร่วมฝึกอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ จากการศึกษาการวิจัยเรื่องประสิทธิผล ด้วยเพื่อให้เจ้าหน้าที่ตั้งใจเรียนรู้และน�าเอาความ ของการให้บริการจดทะเบียนขององค์การภาครัฐ รู้มาพัฒนาตนเองให้มากขึ้น ไทย ผู้วิจัยให้ข้อเสนอแนะไว้ ดังนี้ 2. ข้อเสนอแนะส�าหรับการวิจัยใน 1. ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย อนาคต 1.1 ควรมีการปรับปรุงการใช้ 2.1 การออกแบบวิธีวิจัยเรื่องนี้ เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการท�างาน ให้เป็นการ ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยวิจัยเชิงคุณภาพ ให้บริการใหม่ๆ อยู่เสมอเพื่อประสิทธิผลของ (qualitative research) ที่ได้จากการทบทวน องค์การให้ได้รับบริการจากองค์การภาครัฐที่ดีขึ้น วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ดี การวิจัยปัจจัย แม่นย�าขึ้น สะดวกขึ้น เสียเวลาน้อยลง และอ�านวย ต่าง ๆ ที่มีผลต่อการให้บริการจดทะเบียนของ ความสะดวกให้กับผู้รับบริการ องค์การภาครัฐไทยยังต้องมีการเก็บแบบสอบถาม 1.2 ปัจจัยของการมีส่วนร่วมของ โดยใช้ความน่าจะเป็นทางสถิติมาวิเคราะห์ ผู้รับบริการ ควรมีการพิจารณาความรู้ความสามารถ สถิติขั้นสูง พร้อมทั้งเปรียบเทียบความเหมือน ของผู้รับบริการด้วย และน�าข้อมูลของผู้รับบริการ และความแตกต่างในการวิจัยเชิงปริมาณ มาวิเคราะห์ความต้องการของผู้รับบริการ อีกทั้ง (quantitative research) เพื่อให้เห็นถึงปัจจัยต่าง ๆ ต้องมีการปรับปรุงวิธีการเข้ามามีส่วนร่วมของ ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการให้บริการ ผู้รับบริการ จดทะเบียนในเชิงในรูปแบบของการวิจัยแบบ 1.3 กระบวนการอย่างเป็นทางการ ผสมผสาน (mixed methods research) จะเป็น ควรมีการค�านึงถึงกฎ ระเบียบ ขั้นตอนที่ควบคุม ประโยชน์ต่อการศึกษามากกว่า กระบวนการให้มีความเหมาะสม การมอบหมาย 2.2 ควรใช้การวิจัยแบบระยะยาว หน้าที่ควรต้องพิจารณาถึงสถานะและระดับ ที่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลมากกว่าสองครั้ง ที่ก�าหนดไว้ให้เหมาะสมด้วย และอาจให้เจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็นการติดตามกลุ่มตัวอย่างไประยะเวลาหนึ่ง ที่ให้บริการเข้ามาร่วมวางระบบและขั้นตอนเพื่อให้ ท�าให้ได้ข้อมูลที่สามารถสรุปความสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่ไม่รู้สึกว่าถูกบังคับมากจนเกินไป เชิงสาเหตุและผลได้ชัดเจนขึ้น 1.4 การจัดฝึกอบรมเพื่อเพิ่ม 2.3 หน่วยการวิเคราะห์ ในการ สมรรถนะของผู้ให้บริการ ควรมีการสอบถาม วิจัยครั้งนี้ได้ก�าหนดหน่วยวิเคราะห์เฉพาะในเขต ความต้องการของเจ้าหน้าที่ว่าต้องการอยากฝึก กรุงเทพมหานครเท่านั้น ดังนั้น ในการวิจัย อบรมในเรื่องใดที่จะช่วยเพิ่มสมรรถนะในการ ครั้งต่อไปอาจจะศึกษาให้ครอบคลุมทั้ง ท�างานให้กับเจ้าหน้าที่ได้หรือให้เจ้าหน้าที่เข้ามา ประเทศเพื่อเกิดการบูรณาการการให้บริการจด มีส่วนร่วมในการออกแบบการฝึกอบรมที่จะช่วย ทะเบียนมากขึ้น และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและ เพิ่มสมรรถนะ นอกจากนี้ องค์การอาจมีการสร้าง ประสิทธิผลที่ดียิ่งขึ้น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 86

REFERENCES

Avlonitis, G. J., & Papastathopoulou, P. G. (2000). Marketing communication and product performance: Innovative vs non-innovative new retail financial products. International Journal of Bank Marketing, 18(1), 27-41. Cummings, T. G., & Worley, C. G. (2013). Organization development & change. Mason, OH: South-Western Cengage Learning. Holland, J. S., & DeCieri, H. (2006). Competency issues in human resource development. Kuala Lumpur: Prentice Hall. Jin, D., Chai, K. H., & Tan, K. C. (2014). New service development maturity model. Managing Service Quality: An International Journal, 24(1), 86-116. Johne, A., & Storey, C. (1998). New service development: A review of the literature and annotated bibliography. European Journal of Marketing, 32(3/4), 184-251. Levitt, T. (1981). Marketing intangible products and product intangibles. Harvard Business Review, 59(3), 94-102. Lin, X., & Germain, R. (2004). Antecedents to customer involvement in product development: Comparing US and Chinese firms.European Management Journal, 22(2), 244-255. Matthing, J., Sanden, B., & Edvardsson, B. (2004). New service development: learning from and with customers. International Journal of Service Industry Management, 15(5), 479-498. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 87

บทความวิจัย

ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี STRATEGY FOR PROMOTING THE RESEARCH AND DEVELOPMENT TECHNOLOGY OF AGRICULTURAL SMALL AND MEDIUM ENTERPRISE (SMEs) IN PATHUM THANI PROVINCE อนันต์ รุ่งพรทวีวัฒน์1* ภาณุพงศ์ สามารถ2 เตชิต ตรีชัย3 และ พงศ์เทพ อันตะริกานนท์4 Anun Rungporntavewat1* PhanuPhong Samat2 TeChit TriChai3 and Pongtep Antarikanon4

หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2, 3, 4 Doctor of Philosophy in Development Strategy Phranakhon Rajabhat University Bangkok, Thailand1*, 2, 3, 4

Email: Anun @ tistr.or.th1*

Received: 2018-10-16 Revised: 2019-04-04 Accepted: 2019-07-15

บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์สาขาวิชายุทธการพัฒนา ผู้วิจัยขอน�ำเสนอ ผลการศึกษา วัตถุประสงค์ที่ 2 ของการวิจัยเท่านั้น คือ เพื่อศึกษาความต้องการความช่วยเหลือ จากภาครัฐในการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี ใช้แบบของการวิจัยและพัฒนาเป็นการผสมผสาน ระหว่าง วิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิง การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ ได้แก่ ผู้รู้ และ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร 30 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐในการส่งเสริมการวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี มี 8 ประเด็นดังนี้ 1) ด้านการส่งเสริมและช่วยเหลือด้านการเงินในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี 2) การบริการฝึกอบรมทรัพยากรมนุษย์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3) การให้บริการด้าน ที่ปรึกษาการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี 4) การส่งเสริมการสร้างเครือข่ายทางการวิจัย และพัฒนา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 88

เทคโนโลยี 5) การให้บริการด้านห้องปฏิบัติการเครื่องมือ อุปกรณ์ ในการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี 6) การกระจายข่าวสารด้านการตลาดการบริหารจัดการองค์การ การวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี 7) การส่งเสริมด้านการตลาด และจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายให้แก่ SMEs ทั้งในและต่างประเทศ 8) นโยบายของรัฐในการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า และบริการจาก SMEs

ค�ำส�ำคัญ: ยุทธศาสตร์ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร

ABTRACT This research article is a part of the thesis on strategy development. The researcher would like to focus only the second objective, i.e. the need of public assistance on research and technology development for agricultural Small and Medium Enterprises (SMEs) in Pathum Thani province. The research methodology used mixed methods which consisted of both qualitative and quantitative. The key informants used were 30 related agricultural SMEs. The research instrument was an in-depth interview integrated by content analysis. The study found that the need of public assistance on Research and Technology Development (RTD) for agricultural SMEs in Pathum Thani province could be classified into 8 categories, i.e. 1) monetary support on Research and Technology Development (RTD) 2) human resource training in RTD 3) Consultancy service in RTD 4) RTD networking in research support 5) laboratory service including equipment, instruments, etc, in RTD 6) Marketing communication in management and RTD 7) marketing activity and promotion for SMEs in both local and international markets and 8) public policy on product and service procurement for SMEs

Keywords: Strategy, Research and Technology Development, Agricultural Small and Medium Enterprises (SMEs)

บทน�ำ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และเสริมสร้างความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ (Small and Medium Enterprises, SMEs) ของประเทศต่าง ๆ โดยเป็นแหล่งที่ส�ำคัญในการ เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญของระบบเศรษฐกิจ สร้างรายได้และการจ้างงานให้กับประเทศ อีกทั้ง และสังคม และถือเป็นกลไกหลักในการฟื้นฟู ยังเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาความยากจน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 89

โดยการกระจายรายได้ไปสู่ภาคชนบทที่มี 600 ล้านคน หรือเกือบร้อยละ 10 ของประชากรโลก ความเจริญต�่ำกว่าได้อีกด้วย ส�ำหรับประเทศ (Department of Trade Negotiations, 2012) ในกลุ่มอาเซียนก็เช่นเดียวกัน จ�ำนวน SMEs นับเป็นความท้าทายอย่างยิ่งต่อระบบเศรษฐกิจ ในอาเซียนคิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 96 ของ ไทย ซึ่งมีปัญหาใหญ่ที่ต้องเผชิญ คือ ประเทศไทย จ�ำนวนวิสาหกิจทั้งหมด และมีการจ้างงานกว่า จัดอยู่ในประเทศที่มีรายได้ปานกลาง จึงอยู่ใน ร้อยละ 50 ถึง 85 ของการจ้างงานทั้งหมดภายใน สถานการณ์ “การติดกับอยู่ในวงเวียนของ แต่ละประเทศสมาชิก นอกจากนี้ พบว่า SMEs ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง” ที่เรียกว่า “Middle มีสัดส่วนส�ำคัญ ในผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน Income Trap” คือ คนไทยมีรายได้ประมาณ ประเทศ (GDP) ระหว่างร้อยละ 30 ถึง 53 และ 210,000 - 240,000 บาท/คน/ปี ที่ไม่สามารถ ประเทศอาเซียนมีการส่งออกที่มีจากภาค SMEs พัฒนาตนเองไปสู่ประเทศที่มีฐานะร�่ำรวยได้ ระหว่างร้อยละ 19 ถึง 31 (ASEAN, 2015) ทั้งที่มีศักยภาพ เพราะมีจุดอ่อนส�ำคัญคือ ประเทศไทยต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง ขาดนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ใช้ลดต้นทุน ทั้งภายในและภายนอกประเทศหลายประการ ในการผลิตและการเพิ่มมูลค่าของสินค้า สาเหตุ ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญ มีผลกระทบทั้งที่เป็นโอกาส เพราะไทยไม่มีการวิจัยและพัฒนาที่มีคุณภาพ และอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ปัจจัยภายใน การแก้ไขปัญหานี้จึงเป็นหัวใจส�ำคัญของการ ประเทศ ได้แก่ ผลิตภาพของการผลิตรวมของ พัฒนาประเทศ และเป็นสิ่งที่ต้องท�ำอย่างเร่งด่วน ภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม อยู่ในระดับต�่ำ ที่สุด คือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้าน ต้องพึ่งพาการน�ำเข้าที่สูงขึ้น ความเหลื่อมล�้ำ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นฐานส�ำคัญ ทางรายได้ของประชากร การเปลี่ยนแปลงทาง ของการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีซึ่งต้องการ สังคมจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมแบบดั้งเดิม การลงทุนภาครัฐควบคู่ไปกับการลงทุนในภาค ก้าวเข้าสู่สังคมสมัยใหม่ที่มีความซับซ้อนยิ่งขึ้น เอกชน (Kriangsak Chareonwongsak, 2002) และการตลาดเชิงรุก ท�ำให้เกิดพฤติกรรมบริโภค เมื่อพิจารณาด้านความสามารถในการแข่งขัน นิยม ปัจจัยภายนอกประเทศที่ส่งผลกระทบ ระดับนานาชาติ พบว่าประเทศไทยมีความด้อย อย่างมากจนสังคมไทยปรับตัวไม่ทันกับคลื่น จนน่าเป็นห่วง จากการศึกษาเปรียบเทียบโดย การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ได้แก่ การ ส�ำนักวิชาการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ในปี พ.ศ. 2556 พบว่า ขีดความสามารถในการ นวัตกรรมแบบก้าวกระโดด ความก้าวหน้าอย่าง แข่งขันด้านต่าง ๆ ของประเทศไทยอยูในอันดับ รวดเร็วของเทคโนโลยีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ต�่ำมาก ปลายปี พ.ศ. 2558 ได้มีการเปิดการ และการตอบสนองความต้องการในการด�ำรง ค้าเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN ชีวิตของประชาชนมากขึ้น ซึ่งประเทศไทย Economic Community: AEC) ประเทศไทย ต้องใช้ความพยายามเป็นอย่างมาก เพื่อแข่งขัน ต้องให้ความส�ำคัญกับการเพิ่มขีดความ ในประชาคมอาเซียน ซึ่งมีประชากรประมาณ สามารถในการแข่งขัน จากการศึกษา World วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 90

Competitiveness Yearbook ซึ่งเป็นรายงาน จ�ำนวน SMEs 32,081 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.26 การศึกษาและจัดอันดับด้านความรู้ ความสามารถ ของวิสาหกิจภาคธุรกิจเกษตรรวมของประเทศ ในการแข่งขันระดับนานาชาติของประเทศต่าง ๆ บทบาทในการจ้างงานของ SMEs ไทยการจ้างงาน จ�ำนวน 59 ประเทศทั่วโลก โดยประเมินจาก ในวิสาหกิจของไทยในปี 2557 นั้น มีการจ้างงาน สมรรถนะด้านโครงสร้างพื้นฐาน 4 ปัจจัยย่อย ในกิจการทุกขนาดรวมกันทั้งสิ้น 13,078,147 คน พบว่าประเทศไทยยังด้อยในทุกด้าน คือ ด้าน โดยเป็นการจ้างงานในวิสาหกิจขนาดใหญ่ (LE) สุขภาพและสิ่งแวดล้อมอยู่ในอันดับที่ 54 ด้าน จ�ำนวน 2,575,949 คน และเป็นการจ้างงาน เทคโนโลยีจัดอยู่ในอันดับที่ 52 ด้านวิทยาศาสตร์ ในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และเทคโนโลยีจัดอยู่ในอันดับที่ 40 และด้าน จ�ำนวน 10,501,166 คน คิดเป็นร้อยละ 80.30 การศึกษาจัดอยู่ในอันดับที่ 51 (International ของการจ้างงานรวมทั้งหมด โดยที่วิสาหกิจ Institute for Management Development, ขนาดย่อม (SE) มีสัดส่วนต่อการจ้างงานสูงที่สุด IMD, 2012) ถึงร้อยละ 72.83 ของการจ้างงานรวม และมี ประเทศไทยมีจ�ำนวนและการจ้างงาน สัดส่วนร้อยละ 90.71 ของการจ้างงานใน SMEs ของ SMEs จากการส�ำรวจในปี 2557 พบว่า ลักษณะการกระจายตัวของการจ้างงาน อยู่ในกลุ่ม จ�ำนวนวิสาหกิจรวมทั้งประเทศ มีจ�ำนวนทั้งสิ้น ภาคการบริการมากที่สุด จ�ำนวน 4,701,144 คน 2,744,198 ราย จ�ำแนกเป็นวิสาหกิจขนาดกลาง คิดเป็นร้อยละ 80.53 ของการจ้างงานทั้งประเทศ และขนาดย่อม จ�ำนวน 2,736,744 ราย คิดเป็น ส�ำหรับการจ้างงานภาคการผลิตของ SMEs ร้อยละ 99.73 ของจ�ำนวนวิสาหกิจรวม โดยเป็น พบว่า มีการจ้างงานเพียงร้อยละ 23.09 ของการ จ�ำนวนวิสาหกิจขนาดย่อม (SE) มากที่สุด จ้างงาน SMEs ทั้งหมด (Office of Small and มีจ�ำนวน 2,723,932 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.26 Medium Enterprises Promotion, 2015) ของจ�ำนวน วิสาหกิจทั้งประเทศ หรือคิดเป็น แม้ว่า SMEs ไทยจะมีความส�ำคัญ ร้อยละ 99.53 ของวิสาหกิจขนาดกลางและ และขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยอยู่ในขณะนี้ก็ตาม ขนาดย่อม รวม SMEs มีการกระจายตัวอยู่ แต่ยังมีปัญหาและข้อจ�ำกัดที่ต้องได้รับการแก้ไข ในกลุ่ม ภาคการขนส่ง ขายปลีก การซ่อมแซม อย่างเป็นระบบและตรงประเด็นจากภาครัฐและ ยานยนต์ มากที่สุด มีจ�ำนวน 1,159,715 ราย เอกชนอย่างเร่งด่วน ข้อจ�ำกัดของ SMEs ไทย คิดเป็นร้อยละ 99.28 ของวิสาหกิจรวมภาคการ ในภาพรวมมีดังนี้ 1) ปัญหาด้านการตลาด ขนส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รองลงมา ส่วนใหญ่ มักตอบสนองความต้องการของ อยู่ในภาคบริการ จ�ำนวน 1,036,598 ราย คิดเป็น ท้องถิ่นหรือตลาดภายในประเทศ ต้องขยาย ร้อยละ 99.28 ของวิสาหกิจภาคบริการ ส�ำหรับ แนวคิดในการท�ำการตลาดไปสู่ AEC ด้วย ภาคการผลิต มี SMEs อยู่ 495,077 ราย 2) ปัญหาด้านฝีมือแรงงาน มีการเข้าออกของ คิดเป็นร้อยละ 98.57 ของวิสาหกิจภาคการผลิต แรงงานสูง จึงไม่มีโอกาสพัฒนาคนเหล่านี้ ภาคธุรกิจเกษตรมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 32,320 ราย ให้เป็นทุนมนุษย์ของ SMEs ได้ 3) ขาดแคลน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 91

เงินทุน มักประสบปัญหาในการขอกู้ยืมเงินทุน และการชลประทานดี ในภาคการเกษตร ดังนั้น จากสถาบันการเงิน เพื่อมาขยายงานหรือเป็น SMEs ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จึงมีความส�ำคัญ ทุนหมุนเวียน ท�ำให้ขาดแคลนทุนวิจัยและพัฒนา ระดับต้น ๆ ของจังหวัด มีโรงงานอุตสาหกรรม เทคโนโลยีการผลิต 4) ปัญหาข้อจ�ำกัดด้านเทคโนโลยี ที่ได้รับใบอนุญาตทั้งสิ้น จ�ำนวน 8,221 โรงงาน การผลิต โดยทั่วไป SMEs ใช้เทคโนโลยีขั้นต�่ำ เงินลงทุน 3.8 แสนล้านบาท มีการจ้างงาน เพราะมีเงินทุนน้อย ขาดบุคลากรนักวิชาการ 279,667 คน อ�ำเภอที่มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มากที่สุด คือ อ�ำเภอคลองหลวง 1,015 โรงงาน จึงไม่สามารถพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตได้ ร้อยละ 31.5 รองลงมา ได้แก่ อ�ำเภอล�ำลูกกา 5) ข้อจ�ำกัดด้านการจัดการเพราะขาดความรู้ 787 โรงงาน ร้อยละ 24.4 อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว ด้านบริหารจัดการ ส่วนใหญ่เรียนรู้มาจากการ 350 โรงงาน ร้อยละ 10.9 อ�ำเภอธัญบุรี ปฏิบัติตามกันมา จึงล้าหลังไม่ทันต่อกาลเวลา 284 โรงงาน ร้อยละ 8.8 อ�ำเภอสามโคก ของการบริหารยุคใหม่ 6) ปัญหาการเข้าถึง 267 โรงงาน ร้อยละ 8.3 และอ�ำเภอหนองเสือ บริการส่งเสริมของรัฐ การจัดตั้งกิจการมักไม่เป็น 65 โรงงาน ร้อยละ 2.0 โรงงานแยกตามหมวด ทางการ ไม่มีการจดทะเบียนโรงงาน ทะเบียน อุตสาหกรรม คือ อุตสาหกรรมเกษตร 70 โรงงาน พาณิชย์หรือทะเบียนการค้า จึงค่อนข้างปิด เงินลงทุน 4.1 พันล้านบาท การจ้างงาน 2,316 ตัวเองในการเข้ามาใช้บริการของรัฐ 7) ปัญหา คน SMEs ภาคอุตสาหกรรมเกษตรของจังหวัด ข้อจ�ำกัดด้านการได้รับบริการการส่งเสริมการ ปทุมธานี ก็เช่นเดียวกันกับภาพรวมของประเทศ พัฒนาจากภาครัฐและเอกชน เนื่องจาก SMEs คือ มีข้อจ�ำกัดและปัญหารอการแก้ไขอย่างเป็น มีกระจายกันอยู่ทั่วประเทศ ประกอบกับข้อจ�ำกัด ระบบและเร่งด่วน คือ 1) ปัญหาด้านการตลาด ของหน่วยงานภาครัฐมีไม่พอ จึงดูแลได้ไม่ทั่วถึง 2) การขาดแคลนเงินทุน 3) ด้านแรงงานที่มี และ 8) ปัญหาข้อจ�ำกัดในการรับรู้ข่าวสารข้อมูล ฝีมือ 4) ด้านเทคโนโลยี 5) ด้านการบริหารจัดการ เนื่องจากจุดอ่อนและข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ข้างต้น องค์การ 6) ด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ 7) ด้าน ท�ำให้ SMEs ขาดความเชื่อมโยงและรับรู้ข่าวสาร การส่งเสริมการพัฒนาองค์การจากภาครัฐและ ที่เป็นประโยชน์ด้านต่าง ๆ จากภาครัฐ (Office of เอกชน ปัจจุบันภาครัฐมีนโยบาย มาตรการ และ Small and Medium Enterprises Promotion, หน่วยงานจ�ำนวนมากที่ท�ำหน้าที่ส่งเสริม SMEs ของ 2015) ปัจจุบันภาครัฐมีนโยบาย มาตรการ และ ประเทศ แต่การท�ำงานขาดเอกภาพ ขาดยุทธศาสตร์ หน่วยงานจ�ำนวนมากที่ท�ำหน้าที่ส่งเสริม SMEs และแนวทางการพัฒนา SMEs อย่างเป็นรูปธรรม ของประเทศ แต่การท�ำงานขาดเอกภาพ และ จากที่กล่าวมานี้ผู้วิจัยจึงสนใจในการ ขาดยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนา SMEs ศึกษายุทธศาสตร์การส่งเสริมการวิจัย และ อย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาเทคโนโลยี ในวิสาหกิจขนาดกลางและ จังหวัดปทุมธานี เป็นเมืองเกษตร ขนาดย่อม ของจังหวัดปทุมธานี โดยมุ่งเน้นบริบท มีสภาพแวดล้อมทางธุรกิจดี ดินฟ้า อากาศ ของจังหวัดปทุมธานี เป็นตัวตั้ง และน�ำนโยบาย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 92

มาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐและเอกชนมา จากภาครัฐในการสนับสนุนการส่งเสริมการวิจัย ผสมผสานกับข้อจ�ำกัดและปัญหาของ SMEs และพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลาง ภาคอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการแก้ปัญหา และขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด และการพัฒนา SMEs ดังกล่าวโดยการสร้าง ปทุมธานี ยุทธศาสตร์ที่เหมาะสม กับสถานการณ์ปัจจุบัน 3. ได้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการวิจัย เพื่อการน�ำมาใช้ประโยชน์ได้จริง และพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด วัตถุประสงค์ของการวิจัย ปทุมธานี 1. เพื่อศึกษาขีดความสามารถและ 4. ได้ทราบผลการประเมินยุทธศาสตร์ ข้อจ�ำกัดในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจ ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาค ขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี เกษตร จังหวัดปทุมธานีแล้วน�ำไปปรับปรุงแก้ไข 2. เพื่อศึกษาความต้องการความ และจัดท�ำเป็นเล่มฉบับสมบูรณ์ ช่วยเหลือจากภาครัฐในการส่งเสริมการวิจัย 5. องค์ความรู้ที่ได้จะน�ำไปจัดท�ำเป็น และพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลาง คู่มือยุทธศาสตร์การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา และขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด เทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปทุมธานี ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี และ 3. เพื่อสร้างยุทธศาสตร์ในการส่งเสริม เสนอเป็นนโยบายต่อหน่วยงานที่รับผิดชอบและ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจชุมชน เกี่ยวข้องต่อไป ขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรม เกษตร จังหวัดปทุมธานี ขอบเขตของการวิจัย 4. เพื่อประเมินยุทธศาสตร์ในส่งเสริม ผู้วิจัยได้ก�ำหนดขอบเขตการวิจัยไว้ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจ ดังต่อไปนี้ ขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรม 1. ขอบเขตประชากร เกษตร จังหวัดปทุมธานี ประชากรที่ใช้ในการศึกษา แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเชิง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ปริมาณ ได้แก่ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง 1. ได้ข้อมูลขีดความสามารถและ และขนาดย่อม (SMEs) ภาคอุตสาหกรรมเกษตร ข้อจ�ำกัดในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี จังหวัดปทุมธานี จ�ำนวน 43 คน 2) ประชากร ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาค ที่ใช้ในการศึกษาเชิงคุณภาพ ได้แก่ กลุ่มผู้ให้ อุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี ข้อมูลส�ำคัญ คือ จ�ำนวน 58 คน 2. ได้ทราบความต้องการความช่วยเหลือ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 93

2. ขอบเขตด้านเนื้อหา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed ขอบเขตเนื้อหาของการวิจัย เรื่อง Methodologies) ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนา (Quantitative Research) และการวิจัย เทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี 2. ประชากร ผู้วิจัยได้ก�ำหนดตามวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) ศึกษา 2.1 ประชากร ได้แก่ วิสาหกิจ ขีดความสามารถและข้อจ�ำกัดในการวิจัยและ ขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรม พัฒนาเทคโนโลยีของวิสาหกิจขนาดกลางและ เกษตร จังหวัดปทุมธานี ซึ่งมีจ�ำนวนทั้งสิ้น ขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด 43 ราย (Federation of Provincial Industry, ปทุมธานี 2) ศึกษาความต้องการความช่วยเหลือ 2013) เพื่อศึกษาขีดระดับความสามารถและ จากภาครัฐในการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา ข้อจ�ำกัดในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาค ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี อุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี 3) สร้างยุทธศาสตร์การส่งเสริมการวิจัยและ 2.2 เชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ พัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจชุมชน ขนาดกลาง (Key Informants) ได้แก่ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ และขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ปทุมธานี 4) ประเมินยุทธศาสตร์ส่งเสริมการ ใน SMEs ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลาง ปทุมธานี มีจ�ำนวน 52 คน โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม และขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด ตามภารกิจดังนี้ ปทุมธานี 2.2.1 กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ 3. ขอบเขตด้านพื้นที่ (Interview) ศึกษาความต้องการความช่วยเหลือ ขอบเขตด้านพื้นที่ผู้วิจัยได้ก�ำหนดคือ จากภาครัฐในการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา จังหวัดปทุมธานี เทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 4. ขอบเขตเวลา ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ตั้งแต่ จ�ำนวน 30 คน ได้แก่ เจ้าของกิจการวิสาหกิจ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ขนาดกลาง จ�ำนวน 15 คน และเจ้าของกิจการ วิสาหกิจขนาดย่อม จ�ำนวน 15 คน ระเบียบวิธีวิจัย 2.2.2 กลุ่มผู้เข้าร่วมระดมสมอง 1. แบบของการวิจัย (Brainstorming) เพื่อสร้างยุทธศาสตร์ การส่งเสริม แบบของการวิจัย ในครั้งนี้ เป็นการ การวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี จ�ำนวน 14 คน วิจัยและพัฒนา (Research & Development) ได้แก่ 1) เจ้าของกิจการวิสาหกิจขนาดกลาง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 94

จ�ำนวน 2 คน และเจ้าของกิจการวิสาหกิจ รวบรวมข้อมูลตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ขนาดย่อม จ�ำนวน 2 คน 2) เจ้าหน้าที่จาก โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์จากการศึกษา ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ขนาดย่อม 2 คน 3) เจ้าหน้าที่จากส�ำนักงาน แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In–depth Interviewing) เกษตร จังหวัดปทุมธานี 2 คน 4) ผู้เชี่ยวชาญการ 3.1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม จัดท�ำยุทธศาสตร์จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ข้อมูลเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาปัญหาข้อจ�ำกัด และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 2 คน ของการวิจัยและปัจจัยที่ส่งเสริมการวิจัย และ 5) เกษตรกร ผู้ผลิตวัตถุดิบป้อน SMEs จ�ำนวน พัฒนาเทคโนโลยี SMEs ภาคอุตสาหกรรมเกษตร 2 ราย 6) เจ้าหน้าที่นโยบายและแผนจังหวัด จังหวัดปทุมธานี มี 1 ชุด ได้แก่ แบบสอบถาม ปทุมธานี จ�ำนวน 2 ราย ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมาจากการศึกษาข้อมูลจาก 2.2.3 กลุ่มผู้เข้าร่วมการสนทนา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งค�ำถาม กลุ่ม (Focus Group Discussion) เพื่อประเมิน ออกเป็น 3 ตอน ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เทคโนโลยีใน SMEs ภาคอุตสาหกรรมเกษตร เชิงคุณภาพ ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเก็บ จ�ำนวน 8 คน ได้แก่ 1) ผู้มีความรู้ความช�ำนาญ รวบรวมข้อมูลตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ในการสร้างยุทธศาสตร์ จากจังหวัดปทุมธานี โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์จากการศึกษา จ�ำนวน 1 คน 2) เจ้าหน้าที่และแผนส�ำนักงาน แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ดังกล่าวนี้มีจ�ำนวน 3 ชุด ดังนี้ 1) แบบสัมภาษณ์ จ�ำนวน 1 คน 3) เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน แบบมีโครงสร้าง 2) ประเด็นการระดมสมอง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ�ำนวน เพื่อสร้างยุทธศาสตร์ฯ 3) ประเด็นการสนทนากลุ่ม 1 คน 4) เจ้าหน้าที่นโยบายและแผนส�ำนักงาน เพื่อประเมินยุทธศาสตร์ฯ เกษตรจังหวัดปทุมธานี จ�ำนวน 1 คน 5) ผู้ช�ำนาญ 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล การด้านยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก�ำหนด และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 1 คน ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ 6) ผู้ช�ำนาญการสร้างยุทธศาสตร์จากมูลนิธิ ของการวิจัย ดังนี้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ จ�ำนวน เพื่อศึกษาความต้องการความ 1 คน 7) ผู้ประกอบการ SMEs ภาคอุตสาหกรรม ช่วยเหลือจากภาครัฐในการส่งเสริมการวิจัย เกษตร จังหวัดปทุมธานี จ�ำนวน 2 คน และพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลาง 3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม และขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด ข้อมูล ปทุมธานี ในขั้นตอนที่นี้มีกิจกรรมดังนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth เชิงคุณภาพ ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเก็บ Interviewing) การสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าของ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 95

กิจการ จ�ำนวน 30 ราย แบ่งเป็นเจ้าของกิจการ ผลการศึกษาความต้องการ การวิสาหกิจขนาดกลาง จ�ำนวน 15 ราย จาก การส่งเสริมจากภาครัฐในการวิจัย และ วิสาหกิจขนาดย่อม จ�ำนวน 15 ราย ณ สถานที่ พัฒนาเทคโนโลยีของ SMEs ภาคอุตสาหกรรม ประกอบการแต่ละแห่ง ขั้นตอนนี้จะใช้เวลา เกษตร จ.ปทุมธานี 3 เดือน การสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่ม SMEs ผลจากการศึกษาความต้องการ ผู้ให้ข้อมูลหลักจ�ำนวน 30 ราย ประกอบด้วย ความช่วยเหลือจากภาครัฐในการส่งเสริมการ ผู้ประกอบการ SEs จ�ำนวน 17 ราย และ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลาง ผู้ประกอบการ MEs จ�ำนวน 13 ราย ในข้อมูล และขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด เกี่ยวกับความต้องการการส่งเสริมจากภาครัฐ ปทุมธานี น�ำไปสู่น�ำไปสู่การจัดท�ำยุทธศาสตร์ ในการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีของ SMEs การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใน กลุ่มเป้าหมาย โดยมีประเด็นการสัมภาษณ์ SMEs ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี 8 ด้าน มีรายละเอียดดังนี้ ต่อไป 1. การส่งเสริมและช่วยเหลือด้าน 5. การวิเคราะห์ข้อมูล การเงินในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี พบว่า การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยการวิเคราะห์ ผู้ประกอบการทั้ง SEs และMEs ต้องการความ ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ช่วยเหลือจากรัฐ ทั้งการช่วยเหลือการวิจัยแบบ (Content Analysis) ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากการ ให้เปล่า การให้เงินยืมดอกเบี้ยต�่ำ การวิจัยร่วมกัน สัมภาษณ์เชิงลึก การระดมสมองในการสร้าง ระหว่างภาครัฐ และเอกชนโดยแบ่งการรับผิดชอบ ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา ด้านค่าใช้จ่าย และผลงานวิจัยน�ำไปใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีใน SMEs ภาคอุตสาหกรรมเกษตร มีสิทธิประโยชน์ของผลงานร่วมกัน อาจารย์ และ จังหวัดปทุมธานี และการสนทนากลุ่มในการ นักวิจัยในองค์การของรัฐสามารถหาหัวข้อวิจัย ประเมินยุทธศาสตร์การส่งเสริมการวิจัยและ จากภาคเอกชน (SMEs) ที่สามารถน�ำผลงาน พัฒนาเทคโนโลยี ในวิสาหกิจขนาดกลางและ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของประเทศ ขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร จังหวัด ได้จริงและทันที ปทุมธานี 2. การบริการฝึกอบรมทรัพยากรมนุษย์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพบว่า สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล ผู้ประกอบการทั้ง MEs และSEs เห็นตรงกันว่า สรุปผลการวิจัย รัฐน่าจะจัดการพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ ผู้วิจัยจะได้สรุปอภิปรายผลการศึกษา และเทคโนโลยีของประเทศให้มากกว่าที่เป็นอยู่ ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยในประเด็นต่าง ๆ เพราะเป็นนโยบายของรัฐบาล การพัฒนา ดังนี้ บุคลากรของประเทศด้านวิทยาศาสตร์และ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 96

เทคโนโลยีมีความจ�ำเป็นยิ่งต่อการพัฒนาขีดความ ทั้ง วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์อื่น ๆ สามารถในการแข่งขันระดับโลกของประเทศ อย่างสม�่ำเสมอ 3. การให้บริการด้านที่ปรึกษาการวิจัย 7. การส่งเสริมด้านการตลาด และ และพัฒนาเทคโนโลยี พบว่าผู้ประกอบการทั้ง จัดกิจกรรมส่งเสริมการขายให้แก่ SMEs ทั้ง MEs และSEs เห็นตรงกันว่าการให้ค�ำปรึกษา ในและต่างประเทศ พบว่า ผู้ประกอบการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากภาครัฐ ทั้ง MEs และSEs มีความต้องการการส่งเสริม เป็นสิ่งจ�ำเป็น ปัจจุบันมีทั้งที่เอกชนต้องเสีย ด้านการตลาดทั้งใน และต่างประเทศเป็นอย่างมาก ค่าใช้จ่าย และให้บริการแนะน�ำโดยไม่มีค่าใช้จ่าย เพราะต่างประเทศต้องการสินค้าท้องถิ่น ซึ่งแสดง อยากจะให้สถาบันการศึกษาให้ค�ำแนะน�ำ วัฒนธรรมของไทยเป็นอย่างมาก เพราะมีความ ให้ค�ำปรึกษาเป็นวิทยาทานให้มากยิ่งขึ้น หรือ สวยงามและใช้วัสดุจากธรรมชาติ รัฐช่วยออกค่าใช้จ่ายให้ร้อยละ 50 8. นโยบายของรัฐในการจัดซื้อจัดจ้าง 4. การส่งเสริมการสร้างเครือข่าย สินค้า และบริการจาก SMEs พบว่า ผู้ประกอบการ ทางการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี พบว่า ทั้ง MEs และSEs ขานรับนโยบายนี้ เพราะ ผู้ประกอบการทั้ง MEs และ SEs ต้องการให้ เป็นทางหนึ่ง ซึ่งจะท�ำให้ SMEs ไทยพัฒนา องค์การภาครัฐและสถาบันการศึกษาเป็นหัวหอก ตนเอง พัฒนาเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ ในการจัดการประชุมเสวนาด้านการวิจัย และ ในอนาคตสามารถแข่งขันในเวทีโลกได้ พัฒนาเทคโนโลยีให้สม�่ำเสมอ โดยแบ่งเป็น อภิปรายผลการวิจัย กลุ่มก้อน (Cluster) ที่มีปัญหาที่ต้องแก้ ผู้วิจัยจะได้สรุปอภิปรายผลการศึกษา เหมือน ๆ กัน เป็นการกระตุ้นแนวคิดใหม่ ๆ ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยใน 6 ประเด็นต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ดังนี้ 5. การให้บริการด้านห้องปฏิบัติการ ผลการศึกษาความต้องการความ เครื่องมือ อุปกรณ์ ในการวิจัย และพัฒนา ช่วยเหลือจากภาครัฐในการส่งเสริมการวิจัย เทคโนโลยี พบว่า การให้บริการของท้องถิ่น และพัฒนาเทคโนโลยีในวิสาหกิจขนาดกลาง มีข้อจ�ำกัดด้านเครื่องมือ สารเคมี และบุคลากร และขนาดย่อม ภาคอุตสาหกรรมเกษตร ค่าบริการสูง และใช้เวลานานมากเกินไปตรงกัน จังหวัดปทุมธานี ทั้ง MEs และSEs 1. การส่งเสริมและช่วยเหลือด้าน 6. การกระจายข่าวสารด้าน การเงินในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี พบว่า การตลาดการบริหารจัดการองค์การ การวิจัย ผู้ประกอบการทั้ง SEs และMEs ต้องการความ และพัฒนาเทคโนโลยีพบว่าผู้ประกอบการ ช่วยเหลือจากรัฐ ทั้งการช่วยเหลือการวิจัย ทั้ง MEs และSEs มีความต้องการข่าวสาร แบบให้เปล่า การให้เงินยืมดอกเบี้ยต�่ำ การวิจัย ด้านการตลาด การบริหารองค์การการวิจัย และ ร่วมกันระหว่างภาครัฐ และเอกชนโดยแบ่งการ พัฒนาเทคโนโลยีอย่างยิ่ง อยากให้มีการสื่อสาร รับผิดชอบด้านค่าใช้จ่าย และผลงานวิจัยน�ำไป วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 97

ใช้ประโยชน์มีสิทธิประโยชน์ของผลงานร่วมกัน ปรับตัวเข้าสู่ AEC สามารถอธิบายความเหมาะสม อาจารย์ และนักวิจัยในองค์การของรัฐสามารถ ได้ด้วยตัวบ่งชี้ ที่ 3 การพัฒนาทุนมนุษย์ด้วย หาหัวข้อวิจัยจากภาคเอกชน (SMEs) ที่สามารถ สมรรถนะความสามารถ ก�ำลังเป็นกระแสและ น�ำผลงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของ แนวโน้มที่มาแรงในยุคปัจจุบัน เน้นฝึกทักษะ ประเทศได้จริงและทันที สอดคล้องกับ Paisan เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะให้กับสมาชิกเครือข่าย Moongsamak et al (2013) ได้ท�ำการศึกษาวิจัย เพื่อให้ชุมชนสามารถพัฒนาและค้นหากลุ่มแกนน�ำ รูปแบบการจัดการที่ประสบผลส�ำเร็จของกลุ่ม ที่เข้าไปท�ำงาน และยังพบว่าสวัสดิการชุมชน เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เครือข่ายแบบชุมชนชนบทเป็นองค์ประกอบ กลุ่มจังหวัดนครชัยบุรินทร์ พบว่า ด้านการจัดการ เพื่อแลกเปลี่ยนกับชุมชน หมู่บ้านชนบทอื่น ๆ ด้วย ทุนชุมชน ด้านการเงิน ควรมีการเน้นเกี่ยวกับ 3. การส่งเสริมการสร้างเครือข่ายทางการ การประเมินการบริหารการเงิน การจัดหาแหล่งทุน วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี พบว่า ผู้ประกอบการ ภายนอก และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา ทั้ง MEs และ SEs ต้องการให้องค์การภาครัฐ ขีดความสามารถเชิงพาณิชย์ของสินค้าชุมชน และสถาบันการศึกษาเป็นหัวหอกในการจัดการ พบว่า สภาพในการประกอบวิสาหกิจชุมชน ประชุมเสวนาด้านการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี ส่วนใหญ่รอการสนับสนุนหรือกระตุ้นจาก ให้สม�่ำเสมอ โดยแบ่งเป็นกลุ่มก้อน (Cluster) เครือข่ายภายนอก มิได้เกิดขึ้นจากแรงขับเคลื่อน ที่มีปัญหาที่ต้องแก้เหมือน ๆ กัน เป็นการกระตุ้น จากภายในชุมชน แนวคิดใหม่ ๆ ในการแก้ไขปัญหา และพัฒนา 2. การบริการฝึกอบรมทรัพยากร ผลิตภัณฑ์ สอดคล้องกับ Rujipas Pothong et al มนุษย์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพบว่า (2015) ได้ท�ำการศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ของ ผู้ประกอบการทั้ง MEs และSEs เห็นตรงกันว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลท�ำให้เกิดนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ รัฐน่าจะจัดการพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ ที่มีต่อผลการด�ำเนินงานในอุตสาหกรรมอาหาร และเทคโนโลยีของประเทศให้มากกว่าที่เป็นอยู่ แปรรูปประเทศไทย พบว่า ปัจจัยภายนอก ได้แก่ เพราะเป็นนโยบายของรัฐบาล การพัฒนา ความต้องการที่ไม่แน่นอน การมุ่งเน้นตลาด บุคลากรของประเทศด้านวิทยาศาสตร์และ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การสนับสนุน เทคโนโลยีมีความจ�ำเป็นยิ่งต่อการพัฒนา ของภาครัฐในด้านการวิจัย ขีดความสามารถในการแข่งขันระดับโลกของ 4. การให้บริการด้านห้องปฏิบัติการ ประเทศ สอดคล้องกับ Kosol Jitwirat (2015) เครื่องมือ อุปกรณ์ ในการวิจัย และพัฒนา ได้ท�ำการวิจัยเรื่องตัวแบบการพัฒนาทุนมนุษย์ เทคโนโลยี พบว่า การให้บริการของท้องถิ่น เพื่อการปรับตัวเข้าสู่การเป็นสมาชิกประชาคม มีข้อจ�ำกัดด้านเครื่องมือ สารเคมี และบุคลากร เศรษฐกิจอาเซียน พบว่าโมเดลที่มีความ ค่าบริการสูง และใช้เวลานานมากเกินไปตรงกัน สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างมีนัยส�ำคัญ ทั้ง MEs และ SEs) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ เป็นการยืนยันว่าการพัฒนาทุนมนุษย์ เพื่อการ ประเทศไทย Policy Statement of the Cabinet, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 98

(2014) ด้านที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ เพื่อให้มีความสวยงาม ทันสมัย ท�ำให้มีจุดดึงดูด ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย ความสนใจลูกค้าเพิ่มขึ้นและท�ำการประเมิน และพัฒนา และนวัตกรรม ข้อที่ 5 ปรับปรุงและ บรรจุภัณฑ์และสื่อประชาสัมพันธ์ด้วย จัดเตรียมให้มีโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ แสดงให้เห็นว่าการประชาสัมพันธ์มีความส�ำคัญ และเทคโนโลยี ด้านการวิจัยและพัฒนา และด้าน ต่อการส่งเสริมด้านการตลาด และจัดกิจกรรม นวัตกรรมซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา ส่งเสริมการขายให้แก่ SMEs ทั้งในและ ที่ส�ำคัญในการต่อยอดสู่การใช้เชิงพาณิชย์ของ ต่างประเทศ ภาคอุตสาหกรรมให้มีความพร้อม ทันสมัย และ 6. นโยบายของรัฐในการจัดซื้อจัดจ้าง กระจายในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น การพัฒนาระบบ สินค้า และบริการจาก SMEs พบว่า ผู้ประกอบการ เทคโนโลยีสารสนเทศ การตั้งศูนย์วิเคราะห์ ทั้ง MEs และSEs ขานรับนโยบายนี้ เพราะเป็น ห้องปฏิบัติการสถาบัน และศูนย์วิจัย ทางหนึ่ง ซึ่งจะท�ำให้ SMEs ไทยพัฒนาตนเอง 5. การส่งเสริมด้านการตลาด และ พัฒนาเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ ในอนาคต จัดกิจกรรมส่งเสริมการขายให้แก่ SMEs ทั้งใน สามารถแข่งขันในเวทีโลกได้ สอดคล้องกับ และต่างประเทศ พบว่า ผู้ประกอบการทั้ง MEs Pornchanok Thonglad et al (2016) ได้ท�ำการ และ SEs มีความต้องการการส่งเสริมด้าน ศึกษาแนวทางการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน การตลาดทั้งใน และต่างประเทศเป็นอย่างมาก ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของธุรกิจ เพราะต่างประเทศต้องการสินค้าท้องถิ่น ซึ่งแสดง ขนาดกลางและขนาดย่อม ในจังหวัดล�ำปาง วัฒนธรรมของไทยเป็นอย่างมาก เพราะมีความ ล�ำพูนและเชียงใหม่ พบว่าผู้ประกอบธุรกิจ สวยงามและใช้วัสดุจากธรรมชาติ สอดคล้องกับ เป็นกลไกลส�ำคัญในการขับเคลื่อนเป้าหมาย Natanun Wiriyavit (2016) ได้ท�ำการวิจัยเกี่ยวกับ การด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน บนฐานของการ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และสื่อประชาสัมพันธ์ มองกว้าง คิดไกล มองงานให้ครบวงจรและ ผลิตภัณฑ์ เครื่องส�ำอาง สมุนไพร กรณีศึกษา : ทุกมิติ ดังนั้น จึงจ�ำเป็นต้องมีการศึกษาการ วิสาหกิจชุมชนปาริชาติ เขตมีนบุรี กรุงเทพ- พัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน เพื่อตอบโจทย์วิกฤต มหานคร พบว่าสภาพปัจจุบันของวิสาหกิจ เศรษฐกิจที่ไม่สมดุล ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และ ชุมชนปาริชาต มีการใช้บรรจุภัณฑ์และฉลาก สิ่งแวดล้อม ที่ไม่มีจุดเด่นและไม่สามารถดึงดูดผู้บริโภค ส่วนในด้านสื่อประชาสัมพันธ์ไม่มีเอกสาร ข้อเสนอแนะ ประชาสัมพันธ์สินค้า และไม่มีสื่อวีดีทัศน์เพื่อแนะน�ำ 1. หน่วยงานให้ทุนวิจัยของภาครัฐ บริษัทสินค้า จึงท�ำการศึกษาหาแนวทางในการ ควรตั้งหัวข้อการวิจัยให้เอกชนร่วมมือกับภาครัฐ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ ฉลาก และสื่อประชาสัมพันธ์ โดยรัฐสนับสนุนด้านการเงิน และบุคลากรจะเป็น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 99

ประโยชน์ในการท�าผลงานวิจัยไปใช้ได้จริง เพื่อไม่ให้ผลงานวิจัยอยู่บนหิ้งที่เป็นปัญหา เชิงการค้า ตั้งแต่เริ่มวิจัย ในปัจจุบัน 2. รัฐควรให้การสนับสนุนด้านเครื่องมือ บทความการวิจัยเรื่องยุทธศาสตร์ (LAB.) และบุคลากรให้แก่ SMEx ในการวิจัย การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และพัฒนาโดยค่าใช้จ่ายไม่สูงมากจนเกินไป ในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาค 3. ภาครัฐที่ดูแลด้านการตลาด ควร อุตสาหกรรมเกษตร จังหวัดปทุมธานี ผู้วิจัย จัดการด้านการส่งเสริมการตลาดอย่างสม�่าเสมอ ได้ก�าหนดวัตถุประสงค์ไว้ 4 ข้อ ผู้วิจัยขอน�าเสนอ 4. องค์การของรัฐที่เป็นแหล่งเงินทุน เพียง 1 วัตถุประสงค์เท่านั้น ส่วนอีก 3 ข้อ วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีควรจัดโครงการที่ ก�าลังอยู่ในระหว่างการเก็บรวบรวมข้อมูลและ ภาครัฐวิจัย เพื่อต่อยอดไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ วิเคราะห์ข้อมูล คาดว่าจะแล้วเสร็จในเร็ว ๆ นี้

REFERENCES

Department of Trade Negotiation (2013). AEC. Seminary Document for Enterprise Preparation to AEC (Jun 2012) Kosol Jitwirat. (2015). Pattern for Human Capital Development on adaptation to AEC member. Journal of Researcher Association, 20 (3), 99-110. Kosol Jitwirat (2015) and Netpanna Yawirat (2016). Analysis of Confirmed elements on factors which affected on competitiveness of early processed-rubber SMEs under dynamic change. Journal of Researcher Association, 21(1),154-165. Natanun Wiriyavit (2016). Development of Herbal Packaging : Case Study, SMEs of Parichard Community, Minburi, Bangkok. Journal of Researcher Association, 21(1), 143-153. Pornchanok Thonglad, Paitoon Intakhan & Bundit Busaba (2016). Sustainability Development following to Sufficiency Economy of SMEs in Lampang, Lampoon, & Chiangmai Province. Journal of Researcher Association, 21(1), 74-87. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 100

Paisan Moongsamak, Thanomsak Suwannoi, Sornchai Pisakonbutr, & Sivasit Chamchong. (2011). Succesful Management Pattern on Herbal SMEs, Nakronchaiburin provincial group. Journal of Researcher Association, 18 (3), 115-123. Rujipas Pothong-sangaroon, Kobkun Chantarakolika, & Pumiporn Tamastitdej. (2015). Relationship of influence factors leading to product innovation which affected on operation result of Thai Food Industry. Journal of Researcher Association, 20 (3), 72-86. Office of SMEs Promotion. (2015a).Defintion of SMEs. retrieved from http: //www.sme.go.th/ Pages/Define.aspx. ASEAN. (2015a). Small and Medium Enterprises: SMEs Developments in ASEAN. Retrieved From http://www.asean.org/communities/asean-economic-community/category/ small-and-medium-enterprises. International Institute for Trade and Development, (ITD). (2012). New Rising Opportunities in ASEAN Market : New Professional Challenges. Retrieved from http://www.itd. or.th/research-report/298-ar. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 101

บทความวิจัย

ประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น THE ADMINISTRATIVE EFFECTIVENESS OF RAJABHAT UNIVERSITIES IN LOCAL DEVELOPMENT นันทัชพร ปานะรัตน์1* และ ปิยะนุช เงินคล้าย2 Nantouchaporn Panarat1* and Piyanush Ngernklay2

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Doctor of philosophy (Politics), Faculty of political science ramkhamhaeng University, Bangkok, Thailand1*, 2

Email: [email protected]*

Received: 2019-04-07 Revised: 2019-08-17 Accepted: 2018-08-29

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (2) เพื่อวิเคราะห์เงื่อนไขที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (3) เพื่อจัดล�ำดับความส�ำคัญของเงื่อนไขที่ส่งผลต่อประสิทธิผล ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และวิเคราะห์ถึงเหตุผลของความส�ำคัญ ดังกล่าว โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การศึกษาเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากอธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี คณบดี ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก/สถาบัน/กอง อาจารย์ นักศึกษา และ ศิษย์เก่า จ�ำนวน 38 คน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏ 4 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ผลการศึกษาพบว่า 1. ประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย (1) ปัจจัยน�ำออก ได้แก่ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ (2) ผลลัพธ์ ได้แก่ บัณฑิต น�ำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น การน�ำ ความรู้จากการบริการวิชาการไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่น 2. เงื่อนไขที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 102

ประกอบด้วย (1) ปัจจัยน�ำเข้า ได้แก่ นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุนทรัพยากรอื่น ๆ (2) วิธีการจัดการ ได้แก่ การบริหารองค์การ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารการเงิน 3. การจัดล�ำดับความส�ำคัญของเงื่อนไขที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และวิเคราะห์ถึงเหตุผลของความส�ำคัญ พบว่า 3.1 เงื่อนไขส�ำคัญที่สุด อันดับ 1 คือ นโยบาย (ค่าเฉลี่ย 40.0) รองลงมาอันดับ 2 คือ ความเชี่ยวชาญของบุคลากร (ค่าเฉลี่ย 13.3) รองลงมาอันดับ 3 คือ ผู้บริหาร และพื้นที่เป้าหมาย รับผิดชอบ (ค่าเฉลี่ย 10.0) 3.2 เหตุผลของความส�ำคัญ มีดังนี้ (1) นโยบาย เป็นเป้าหมายของมหาวิทยาลัยที่ต้องท�ำ (2) ความเชี่ยวชาญของบุคลากร ในการผลิตบัณฑิต การวิจัย และการบริการวิชาการ ต้องตอบสนอง ความต้องการของท้องถิ่นอย่างแท้จริง (3) ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ต้องมีคุณลักษณะ ดังนี้ มีวิสัยทัศน์ ในการตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนาท้องถิ่น และการผลักดันการด�ำเนินงานเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น มีการสื่อสารกับบุคลากรโดยการถ่ายทอดนโยบาย และการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับ บุคลากรในมหาวิทยาลัย (4) การก�ำหนดพื้นที่เป้าหมาย การระบุเขตพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ราชภัฏ เพื่อไม่ให้เกิดการทับซ้อนกันในพื้นที่ความรับผิดชอบ และเพื่อให้บริการวิชาการในแต่ละพื้นที่ อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

ค�ำส�ำคัญ: ประสิทธิผล การบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ การพัฒนาท้องถิ่น

ABSTRACT This research aimed to examine (1) the administrative effectiveness of Rajabhat Universities for local development; analyzes (2) conditions exerting effects on the administrative effectiveness of Rajabhat Universities for local development; and shows (3) the importance of prioritizing dealing with conditions exerting effects on the administrative effectiveness of Rajabhat Universities for local development in addition to analyzing the reasons for this importance. The qualitative research methods were employed to carry out this research inquiry. As such, this entailed documentary research in addition to carrying out in-depth interviews. Those interviewed were 38 presidents, vice-presidents, assistants to the president, deans, directors of bureaus/institutes/divisions, lecturers, students, and alumni from four Rajabhat Universities. The four universities were Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, and Suan Dusit University. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 103

Findings are as follows: 1. The administrative effectiveness of Rajabhat Universities for local development consisted of (1) outputs, viz., the production of graduates, research, and academic services; (2) outcomes, viz., graduates using knowledge for local development in addition to research and the provision of knowledge in providing academic services in local development. 2. The conditions exerting effects on the administrative effectiveness of Rajabhat Universities for local development consisted of (1) inputs, viz., students, lecturers, academic support personnel, and other resources; (2) throughputs, viz., organizational administration, the administration of human resources, and financial administration. 3. The importance of conditions exerting effects on the administrative effectiveness of Rajabhat Universities for local development must be prioritized. The reasons for this importance is analyzed after the following fashion: 3.1 The most important condition was policy (mean = 40.0). Next in descending order were personnel expertise (mean = 13.3); administrators and the target areas for the exercise of responsibility (mean = 10.0). 3.2 The reasons for importance were as follows: (1) Enacting policy is the goal of the university. (2) Personnel expertise leads to producing graduates, research, and academic services which are genuinely responsive to local needs. (3) University administrators must have the following characteristics: having a vision involving awareness of the importance of local development; mobilizing operations for local development; communicating with personnel by transmitting policies and fostering knowledge on the part of university personnel. (4) Target areas must be designated. The designation of areas of responsibility of Rajabhat Universities ensures the non-overlapping of areas of responsibility and ensures that academic services in each area are continuous and sustainable.

Keywords: Effectiveness, The Administrative of Rajabhat University, Local Development

บทน�ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันอุดม อยู่ในพื้นที่ครอบคลุมทั้งประเทศ รวม 38 แห่ง ศึกษาของรัฐ ในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ มีสถานภาพเหมือนกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมี ในประเทศทุกประการ แต่มีเอกลักษณ์ส�ำคัญ ประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 100 ปี มีที่ตั้ง ที่แตกต่างจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ คือ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 104

เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) นับได้ว่าเป็นสถาบัน อุดมศึกษาที่มีความใกล้ชิด ก�ำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในการประเมิน กับท้องถิ่นมากที่สุด การยกฐานะจากสถาบันราชภัฏ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและ ให้มาเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏในปี พ.ศ. 2547 ครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่องต่าง ๆ ตามจุดเน้น ท�ำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนแปลง ของสถานศึกษา โดยใช้ตัวบ่งชี้เดียวกันในการ สถานภาพของสถาบันราชภัฏเป็นนิติบุคคล ประเมินคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา เปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจากระบบราชการ ทุกสถาบัน ดังนั้น ผลการประเมินคุณภาพ สู่นิติบุคคลตามข้อบังคับของกฎหมาย เพิ่มความ การศึกษาภายนอกของสถาบันอุดมศึกษาจึงมี เป็นอิสระและความคล่องตัวในการบริหาร ความหลากหลายแตกต่างกัน ซึ่งมหาวิทยาลัย ซึ่งการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏให้ประสบ ราชภัฏทั้ง 38 แห่งก็มีความแตกต่างเช่นกัน ความส�ำเร็จภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีการ จากผลการประเมินคุณภาพดังกล่าว จึงส่งผล เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา รวมถึงการแข่งขัน ต่อการยอมรับทางสังคมโดยเฉพาะเรื่องคุณภาพ ของสถาบันอุดมศึกษาทั้งภายในและภายนอก บัณฑิต จากผลการประเมิน อันดับสูงสุด 5 ประเทศเป็นเรื่องยาก ประกอบกับสภาพการ อันดับแรก ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีความ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา หลากหลาย ท�ำให้สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีความแตกต่างกัน แม้ว่าพระราชบัญญัติ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ก�ำหนดภารกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏก�ำแพงเพชร ตามล�ำดับ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏให้เหมือนกัน แต่ ส่วนอันดับต�่ำสุด 5 อันดับสุดท้าย ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ก็ปฏิบัติภารกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัย ได้ส�ำเร็จในระดับที่แตกต่างกัน ได้รับการยอมรับ ราชภัฏเทพสตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ในแต่ละด้านแตกต่างกันออกไป มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ และมหาวิทยาลัย ราชภัฏมีบริบทไม่เหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ราชภัฏสุรินทร์ ตามล�ำดับ จากรายงานผลการ เนื่องจากเป็นสถาบันการศึกษาที่เริ่มต้นจาก ประเมินคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง การเป็นวิทยาลัยครู จนกระทั่งเป็นมหาวิทยาลัย 40 แห่ง (ปี 2554 - 2558) แสดงให้เห็นถึงความ ราชภัฏในปัจจุบัน จึงมีขีดความสามารถใน หลากหลายของแต่ละมหาวิทยาลัย ซึ่งผลการ หลาย ๆ ด้านขององค์ประกอบที่จะท�ำให้ได้ ประเมินคุณภาพก็มีระดับความส�ำเร็จแตกต่างกัน คุณภาพยังไม่เหมาะที่จะเอาไปเปรียบเทียบ เจตนารมณ์ของการจัดตั้งมหาวิทยาลัย โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานเดียวกันกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏ เพื่อให้มีบทบาทหน้าที่ส�ำคัญในการ อื่น ๆ การประเมินคุณภาพภายนอกระดับ พัฒนาท้องถิ่น ซึ่งสอดคล้องกับพระราโชบาย อุดมศึกษาเพื่อรับรองมาตรฐานการศึกษาระดับ ของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังนั้น สถาบัน โดยส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและ มหาวิทยาลัยราชภัฏต้องตอบสนองความต้องการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 105

ของท้องถิ่น แก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่นได้ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่มีความใกล้ชิดกับ และมีการด�ำเนินการจัดโครงการเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่นมากที่สุด และต้องด�ำเนินงานการ ท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในการนี้พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อสนองพระราโชบายของพระบาทสมเด็จ ทรงให้ความส�ำคัญและคาดหวังให้มหาวิทยาลัย พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ลดช่องว่างและความ ราชภัฏเป็นหน่วยงานส�ำคัญในการพัฒนาคุณภาพ เหลื่อมล�้ำของสังคมไทย ด้วยภารกิจของ ชีวิตของประชาชนในภูมิภาคและท้องถิ่น จึงเป็น มหาวิทยาลัยราชภัฏที่เหมือนกัน และจ�ำนวน ที่น่าสนใจว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏมากถึง 38 แห่ง ซึ่งแต่ละแห่ง จะมีกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของ มีบริบทไม่เหมือนกัน การปฏิบัติภารกิจของ มหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยน้อมน�ำพระราโชบาย มหาวิทยาลัยให้ส�ำเร็จจึงมีประสิทธิผลที่แตกต่างกัน ในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มาเป็น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาประสิทธิผลของ หลักส�ำคัญในการปรับแผนยุทธศาสตร์ใหม่ และ การบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏในการบรรลุ มีผลการด�ำเนินงานด้านการพัฒนาท้องถิ่น เป้าหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามอัตลักษณ์ของ เชิงประจักษ์อย่างไร ประกอบกับปัจจุบันสังคม “มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ไทยยังมีช่องว่างและมีความเหลื่อมล�้ำระหว่าง กรุงเทพมหานครและชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเป็น วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประเด็นที่มีข้อวิพากษ์วิจารณ์กันอยู่ตลอดเวลา 1. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการบริหาร ทั้งในแง่ช่องว่างในสังคม คนจน คนยากไร้ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ขาดการศึกษา ผู้ด้อยโอกาส หรือการที่ไม่ได้ 2. เพื่อวิเคราะห์เงื่อนไขที่ส่งผลต่อ รับโอกาสที่ควรจะได้รับอย่างเท่าเทียม รวมถึง ประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ ช่องว่างในการเข้าถึงการบริการประเภทต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งเป็นช่องว่างที่อาจเติบโตขึ้นมาตามความเจริญ 3. เพื่อจัดล�ำดับความส�ำคัญของเงื่อนไข เทคโนโลยี และรูปแบบการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัย ซึ่งนับเป็นปัญหาช่องว่างและความเหลื่อมล�้ำที่ ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และวิเคราะห์ถึง เรื้อรังของสังคมไทย ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏ เหตุผลของความส�ำคัญดังกล่าว ที่มีภารกิจในการพัฒนาท้องถิ่น จึงต้องสร้าง ผลงานเชิงประจักษ์ในแง่ของการพัฒนาท้องถิ่น ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย หรือการยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนท้องถิ่น 1. ผู้วิจัยคาดหวังประโยชน์จากการ ให้เห็นผลในเชิงประจักษ์ เพื่อเป็นการลดช่องว่าง เพิ่มพูนองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ และความเหลื่อมล�้ำของสังคมไทย เกี่ยวกับการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตลอดจน จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น น�ำไปใช้ประกอบเป็นแนวทางในมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันอุดมศึกษา อื่นได้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 106

2. ผู้วิจัยคาดหวังประโยชน์จากการ ท้องถิ่น งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาท้องถิ่น น�ำข้อค้นพบจากงานวิจัยไปก�ำหนดแนวทาง รายงานการประเมินตนเอง รายงานผลการตรวจ ในการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ และ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน แผนกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยของรัฐได้ ทางการเงิน รายงานประจ�ำปี รายงานผลการ 3. ผู้วิจัยคาดหวังประโยชน์จากการ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของ น�ำข้อค้นพบจากงานวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการ มหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 4 แห่ง ได้แก่ ก�ำหนดกลยุทธ์ แผน แผนงาน และโครงการของ (1) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา การบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏได้ (2) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระ 4. ผู้วิจัยคาดหวังประโยชน์จากการ บรมราชูปถัมภ์ (3) มหาวิทยาลัยราชภัฏ น�ำไปใช้เป็นแนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ นครราชสีมา (4) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อสนองพระราโชบาย ด้านผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ ผู้ให้ข้อมูล ของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ส�ำคัญของการวิจัยนี้ คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการ ตามยุทธศาสตร์ใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏในการบรรลุ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เป้าหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏ 4 แห่ง โดยการจัดล�ำดับจากผลการ ขอบเขตของการวิจัย ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554 - ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยนี้เป็นการ 2558) ระดับอุดมศึกษา เพื่อรับรองมาตรฐาน ศึกษาประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัย การศึกษาระดับสถาบัน โดยส�ำนักงานรับรอง ราชภัฏ และวิเคราะห์เงื่อนไขที่ส่งผลต่อการ มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ บรรลุเป้าหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยศึกษา มหาชน) จากกลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 5 ด้าน คือ แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารมหาวิทยาลัยตาม ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ด้านการ ภารกิจสถาบันอุดมศึกษา ประกอบด้วย ภารกิจ ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ด้านการท�ำนุบ�ำรุง สถาบันอุดมศึกษา และภารกิจมหาวิทยาลัย ศิลปะและวัฒนธรรม และด้านการบริหารจัดการ/ ราชภัฏ ประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัย เงินงบประมาณ โดยผู้วิจัยเลือกเฉพาะมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย ตัวชี้วัดประสิทธิผลของการบริหาร ราชภัฏที่มีการประเมินตัวบ่งชี้พื้นฐาน ครบทุก มหาวิทยาลัย และตัวชี้วัดประสิทธิผลของการ ตัวบ่งชี้เท่านั้น และเลือกเฉพาะมหาวิทยาลัย บริหารมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ราชภัฏที่มีประวัติความเป็นมาที่เก่าแก่ มีการ ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล ก่อตั้งมายาวนานมากกว่า 50 ปี ขึ้นไป เพื่อ ด้านข้อมูลเอกสาร เอกสารที่น�ำมา เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยที่มีความเก่าแก่ วิเคราะห์ในการวิจัยนี้ ได้แก่ แผนยุทธศาสตร์ ใกล้เคียงกัน มีการบริหารงานมาแล้วยาวนาน หลักสูตรที่เน้นการพัฒนาท้องถิ่น หลักสูตรการ กว่า 50 ปีขึ้นไป โดยพิจารณาจากมหาวิทยาลัย ฝึกอบรม โครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนา ราชภัฏ 10 แห่ง ที่มีอันดับจากผลการประเมิน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 107

คุณภาพสูงสุด 5 อันดับแรก และอันดับต�่ำสุด ระเบียบวิธีวิจัย 5 อันดับสุดท้าย จึงได้มหาวิทยาลัยราชภัฏ 4 แห่ง การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative ดังต่อไปนี้ (1) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ Research) โดยการวิเคราะห์เอกสาร และการ เจ้าพระยา (2) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ สัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) โดยใช้ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (3) มหาวิทยาลัยราชภัฏ ค�ำถามปลายเปิด (Open-Ended) แบบกึ่ง นครราชสีมา (4) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ผู้ให้ โครงสร้าง (Semi-Structured Interview) ข้อมูลส�ำคัญของการวิจัย ประกอบไปด้วย เป็นแนวทางส�ำคัญในการเข้าถึงข้อมูล หน่วยใน กลุ่มผู้ก�ำหนดนโยบาย ได้แก่ อธิการบดี การศึกษาของการวิจัยครั้งนี้ คือ มหาวิทยาลัย รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี และผู้น�ำนโยบาย ราชภัฏ 38 แห่ง โดยการเลือกหน่วยในการศึกษา ไปปฏิบัติ ได้แก่ คณบดี ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก/ ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน สถาบัน/กอง อาจารย์ นักศึกษา และศิษย์เก่า (Multi-Stage Sampling) จากนั้นผู้วิจัยใช้วิธีการ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ (Key Informants) ใช้การ เลือกตัวอย่างแบบแนะน�ำต่อ ๆ กัน (Snowball กรอบแนวคิดของการวิจัย

เงื่อนไขที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการบริหาร ประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

ปัจจัยน�ำเข้า วิธีการจัดการ ปัจจัยน�ำออก ผลลัพธ์ Input Throughputs Output Outcomes

1. นักศึกษา 1. การบริหารองค์การ 1. การผลิตบัณฑิต 1. บัณฑิตน�ำความรู้ไปใช้ 2. คณาจารย์ 2. การบริหารทรัพยากร 2. การวิจัย ในการพัฒนาท้องถิ่น 3. บุคลากรสายสนับสนุน มนุษย์ 3. การบริการวิชาการ 2. การใช้ประโยชน์จาก 4. ทรัพยากรอื่น ๆ 3. การบริหารการเงิน งานวิจัยเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น 3. การน�ำความรู้จาก การบริการวิชาการ ไปใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาท้องถิ่น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 108

Sampling) ประกอบไปด้วย กลุ่มผู้ก�ำหนด 2.2 การใช้ประโยชน์จากงานวิจัย นโยบาย ได้แก่ อธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วย เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยเกิดการพัฒนา อธิการบดี และกลุ่มผู้น�ำนโยบายไปปฏิบัติ องค์ความรู้จากการวิจัย การพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้แก่ คณบดี ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก/สถาบัน/ ในท้องถิ่น การแก้ไขปัญหาและความต้องการ กอง อาจารย์ นักศึกษา และศิษย์เก่าที่เกี่ยวข้องกับ ของท้องถิ่น การบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนา 2.3 การน�ำความรู้จากการบริการ ท้องถิ่น จ�ำนวน 38 คน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏ วิชาการไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่น 4 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ โดยเกิดการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น เจ้าพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ เกิดชุมชนเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ เกิดความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ต่อเนื่องและยั่งยืน นครราชสีมา และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ส่วนที่ 2 เงื่อนไขที่ส่งผลต่อประสิทธิผล ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย พัฒนาท้องถิ่น สรุปผลการวิจัย 1. ปัจจัยน�ำเข้า (Inputs) ส่วนที่ 1 ประสิทธิผลของการบริหาร 1.1 นักศึกษา ได้แก่ การจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และการ 1. ปัจจัยน�ำออก (Outputs) จัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 1.1 การผลิตบัณฑิต มีหลักสูตรที่ 1.2 คณาจารย์ โดยผู้บริหารต้องมี เน้นพัฒนาท้องถิ่น มีการพัฒนาวิชาชีพ การสร้าง วิสัยทัศน์ ในการตระหนักถึงความส�ำคัญของ ความก้าวหน้าในอาชีพ การพัฒนาท้องถิ่น การผลักดันการด�ำเนินงาน 1.2 การวิจัย มีงานวิจัยตามความ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และการสื่อสารในการ ต้องการของท้องถิ่น มีการพัฒนาการแก้ไขปัญหา ถ่ายทอดนโยบาย การสร้างความรู้ความเข้าใจ ท้องถิ่นร่วมกัน ให้กับบุคลากรคณาจารย์ ต้องมีความเชี่ยวชาญ 1.3 การบริการวิชาการ ต้องตอบสนอง และตระหนักความส�ำคัญของการพัฒนาท้องถิ่น ความต้องการของท้องถิ่น โดยมีการส�ำรวจ 1.3 บุคลากรสายสนับสนุน ของ ความต้องการของท้องถิ่น การจัดท�ำแผนบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏต้องมีความร่วมมือในการ วิชาการโดยมีส่วนร่วมจากท้องถิ่น ท�ำงานเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 2. ผลลัพธ์ (Outcomes) 1.4 ทรัพยากรอื่น ๆ พื้นที่เป้าหมาย 2.1 บัณฑิตน�ำความรู้ไปใช้ในการ ที่รับผิดชอบ การก�ำหนดพื้นที่เป้าหมาย ระบุ พัฒนาท้องถิ่น โดยการพัฒนาทักษะอาชีพ เขตพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัยราชภัฏ การพัฒนาคุณภาพชีวิต การพัฒนาชุมชนและ แต่ละแห่งเพื่อไม่ให้เกิดการทับซ้อนกันในพื้นที่ ท้องถิ่น ความรับผิดชอบ และเพื่อให้จัดโครงการเพื่อการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 109

พัฒนาท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่อย่างต่อเนื่องและ ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัย ยั่งยืนจนท้องถิ่นสามารถพึ่งพาตนเองได้ ราชภัฏทั้ง 4 แห่ง จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล 2. วิธีการจัดการ (Throughputs) ส�ำคัญ 38 คน แล้วน�ำข้อมูลมาจัดล�ำดับเงื่อนไข 2.1 การบริหารองค์การ ประกอบด้วย ส�ำคัญที่สุดอันดับที่ 1 ของทุกคน พบว่า เงื่อนไข นโยบาย ที่เกี่ยวกับการพัฒนาท้องถิ่น ได้แก่ ส�ำคัญที่สุด อันดับ 1 คือ นโยบาย (ค่าเฉลี่ย 40.0) (1) นโยบายมหาวิทยาลัยราชภัฏ คือ นโยบาย รองลงมาอันดับ 2 คือ ความเชี่ยวชาญของ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แห่ง ได้แก่ บุคลากร (ค่าเฉลี่ย 13.3) รองลงมาอันดับ 3 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 คือ ผู้บริหาร และพื้นที่เป้าหมายรับผิดชอบ และยุทธศาสตร์ใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการ (ค่าเฉลี่ย 10.0) พัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย ระยะ 20 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏให้ความส�ำคัญกับ (พ.ศ. 2560 - 2579) (2) นโยบายมหาวิทยาลัย เงื่อนไขที่ส่งผลต่อการบรรลุประสิทธิผลของ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย การบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนา 2.2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ท้องถิ่น ดังนี้ นโยบาย ความเชี่ยวชาญของ ด้านโครงสร้างก่อให้เกิด (1) การบูรณาการ บุคลากร ผู้บริหารมหาวิทยาลัย พื้นที่เป้าหมาย การบริการวิชาการ กับ การวิจัย (2) การบูรณาการ รับผิดชอบ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการ การบริการวิชาการ กับ การเรียนการสอน วิชาการ และการเงิน (3) การบูรณาการการบริการวิชาการ การวิจัย อภิปรายผลการวิจัย และการเรียนการสอน ส่วนด้านกระบวนการ จากข้อสรุปที่ได้จากการวิจัย ผู้วิจัยมี ด�ำเนินงาน มีการก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์ มุมมองต่อผลการวิจัย ดังนี้ การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ 1. การขับเคลื่อนนโยบายสู่อัตลักษณ์ และการควบคุม ก�ำกับ ติดตามประเมินผล ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนา การด�ำเนินงาน ท้องถิ่นจากนโยบายระดับชาติสู่นโยบายระดับ 2.3 การบริหารการเงิน มีการจัดสรร มหาวิทยาลัย โดยน�ำมาใช้เป็นกรอบนโยบาย งบประมาณเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และมีการ และทิศทางการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มี ก�ำกับติดตามการใช้งบประมาณโดยยึดหลัก ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ธรรมาภิบาล ราชภัฏกับยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เงื่อนไขส�ำคัญที่สุดและส�ำคัญรองลงมา พัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมีเป้าหมาย ที่ส่งผลต่อการบรรลุประสิทธิผลของการ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นซึ่งถือได้ว่า การก�ำหนด บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนา ภารกิจเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นอัตลักษณ์ของ ท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ สอดคล้องกับแนวคิดของ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเงื่อนไขที่ส่งผล Morphew & Hartley, 2006; Kosmutzky, 2012; ต่อประสิทธิผลของการบริหารมหาวิทยาลัย Ozdem, 2011 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 110

2. การบรรลุเป้าหมายการด�ำเนินงาน มุ่งเน้นให้มหาวิทยาลัยผูกพันกับท้องถิ่นอย่าง ตามภารกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนา เหนียวแน่น เข้าถึงและรู้ข้อมูลปัญหาของท้องถิ่น ท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏบรรลุประสิทธิผล เป็นอย่างดี น�ำไปสู่การบูรณาการช่วยแก้ปัญหา ของการบริหารมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่นได้อย่างยั่งยืน สอดคล้องกับแนวคิด ท้องถิ่น ดังนี้ (1) การผลิตบัณฑิต มีหลักสูตร ของ Sonmez, 2003; Karakutuk, 2006; Asif & พัฒนาท้องถิ่น มีการพัฒนาวิชาชีพการสร้าง Searcy, 2014 ความก้าวหน้าในอาชีพ (2) การวิจัย มีการวิจัย 4. การเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏประจ�ำ ตามความต้องการของท้องถิ่นมีการพัฒนาการ จังหวัดและการลดช่องว่างและความเหลื่อมล�้ำ แก้ไขปัญหาท้องถิ่นร่วมกัน (3) การบริการ ของสังคมไทย ด้วยสภาวะการเปลี่ยนแปลง วิชาการ มีโครงการบริการวิชาการที่การตอบสนอง ภารกิจพื้นฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ส่งผล ความต้องการของท้องถิ่น โดยมีการส�ำรวจ ต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏถึงการไปสู่ภารกิจที่จะเป็น ความต้องการของท้องถิ่น มีการจัดท�ำแผนบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น วิชาการโดยมีส่วนร่วมจากท้องถิ่น ส่วนด้านการเงิน ซึ่งมีทิศทางในการบริหารมหาวิทยาลัยที่ชัดเจน มหาวิทยาลัยราชภัฏมีการจัดสรรงบประมาณ เป็นทิศทางของตัวเอง ไม่ได้วิ่งลู่ทางเดียวกับ มีการก�ำกับติดตามการใช้งบประมาณ สอดคล้อง มหาวิทยาลัยรัฐอีกต่อไป หันมาท�ำงานท้องถิ่น กับแนวคิดของ Murias et al., 2008; Badri & มุ่งเน้นการพัฒนาท้องถิ่นตามเจตนารมณ์ Abdulla, 2004; Badri et al., 2006; Lukman ของการจัดตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ และสนอง et al., 2010; Neal, 1995; Taylor, 2001; Asif พระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า & Searcy, 2014 เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 สอดคล้องกับแนวคิดของ 3. การพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัย Ozdem, 2011, ; Finley, Rogers, & Galloway, ราชภัฏ โดยการจัดโครงการบริการวิชาการลงพื้นที่ 2001; Kosmutzky, 2012 ชุมชนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มีการด�ำเนินการ 5. การจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนา แก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่นตามความต้องการ ท้องถิ่นน�ำไปสู่การบูรณาการ ของท้องถิ่น จนท้องถิ่นสามารถพัฒนาศักยภาพ การจัดสรรงบประมาณของ ของท้องถิ่น สร้างองค์ความรู้ ฝึกทักษะ ฝึกอบรม มหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 4 แห่ง อยู่ในระดับ อาชีพ สร้างมูลค่าจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ตอบสนอง เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง บ่งบอกถึงการที่ ความต้องการของชุมชน พัฒนาภูมิปัญญาชาวบ้าน มหาวิทยาลัยราชภัฏตระหนักถึงความส�ำคัญ สร้างผู้น�ำชุมชน สร้างชุมชนเข้มแข็ง และเป็นชุมชน ของอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏในการ แห่งการเรียนรู้ เปิดหลักสูตรการเรียนการสอน เป็นที่พึ่งของท้องถิ่น เพื่อให้เกิดประโยชน์และ ตามความต้องการของท้องถิ่น ผลิตบัณฑิตออกมา สร้างคุณค่าต่อสังคม แม้ว่าจะมีการจัดสรร รับใช้สังคมท้องถิ่น ท�ำการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและ งบประมาณโดยแยกงบประมาณด้านการพัฒนา พัฒนาสังคม ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และ ท้องถิ่นยังไม่ชัดเจน เนื่องจากภารกิจด้านการพัฒนา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 111

ท้องถิ่นได้แฝงอยู่ในยุทธศาสตร์ด้านอื่น ๆ ได้แก่ 7.1 การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ด้านการผลิดบัณฑิต และยุทธศาสตร์ มีจุดแข็ง ดังนี้ (1) การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ ด้านการวิจัย ซึ่งได้มีการจัดสรรงบประมาณไปที่ ครอบคลุมพันธกิจและอัตลักษณ์ของ ยุทธศาสตร์เหล่านี้เป็นจ�ำนวนมาก เพราะมีกลยุทธ์ มหาวิทยาลัย (2) มหาวิทยาลัยมีการทบทวน ในการพัฒนาท้องถิ่นเช่นเดียวกันดังนั้น ในการ การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย จัดโครงการ/กิจกรรมของมหาวิทยาลัยในทุก โดยเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับ กิจกรรม จึงเน้นการบูรณาการทั้งสิ้นโดยมีการ และเผยแพร่ให้ใช้เป็นแนวทางการด�ำเนินงาน บูรณาการดังนี้ (1) การบูรณาการการบริการ เพื่อไปสู่เป้าหมาย (3) มหาวิทยาลัยมีกระบวนการ วิชาการ กับ การวิจัย (2) การบูรณาการการบริการ จัดท�ำแผนที่ดี มีการปรับแผนใหม่ น้อมน�ำ วิชาการกับการเรียนการสอน (3) การบูรณาการ พระราโชบายในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า การบริการวิชาการ การวิจัย และการเรียน เจ้าอยู่หัว มาเป็นหลักส�ำคัญในแผนที่ปรับใหม่ การสอน สอดคล้องกับแนวคิดของ Asif & โดยสภามหาวิทยาลัยให้ความส�ำคัญและมีการ Searcy, 2014 สนับสนุนที่ดี ข้อเสนอแนะในการจัดท�ำแผน 6. ภารกิจสามารถแยกแยะความ ยุทธศาสตร์ มีดังนี้ (1) การสร้างความเข้าใจ แตกต่างของสถาบันการศึกษา ภารกิจของ เป้าหมายการบรรลุวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบ่งบอกถึงบทบาท หน้าที่ และ ที่เป็นรูปธรรม และเส้นทางกลยุทธ์ รวมถึงความ แนวทางในการด�ำเนินงานของมหาวิทยาลัย คืบหน้าในการบรรลุตัวชี้วัดเชิงกลยุทธ์ที่ส�ำคัญ เพื่อบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ของ ให้แก่ประชาคมได้รับรู้โดยทั่วกัน เพื่อกระตุ้น มหาวิทยาลัย จึงต้องมีการก�ำหนดภารกิจที่ พลังร่วมในการผลักดันสู่การบรรลุเป้าหมาย ชัดเจน ภารกิจของมหาวิทยาลัยจะบ่งบอกถึง เดียวกัน (2) การถ่ายทอดแผนกลยุทธ์สู่การ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของสถาบันการ ปฏิบัติเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนและการท�ำงาน ศึกษา สะท้อนจุดแข็งของมหาวิทยาลัย สะท้อน ที่เชื่อมโยงระหว่างแผนงานในระดับต่าง ๆ ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งจะน�ำไปสู่การ ตลอดจนการสร้างความเข้าใจในการท�ำงาน ก�ำหนดภารกิจ การสร้างแผนยุทธศาสตร์ของ ของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับแผนกลยุทธ์ มหาวิทยาลัย เพื่อก�ำหนดทิศทางการด�ำเนิน แผนปฏิบัติการ การจัดท�ำโครงการการติดตาม การของมหาวิทยาลัยเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ การประเมินผล และการน�ำผลการประเมินสู่การ ของมหาวิทยาลัย สอดคล้องกับแนวคิดของ ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง Paina & Bacila, 2004; Camelia & Marius, 7.2 การผลิตบัณฑิต มีจุดแข็งและ 2013; Finley, Rogers, & Galloway, 2001 แนวทางเสริมจุดแข็ง ดังนี้ (1) มีการพัฒนา 7. สรุปจุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง หลักสูตรและรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะของมหาวิทยาลัย ท้องถิ่น เช่น การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น หลักสูตรการแพทย์แผนไทย หรือการพัฒนา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 112

ยาสมุนไพรจากท้องถิ่น (2) การส่งเสริมให้ผู้เรียน ในรูปแบบการรวมกลุ่มวิจัย หรือจัดให้มีพี่เลี้ยง ได้เกิดประสบการณ์จากสถานการณ์จริงใน ในการท�ำวิจัย เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ มีการ ท้องถิ่นผ่านการบูรณาการกับการเรียนการสอน สนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยและส่งเสริม การบริการทางวิชาการ โดยมีการจัดกิจกรรม ให้มีการท�ำวิจัยตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมกับท้องถิ่นสม�่ำเสมอ รวมทั้งได้รับเงินสนับสนุนทุนวิจัยจากหน่วยงาน (3) จุดแข็งด้านตัวผู้เรียนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายนอกเป็นจ�ำนวนมาก (3) จุดแข็งในเชิงพื้นที่ ซึ่งมีพื้นฐานส่วนบุคคลมาจากท้องถิ่นต่าง ๆ ของ รับผิดชอบของมหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัย ประเทศ มีความหลากหลาย เข้าใจในบริบทพื้นที่ มีพื้นที่ในมือ ถ้ามหาวิทยาลัยมีข้อมูลพื้นฐานของ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศักยภาพชุมชน และสามารถ ท้องถิ่นแล้ว ก็สามารถพบปัญหาที่แท้จริงของ ปรับตัวให้เข้ากับการเรียนรู้ในระดับชุมชนท้องถิ่น ท้องถิ่นได้ ซึ่งนับว่ามีแนวโน้มในการที่มหาวิทยาลัย ได้เป็นอย่างดี (4) การเสริมจุดแข็งให้เกิดประโยชน์ จะท�ำงานในด้านวิจัยได้ดีขึ้น (4) สร้างเครือข่าย คือ ใช้กระบวนการเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนได้น�ำ ดึงเอาพัฒนาการจังหวัด เอาพัฒนาการอ�ำเภอ ความรู้จากห้องเรียนลงไปประยุกต์ใช้ในชุมชน มาเป็นองค์การที่ช่วยสนับสนุนมหาวิทยาลัย ได้สัมผัสการด�ำเนินงานจริงในชุมชน และเรียนรู้ ในเชิงของประสบการณ์ ในเชิงการท�ำงาน จากสถานที่จริงในชุมชนอย่างใกล้ชิด จะท�ำให้ เชิงพาณิชย์ เชิงพัฒนาพื้นที่ พยายามดึงเครือข่าย ผู้เรียนเกิดทักษะประสบการณ์และมีความเด่นชัด เข้ามาเพื่อที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพราะว่า ในบุคลิกด้านการท�ำงานร่วมกับชุมชน จุดที่ควร มหาวิทยาลัยเองก็ไม่ได้มีประสบการณ์ที่มากพอ พัฒนา มีดังนี้ (1) ปรับกระบวนการจัดการเรียน (5) มีคณะท�ำงานด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น การสอนของอาจารย์ของมหาวิทยาลัย ให้ตอบ และมีการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จริงจัง มีการ โจทย์เรื่อง productive learning (2) มหาวิทยาลัย ประชุม ลงพื้นที่เป็นระยะ และผลิตผลงานวิจัย ยังมีลักษณะของการลงไปท�ำงานแบบให้บริการ อย่างจริงจัง จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ วิชาการ ค�ำว่า “การให้บริการวิชาการ” คือ มีดังนี้ (1) ควรส่งเสริมให้มีการสร้างนวัตกรรม มหาวิทยาลัยไปให้ชุมชน แต่มหาวิทยาลัยไม่ได้ ควบคู่ไปกับงานวิจัยและสร้างสรรค์ เพื่อให้เอื้อ เรียนรู้จากชุมชน มหาวิทยาลัยไม่ได้ร่วมเรียนรู้ ต่อการน�ำไปจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา กับชุมชนจริง ๆ และนวัตกรรมดังกล่าวควรสอดคล้องกับกรอบ 7.3 การวิจัย มีจุดแข็ง ดังนี้ (1) มีบริบท การวิจัยและการให้ทุนของประเทศไทย ทั้งนี้ และศักยภาพในด้านวิชาการและวิจัยที่ก่อให้เกิด ควรให้เหมาะสมกับบริบทและความเชี่ยวชาญ การสร้างสรรค์งานวิจัยที่น�ำไปใช้ประโยชน์ ของมหาวิทยาลัย (2) การต่อยอดงานวิจัยอย่าง พร้อมบูรณาการไปกับบทบาทการรับใช้สังคม เป็นรูปธรรม การต่อยอดงานวิจัยเพื่อสร้างมูลค่า ของมหาวิทยาลัยได้อย่างชัดเจน (2) ส่งเสริม หรือสร้างรายได้ให้เกิดแก่ชุมชน และน�ำการวิจัย สนับสนุนผลักดันให้อาจารย์ทุกคนเสนอขอ มาต่อยอดสู่การจัดการเรียนการสอนหรือการ งบประมาณวิจัย โดยวางระบบการสนับสนุน สร้างสรรค์อันเป็นประโยชน์ทั้งมหาวิทยาลัย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 113

และท้องถิ่น (3) ควรส่งเสริมให้มีการท�ำงานวิจัย สามารถด�ำเนินกิจกรรมต่อเนื่องได้ เนื่องจาก ในเชิงบูรณาการหรือเชิงสหวิทยาการ ระหว่าง มีโครงการใหม่ที่ต้องท�ำในพื้นที่รับผิดชอบ สาขาวิชา ระหว่างคณะหรือวิทยาลัย หรือระหว่าง (2) มหาวิทยาลัยราชภัฏหลายแห่งยังไม่มี มหาวิทยาลัย เพื่อสร้างบรรยากาศของการท�ำงาน หน่วยงานกลางในโครงสร้างที่ท�ำหน้าที่รวบรวม วิจัยแบบทีม การสร้างเครือข่ายงานวิจัย และ โครงการบริการวิชาการกระบวนการทั้งหมด และ ความหลากหลายในการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ รับผิดชอบดูแลงานบริการวิชาการโดยตรง ประโยชน์ 7.5 การเงิน มีจุดแข็ง คือ 7.4 การบริการวิชาการ มีจุดแข็ง มหาวิทยาลัยมีการก�ำหนดแผนการปฏิบัติ ดังนี้ (1) มีโครงการบริการวิชาการที่ตอบสนอง ราชการประจ�ำปีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาท้องถิ่น ความต้องการของชุมชน และด�ำเนินการต่อเนื่อง ที่ชัดเจน และก�ำหนดวงเงินงบประมาณที่ชัดเจน เป็นปีที่ 2 ซึ่งโครงการบริการวิชาการดังกล่าว จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ มีดังนี้ (1) ควร เกิดจากการมีส่วนร่วมทุกคณะ (2) โครงการ/ ส่งเสริมเพิ่มเติมในด้านงบประมาณจูงใจบุคลากร กิจกรรมบริการวิชาการมีการบูรณาการกับการเรียน ในการท�ำงานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (2) ควรมีการ การสอน การวิจัย ศิลปะและวัฒนธรรมมากขึ้น วิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วย หรือวิเคราะห์ความ (3) อาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลัย คุ้มทุนของโครงการ/กิจกรรมด้านบริการวิชาการ ราชภัฏ มีความเข้าใจและรู้ถึงคุณค่าของการ (3) ควรมีการบูรณาการการท�ำงานระหว่าง บริการวิชาการแก่ชุมชน และให้ความร่วมมือ พันธกิจ จะท�ำให้การใช้เงินมีประสิทธิภาพมาก ในการจัดท�ำโครงการบริการวิชาการ เป็นอย่างดี ยิ่งขึ้น (4) มหาวิทยาลัยมีการจัดสรรงบประมาณ (4) มหาวิทยาลัยก�ำหนดชุมชนเป้าหมาย จัดท�ำ ในเรื่องของการด�ำเนินงานต่อเนื่องทุกปี ซึ่งควร แผนบริการวิชาการตามความต้องการของชุมชน ให้ท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการสนับสนุนงบประมาณ ที่ชัดเจนมีเป้าหมายเพื่อสร้างความพึงพอใจ ร่วมกับมหาวิทยาลัยด้วย ซึ่งจะท�ำให้เกิดความ ต่อชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืน (5) มีพัฒนาการ สมเหตุสมผลและเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผล ในการต่อยอดอัตลักษณ์ลงสู่การบริการวิชาการ ในการท�ำบริการวิชาการได้อย่างจริงจัง (5) การ และสามารถพัฒนาอัตลักษณ์และความเชี่ยวชาญ เบิกจ่าย ต้องเบิกจ่ายตามระเบียบ มหาวิทยาลัย ให้โดดเด่นมากขึ้นตามล�ำดับโดยสอดคล้องกับ ควรให้ฝ่ายการเงินจัดท�ำคู่มือ หรือว่าแนวปฏิบัติ ทิศทางการพัฒนาชุมชนสังคมและประเทศ ในการเบิกจ่ายเงิน ให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ในด้านที่เกี่ยวข้อง (6) มีการบูรณาการจากทุก (6) มหาวิทยาลัยควรเร่งสร้างความเข้าใจด้านการ หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และ เบิกจ่ายให้มีความเข้าใจตรงกันกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้งท�ำให้ชุมชนหรือองค์การ ทั้งระบบโดยท�ำเป็นคู่มือหรือแนวปฏิบัติที่เป็น เป้าหมายเข้มแข็งขึ้น จุดที่ควรพัฒนา มีดังนี้ มาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย (1) การปรับเปลี่ยนนโยบายที่รวดเร็วมาก จึงไม่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 114

ข้อเสนอแนะ ให้แก่ประชาคมได้รับรู้โดยทั่วกัน เพื่อกระตุ้น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย พลังร่วมในการผลักดันสู่การบรรลุเป้าหมาย 1. การบรรลุประสิทธิผลของการบริหาร เดียวกัน รวมไปถึงการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น สู่การปฏิบัติเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนและการ อย่างยั่งยืนนั้น ควรมีการก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับ ท�ำงานที่เชื่อมโยงระหว่างแผนงานในระดับต่าง ๆ การก�ำหนดพื้นที่เป้าหมายที่รับผิดชอบของ ตลอดจนการสร้างความเข้าใจในการท�ำงาน มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งให้ชัดเจน เพื่อให้เกิด ของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับแผนกลยุทธ์ การพัฒนาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน แผนปฏิบัติการ การจัดท�ำโครงการ การติดตาม เพราะหากมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เป้าหมาย การประเมินผล และการน�ำผลการประเมินสู่การ จะท�ำให้ขาดความต่อเนื่อง และต้องเริ่มต้น ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง นับหนึ่งใหม่ 3. มหาวิทยาลัยต้องสร้างความตระหนัก 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏต้องผลักดัน ให้บุคลากรในมหาวิทยาลัยเห็นความส�ำคัญ และสร้างความเข้มแข็งของอัตลักษณ์มหาวิทยาลัย และจูงใจให้เกิดขวัญก�ำลังใจในการท�ำงาน ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อเป็นแนวทาง และมหาวิทยาลัยต้องท�ำให้งานพัฒนาชุมชน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย กลายเป็นภาระแก่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งจะไม่ท�ำให้ ราชภัฏ เพื่อสนองพระราโชบายของพระบาท เกิดการหยุดชะงัก ในการลงมือปฏิบัติ ดังนั้น สมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ตามยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยต้องส่งเสริม ผลักดัน และจูงใจ ใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ผู้ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม ทั้งในรูปแบบรางวัล 3. ในการลงพื้นที่บริการวิชาการของ ที่เป็นการชมเชยและค่าตอบแทน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 4. ดึงผู้น�ำท้องถิ่นมาเป็นส่วนหนึ่งของ ต้องระวังไม่ท�ำกิจกรรมหรือเลือกพื้นที่ที่ทับซ้อน การด�ำเนินงานเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เนื่องจาก กับหน่วยงานเดิม เช่น เกษตร พัฒนาชุมชน ผู้น�ำท้องถิ่นเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจบริบทท้องถิ่น อุตสาหกรรม แรงงาน หน่วยราชการในพื้นที่ เป็นเป็นอย่างดี ส่วนบุคลากรของมหาวิทยาลัย ในจังหวัด เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เมื่อเกิดการ ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการ ท�ำงานร่วมกันจะน�ำไปสู่การบรรลุประสิทธิผล 1. เน้นการบูรณาการ การเรียนการสอน ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการ การวิจัย และการบริการวิชาการร่วมกัน ท�ำให้เกิด พัฒนาท้องถิ่นอย่างแท้จริง ความเชื่อมโยงกันเป็นหนึ่งเดียวกันอย่างสมบูรณ์ 5. การท�ำงานร่วมกันทุกภาคส่วนในทุก 2. มหาวิทยาลัยต้องสร้างความเข้าใจ ขั้นตอน ทั้งบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย บุคลากร เป้าหมายการบรรลุวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย หน่วยงานภายนอก และบุคลากรในชุมชนท้องถิ่น ที่เป็นรูปธรรม และเส้นทางกลยุทธ์ รวมถึงความ โดยท�ำงานร่วมกันในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การระดม คืบหน้าในการบรรลุตัวชี้วัดเชิงกลยุทธ์ที่ส�ำคัญ ความคิด การวางแผน การด�ำเนินการ และการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 115

ติดตามประเมินผล เพื่อให้เกิดการท�างานใน ในการพัฒนาท้องถิ่น สร้างชุมชนเข้มแข็ง พึ่งพา รูปแบบและทิศทางเดียวกัน ตนเองได้ น�าไปสู่ความต่อเนื่องและยั่งยืน โดยเน้น 6. เมื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏมีความ ความสามารถในการต่อยอดและด�าเนินการได้ เข้มแข็งจนสามารถไปจัดตั้งหน่วยบริการวิชาการ โดยชุมชน เมื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏด�าเนินโครงการ ศูนย์ภาคปฏิบัติในท้องถิ่น เช่น มีการจัดตั้งคลินิก การบริการวิชาการเสร็จสิ้นแล้วชุมชนท้องถิ่น ท้องถิ่น เพื่อให้เข้าถึงท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง สามารถน�าองค์ความรู้ที่ได้รับไปด�าเนินการ 7. ควรมีหน่วยงานเจ้าภาพที่ถูกตั้ง อย่างต่อเนื่อง เกิดการแปรรูป การพัฒนาสินค้า ขึ้นมาอย่างเป็นทางการอยู่ในโครงสร้างการ ผลิตภัณฑ์ จนมีความสามารถในการต่อยอด บริหารมหาวิทยาลัยที่เป็นหน่วยงานหลักท�า ท�าให้สามารถเก็บสินค้าไว้ได้ยาวนาน และ หน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการให้บริการวิชาการ จ�าหน่ายท�าให้มีรายได้มากขึ้น มีอาชีพที่ก่อ โดยตรง และท�าหน้าที่รวบรวมโครงการบริการ ให้เกิดรายได้ ซึ่งเป็นการด�าเนินการได้โดย วิชาการ เพื่อเป็นศูนย์รวมการด�าเนินงานการ ตัวชุมชนท้องถิ่นเอง บริการวิชาการทั้งหมดเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 9. การประชาสัมพันธ์งานด้านการ และรองรับการท�าหน้าที่ศูนย์กลางในการ บริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของ ให้บริการวิชาการในภาพรวมของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ งานการบริการวิชาการต่าง ๆ จะได้ไม่แยกส่วน และเป็นการเพิ่มช่องทางการเข้าถึงของชุมชน 8. มหาวิทยาลัยราชภัฏควรเน้นให้ ต่อมหาวิทยาลัย เพื่อที่ชุมชนได้ดึงมหาวิทยาลัย ความส�าคัญในการสนับสนุนให้ชุมชนท้องถิ่น เข้าไปช่วยพัฒนาท้องถิ่น น�าความรู้จากการบริการวิชาการไปใช้ประโยชน์

REFERENCE

Asif, M., & Searcy, C. (2014). A composite index for measuring performance in higher education institutions. The International Journal of Quality & Reliability Management, 31(9), 983-1001. Badri, M.A., & Abdulla, M.H. (2004). Awards of excellence in institutions of higher education: an AHP approach. International Journal of Educational Management, 18(4), 224-242. Badri, M.A., Selim, H., Alshare, K., Grandon, E.E., Younis, H., & Abdulla, M. (2006). The baldrige education criteria for performance excellence framework: empirical test วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 116

and validation. International Journal of Quality & Reliability Management, 23(9), 1118-1157. Camelia, G., & Marius, P. (2013). Mission statements in higher education: Context analysis and research propositions. Annals of the University of Oradea, Economic Science Series, 22(2), 653-663. Finley, D. S., Rogers, G., & Galloway, J. R. (2001). Beyond the mission statement: Alternative futures for today’s universities. Journal of Marketing for Higher Education, 10(4), 63-82. Karakutuk, K. (2006). Yuksekogretimin finansmanı.Milli Egitim­ Dergisi, 171, 219-242. Kosmutzky, A. (2012). Between mission and market position: Empirical findings on mission statements of German higher education. Lukman, R., Krajnc, D., & Glavic, P. (2010). University ranking using research, educational and environmental indicators. Journal of Cleaner Production, 18(7), 619-628. Morphew, C. C., & Hartley, M. (2006). Mission statements: A thematic analysis of rhetoric across institutional type. The Journal of Higher Education, 77(3), 456-471. Murias, P., de Miguel, J. C., & Rodríguez, D. (2008). A composite indicator for university quality assesment: The case of Spanish higher education system. Social Indicators Research, 89(1), 129-146. Neal, J. E. (1995). Overview of policy and practice: Differences and similarities in developing higher education accountability. New Directions for Higher Education, 1995(91), 5-10. Ozdem, G. (2011). An analysis of the mission and vision statements on the strategic plans of higher education institutions. Kuram Ve Uygulamada Egitim Bilimleri, 11(4), 1887- 1894. Paina, N., & Bacila, M. F. (2004). Piata educationala-Locul universitatii. Tribuna economica, 5(29), 64-66. Sonmez, V. (2003). Yuksek ogretimin yeniden yapılanması uzerine­ bir deneme. Egitim Arastırmaları, 12, 4-12. Taylor, J. (2001). Improving performance indicators in higher education: The academics’ perspective. Journal of Further and Higher Education, 25(3), 379-393. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 117

บทความวิจัย

ทัศนคติและความคิดเห็นที่มีต่อการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่น เชิงธุรกิจ (BJT) ในประเทศไทย ATTITUDE AND IDEA TO BUSINESS JAPANESE PROFICIENCY TEST (BJT) IN THAILAND วิษณุ หาญศึก1* และ ไอลดา ลิบลับ2 Witsanu Hansuk1* and Ilada Liblub2

สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ นนทบุรี ประเทศไทย1*, 2 Business Japanese Program, Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management, Nontaburi, Thailand1*, 2

Email: [email protected]*

Received: 2019-04-04 Revised: 2019-07-17 Accepted: 2019-08-07

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับทัศนคติ และความคิดเห็นที่เกี่ยวกับการสอบ วัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่มคือ 1) องค์กรญี่ปุ่น ในประเทศไทย 2) ผู้ที่เคยสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) และ 3) สถาบัน อุดมศึกษาที่เปิดสอนสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลคือ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) ผลวิจัยพบว่า ทั้ง 3 กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นและทัศนคติที่คล้ายกัน กล่าวคือ การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) นั้น ยังขาดการประชาสัมพันธ์ในวงกว้าง นอกจากนี้องค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทยยังไม่ใช้ผลการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) เป็นเกณฑ์หลักในการพิจารณาบุคลากรเข้าท�ำงาน ซึ่งจากการสัมภาษณ์ทั้ง 3 กลุ่มตัวอย่าง แสดงความคิดเห็นว่า เนื้อหาของการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) เป็นเนื้อหา ที่วัดความรู้ และทักษะภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจได้ ซึ่งเหมาะสมกว่าการสอบประเภทอื่น นอกจากนี้ ข้อเสนอแนะที่ได้จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า ควรมีการจัดทดลอง การสอบเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้บุคคลทั่วไปได้รับทราบถึงความส�ำคัญของการสอบวัดระดับ ทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 118

ค�ำส�ำคัญ: การสอบทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ องค์กรญี่ปุ่น การท�ำงาน

ABSTRACT The study aimed to investigate the attitudes and ideas of Japanese companies in Thailand towards the Business Japanese Proficiency Test (BJT). Population consisted of the Japanese organization in Thailand, People who had taken the Business Japanese Proficiency Test (BJT), and the university in Thailand, which has a Business Japanese Course. Data were collected using an in-depth interview. The results showed that three groups of participants had similar attitudes. These were indicating that BJT was still not widely advertised. The Thailand-based Japanese companies did not require BJT for job applicants. However, the three groups revealed that BJT was the most appropriate test due to the content and skills related to business. The participants recommended that BJT be used to test Business Japanese proficiency so that the general public could be aware of its potential significance

Keywords: Business Japanese Proficiency Test (BJT), Japanese Organization, Working

บทน�ำ ประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่นนั้น ที่ต้องการของตลาดแรงงานอย่างมาก และการ ได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อวันที่ 26 คัดเลือกบุคลากรเข้ามาท�ำงานในองค์กรญี่ปุ่นนั้น กันยายน พ.ศ. 2430 ยาวนานต่อเนื่องถึง 130 ปี ยังคงให้ความส�ำคัญในด้านของ “คุณภาพ” จนถึงปัจจุบัน สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจ�ำ ตามหลักนโยบายที่ว่า “นโยบายปฏิรูปขั้นพื้นฐาน ประเทศไทย (Embassy of Japan in Thailand, ทางด้านเศรษฐกิจและการคลัง” จะให้ความส�ำคัญ 2018) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับ กับบุคลากรต่างชาติที่รับเข้ามาว่าต้องเป็นผู้ที่มี ประเทศญี่ปุ่นได้พัฒนาก้าวหน้าไปอย่างมาก ทักษะฝีมือขั้นสูง (Doi & Hoshino, 2010) โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจและสังคม ปัจจุบัน ขั้นตอนหนึ่งในการรับบุคลากรเข้าท�ำงาน บริษัทเอกชนของญี่ปุ่นที่ลงทะเบียนกับหอการค้า ขององค์กรญี่ปุ่นนั้น คือการพิจารณาผลสอบ ญี่ปุ่นในประเทศไทยมีจ�ำนวน 1,747 บริษัท วัดระดับความสามารถทางด้านภาษาญี่ปุ่น หอการค้าญี่ปุ่น - กรุงเทพ (Japanese Chamber ซึ่งที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน องค์กรญี่ปุ่นส่วนใหญ่ of Commerce, Bangkok, 2018) โดยหากไม่รวม จะพิจารณาจากผลการสอบวัดระดับความ บริษัทที่ลงทะเบียนแล้วมีมากถึง 7,000 บริษัท สามารถทางภาษาญี่ปุ่น Japanese-Language ด้วยเหตุนี้บุคลากรที่มีทักษะทางภาษาญี่ปุ่นจึงเป็น Proficiency Test (JLPT) ซึ่งเป็นการสอบที่จัดขึ้น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 119

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความสามารถทาง เด่นที่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะใหญ่ คือ ภาษาญี่ปุ่นของชาวต่างชาติผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น 1) เป็นการทดสอบภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ โดยจะ และใช้เป็นมาตรฐานทั่วโลก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 เน้นทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นส�ำหรับการท�ำงาน (ค.ศ.1984) โดยมูลนิธิญี่ปุ่น (Japan Foundation) หรือภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจเป็นหลัก โดยเฉพาะการ เป็นผู้รับผิดชอบการจัดสอบนอกประเทศญี่ปุ่น สื่อสารในบริษัท การใช้ภาษารูปยกย่อง ถ่อมตัว (J-Education, 2018) ภายหลังในปี พ.ศ.2546 และรูปสุภาพ 2) เน้นทักษะการท�ำงานจริง การสอบ (ค.ศ.2003) ได้มีการจัดสอบวัดระดับทักษะ วัดระดับทักษะภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) จะแบ่ง การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ Business Japanese เป็นการฟัง การทดสอบความเข้าใจโดยรวม Proficiency Test (BJT) เพื่อวัดระดับ (ด้านการฟังและการอ่าน) และการอ่าน และ ประสิทธิภาพทักษะการติดต่อสื่อสารภาษาญี่ปุ่น 3) ลดความกังวลว่าจะสอบผ่านหรือไม่ เพราะ เชิงธุรกิจในสถานการณ์จริง โดยองค์การส่งเสริม การสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) นั้น การค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น Japan External ผู้เข้าสอบไม่ต้องเลือกระดับที่จะสอบ ทุกคนจะท�ำ Trade Organization (JETRO) และมอบหมาย ข้อสอบชุดเดียวกัน ไม่มี “สอบผ่าน” หรือ “สอบตก” ให้สมาคมสอบวัดระดับทักษะคันจิญี่ปุ่น Japan แต่จะได้รู้ว่าทักษะความสามารถในการใช้ภาษา Kanji Aptitude Testing Public Interest ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจของผู้สอบนั้น อยู่ในระดับใด Foundation เป็นผู้จัดสอบตั้งแต่ พ.ศ. 2552 จากค�ำอธิบายข้างต้น เมื่อเปรียบเทียบ จนถึงปัจจุบัน ซึ่งหากพิจารณาจากเนื้อหาข้อสอบ ความแตกต่างระหว่างการสอบวัดระดับทักษะ การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) กับการสอบ ธุรกิจ Business Japanese Proficiency Test วัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นประเภท (BJT) มีเนื้อหาการทดสอบที่เหมาะสมกว่า อื่น ๆ ในประเทศไทย สามารถอธิบายได้ตาม นอกจากนี้ การสอบวัดระดับทักษะ ตารางด้านล่างนี้ การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) มีลักษณะ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 120

ตารางที่ 1 ตารางเปรียบเทียบข้อมูลพื้นฐานของการสอบวัดระดับทักษะทางภาษาญี่ปุ่น

ประเภทการสอบ หน่วยงานผู้จัด รูปแบบข้อสอบ ช่วงเวลาสอบ อัตรา การวัดประเมินผล ค่าธรรมเนียม ของเนื้อหา การสอบวัดระดับ The Japan Kanji ข้อสอบอัตนัย สามารถสอบ 1,200 บาท ข้อสอบจะเน้นภาษาที่ ทักษะการใช้ Aptitude Testing แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ได้ทุกเวลา ใช้จริงในเชิงธุรกิจ และ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ Foundation 1) ความเข้าใจ ชีวิตประจ�ำวันมากกว่าการ (BJT) ด้านการฟัง วัดความสามารถในการใช้ 2) ความเข้าใจ ไวยากรณ์แบบเคร่งครัด ด้านการฟัง และ การอ่าน และ 3) ความเข้าใจ ด้านการอ่าน การสอบวัดระดับ บริษัท เจเอส สยาม ข้อสอบอัตนัยแบ่งเป็น แต่ละองค์กร กรณีที่ผู้เข้าสอบ สัดส่วนของข้อสอบเน้น ภาษาญี่ปุ่น อินเตอร์เนชั่นแนล 2 ส่วนหลัก ๆ คือ สามารถก�ำหนด มีจ�ำนวน การฟังค่อนข้างมาก โดย เชิงปฏิบัติ (J.TEST) จ�ำกัด 1) การอ่านและ วันสอบเองได้ ไม่ถึง10 คน คะแนนส่วนนี้สูงถึง 50% การเขียน โดยมี ตามความต้องการ คิดค่าธรรมเนียม ของคะแนนทั้งหมด ให้ ไวยากรณ์ / การอ่าน (ต้องสมัครสอบ ขั้นต�่ำที่ ความส�ำคัญกับความ เพื่อความเข้าใจ / ล่วงหน้าอย่างน้อย 7,490 บาท สามารถด้านภาษาใน อักษรคันจิ / เติมค�ำ 3 - 4 สัปดาห์) เชิงปฏิบัติค่อนข้างมาก และแต่งประโยค นอกจากนี้ ข้อสอบยังมี 2) การฟัง โดยมีค�ำถาม การน�ำเอา ความเข้าใจใน จากรูปภาพ / ค�ำถาม วัฒนธรรมญี่ปุ่น ข่าวจาก จากการอธิบาย / หนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร ค�ำถามการโต้ตอบ / บทความหรือข้อมูลกราฟ ค�ำถามจาก ต่าง ๆ ในเชิงธุรกิจ ฯลฯ บทสนทนา มาใช้เป็นค�ำถามเพื่อ ประเมินความสามารถ โดยรวมและความ สามารถเชิงปฏิบัติของ ผู้เข้าสอบอย่างเป็นระบบ และมีหลักเกณฑ์ การสอบวัดระดับ สมาคม ข้อสอบอัตนัย จัดสอบปีละ 2 ครั้ง ระดับ N1-N3 วัดความสามารถทางภาษา ความสามารถ นักเรียนเก่า แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ คือ วันอาทิตย์แรก 800 บาท ญี่ปุ่นของชาวต่างชาติ ทางภาษาญี่ปุ่น (JLPT) ญี่ปุ่น 1) ตัวอักษร + ค�ำศัพท์ ของเดือนกรกฎาคม และระดับ ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น โดย ในพระ 2) ไวยากรณ์ + และเดือนธันวาคม N4-N5 เน้นไวยากรณ์ ค�ำศัพท์ บรมราชูปถัมภ์ การอ่าน และ 600 บาท ตัวอักษรคันจิ และการฟัง 3) การฟัง โดยเน้นการใช้ภาษาใน ชีวิตประจ�ำวัน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 121

จากตารางข้างต้นพบว่า การสอบวัด รูปภาพเพื่อทดสอบความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับ ความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นในแต่ละประเภทนั้น การท�ำงานในบริษัท ซึ่งรายละเอียดเหล่านี้มีความ จะมีการวัดทักษะทางด้านการฟังและการอ่าน จ�ำเป็นอย่างสูงในการสื่อสารในแวดวงดังกล่าว แต่ในการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่นเชิงปฏิบัติการ ถึงแม้ว่าการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่นเชิงปฏิบัติ (J.TEST) จะมีการทดสอบการอธิบาย ซึ่งเป็นการ (J.TEST) จะเอื้อประโยชน์ต่อบุคลากรในองค์กร วัดทักษะด้านการเขียนด้วย ส�ำหรับรายละเอียด ธุกิจให้ได้วัดความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นที่ ของตัวข้อสอบและวัตถุประสงค์ของการวัดความ มุ่งเน้นการใช้ในเชิงปฏิบัติก็ตาม แต่เมื่อพิจารณา สามารถทั้ง 3 ประเภทนั้นจะมีความแตกต่างกัน ถึงเนื้อหาในตัวข้อสอบแล้ว การสอบวัดระดับ แต่เมื่อพิจารณาถึงการวัดความสามารถทาง ภาษาญี่ปุ่นเชิงปฏิบัติ (J.TEST) มีเนื้อหาที่กว้างกว่า ภาษาญี่ปุ่นที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพนั้น โดยน�ำเอาข่าวจากหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร พบว่า การสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่นเชิงปฏิบัติ รวมอยู่ในแบบทดสอบด้วย (J.TEST) และ การสอบวัดระดับทักษะการใช้ การสอบนี้นอกจากจะวัดทักษะการใช้ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) จะมีวัตถุประสงค์ตรงกับ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจแล้ว ยังมีการวัดความรู้ ประเด็นดังกล่าวนี้มากกว่าการสอบวัดระดับ ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมการท�ำงานในองค์กร ความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น (JLPT) เนื่องจาก ญี่ปุ่นอีกด้วย อาทิ การจัดต�ำแหน่งที่นั่งในที่ประชุม มีการวัดความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นที่เน้น การใช้ภาษารูปยกย่องรูปถ่อมตัว การเขียนอีเมลล์ ทักษะในบริบทของการท�ำงานจริง แตกต่างไป การอ่านกราฟหรือแผนภาพและประกาศโฆษณา จากการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษา เป็นต้น อย่างไรก็ตามจากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ญี่ปุ่น (JLPT) ที่วัดความสามารถทางภาษาแบบ จากองค์กรญี่ปุ่นธุรกิจในประเทศไทย พบว่า กว้าง ๆ การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง ส�ำหรับการวัดความสามารถทางภาษา ธุรกิจ (BJT) ยังไม่เป็นที่แพร่หลายในประเทศไทย ญี่ปุ่นที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพระหว่างการ เท่าที่ควร สอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่นเชิงปฏิบัติ (J.TEST) ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับ และ การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่น ทัศนคติ และความคิดเห็นขององค์กรญี่ปุ่นใน เชิงธุรกิจ (BJT) พบว่าการสอบวัดระดับทักษะ ประเทศไทย ผู้ที่เคยสอบวัดระดับทักษะการใช้ การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) จะมีการเน้น ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) และสถาบันระดับ ทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นส�ำหรับการท�ำงานหรือ อุดมศึกษาในประเทศไทย ว่าเหตุใดการสอบ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ และเน้นไปทางด้านวัด วัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ทักษะทางการสื่อสารในบริษัทหรือองค์กรธุรกิจ นั้น จึงไม่เป็นที่แพร่หลายในผู้เรียน และไม่ถูก รวมไปถึงการใช้ภาษารูปยกย่อง ค�ำถ่อมตัวและ น�ำไปใช้ในการประเมินบุคคลากรเข้าบรรจุงานของ รูปสุภาพ นอกจากนี้มีการทดสอบการใช้ภาษา องค์กรต่าง ๆ เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์นั้น ส�ำหรับการใช้ตอบอีเมล แฟกซ์ แผนภาพ และ มาเป็นแนวทางในการผลักดัน และส่งเสริมให้มี วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 122

ผู้สอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ ขอบเขตของการวิจัย (BJT) มากยิ่งขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาเกี่ยวกับทัศนคติ และความคิดเห็นที่มี วัตถุประสงค์ของการวิจัย ต่อการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง 1. เพื่อให้ทราบถึงทัศนคติและความ ธุรกิจ (BJT) เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้นั้น มาเป็นแนวทาง คิดเห็นที่มีต่อการสอบวัดระดับทักษะการใช้ ในการผลักดัน และส่งเสริมให้มีผู้สอบวัดระดับ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ขององค์กรญี่ปุ่นใน ทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) เพิ่มมาก ประเทศไทย ยิ่งขึ้น โดยมีขอบเขตดังนี้ 2. เพื่อให้ทราบถึงทัศนคติและความ 1. กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา มี 3 กลุ่ม คิดเห็นที่มีต่อการสอบวัดระดับทักษะการใช้ คือ บริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย ผู้ที่เคยสอบ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ของผู้ที่เคยสอบวัด วัดระดับความรู้ภาษาญี่ปุ่นทางธุรกิจ (BJT) และ ระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) สถาบันระดับอุดมศึกษาที่เปิดสอนในสาขาวิชา 3. เพื่อให้ทราบถึงทัศนคติและความคิด ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ เห็นที่มีต่อการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษา 2. ระยะเวลาด�ำเนินการวิจัย ตั้งแต่เดือน ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ของสถาบันอุดมศึกษา ธันวาคม 2560 - เดือนกุมภาพันธ์ 2562 ที่เปิดสอนสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบ สัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ได้ทราบถึงทัศนคติและความคิดเห็น ระเบียบวิธีวิจัย ที่มีต่อการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่น ขอบเขตประชากร ประกอบด้วยบุคคลากร เชิงธุรกิจ (BJT) ขององค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทย ผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาญี่ปุ่น ได้แก่ เจ้าหน้าที่ ผู้ที่เคยสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่น ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และผู้ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นในการ เชิงธุรกิจ (BJT) และบุคคลากรทางการศึกษา ท�ำงาน ได้แก่ ล่ามภาษาญี่ปุ่น จากองค์กรญี่ปุ่น จากสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนสาขาวิชาภาษา ในประเทศไทย จ�ำนวน 5 คน ผู้ที่เคยสอบวัดระดับ ญี่ปุ่นธุรกิจ เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์นั้น ความรู้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) จ�ำนวน 5 คน มาเป็นแนวทางในการผลัดกัน และส่งเสริมให้มี และอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ผู้สอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ ธุรกิจในสถาบันระดับอุดมศึกษา จ�ำนวน 3 คน (BJT) มากยิ่งขึ้น โดยแบ่งประเภทตามรายละเอียดด้านล่าง ดังนี้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 123

กลุ่มที่ 1 บริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย 1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายสรรหาบุคลากร บริษัทอุตสาหกรรมเกี่ยวกับรถยนต์ 2. ล่ามภาษาญี่ปุ่น บริษัทผลิตเครื่องจักรทางการเกษตร และตัวแทน จ�ำหน่ายอะไหล่รถแมคโคร และรถตักทุกรุ่นทุกยี่ห้อ ทุกขนาด 3. PR Assistance Manager บริษัทผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า 4. CEO ที่ปรึกษาด้านการขยายช่องทางการตลาดในประเทศไทย ให้แก่ภาครัฐและเอกชนญี่ปุ่น 5. Marketing Manager ศูนย์แนะแนวการศึกษาต่อประเทศญี่ปุ่น และสถาบันสอนภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทย กลุ่มที่ 2 ผู้ที่เคยผ่านการสอบระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) 1. CEO ที่ปรึกษาด้านการขยายช่องทางการตลาดในประเทศไทย ให้แก่ภาครัฐและเอกชนญี่ปุ่น 2. Country Manager & ที่ปรึกษาการลงทุนเปิดบริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย Chief Consultant 3. กรรมการผู้จัดการ ที่ปรึกษาด้านการขยายช่องทางการตลาดในประเทศไทย ให้แก่ภาครัฐและเอกชนญี่ปุ่น 4. Consulting Director ที่ปรึกษาด้านการขยายช่องทางการตลาดในประเทศไทย ให้แก่ภาครัฐและเอกชนญี่ปุ่น 5. Senior Coordinator ที่ปรึกษาด้านการขยายช่องทางการตลาดในประเทศไทย ให้แก่ภาครัฐและเอกชนญี่ปุ่น กลุ่มที่ 3 สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรวิชาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ 1. อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ 2. ประธานสาขาวิชา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ 3. หัวหน้าสาขาวิชา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 124

ขอบเขตด้านเนื้อหา ในการวิจัยครั้งนี้ พบว่า ถึงแม้ว่าการสอบวัดระดับทักษะการใช้ ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าหนังสือ บทความ รวมถึง ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) จะเป็นตัววัดระดับ งานวิจัยต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการสอบ ทักษะทางภาษาญี่ปุ่นธุรกิจที่ดีก็ตาม แต่ใน วัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นโดยศึกษา องค์กรญี่ปุ่นนั้นยังไม่ได้ใช้การสอบวัดระดับ เกี่ยวกับความแตกต่างของวัตถุประสงค์ในแต่ละ ทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) เป็นเกณฑ์ การทดสอบ รวมถึงทัศนคติ และความคิดเห็นที่มี ในการคัดเลือกพนักงานใหม่ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่น ต่อการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง เข้าองค์กรเนื่องจากผู้สมัครงานส่วนใหญ่จะมี ธุรกิจ (BJT) โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผลสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) Japanese-Language Proficiency Test (JLPT) เมื่อได้ข้อมูลจนครบแล้ว จะท�ำการวิเคราะห์ ที่อยู่ในระดับ N1-N2 ซึ่งทางองค์กรญี่ปุ่นคิดว่า ข้อมูล และอภิปรายผลการศึกษาในรูปแบบเชิง ผู้สมัครที่มีทักษะทางภาษาญี่ปุ่นช่วงระดับนี้ พรรณนา (Descriptive research) ก็สามารถท�ำงานที่เกี่ยวข้องกับภาษาญี่ปุ่นได้แล้ว

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ศึกษาเกี่ยวกับการสอบ วัดระดับทักษะการใช้ สร้างแบบ สัมภาษณ์ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT)

สรุปผล และเผยแพร่ รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ส�ำหรับผู้ที่มีผลสอบวัดระดับความสามารถทาง สรุปผลการวิจัย ภาษาญี่ปุ่น Japanese-Language Proficiency วิจัยเรื่องนี้ สรุปเป็น 3 ประเด็น ดังนี้คือ Test (JLPT) ต�่ำกว่า N2 หรือไม่มีผลสอบเลย 1. ทัศนคติและความคิดเห็นที่เกี่ยวกับ เพียงขอให้สามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นได้ใน การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง ระดับหนึ่ง ก็สามารถเรียนรู้ทักษะทางภาษาญี่ปุ่น ธุรกิจ (BJT) ขององค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทย จากการท�ำงานได้เช่นกัน จึงท�ำให้ความส�ำคัญ จากผลการศึกษาทัศนคติและความ ของผลคะแนนสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษา คิดเห็นที่เกี่ยวกับการสอบวัดระดับทักษะการใช้ ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ยังมีน้อย อีกทั้งการขาดการ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ขององค์กรญี่ปุ่นนั้น ประชาสัมพันธ์ของการสอบวัดระดับทักษะการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 125

ใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ก็เป็นอีกเหตุผล พัฒนาศักยภาพบุคลากรแล้วยังให้ความส�ำคัญ ส�ำคัญที่ท�ำให้การสอบประเภทนี้ยังไม่เป็นที่รู้จัก กับการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจด้วย ในบรรดาผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น ซึ่งท�ำให้ผู้สมัครสอบเอง 2. ทัศนคติและความคิดเห็นที่เกี่ยวกับ ไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ ลักษณะแนวการสอบหรือ การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง ความส�ำคัญหรือประโยชน์ที่จะได้รับจากการสอบ ธุรกิจ (BJT) ของผู้ที่เคยสอบวัดระดับทักษะการใช้ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการสอบวัดระดับความ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) สามารถทางภาษาญี่ปุ่น Japanese-Language ส�ำหรับผลการศึกษาทัศนคติและ Proficiency Test (JLPT) แล้ว การสอบดังกล่าว ความคิดเห็นที่เกี่ยวกับการสอบวัดระดับทักษะ จะมีการประชาสัมพันธ์ที่ทั่วถึงโดยหน่วยงานผู้รับ การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ของผู้ที่เคย สมัคร แจ้งวันเวลา และสถานที่ในการสอบชัดเจน สอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ นอกจากนี้ หนังสือหรือต�ำราที่ใช้เพื่อเตรียมสอบ (BJT) พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์มีทัศนคติและความ ก็มีจัดจ�ำหน่วยอยู่ตามร้านหนังสือทั่วไป และมี คิดเห็นที่สอดคล้องกันในเรื่องของความส�ำคัญ หลายส�ำนักพิมพ์จัดท�ำขึ้นในรูปแบบที่หลากหลาย ของการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่น ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเตรียมสอบด้านค�ำศัพท์ เชิงธุรกิจ (BJT) กล่าวคือ การสอบประเภทนี้ ไวยากรณ์ การฟัง หรือการอ่าน ท�ำให้ผู้เรียน มีความส�ำคัญมากต่อการวัดทักษะทางภาษา สามารถเข้าถึงการสอบวัดระดับความสามารถทาง ญี่ปุ่นในเชิงธุรกิจ เนื่องจากการปฏิบัติงานจริง ภาษาญี่ปุ่น Japanese-Language Proficiency ในองค์กรนั้น ถึงแม้ว่าพนักงานจะสื่อสารภาษา Test (JLPT) ได้ไม่ยาก ญี่ปุ่นได้อย่างคล่องแคล่วก็ตาม แต่รูปแบบ จากการผลการวิจัยพบว่า มีองค์กรหนึ่ง การสื่อสารติดต่อกับชาวญี่ปุ่นนั้นมีความเป็น ได้มีการสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่น เอกลักษณ์ไม่ว่าทางโทรศัพท์ อีเมลหรือจดหมาย ในการท�ำงานเข้ารับการสอบวัดระดับทักษะการใช้ ธุรกิจต่าง ๆ ทุกส่วนจะมีรูปแบบที่เฉพาะทาง ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) โดยสนับสนุนค่าใช้จ่าย ดังนั้น การวัดทักษะความสามารถภาษาญี่ปุ่น ในการเข้าสอบ และถ้าสอบผ่านตามเกณฑ์ที่ทาง ที่เฉพาะลักษณะนี้ การสอบวัดระดับทักษะการ องค์กรก�ำหนดก็จะได้รับเงินรางวัลตอบแทนด้วย ใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) จะให้การประเมิน เนื่องจากองค์กรนี้ส่วนใหญ่มีการติดต่อสื่อสาร ที่ดีกว่า ซึ่งถึงแม้พนักงานที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นจะผ่าน กับชาวญี่ปุ่น วิธีการสื่อสารในรูปแบบเฉพาะของ การสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจนั้น จึงมีความจ�ำเป็นอย่างมาก Japanese-Language Proficiency Test (JLPT) ซึ่งผลการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่น ในระดับสูงมาแล้วก็ได้ ก็ไม่สามารถกล่าวได้ว่า เชิงธุรกิจ (BJT) จะท�ำให้สามารถประเมินระดับ จะมีความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นในเชิงธุรกิจ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจของพนักงานเองได้ จาก ในระดับสูงด้วย กระบวนการการส่งเสริมพนักงานนี้ กล่าวได้ว่า นอกจากนี้ ทางผู้ที่เคยสอบวัดระดับทักษะ องค์กรดังกล่าวนี้นอกจากให้ความส�ำคัญในการ การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ได้แนะน�ำว่า วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 126

อยากให้องค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทยให้ความ สามารถวัดความรู้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจได้ตรงกว่า ส�ำคัญกับผลสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษา ข้อสอบวัดทักษะแนวอื่น นอกจากนี้ความสามารถ ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) โดยอยากให้ใช้เป็นเกณฑ์ ในระดับปริญญาตรีของนักศึกษานั้น อาจจะยัง ในการรับสมัครพนักงานที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นใน ไม่เพียงพอส�ำหรับการสอบวัดระดับทักษะการใช้ องค์กร เพื่อให้การสอบประเภทนี้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) เนื่องจากรายละเอียด นอกจากนี้ ถ้าเจ้าหน้าที่หรือผู้มีส่วนเกี่ยวกับ เนื้อหาในตัวทดสอบมีความยากพอสมควร การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง เนื่องจากมีการวัดการใช้ค�ำสุภาพ รูปยกย่อง ธุรกิจ (BJT) เอง ควรประชาสัมพันธ์การสอบ รูปถ่อมตน หรือประโยคที่ใช้สื่อสารกันในองค์กร อย่างจริงจัง โดยอาจแทรกรายละเอียดการสอบ ญี่ปุ่น และอีกทั้งเนื้อหาข้อสอบที่เป็นความรู้ ไปในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเทศญี่ปุ่น เฉพาะทางดังกล่าวนี้ อาจท�ำให้ผู้สมัครสอบ หรือมีการจัดทดลองสอบโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ขาดความมั่นใจจนไม่อยากเข้าสอบวัดทักษะนี้ ซึ่งเป็นการเพิ่มโอกาสให้บุคคลทั่วไปเข้าถึงการ เนื่องจากองค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทย สอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ ส่วนใหญ่จะมักใช้ผลการสอบวัดระดับความ (BJT) มากขึ้น สามารถทางภาษาญี่ปุ่น Japanese-Language 3. ทัศนคติและความคิดเห็นที่เกี่ยวกับ Proficiency Test (JLPT) ในการประเมินความ การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง สามารถทางภาษาญี่ปุ่นของผู้สมัครงาน จึงท�ำให้ ธุรกิจ (BJT) ของสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอน ความนิยมของการสอบวัดระดับทักษะการใช้ สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) อยู่ระดับที่ไม่สูงมาก ผลการศึกษาทัศนคติและความคิดเห็น แต่ถ้าองค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทยมีการใช้ผล ที่เกี่ยวกับการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษา การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ของสถาบันอุดมศึกษา ธุรกิจ (BJT) มาประกอบการพิจารณาเป็นเกณฑ์ ที่เปิดสอนสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ พบว่า เพื่อคัดเลือกบุคลากร แนวโน้มในอนาคตของ สืบเนื่องจากการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษา การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ที่ขาดการประชาสัมพันธ์ ธุรกิจ (BJT) นั้น น่าจะมีบุคคลที่ให้ความสนใจ ที่ทั่วถึง และองค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทยส่วนใหญ่ และสมัครสอบกันมากขึ้น ใช้คะแนนการสอบวัดระดับความสามารถทาง อภิปรายผลการวิจัย ภาษาญี่ปุ่น Japanese-Language Proficiency จากผลการวิจัยพบว่า อุปสรรคที่ยัง Test (JLPT) เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกพนักงานใหม่ ท�ำให้การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่น ท�ำให้ความส�ำคัญของการสอบวัดระดับทักษะ เชิงธุรกิจ (BJT) ไม่เป็นที่นิยมในวงกว้างนั้น การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) มีไม่มากนัก สาเหตุหลักมาจากการขาดการสนับสนุนจาก ซึ่งในความเป็นจริงแล้วผลการสอบการสอบวัด องค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทยที่ยังคงใช้ผลของ ระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) การสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 127

Japanese-Language Proficiency Test (JLPT) ทางภาษาญี่ปุ่น Japanese-Language เป็นเกณฑ์หลักในการคัดเลือกพนักงาน ซึ่งเมื่อ Proficiency Test (JLPT) ได้ในระดับสูงสุด พิจารณาถึงสาเหตุนี้แล้วกล่าวได้ว่า องค์กรที่ หรือ N1 แล้วก็ตาม ก็สามารถยืนยันได้เพียงว่า ตัดสินใจคัดเลือกผู้ผ่านการสอบวัดระดับความ สามารถอ่านบทความ บทวิจารณ์ในหนังสือพิมพ์ สามารถทางภาษาญี่ปุ่น Japanese-Language ที่เขียนเกี่ยวกับหัวเรื่องต่าง ๆ ในวงกว้างที่มี Proficiency Test (JLPT) ในระดับ N1 – N2 ความซับซ้อน และสามารถเข้าใจโครงสร้าง ส่วนใหญ่คิดว่าผู้สมัครเหล่านี้มีความสามารถ และเนื้อหาได้ รวมถึงแล้วสามารถเข้าใจล�ำดับ ทางภาษาญี่ปุ่นในระดับที่สูงแล้ว สามารถสื่อสาร เนื้อเรื่อง เนื้อหา ความสัมพันธ์ของบุคคลและ กับเจ้าหน้าที่หรือคู่ค้าได้ในระดับที่ดี โดยการ โครงสร้างความเป็นมาของเนื้อหาอย่างละเอียด สื่อสารนั้นไม่จ�ำเป็นต้องเป็นทางการมากหรือ และจับประเด็นได้เท่านั้น ซึ่งทักษะทางภาษา ไม่ใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจมากนัก โดยผู้ประกอบ ญี่ปุ่นในเชิงธุรกิจเป็นทักษะที่เฉพาะทางที่ต้อง การมีความคาดหวังว่า หลังจากที่ท�ำงานไปสัก อาศัยประสบการณ์และการฝึกฝนทบทวน ระยะหนึ่ง ความรู้ความช�ำนาญทางด้านภาษา เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้ในบริบททางธุรกิจ ดังนั้น ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจจะซึมซับสู่พนักงานจนสามารถใช้ การสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิง ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจได้ในอนาคตจากสาเหตุ ธุรกิจ (BJT) จึงมีความชัดเจนในตัวผู้สมัครงาน ดังกล่าวนี้ ผู้ประกอบการขององค์กรญี่ปุ่น หรือแม้แต่พนักงานที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นในองค์กรว่า ส่วนใหญ่จึงเลือกใช้ผลการสอบวัดระดับความ มีความรู้หรือทักษะทางภาษาญี่ปุ่นที่พร้อมกับ สามารถทางภาษาญี่ปุ่น Japanese-Language การท�ำงานหรือในแวดวงธุรกิจมากน้อยเพียงใด Proficiency Test (JLPT) เป็นเกณฑ์ในการ จากข้อมูลที่กล่าวมา องค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทย คัดเลือกพนักงานมากกว่าผลการสอบที่วัดทักษะ ควรมีการปรับเกณฑ์รับสมัครพนักงานโดยใช้ ทางภาษาญี่ปุ่นประเภทอื่น ผลการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่น เมื่อพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ของการ เชิงธุรกิจ (BJT) เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับ สอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น บริบทขององค์กร และการท�ำงานที่ไม่ใช่เพียง Japanese-Language Proficiency Test (JLPT) ความรู้ทางภาษาญี่ปุ่นทั่วไปเท่านั้น แต่วัฒนธรรม แล้วพบว่า ผลสอบประเภทนี้มีวัตถุประสงค์ ในการติดต่อสื่อสารในรูปแบบเฉพาะตัวของ วัดทักษะความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นที่ใช้ใน ประเทศญี่ปุ่นก็เป็นสิ่งที่น�ำมาใช้ในการท�ำงานด้วย การสื่อสารทั่วไปที่เป็นพื้นฐานของชาวต่างชาติ นอกจากอุปสรรคจากองค์กรญี่ปุ่นใน ที่เรียนภาษาญี่ปุ่น ไม่สามารถวัดระดับความรู้ ประเทศไทยที่ได้กล่าวข้างต้น จากผลการวิจัย หรือทักษะทางภาษาญี่ปุ่นในเชิงธุรกิจได้ตรง ยังพบว่าการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษา หรือเหมาะสมเท่าการสอบวัดระดับทักษะการใช้ ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) เป็นการวัดความรู้และทักษะ ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) และถึงแม้ว่าผู้เรียน ทางภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจที่มีความเฉพาะทาง ภาษาญี่ปุ่นสามารถสอบวัดระดับความสามารถ ที่เน้นการวัดทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นในที่ท�ำงาน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 128

เช่น การสื่อสารในบริษัท การใช้รูปยกย่อง เกี่ยวข้องกับการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษา ถ่อมตนและรูปสุภาพ รวมถึง ทักษะทางการฟัง ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) เพื่อให้ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น ที่เน้นไปทางการท�ำงาน ท�ำให้ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น เข้าใจแนวทางในการสอบ และพร้อมที่จะเข้ารับ ที่ไม่เคยมีประสบการณ์การท�ำงานในองค์กร การทดสอบมากขึ้นด้วย ญี่ปุ่นมาก่อนนั้น มีความคิดว่าการสอบประเภท นี้มีความยากเกินความสามารถจากที่เรียนมา ข้อเสนอแนะ ถึงแม้ว่าตนจะเรียนวิชาเอกในสาขาวิชาภาษา ส�ำหรับข้อเสนอแนะเพื่อน�ำไปปรับใช้ ญี่ปุ่นธุรกิจก็ตาม นอกจากนี้หนังสือหรือต�ำรา ให้เกิดประโยชน์ต่อแนวทางการพัฒนาการสอบ เพื่อเตรียมการสอบประเภทนี้ในท้องตลาด วัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ยังมีอยู่จ�ำนวนน้อย อาจท�ำให้ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น โดยมีพื้นฐานจากผลการวิจัยนั้น แสดงตาม ไม่ทราบแนวทางในการสอบ จึงตัดสินใจเลือกสอบ รายละเอียดด้านล่างนี้ การวัดความรู้และทักษะประเภทอื่นแทน 1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการสอบ ซึ่งความเป็นจริงการสอบวัดระดับทักษะการใช้ วัดระดับความรู้ภาษาญี่ปุ่นทางธุรกิจ (BJT) ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) จะให้ประโยชน์ ควรจัดทดลองการสอบเพื่อประชาสัมพันธ์ อย่างสูงต่อการประกอบอาชีพในอนาคตก็ตาม ให้บุคคลทั่วไปได้ทราบถึงรายละเอียดเนื้อหา ส�ำหรับการประชาสัมพันธ์การสอบ ของข้อสอบ เช่น ผู้เรียนสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น วัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) นั้น พนักงานในองค์กรญี่ปุ่นที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นสื่อสาร เป็นอีกประเด็นที่ส�ำคัญที่ท�ำให้การสอบวัดระดับ ผู้สอนภาษาญี่ปุ่น หากเป็นไปได้น่าจะมีการ ทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ไม่เป็น เปิดให้ทดลองการสอบนี้ เมื่อให้ทดลองสอบ ที่รู้จักในวงกว้าง จากผลการวิจัยกล่าวได้ว่า ผู้ให้ สักระยะหนึ่งแล้ว จึงด�ำเนินการเก็บค่าธรรมเนียม ข้อมูลทุกฝ่ายมีความต้องการให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ตามความเหมาะสม การสอบประเภทนี้ประชาสัมพันธ์ออกสู่สาธารณะ 2. หน่วยงานจัดการสอบประชาสัมพันธ์ มากขึ้น พร้อมกับให้ข้อมูลถึงรายละเอียดการสอบ การสอบในทุกช่องทางที่สามารถท�ำได้ โดย ประโยชน์จากการสอบ รวมถึงค่าใช้จ่ายให้กับ รายละเอียดที่ต้องการแจ้งต้องมีความชัดเจน บุคคลทั่วไปให้ทราบ รวมถึงประชาสัมพันธ์ และเห็นถึงประโยชน์ของการสอบ เป้าหมายและ ให้องค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทยได้รับทราบถึง วัตถุประสงค์ของการสอบ วันเวลาสถานที่สอบ ผลดีจากการสอบ และขอความร่วมมือให้ใช้ เอกสารส�ำคัญส�ำหรับสมัครหรือเข้าสอบ หรือ ผลสอบนี้เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกพนักงาน สิ่งที่จ�ำเป็นอื่น ๆ ก็ควรแจ้งประชาสัมพันธ์อย่าง ควบคู่ไปกับการสอบวัดความรู้ และทักษะทาง ต่อเนื่อง นอกจากนี้ การเข้าไปประชาสัมพันธ์แก่ ภาษาญี่ปุ่นประเภทอื่น เพื่อให้ได้บุคลากรที่มี สถานศึกษาหรือองค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทย ความรู้และมีทักษะพร้อมท�ำงานในองค์กร ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่จะท�ำให้การสอบวัดระดับทักษะ นอกจากนี้ควรมีการเพิ่มหนังสือหรือต�ำราที่ การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ(BJT) เป็นที่รู้จักมากขึ้น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 129

3. ผลิตหนังสือหรือต�าราเพื่อเตรียมตัว เนื่องจากกลุ่มบุคคลเหล่านี้คือผู้มีประสบการณ์ สอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ ตรงที่เกี่ยวกับการสอบประเภทดังกล่าว นอกจากนี้ (BJT) ให้หลากหลายมากขึ้น เนื่องจากในปัจจุบัน ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการสอบ ควรจัดสรรเจ้าหน้าที่ มีผู้ผลิตเอกสารการเรียนรู้ดังกล่าวอยู่ไม่กี่แห่ง เพื่อให้บริการข้อมูลและเป็นตัวประสานงาน ท�าให้บุคคลทั่วไปเข้าถึงการสอบได้ยากกว่าการ ส�าหรับการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่น สอบวัดความรู้และทักษะภาษาญี่ปุ่นประเภทอื่น เชิงธุรกิจ (BJT) เพื่อเพิ่มความสะดวกให้กับผู้สนใจ นอกจากนี้ สถานศึกษาควรสอดแทรกความ ในการติดต่อขอข้อมูลด้วย ส�าคัญของการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษา ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ให้กับผู้เรียน หรือบูรณาการ 1. ควรศึกษาการวิจัยกับแนวทางใน การสอนภาษาญี่ปุ่นโดยเชื่อมโยงเข้ากับทางธุรกิจ การกระตุ้นหรือสร้างการรับรู้การสอบวัดระดับ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักถึงความส�าคัญ ทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ให้กลุ่ม ของการใช้ภาษาญี่ปุ่นในองค์กร องค์กรญี่ปุ่นที่ยังไม่ได้ใช้ผลสอบดังกล่าวเป็นเกณฑ์ 4. เผยแพร่ความคิดเห็นของผู้ที่เห็น พิจารณารับบุคคลากรเข้าท�างาน ประโยชน์ของการสอบวัดระดับทักษะการใช้ภาษา 2. ควรศึกษาการสอบวัดระดับภาษา ญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ(BJT) ทั้งจากองค์กรญี่ปุ่นหรือ ญี่ปุ่นว่า แต่ละประเภทที่จัดสอบอยู่นั้นมีรูปแบบ ผู้ที่เคยสอบมาก่อนออกสู่สาธารณะให้มากขึ้น และประโยชน์แตกต่างกันอย่างไร วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 130

REFERENCES

Doi, Y., & Hoshino, T. (2010). Job-Hunting Support for international Students at University Level-Case Study through Questionnaire in Aichi Prefecture. Retrieved November 1, 2018,from http://s3.amazonaws.com/zanran_storage/www.vwl.unifreiburg.de/ ContentPages/959285982.pdf (in Thai) J-Education. (2018). Japanese-Language Proficiency Test (JLPT). Retrieved October 31, 2018, From https://www.jeducation.com/THAI/edsystem/jtest.html (in Thai) Japanese Chamber of Commerce, Bangkok. (2018). A Survey of Business Sentiment on Japanese Corporations for the 1H half of 2018 summary data. Retrieved October 30, 2018, From https://www.jcc.or.th/th/about/index3 (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 131

บทความวิจัย

การถอดบทเรียนเชิงสาระวิชาการและข้อเสนอแนะการด�ำเนินการ กรณีพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ACADEMIC LESSON LEARNED AND SUGGESTIONS FOR ACTION IN CASE OF KHUNG BANGKACHAO, PHRA PRADAENG DISTRICT, SAMUT PRAKAN PROVINCE สราวุธ ณ พัทลุง1 และ ศรีณัฐ ไทรชมภู2* Sarawut Napatalung1 and Sreenath Caichompoo2*

สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1 สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานครประเทศไทย2* English Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand1 Community Development Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand2*

Email: [email protected]*

Received: 2019-01-02 Revised: 2019-05-16 Accepted: 2019-11-06

บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) รวบรวมและสรุปผลงานของส�ำนักงานฯ ที่ด�ำเนินการ ในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 – 2560 2) สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมการรับรู้ และความเข้าใจ ระหว่างชุมชน หน่วยงานและภาคเอกชน และ 3) ถอดบทเรียนในเชิงสาระวิชาการ และจัดท�ำเป็นข้อเสนอแนะการด�ำเนินการ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้น�ำชุมชน องค์กร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีส่วนร่วมหรือมีส่วนได้รับผลจากการด�ำเนินกิจกรรม หรือโครงการของส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ผลการวิจัยพบว่า ผลการด�ำเนินงานของส�ำนักงานฯ เป็นโครงการศึกษา วิจัย เพื่อให้ได้ข้อมูล อัตลักษณ์ ศักยภาพ ปัญหา ความต้องการของชุมชนท้องถิ่น และด�ำเนินการพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 132

โดยกระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน องค์กร ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เริ่มจากการจัดท�ำแผน พัฒนาเป็นล�ำดับและด�ำเนินการพัฒนาให้เหมาะสมกับความต้องการและสภาพท้องถิ่น จากการ ถอดบทเรียนพบว่าการด�ำเนินกิจกรรมการพัฒนาของส�ำนักงานฯ อย่างต่อเนื่อง ที่มีกระบวนการ ด�ำเนินการ ศึกษา วิจัย และพัฒนา อันเกิดจากการที่ส�ำนักงานฯ เข้าถึงชุมชนและผลประโยชน์ เกิดกับชุมชนอย่างแท้จริงปรากฏเป็นรูปธรรม จึงท�ำให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซึ่งผล จากการสัมภาษณ์และจากการจัดเวทีประชุมผลการด�ำเนินงานของส�ำนักงานฯ พบว่าชุมชนท้องถิ่น รับรู้และว่าเป็นหน่วยงานพัฒนาที่ส�ำคัญของพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อันเป็นผลจากการที่ชุมชนท้องถิ่น ได้เรียนรู้ได้รับรู้ได้พัฒนาร่วมกับส�ำนักงานฯ อย่างต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะ การด�ำเนินการพัฒนาพื้นที่ของส�ำนักงานฯ ที่มีการศึกษา วิจัย และพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง ท�ำให้การพัฒนาพื้นที่มีความเหมาะสมตามความต้องการและสภาพของชุมชนท้องถิ่น ควรใช้ ทรัพยากร องค์ความรู้ ภูมิปัญญาของชุมชนเป็นฐานในการพัฒนา อันจะเป็นประโยชน์กับชุมชน อย่างแท้จริง ทั้งนี้จะต้องสร้างเครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อน�ำไปสู่ความสามารถต่อยอด การพัฒนาและการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน

ค�ำส�ำคัญ: การถอดบทเรียน คุ้งบางกะเจ้า ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การ มหาชน)

ABSTRACT This research aims to 1) compile and summarize the results of the biodiversity- based economy development office (BEDO) that operates in the Khung Bangkachao area with the budget in the year 2011-2017; 2) create a process of participation, awareness and understanding between the communities, the organizations and the private sectors; and 3) take the academic lesson learned to make recommendations for action. The qualitative research was conducted to collect the data from the samples such as the community leaders, organizations, and related organizations that have contributed to the activities or projects of the Biodiversity-Based Economy Development Office (PO) in the research area. The research found that the works of the Biodiversity-Based Economy Development Office in Khung Bangkachao area was the research projects to obtain information on identity, potentials, problems, needs of local communities and the development through participatory process with communities, local organizations, and related organizations. Later, the development plan was produced and implemented to suit the local needs and conditions. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 133

From the lesson learned, it was the continuous development activities of the Biodiversity-Based Economy Development Office (PO) through the processes of research and development that were productive and gave true benefits to the community, cause the participation and co-operation of all sectors in the area. The interview and public forum on the achievement of the Biodiversity-Based Economy Development Office, it showed that the office was recognized by the local communities as a major organization that helped develop the area. This was a result of what the communities had continuously learned and worked with the office of Biodiversity-Based Economy Development for years. Recommendations: The Biodiversity-Based Economy Development Office should continuously help develop the area to suit the needs and conditions of local communities. For the most beneficial to the community, the community resources, knowledge body, and community based wisdom should be used for development in all activities. Especially, participation network of all organizations should be established to promote the community’s development and self-reliance.

Keywords: Lesson Learned, Khung Bangkachao, Biodiversity-Based Economy Development Office (PO)

บทน�ำ พื้นที่คุ้งบางกะเจ้าเป็นพื้นที่สีเขียวภายใต้ รัฐบาลได้ซื้อจากชาวบ้าน สวนผลไม้เป็นแหล่ง กฎหมาย ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอพระประแดง จังหวัด รายได้ ต้นไม้เหล่านี้เป็นตัวช่วยกรองอากาศ สมุทรปราการ มีเนื้อที่ประมาณ 21.10 ตาราง เป็นแหล่งผลิตอากาศบริสุทธิ์ที่ลมพัดพาเข้าไป กิโลเมตรหรือประมาณ 11,000 ไร่ ประกอบด้วย ช่วยให้เขตกรุงเทพมหานครและบริเวณใกล้เคียง 6 ต�ำบล ของอ�ำเภอพระประแดง จังหวัด ได้รับอากาศบริสุทธิ์ ผลผลิตจากสวนในพื้นที่ สมุทรปราการ ได้แก่ ต�ำบลทรงคนอง ต�ำบล ส่วนใหญ่เป็นผลไม้ที่ปลูก และปลูกสืบทอดมา บางกระสอบ ต�ำบลบางยอ ต�ำบลบางน�้ำผึ้ง ช้านาน ประกอบกับที่ตั้งของพื้นที่อยู่ใกล้ปากอ่าว ต�ำบลบางกอบัว และต�ำบลบางกะเจ้า เป็นพื้นที่ และล้อมรอบด้วยล�ำน�้ำเจ้าพระยา ถึงพื้นที่จึงมี อยู่ใกล้เขตชุมชนอุตสาหกรรม มีประชากรเข้ามา ระบบนิเวศ 3 น�้ำ ได้แก่ น�้ำจืด น�้ำกร่อย และ อยู่หนาแน่น และอยู่ใกล้กรุงเทพมหานครที่มี น�้ำเค็ม และการไหลของน�้ำท�ำให้เกิดเป็นตะกอนดิน ปัญหาเรื่องมลพิษจากการจราจรที่ติดขัด ความเป็น พื้นที่จึงมีดินที่อุดมสมบูรณ์ และมีศักยภาพสูง สีเขียวของพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าท่ามกลางมหานคร ในด้านการเกษตร ของกรุงเทพฯ ประกอบด้วย สวนป่าชุมชนที่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 134

ด้วยลักษณะธรรมชาติที่แวดล้อม วิถี การด�ำเนินการพัฒนาในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าต่อไป วัฒนธรรมของชุมชนในพื้นที่ การผสมผสานทาง ได้อย่างเหมาะสม วัฒนธรรมไทยและมอญ อันก่อให้เกิดการบริการ (Services) ของระบบนิเวศที่มีคุณค่า (Value) วัตถุประสงค์ของการวิจัย ต่อมนุษย์ ในมิติการบริการเป็นแหล่งผลิต 1. เพื่อรวบรวมและสรุปผลงานของ (Provisioning Services) การบริการควบคุมกลไก สพภ. ที่ด�ำเนินการ ในพื้นที่ “คุ้งบางกะเจ้า” ตั้งแต่ ของระบบ (Regulating Services) การบริการ งบประมาณ พ.ศ. 2554 - 2560 วัฒนธรรม (Cultural Services) และด้านการ 2. เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม เกื้อหนุน (Supporting Services) โดยเรียกการ การรับรู้และความเข้าใจ ระหว่างชุมชน หน่วยงาน สนับสนุนเหล่านี้ว่า การบริการของระบบนิเวศ และภาคเอกชน (Ecosystem Service) ดังนั้น กิจกรรมทางการ 3. เพื่อถอดบทเรียนในเชิงสาระวิชาการ เกษตรจึงเป็นตัวแปรส�ำคัญ ที่จะท�ำให้พื้นที่ และจัดท�ำเป็นข้อเสนอแนะการด�ำเนินการ คุ้งบางกะเจ้า แสดงบทบาทหน้าที่ หรือ Function การบริการระบบนิเวศสีเขียว ทั้งในมิติการเป็น ขอบเขตของการวิจัย แหล่งผลิตอากาศที่ดี การเป็นแหล่งผลิตทาง การถอดบทเรียนเชิงสาระวิชาการและ การเกษตร การบริการด้านนันทนาการ พักผ่อน จัดท�ำเป็นข้อเสนอแนะการด�ำเนินการ กรณี หย่อนใจ การท่องเที่ยว พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อ�ำเภอพระประแดง จังหวัด ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐาน สมุทรปราการ มีขอบเขตการศึกษา ดังนี้ ชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ สพภ. ได้ตระหนัก 1. ด้านพื้นที่ ถึงความส�ำคัญของพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า และได้ พื้นที่ “คุ้งบางกะเจ้า” ครอบคลุม ด�ำเนินการร่วมกับชุมชน องค์กรชุมชน หน่วยงาน 6 ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลทรงคนอง ต�ำบลบางกระสอบ ภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง และสถาน ต�ำบลบางยอ ต�ำบลบางน�้ำผึ้ง ต�ำบลบางกอบัว ศึกษา พัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าอย่างต่อเนื่อง และต�ำบลบางกะเจ้า อ�ำเภอพระประแดง จังหวัด โดยในระยะแรก (ปีงบประมาณ 2554 - 2556) สมุทรปราการ สพภ. ได้ด�ำเนินการส่งเสริมและพัฒนาพื้นที่ 2. ด้านกิจกรรม มีขั้นตอนในการ คุ้งบางกะเจ้า ด้านการใช้ประโยชน์จากการ ศึกษาดังนี้ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชน โดยมุ่งเน้นในการ 2.1 สืบค้น สอบถาม เพื่อรวบรวม จัดท�ำฐานข้อมูล และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ผลงานของส�ำนักงานฯ ที่ด�ำเนินการ ในพื้นที่ ให้นักท่องเที่ยว พร้อมกับสร้างศักยภาพให้กับ “คุ้งบางกะเจ้า” ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554- ชุมชนและท้องถิ่น ซึ่งการถอดบทเรียนนี้เพื่อให้ได้ 2560 ข้อมูลผลการด�ำเนินการ และมีข้อมูลสนับสนุน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 135

2.2 ด�ำเนินการจัดเวทีในการสร้าง 2.2 จัดท�ำฐานข้อมูลผลงานของ กระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อสร้างการรับรู้และ สพภ. ที่ด�ำเนินการในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า ตั้งแต่ ความเข้าใจ ระหว่างชุมชน หน่วยงาน และ ปีงบประมาณ 2554- 2560 ภาคเอกชนระหว่างชุมชน 3. สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมการรับรู้ 2.3 วิเคราะห์ข้อมูล ถอดบทเรียน และความเข้าใจ ระหว่างชุมชน หน่วยงาน และ จัดท�ำเป็นข้อเสนอแนะการด�ำเนินการ ภาคเอกชน ดังนี้ 3.1 จัดกลุ่มสนทนาประเด็นเฉพาะ ระเบียบวิธีวิจัย ในงานด้าน 1) การอนุรักษ์ความหลากหลาย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ทางชีวภาพ 2) การฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม (Qualitative Research) ด�ำเนินการศึกษาเพื่อให้ 3) การเกษตรเชิงอนุรักษ์ 4) การเพิ่มรายได้จาก ได้องค์ความรู้จากการด�ำเนินการของ สพภ. การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อ�ำเภอพระประแดง จังหวัด เพื่อให้รู้ถึงผลการด�ำเนินงานของส�ำนักงานฯ สมุทรปราการ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ 3.2 สรุปผลจากการจัดเวทีประชุม 1. การค้นคว้าจากเอกสาร (Documentary ในการรับรู้ผลงานและการด�ำเนินงานในพื้นที่ Study) โดยท�ำการเก็บและรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ คุ้งบางกะเจ้า ช่วงระยะเวลาที่ส�ำนักงานพัฒนา (Secondary Source) จากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ได้แก่ เอกสารจากงานวิจัย เอกสารจาก สพภ. ได้เข้าด�ำเนินการ และข้อมูลจากระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 4. น�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ถอดบทเรียน 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ในเชิงสาระวิชาการ และจัดท�ำข้อเสนอแนะการ (Primary Source) จากภาคสนาม (Field Study) ด�ำเนินการ จากผู้ที่สามารถให้ข้อมูลส�ำคัญ (Key Informant 4.1 จัดเวทีเพื่อสร้างการรับรู้ ความ Interview) ด้วยการสอบถาม สัมภาษณ์แบบ เข้าใจ ถึงกิจกรรมและผลการด�ำเนินงานของ เจาะลึก (In-Depth Interview) การสนทนากลุ่ม ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (Focus Group) ลงพื้นที่ศึกษาข้อเท็จจริง และ (องค์การมหาชน) ที่ด�ำเนินการในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554 - 2560 ให้ชุมชน ประกอบกับข้อมูลที่ได้จากเอกสารและการสรุป หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน และผู้มี ข้อมูลในเบื้องต้น เพื่อให้การถอดบทเรียนมี ส่วนเกี่ยวข้อง ประสิทธิภาพ โดยการ 4.2 สรุปภาพรวมของการถอดบทเรียน 2.1 ศึกษาผลการด�ำเนินงานของ ให้แก่ผู้ร่วมสนทนาเป็นการยืนยันและตรวจสอบ สพภ. จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า ความถูกต้องของข้อมูล วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 136

5. วิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ การด�ำเนิน จากความส�ำคัญของพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า กิจกรรมหรือการปฏิบัติที่ดี ถอดบทเรียนจาก ข้างต้น ในระยะแรก (ปีงบประมาณ 2554 - 2556) กิจกรรมการด�ำเนินการ องค์ความรู้ที่ได้จาก ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ การด�ำเนินกิจกรรมหรือโครงการพัฒนาในพื้นที่ (องค์การมหาชน) ได้ด�ำเนินการส่งเสริมและ คุ้งบางกะเจ้า พัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าในด้านการใช้ประโยชน์ จากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชน โดยมุ่งเน้น สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ในการจัดท�ำฐานข้อมูล และสิ่งอ�ำนวยความ สรุปผลการวิจัย สะดวกให้นักท่องเที่ยว พร้อมกับสร้างศักยภาพ ผลงานส�ำคัญของ สพภ.ที่ด�ำเนินการ ให้กับชุมชนและท้องถิ่น จากนั้นในระยะต่อไป ในพื้นที่ “คุ้งบางกะเจ้า” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2560 (ปีงบประมาณ 2557 - 2560) ส�ำนักงานฯ คุ้งบางกะเจ้า พื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ใกล้กรุงเทพ- ได้เพิ่มเติมแผนปฏิบัติการเพื่อให้เกิดความยั่งยืน มหานคร มีการบริการของระบบนิเวศทั้งในด้าน ให้กับพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าในทุกมิติ โดยมีแผน อากาศที่ดี ด้านภูมิทัศน์บริการ เป็นต้น นอกจากนี้ ปฏิบัติการใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) การส่งเสริมการ ยังเป็นแหล่งการเกษตรที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในถิ่นก�ำเนิด เป็นการผสมผสานระหว่างวิถีชีวิตและวัฒนธรรม 2) การฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม 3) การเกษตร ซึ่งเป็นกิจกรรมที่แสดงถึงบทบาท/หน้าที่ความเป็น เชิงอนุรักษ์ และ 4) การเพิ่มรายได้จากการพัฒนา พื้นที่สีเขียว เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีรูปแบบ ผลิตภัณฑ์และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ผสมผสานระหว่างวิถีชีวิตชุมชน วิถีเกษตร วิถี ผลงานในระยะที่ผ่านมาสรุปได้ ดังนี้ ธรรมชาติ ความเป็นสีเขียวของพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า 1. โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง เกิดกิจกรรมทางการเกษตร เกษตรกรมีรูปแบบ นิเวศ ได้แก่ การสร้างกระบวนการชุมชน ระบบ การด�ำเนินกิจกรรมแบบผสมผสานระหว่าง การบริหารจัดการทางการท่องเที่ยว การเพิ่ม ธรรมชาติ และวัฒนธรรมทางการเกษตร นอกจาก ศักยภาพด้านท่องเที่ยว ทั้งในด้านการบริการ บริการทางด้านเป็นแหล่งการเกษตรคุณภาพแล้ว การสร้างช่องทางการสื่อความหมายผ่านคู่มือ คุ้งบางกะเจ้ายังให้บริการในอีกหลายมิติ อาทิ การท่องเที่ยวทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การเป็นแหล่งผลิตอากาศที่ดี การเป็นแหล่ง จัดท�ำแอพพลิเคชั่น “คุ้งบางกะเจ้า” จัดท�ำแผ่นพับ บ�ำบัดน�้ำตามระบบธรรมชาติ การเป็นแหล่ง ประชาสัมพันธ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวของพื้นที่ พักผ่อนหย่อนใจ ตลอดจนการเป็นทิวทัศน์ที่ เป็นช่องทางสื่อสารให้นักท่องเที่ยว ผู้สนใจ ได้รู้จัก งดงาม เป็นต้น เหล่านี้เป็นคุณค่าบริการระบบ และรู้ถึงความส�ำคัญของสถานที่ต่าง ๆ นิเวศจากคุ้งบางกะเจ้า อันมีปัจจัยมาจากกิจกรรม 2. โครงการอนุรักษ์แหล่งความ ทางการเกษตร ซึ่งเป็นบริบทพื้นที่สีเขียวของ หลากหลายทางชีวภาพ และการเกษตรพื้นถิ่น คุ้งบางกะเจ้า “คุ้งบางกะเจ้า” มีแผนด�ำเนินการใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) แผนงานด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟู ก่อเกิด วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 137

การใช้ประโยชน์ในรูปแบบ Non-use จากแหล่ง และท้องถิ่น ด�ำเนินการบ�ำบัดน�้ำทิ้งโดยเทคโนโลยี ความหลากหลายทางชีวภาพ จากกระบวนการ ธรรมชาติ ตามแนวพระราชด�ำริ (ต้นแบบ สิ่งแวดล้อมศึกษา (Environmental Education) แหลมผักเบี้ย) ในแหล่งก�ำเนิดมลพิษชุมชน ผ่านป้ายสื่อความหมาย 2) แผนงานด้านการ ตรวจสอบคุณภาพน�้ำในแหล่งน�้ำ ฟื้นฟูการเกษตรเชิงอนุรักษ์ การแก้ไขปัญหาน�้ำ 4. ด้านการอนุรักษ์ และฟื้นฟู ส่งเสริม เพื่อการเกษตร ส�ำนักงานฯ ได้มีการประชุม การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์กับเยาวชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมชลประทาน สถาบันการศึกษาในพื้นที่ จ�ำนวน 11 โรงเรียน กรมทรัพยากรน�้ำ กรมทรัพยากรน�้ำบาดาล ปรับปรุงเส้นทางศึกษาธรรมชาติและการสื่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ความหมายในแปลงราชพัสดุ ต�ำบลบางกอบัว กรมโยธาธิการและผังเมือง และการประปา และบางน�้ำผึ้ง รวมจ�ำนวน 12 แปลง รวมเนื้อที่ นครหลวง เพื่อร่วมกันบูรณาการแผนงาน 31-3-41 ไร่-งาน-ตรว.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจาก และกิจกรรมเพื่อแก้ไขและบรรเทาปัญหาให้ ภาคเอกชนในการร่วมด�ำเนินกิจกรรม CSR และ/ เกษตรกรในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า การด�ำเนิน หรือ PES กิจกรรมเชิงอนุรักษ์ CSR / PES ในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า กระบวนการมีส่วนร่วม การรับรู้และ สามารถน�ำเสนอรูปแบบกิจกรรมและวิธีการ ความเข้าใจระหว่างชุมชน หน่วยงาน และ แนวคิดในการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งความ ภาคเอกชน หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า การถอดบทเรียนการด�ำเนินงานของ สพภ. ทั้งในพื้นที่กิจกรรมทางการเกษตร และพื้นที่ ในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า มีกระบวนการด�ำเนินการ อนุรักษ์ในแปลงราชพัสดุ โดยการน�ำเสนอ เป็นล�ำดับขั้นตอน โดยสร้างความเข้าใจกับชุมชน บูรณาการแผนงานในภาคปกครอง ได้แก่ ท้องถิ่น ผู้บริหาร ผู้น�ำชุมชน การศึกษาบริบทของ อ�ำเภอพระประแดง และหน่วยงานในพื้นที่ ชุมชน ทรัพยากร ความโดดเด่นที่มีอยู่ในท้องถิ่น ได้แก่ ศูนย์การจัดการพื้นที่สีเขียวนครเขื่อนขันธ์ ความต้องการและปัญหาของชุมชนท้องถิ่น และ โดยเกิดกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชน ด�ำเนินการพัฒนาเป็นล�ำดับโดยใช้ทรัพยากรของ อาทิ IEKA ปตท. เบทราโก เป็นต้น นอกจากนี้ ท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์เหมาะสมกับสภาพของ ยังมีการบูรณาการกับหน่วยงานในระดับกรม ท้องถิ่น โดยเฉพาะการอนุรักษ์ความเป็นสีเขียว ได้แก่ กรมทรัพยากรน�้ำ ในการฟื้นฟูและปรับปรุง ของพื้นที่ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของท้องถิ่น แหล่งน�้ำตามธรรมชาติ โดยใช้การท่องเที่ยวและการเกษตรเป็นเครื่องมือ 3. การส่งเสริมการฟื้นฟูคุณภาพ การพัฒนา ซึ่งการด�ำเนินงานใช้กระบวนการ สิ่งแวดล้อม ฟื้นฟูคุณภาพน�้ำทิ้งชุมชน (บริเวณ มีส่วนร่วมกับชุมชน องค์กร หน่วยงานทั้งภาครัฐ ตลาดน�้ำบางน�้ำผึ้ง) และพื้นที่ชุมชน 6 ต�ำบล และเอกชน ส่งผลให้การด�ำเนินกิจกรรมและ น�ำร่องติดตั้งถังดักและถังกรอกไขมัน เฝ้าระวัง โครงการขับเคลื่อนไปด้วยดี คุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยกระบวนการชุมชน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 138

การด�ำเนินการจัดเวทีประชุมเพื่อการ ต้องการแก้ปัญหานี้ เกิดจากการมีส่วนร่วมจาก รับรู้ความเข้าใจ และเผยแพร่ผลการด�ำเนินของ กลุ่มคนที่หลากหลาย สอดคล้องกับแนวคิดของ ส�ำนักงานฯ ชุมชน องค์กรท้องถิ่น ให้ความส�ำคัญ นักวิชาการ สานิตย์ บุญชู (Sanit Boonchu, กับส�ำนักงานโดยให้ความร่วมมือในทุกกิจกรรม 1982) ที่ว่าการเรียนรู้ ชุมชนอย่างแท้จริง เพื่อน�ำ และทุกโครงการเนื่องจากเป็นประโยชน์ที่ชุมชน ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์มาใช้ในการพัฒนา ได้รับและเห็นผลเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง และปรับปรุงชุมชน ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ อภิปรายผลการวิจัย ในภาพรวมกับชุมชนนั้น ครรชิต พุทธโกษา การถอดบทเรียนที่ส�ำนักงานพัฒนา (Phutthakosa, 2011) ที่ว่าการท�ำความรู้จักชุมชน เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ก่อนที่จะลงมือท�ำงานถือเป็นหัวใจส�ำคัญและ ได้ด�ำเนินการในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อ�ำเภอ มีผลต่อความส�ำเร็จของการพัฒนาชุมชน พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ตั้งแต่ปี 2. ประเด็นการมีส่วนร่วม การรับรู้และ งบประมาณ 2554 - 2560 มีประเด็นที่น่าสนใจ ความเข้าใจ ระหว่างชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง น�ำมาอภิปราย ได้ดังนี้ จากการด�ำเนินการพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าของ 1. ประเด็นการด�ำเนินการเพื่อพัฒนา ส�ำนักงานฯ ได้มีการด�ำเนินการเป็นขั้นตอน พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า ผลจากการถอดบทเรียนที่ และได้รับความร่วมมือจากชุมชน องค์กรชุมชน ส�ำนักงานฯ ได้ด�ำเนินการในพื้นที่โดยส�ำรวจ หน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานภาคเอกชน พื้นที่ ศึกษาจากความต้องการของชุมชน ปัญหา สอดคล้องกับแนวคิดของ อากีริส (Argyris) อ้างถึง ที่ชุมชนประสบ และน�ำทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น ใน วริศรา พุ่มดอกไม้ (Warisara Phumdokmai, มาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยความร่วมมือของ 2009) การบริหารแบบมีส่วนร่วมเป็นการจูงใจให้ ภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีความต้องการพัฒนาพื้นที่ ผู้ร่วมปฏิบัติงานในองค์การได้มีส่วนร่วมในการ ร่วมกัน ผลการศึกษาการด�ำเนินการของส�ำนักงาน ตัดสินใจ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมมือในการพัฒนา ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554 -2560 ส�ำนักงานฯ องค์การที่ปฏิบัติอยู่ด้วยความเต็มใจ เกิดความ ได้ด�ำเนินการเพื่อการพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า ส�ำนึกในหน้าที่ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงาน อย่างต่อเนื่องตลอดมา ส่งผลให้เกิดประโยชน์ ขององค์กร กับชุมชนอย่างแท้จริง สอดคล้องกับงานวิจัย 3. ประเด็นการถอดบทเรียน ส�ำนักงานฯ ของ สุวรรณา บัวพันธ์ (Buapan, 2011) ที่ได้ ได้ด�ำเนินการพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าเป็นล�ำดับ วิจัยโครงการการพัฒนากระบวนการสนับสนุน ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554 -2560 โดยเริ่มจาก โครงการวิจัยที่มีคุณภาพ ส�ำหรับพี่เลี้ยงงานวิจัย การศึกษาจากเอกสาร งานวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อท้องถิ่นภาคอีสาน พบว่าปัจจัยเงื่อนไขส�ำคัญ ลงส�ำรวจพื้นที่ พบผู้น�ำชุมชน ผู้บริหารท้องถิ่น ในการท�ำโครงการวิจัยให้ประสบผลส�ำเร็จมีหลาย นักวิชาการ นักวิจัย ที่ปรึกษาในกิจกรรมหรือ ปัจจัยเช่นเดียวกัน เช่น โจทย์วิจัยและปัญหา โครงการ ร่วมพัฒนาชุมชน โดยใช้ทรัพยากรของ การวิจัยต้องเป็นเรื่องของคนในชุมชนที่ส่วนใหญ่ ชุมชน องค์ความรู้และ ภูมิปัญญาของชุมชน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 139

เป็นฐานในการพัฒนาก่อให้เกิดประโยชน์อย่าง เป็นฐานในการพัฒนาก่อให้เกิดประโยชน์อย่าง ยั่งยืน โดยเรียนรู้จากบทเรียนกิจกรรมและ ยั่งยืน เนื่องจากชุมชนให้ความส�ำคัญกับทรัพยากร โครงการด�ำเนินการในพื้นที่ทั้งที่ประสบความ ท้องถิ่นเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดกระแสการอนุรักษ์เพิ่มขึ้น ส�ำเร็จและไม่ส�ำเร็จ เพื่อน�ำประสบการณ์ไปพัฒนา 3. การด�ำเนินการพัฒนาพื้นที่อย่าง ต่อยอดกิจกรรม โครงการและงานวิจัยที่เป็น ต่อเนื่อง โดยการต่อยอดกิจกรรม โครงการ หรือ ประโยชน์กับชุมชนและสิ่งแวดล้อม ซึ่งการ งานวิจัยท�ำให้เกิดประโยชน์กับชุมชนมีการ ด�ำเนินการพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าเป็นไปอย่าง พัฒนาเป็นรูปธรรมเกิดผลกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง ต่อเนื่อง สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และชุมชนเห็นความส�ำคัญส่งผลกับการเข้า และสภาพแวดล้อม สอดคล้องกับแนวคิดของ มีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรท้องถิ่น และหน่วยงาน รัตนา ดวงแก้ว (Daungkaew, 2008) และวิจารณ์ ภายนอก พานิช (Panich. 2005) ที่ว่าการถอดบทเรียน 4. การด�ำเนินกิจกรรมหรือโครงการ เป็นการเรียนรู้ถึงความส�ำเร็จ ความล้มเหลวจาก ควรมีเครือข่ายความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ การด�ำเนินกิจกรรมหรือโครงการที่ผ่านมา เพื่อแก้ไข ที่มีศักยภาพ และสามารถร่วมในกิจกรรม ปรับปรุงให้เหมาะสม และสอดคล้องกับ สุวรรณา หรือโครงการเพื่อการพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า บัวพันธ์ (Buapan, 2011) ได้วิจัยโครงการ อย่างยั่งยืน น�ำไปสู่ชุมชนสามารถต่อยอดการ การพัฒนากระบวนการสนับสนุนโครงการวิจัย พัฒนาและสามารถพึ่งพาตนเองได้ ที่มีคุณภาพ ส�ำหรับพี่เลี้ยงงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น 5. พื้นที่คุ้งบางกะเจ้ามีความโดดเด่น ภาคอีสาน ที่ว่าการด�ำเนินกิจกรรมต้องเป็นเรื่อง ด้านความเป็นพื้นที่สีเขียวและเป็นสวนผลไม้ ของคนส่วนใหญ่ เป็นความต้องการของชุมชน การพัฒนาควรมีการสนับสนุนและส่งเสริมให้เป็น ทีมงานมีองค์ประกอบมาจากกลุ่มคนหลายกลุ่ม แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ทางการเกษตรที่มีความ มีการน�ำเสนอข้อมูลสู่ชุมชน หลากหลาย การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ชุมชน 6. ควรมีการศึกษา ส�ำรวจพืชผลทาง ข้อเสนอแนะ การเกษตรเพื่อต่อยอดขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทาง 1. การด�ำเนินกิจกรรมหรือโครงการใน ภูมิศาสตร์เพิ่มขึ้น พื้นที่ โดยการศึกษาเรียนรู้จากเอกสาร งานวิชาการ 7. การพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าของ ที่เกี่ยวข้อง และการเข้าศึกษาชุมชน สัมผัสกับ ส�ำนักงานฯ อย่างต่อเนื่องตลอดระยะตั้งแต่ปี ชุมชนโดยตรง รับรู้สภาพปัญหาและความต้องการ งบประมาณ 2554 จนถึงปัจจุบันนั้น ฐานข้อมูล ของชุมชน และด�ำเนินการพัฒนาให้เหมาะสม ต่าง ๆ องค์ความรู้ การเข้าถึงชุมชน รวมถึงการ ตามความต้องการและสภาพของชุมชนท้องถิ่น เป็นแกนน�ำเครือข่ายองค์กรร่วมพัฒนาพื้นที่ จะเป็นประโยชน์กับชุมชนอย่างแท้จริง ซึ่งการด�ำเนินงานมาในทิศทางที่ถูกต้องมีความ 2. โครงการพัฒนาชุมชนโดยใช้ทรัพยากร เหมาะสมกับพื้นที่ตามความต้องการของท้องถิ่น ของชุมชน องค์ความรู้และภูมิปัญญาของชุมชน ดังนั้นส�ำนักงานฯ ควรอยู่ร่วมพัฒนาพื้นที่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 140

คุ้งบางกะเจ้าต่อไปเพื่อความยั่งยืนของพื้นที่อย่าง การสนับสนุน ดังนี้ ขอขอบพระคุณ ส�านักงาน แท้จริง พัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กิตติกรรมประกาศ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนงบประมาณ ท�าให้การ โครงการถอดบทเรียนผลการด�าเนินงาน ด�าเนินงานประสบความส�าเร็จ เกิดประโยชน์กับ ของ สภพ. ในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อ�าเภอพระประแดง ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ท�าให้การ จังหวัดสมุทรปราการ ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ด�าเนินงานส�าเร็จด้วยความรวดเร็ว ราบรื่น และชี้แนะจากผู้เกี่ยวข้อง และขอขอบคุณที่ให้ ทีมงานวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

REFERENCE

Boonchu, S. (1982). Kanphatthanachumchon: Chumchonsueksa Laewangphaen khrongkan. Bangkok: Thammasat University. (in Thai) Buapan, S. (2011). Research Counselors’ Facilitative Process Development of Quality Community-based Research Project in North-eastern Thailand. Journal of Liberal Arts Ubonratchathani Universtiy Vol 7, No 1 January-May 2011. (in Thai) Daungkaew, R. (2008). Khumue Kanthotbotrian Khrongkanphatthanachumchon. (Online). Retrieved May 14, 2008 from http://banprak-nfe.com/webbord/ index.php?topic=643.0 (in Thai) Panich, V. (2005). Kanchatkankhwamru Chabapnakpatibat. Bangkok: The Knowledge Management Institute Foundation. (in Thai) Phumdokmai, W. (2009). Kanmisuanruamkhonchumchon Naikanborihan Laechat kanriankanson Phueasoemsangchitsatharana (Research Report). Naresuan University. (in Thai) Phutthakosa, K. (2011). Khumue Kanphatthanachumchon Haengkanrianru. Bangkok: National Research Council of Thailand. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 141

บทความวิจัย

การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช อ.ป่าโมก จังหวัดอ่างทอง PARTICIPATORY IN TOURISM MANAGEMENT, DRUM MAKING VILLAGE AT PA MOK COUNTY, ANG THONG PROVINCE ขวัญมิ่ง ค�ำประเสริฐ1* เกรียงไกร โพธิ์มณี2 และ สุภาภรณ์ พรหมฤาษี3 Kwanming Khumprasert1*, Kreangkrai Photimanee2 and Supaporn Plomelersee3

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย3 Bachelor of Business Administration in Management Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University Bangkok, Thailand1*, 2 Bachelor of Business Administration in Management of Marketing, Management Science, Phranakhon Rajabhat University Bangkok, Thailand3

Email: [email protected]*

Received: 2019-01-04 Revised: 2019-02-28 Accepted: 2019-04-04

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน 2) วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค 3) ศึกษาการมีส่วนร่วมในด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยว และ 4) พัฒนาแผนการ ท่องเที่ยวของชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติ การแบบมีส่วนร่วม ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ผู้ผลิตกลองยาว ผู้น�ำชุมชน นายอ�ำเภอ นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ที่ปรึกษานายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล และเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนต�ำบล ผลการศึกษา พบว่า 1) ชาวบ้านได้รับการถ่ายทอดศิลปหัตกรรมการท�ำกลองที่เกิดจากความช�ำนาญเฉพาะตน 2) หมู่บ้านมีจุดแข็งในเรื่องของทุนทางวัฒนธรรม แต่จุดอ่อน คือ อ่างทองเป็นจังหวัดทางผ่าน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 142

ขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและใช้เพียงภาษาไทยเป็นหลักในการประชาสัมพันธ์ ส�ำหรับ โอกาส คือ การท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์โดยการใช้ทุนทางวัฒนธรรมที่มีอยู่ อุปสรรคที่ส�ำคัญ คือ นักท่องเที่ยวไทยยังไม่ค่อยให้ความส�ำคัญในเรื่องของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 3) ส�ำหรับกระบวนการมีส่วนร่วมของสมาชิก มีการรวมตัวอย่างไม่เป็นทางการ เป็นระบบ เครือญาติ 4) การพัฒนาการท่องเที่ยวในระดับมหภาค ควรต้องมีการบูรณาการกิจกรรมร่วมกับชุมชน อื่นๆ มีการประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง ส�ำหรับการพัฒนาการท่องเที่ยวในระดับจุลภาค คือ สมาชิกชุมชน ควรเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมอื่นนอกเหนือจากงานประเพณีกลอง

ค�ำส�ำคัญ: การมีส่วนร่วม การบริหารจัดการการท่องเที่ยว หมู่บ้านท�ำกลอง

ABSTRACT This research objectives were to 1) study the current situation 2) analyze the SWOT 3) study the participation process in tourism management and 4) develop the tourism planning of Akkarad drum making village, Pa Mok County, Ang Thong Province. The study was applied the participatory action research. The key informants were drum makers, community leaders, district- chief officer, chief of executive of the SAO, consultant and officer of subdistrict administrative organization. The research found that 1) The villagers are specialized on drum making. 2) The strength of village is on cultural asset while Angthong province is the bypass route. However, it’s lack of continuous in public relations and only use Thai language in publicizing. Though, Akkarad drum making village has the opportunity on experienced tourism by using cultural asset on drum making. The important treat is Thai tourists uninterested in cultural tourism. 3) The members participating process are formed as informal like relative. 4) For macro level planning in tourism, the government agencies should integrate community activities and promote public relations continuously. For micro level planning tourism, community members should participate in other activities than drum traditional festival.

Keywords: Participation, Tourism Management, Drum Village วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 143

บทน�ำ หมู่บ้านท�ำกลองเอกราช ตั้งอยู่อ�ำเภอ เป็น 8 หมู่บ้าน เป็นที่ราบลุ่ม อาชีพหลัก ท�ำนา ป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ซึ่งมีลักษณะคล้ายอ่าง ท�ำสวน/ท�ำไร่ อาชีพเสริม ท�ำกลองชนิดต่าง ๆ ไม่มีภูเขา ดินเป็นดินเหนียวปนทราย พื้นที่ส่วนมาก (Thaitambondotcom., 2016) อย่างไรก็ตาม เหมาะส�ำหรับการท�ำนาข้าว ท�ำไร่และท�ำสวน ปัจจุบัน ชาวบ้านในต�ำบลเอกราช ได้หันมาท�ำ มีแม่น�้ำสายส�ำคัญ 2 สายไหลผ่าน คือ แม่น�้ำ อาชีพท�ำกลองเป็นอาชีพหลักเป็นจ�ำนวนมาก เจ้าพระยา และแม่น�้ำน้อย โดยแม่น�้ำเจ้าพระยา และถือได้ว่าเป็นหมู่บ้านเดียวในประเทศไทย ไหลผ่านจังหวัดอ่างทองจากทิศเหนือไปทิศใต้ ที่อาชีพคนส่วนใหญ่ท�ำกลองเป็นอาชีพหลัก เป็นระยะทางยาวประมาณ 40 กิโลเมตร ไหลผ่าน โดยทั้งสองฟากถนนบริเวณหมู่บ้านเอกราช ท้องที่อ�ำเภอไชโย อ�ำเภอเมืองอ่างทอง และอ�ำเภอ จะเป็นร้านขายกลอง การผลิตกลองของหมู่บ้าน ป่าโมก ต่อจากนั้นไหลเข้าสู่เขตท้องที่อ�ำเภอ เอกราชส่วนใหญ่แล้วจะใช้แรงงานในท้องถิ่น บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนแม่น�้ำ หรือแรงงานในครอบครัว เพราะอาชีพการ น้อยนั้น เป็นแม่น�้ำที่แยกจากแม่น�้ำเจ้าพระยาที่ ท�ำกลองมีลักษณะที่แตกต่างกับการผลิตสินค้า อ�ำเภอเมืองชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท ประเภทอื่น เนื่องจากต้องใช้แรงงานฝีมือ กลองที่ จังหวัดสิงห์บุรี และผ่านอ�ำเภอโพธิ์ทอง อ�ำเภอ ท�ำการผลิตที่หมู่บ้านเอกราชมีหลายประเภท วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ไปบรรจบกับแม่น�้ำ ทั้งกลองสั้นและกลองยาว เช่น กลองเพล ตะโพน เจ้าพระยาอีกครั้งหนึ่งที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลองยาว และกลองที่เป็นของเด็กเล่น หรือของ จังหวัดอ่างทองเป็นจังหวัดเน้นในเรื่องงาน ที่ระลึก ที่เป็นที่ขึ้นชื่อ คือ กลองยาว นอกจากนี้ หัตถกรรมท้องถิ่นไม่ว่าจะเป็นงานปั้น ตุ๊กตา หมู่บ้านเอกราชยังมีการผลิตกลองส่งออกไป ชาววัง การท�ำกลอง การท�ำอิฐดินเผา หรือ ยังประเทศต่าง ๆ คือ ญี่ปุ่น ยุโรป อเมริกาและ การผลิตเครื่องจักสาน ทั้งยังเป็นแหล่งก�ำเนิด แอฟริกา (Komchadluek, 2011) การผลิตกลอง เพลงพื้นบ้านลิเก ส�ำหรับหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช ถือเป็นภูมิปัญญาที่ต้องได้รับการถ่ายทอดจาก เป็นหมู่บ้านที่เกิดในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวร บรรพบุรุษ ซึ่งภูมิปัญญาดังกล่าว เป็นลักษณะ มหาราช พระองค์ได้เสด็จยกทัพเพื่อไปรบพม่า ของการสืบทอดเคล็ดลับในแต่ละบ้านที่แตกต่าง จากกรุงศรีอยุธยา มาที่แม่น�้ำเจ้าพระยาบริเวณ กัน ส�ำหรับประเพณีที่ส�ำคัญ คือ การจัดพิธีไหว้ครู ปากคลองบางหลวง และทรงยกทัพผ่านต�ำบล กลองประจ�ำปี ซึ่งเป็นงานประเพณีของหมู่บ้าน ป่าโมกในระหว่างการพักค้างคืนทรงอธิษฐาน ท�ำกลอง เอกราช และเป็นที่รู้จักจากนักท่องเที่ยว ว่าให้ต่อสู้กับจระเข้ใหญ่ได้รับชัยชนะ รุ่งขึ้นทรง ชาวไทย อย่างไรก็ตาม การจัดพิธีไหว้ครูกลอง น�ำทัพท�ำพิธีตัดไม้ข่มนาม และประกาศเอกราช ประจ�ำปีจัดขึ้นเพียงปีละครั้ง จึงท�ำให้ชาวบ้าน ณ ทุ่งนาหนองสาหร่าย แต่นั้นมาบริเวณนี้ มีส่วนร่วมในบริหารจัดการท่องเที่ยวของหมู่บ้าน จึงเรียกว่า “บ้านเอกราช” ซึ่งปัจจุบันยกฐานะ ท�ำกลองเอกราชเพียงแค่ช่วงพิธีไหว้ครูประจ�ำปี เป็นต�ำบลดังปรากฏหนองสาหร่าย โดยแบ่งออก เท่านั้น และยังขาดการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 144

โอกาสและอุปสรรคของการบริหารจัดการ ขอบเขตผู้ให้ข้อมูลหลัก คือชุมชนหมู่บ้าน ท่องเที่ยว ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา การมีส่วนร่วม ท�ำกลอง หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวหมู่บ้าน ขอบเขตด้านระยะเวลา ระยะเวลาที่ใช้ ท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ในการศึกษาครั้งนี้ คือ มกราคม 2560 - มิถุนายน 2561 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของหมู่บ้าน การทบทวนวรรณกรรม ท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดการมีส่วนร่วม 2. เพื่อวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ได้อธิบายแนวคิดของการมีส่วนร่วมที่ส�ำคัญไว้ และอุปสรรค ของชุมชน 3 ส�ำนัก (Piyawat Bunlong Kanchana 3. เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม Kaewthep and Borworn Papasratorn, 2016) ในด้านการบริหารจัดการการท่องเที่ยวของชุมชน คือ 1) Arnstein (1969) ของ ที่เป็นผู้เสนอ “บันได แห่งการมีส่วนร่วมของพลเมือง” แบ่งออกเป็น ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 8 ขั้น คือ บันไดขั้นที่ 1 การจัดการแบบเบ็ดเสร็จ 1. เพื่อชุมชนได้เกิดกระบวนการมี โดยตรง บันไดขั้นที่ 2 การบ�ำบัดรักษา บันได ส่วนร่วมในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวชุมชน ขั้นที่ 3 การร่วมให้ข่าวสารข้อมูล บันไดขั้นที่ 4 หมู่บ้านท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัด การร่วมให้ค�ำปรึกษา บันไดขั้นที่ 5 การร่วม อ่างทอง แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น บันไดขั้นที่ 6 การร่วม 2. เพื่อได้แผนการบริหารจัดการ เป็นพันธมิตร บันไดขั้นที่ 8 การควบคุมการ การท่องเที่ยวหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอ ตัดสินใจโดยพลเมือง ซึ่งขั้นที่ 1 - 4 เป็นการมี ป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เพื่อให้ชุมชนมีรายได้ ส่วนร่วมแบบเทียม ส่วนขั้นที่ 5 - 8 เป็นการมี เพิ่มขึ้นจากการจ�ำหน่ายสินค้าของชุมชน ส่วนร่วมที่แท้จริง 2) 2. Cohen (1996) เป็นผู้ เสนอแนวคิดการมีส่วนร่วมในโครงการพัฒนา ขอบเขตของการวิจัย 4 ด้าน คือ เชิงการกระท�ำ/แรงงาน เชิงเงินตรา ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาแผนพัฒนา เชิงความรับผิดชอบ และเชิงการตัดสินใจ และ การท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์และทรัพยากร 3) สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การท่องเที่ยว ตลอดจนวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ปี 2547 ได้เสนอการมีส่วนร่วมของประชาชน โอกาสและอุปสรรคของ หมู่บ้านท�ำกลองเอกราช ในงานพัฒนา คือ การมีส่วนร่วมในการวางแผน อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง (planning) การมีส่วนร่วมในการด�ำเนินกิจกรรม ขอบเขตด้านพื้นที่ใช้ในการศึกษา คือ การมีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์ การมีส่วนร่วม หมู่บ้านท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัด ในการได้รับผลประโยชน์ และการมีส่วนร่วม อ่างทอง ในการประเมินผล วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 145

นอกจากนี้ยังได้แนวคิด การท่องเที่ยว การให้ข้อมูลข่าวสารกับนักท่องเที่ยว 3) System เชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ตลอดจน หมายถึง ระบบในการจัดการต้องมีความสัมพันธ์กัน การจัดการแหล่งท่องเที่ยว พบว่า รูปแบบการ ในการท�ำงานทุกขั้นตอน 4) Staff หมายถึง จัดการการท่องเที่ยวทของ 7’s Model ที่ Adhikary M. บุคลลากรต้องท�ำหน้าที่บริการได้ตามเป้าหมาย (Tuangkarn Watboon, Nuttaphol Mekdaeng, เพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความพึงพอใจ 5) Skill Netitham Kongcharoen, 2009) เสนอ มีดังนี้ หมายถึง ทักษะความช�ำนาญงานและประสิทธิภาพ 1) Strategy หมายถึง การที่กลยุทธ์ต้องประกอบ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย 3 อย่าง คือ ความรู้ ทักษะ ด้วยแผนงานที่สามารถปฏิบัติได้ และต้องเป็น และทัศนคติต่องาน 6) Style หมายถึง รูปแบบ ไปตามนโยบายการท่องเที่ยวในระดับชาติด้วย ในการด�ำเนินการในแต่ละพื้นที่จะมีความ 2) Structure หมายถึง โครงสร้างองค์กรต้อง แตกต่างกัน และ 7) Share หมายถึง การแบ่งปัน เป็นโครงสร้างองค์การที่ดีมีการแบ่งหน้าที่กัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความรู้ ความคิดเห็น อย่างเหมาะสม ท�ำงานเป็นเครือข่ายเชื่อมโยง เพื่อน�ำไปสู่การจัดการการท่องเที่ยวที่ดี มีผู้น�ำที่คอยก�ำกับ และสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือ

กรอบแนวคิดของการวิจัย

- ข้อมูลทรัพยากรการท่องเที่ยว ของหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง แผนการพัฒนาการท่องเที่ยว ข้อมูลภายในองค์กรและภายนอก หมู่บ้านท�ำกลองเอกราช จังหวัดอ่างทอง สภาพแวดล้อมภายใน - จุดแข็ง (Strength) - จุดอ่อน (Weakness) สภาพแวดล้อมภายนอก - โอกาส (Opportunity) - อุปสรรค (Treat) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 146

ระเบียบวิธีวิจัย กิจกรรมที่ 5 เข้าร่วมกิจกรรมไหว้ครูกลอง เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยใช้เทคนิค ประจ�ำปี 2560 ซึ่งเป็นการเข้าร่วมกับชุมชนและ การวิจัยแบบมีส่วนร่วม โดยทีมนักวิจัยได้ก�ำหนด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรม เกณฑ์ในการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลัก ดังนี้ กิจกรรมที่ 6 การประชุมนักวิจัย สรุปผล 1. ผู้ผลิตกลองยาว ในชุมชนหมู่บ้าน เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว ท�ำกลอง จังหวัดอ่างทอง ประกอบด้วย หมู่ 3 กิจกรรมที่ 7 การคืนข้อมูลสู่ชุมชน หมู่ 4 และหมู่ 6 (หมู่บ้านอื่น ๆ ประกอบอาชีพหลัก หมู่บ้านท�ำกลอง คือเกษตรกรรม) โดยรายชื่อผู้ผลิตกลองยาว กิจกรรมที่ 8 การสรุปแนวทางการ ต�ำบลเอกราช และเป็นผู้ที่ยินยอมเข้าร่วมการ พัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนหมู่บ้านท�ำกลอง ศึกษา โดยผู้เข้าร่วมโครงการกับทีมนักวิจัย อ�ำเภอป่าโมก มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบด้วย ส�ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทีมนักวิจัย ร้านสมควร ร้านสุวรรณ์กลองราช ร้านสนั่น ได้ท�ำการศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา ด้วยวิธีการ กลองยาว ร้านบ�ำรุง ร้านกลองหงส์ฟ้า และ ที่ใช้คือการอภิปรายถกปัญหา เพื่อแลกเปลี่ยน ร้านกลองเฉลิมชัย ความคิดเห็นกับชาวบ้านในชุมชน เพื่อประเมิน 2. ตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ ปัญหาและความต้องการของชุมชน ซึ่งเป็น บริหารจัดการการท่องเที่ยว ได้แก่ ผู้น�ำชุมชน ขั้นตอนแรกของการท�ำการวิจัยเชิงปฏิบัติการ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเอกราช นายอ�ำเภอ แบบมีส่วนร่วม ส�ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้ ที่ปรึกษานายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล และ ลักษณะการตีความข้อมูลที่ได้ พรรณนาโดยการ เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนต�ำบล ใช้เหตุผลจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ที่อาศัย ทั้งนี้ตลอดระยะเวลาการด�ำเนินงาน ความรู้เชิงทฤษฎีของทีมผู้วิจัย ประกอบด้วย ทีมผู้วิจัยได้มีกิจกรรมที่เกิดขึ้นทั้งสิ้นรวม 8 การวิเคราะห์ข้อมูล และการวิเคราะห์เนื้อหา กิจกรรม ซึ่งสรุปจากข้อมูลที่ได้จากภาคสนาม และจัดท�ำ กิจกรรมที่ 1 การสร้างความเข้าใจให้กับ ข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยการวิเคราะห์ข้อมูล คนในชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองเกี่ยวกับโครงการ จากกิจกรรมที่ได้ด�ำเนินการ และให้ชุมชนเข้ามา วิจัย มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลย้อนกลับ โดยนักวิจัย กิจกรรมที่ 2 การศึกษาข้อมูลทั่วไป ใช้วิธีการตรวจสอบแบบสามเส้า เพื่อน�ำไปสู่การ ข้อมูลเชิงวัฒนธรรมของชุมชนหมู่บ้านท�ำกลอง สรุปผลการวิจัย กิจกรรมที่ 3 การเข้าร่วมประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานภาครัฐ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย กิจกรรมที่ 4 การศึกษาข้อมูลศักยภาพ สรุปผลการวิจัย ชุมชน ด้านการท่องเที่ยวของชุมชนหมู่บ้าน ผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ท�ำกลอง ตามวัตถุประสงค์ และกรอบแนวคิดการวิจัย ดังนี้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 147

1. การศึกษาบริบทของธุรกิจชุมชน เอกราช ได้มีการจัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตกลองชุมชน หมู่บ้านท�ำกลองเอกราช การมีส่วนร่วมในการ ขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าไปยังลูกค้า บริหารจัดการการท่องเที่ยวของหมู่บ้านท�ำกลอง นอกจากนี้ยังเป็นชุมชนท�ำกลองที่เป็นมรดก เอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง สืบทอดมามากกว่า 70 ปี โดยมีทุนทางประเพณี 2. การก�ำหนดปัญหา วัฒนธรรมเกี่ยวกับกลองอาทิเช่น พิธีไหว้ครูกลอง 3. การวางแผนปฏิบัติการวิจัย รวมถึงการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาผสมผสาน 4. การติดตาม ตรวจสอบและปรับปรุง ในการท�ำกลองตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จึงท�ำให้ 5. การสรุปผลการวิจัย ชุมชนนี้มีจุดเด่นและสามารถผลิตกลองที่มี ขั้นที่ 1 การศึกษาบริบทของธุรกิจชุมชน คุณภาพที่ดี อีกทั้งยังสามารถผลิตกลองที่เป็น หมู่บ้านท�ำกลองเอกราช การมีส่วนร่วมการ เอกลักษณ์ของแต่ละประเทศได้อีกด้วย ส่งออก บริหารจัดการท่องเที่ยวหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช ขายไปทั่วโลกและเป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติ อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทองสภาพปัจจุบันของ ปัจจุบันเป็นหมู่บ้านท�ำกลองและศูนย์ซ่อมกลอง ชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช ลักษณะชุมชน แห่งเดียวที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย หมู่บ้านท�ำกลอง ตั้งอยู่อ�ำเภอป่าโมก จังหวัด ทีมผู้วิจัยได้ท�ำการศึกษาถึงบริบทของ อ่างทอง โดยเป็นชุมชนที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จัก ชุมชนจากเอกสาร งานวิจัยต่างๆ และการสัมภาษณ์ อย่างกว้างขวางในหมู่ชาวไทยและชาวต่างชาติ ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล ทางด้านการท�ำกลองของประเทศไทย อาทิ เอกราช และกลุ่มท�ำกลองต�ำบลเอกราช สามารถ กลองเพล กลองทัด กลองญี่ปุ่น กลองสิงโต สรุปผลการศึกษาโดยแบ่งออกเป็น 3 ประเด็น คือ กลองยาว กลองตะโพนชาตรี กลองเปิงมางคอก 1) ลักษณะชุมชนหมู่บ้านท�ำกลอง อ�ำเภอป่าโมก กลองร�ำวง กลองตะโพน กลองแขก กลองร�ำมะนา จังหวัดอ่างทอง 2) ประเภทของผลิตภัณฑ์ชุมชน เป็นต้น โดยหมู่บ้านท�ำกลองถือเป็นหมู่บ้าน กลุ่มผู้ผลิต และ 3) จ�ำนวนกลุ่มผู้ผลิตของชุมชน ต้นแบบหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ของ หมู่บ้านเอกราช จังหวัดอ่างทอง ดังนี้ อ�ำเภอป่าโมก จังวัดอ่างทอง สมัยก่อนเมื่อว่าง ประเด็นที่ 1 ลักษณะชุมชนหมู่บ้าน จากการท�ำนาก็หันมาท�ำกลอง โดยได้รับการ ท�ำกลอง อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง มีชื่อเสียง สืบทอดจากบรรพบุรุษมาจนถึงปัจจุบัน ในช่วง และเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในหมู่ชาวไทย แรกที่เริ่มท�ำกลอง เครื่องไม้เครื่องมือยังไม่พร้อม และชาวต่างชาติทางด้านการท�ำกลองของ เท่าทุกวันนี้ ต้องอาศัยแรงงานในชุมชนมาช่วยกัน ประเทศไทย อาทิ กลองเพล กลองทัด กลองญี่ปุ่น ท�ำ และหลังจากที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ กลองสิงโต กลองยาว กลองตะโพนชาตรี กลอง สยามบรมราชกุมารี ทรงสนับสนุนและส่งเสริม เปิงมางคอก กลองร�ำวง กลองตะโพน กลองแขก ให้มีการอนุรักษ์ เครื่องดนตรีไทย ท�ำให้ประชาชน กลองร�ำมะนา เป็นต้น โดยหมู่บ้านท�ำกลอง ตระหนักถึงความส�ำคัญของเครื่องดนตรีไทย ถือเป็นหมู่บ้านต้นแบบหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ มากขึ้น จึงเกิดการร่วมแรงร่วมใจของชุมชน (OTOP) ของอ�ำเภอป่าโมก จังวัดอ่างทอง สมัยก่อน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 148

เมื่อว่างจากการท�ำนาก็หันมาท�ำกลอง โดยได้รับ กลองเปิงมาก (คอก) กลองสะบัดชัย กลองสิงโต การสืบทอดจากบรรพบุรุษมาจนถึงปัจจุบัน กลองป๋องแป๋ง กลองโทน กลองแชมเป้ กลอง ในช่วงแรกที่เริ่มท�ำกลอง เครื่องไม้เครื่องมือ นานาชาติ (อาเซียน) กลองออมสิน กลองยาว ยังไม่พร้อมเท่าทุกวันนี้ ต้องอาศัยแรงงาน กลองบัณเฑาะว์ กลองตะโพนมอญ กลองแดง ในชุมชนมาช่วยกันท�ำ และหลังจากที่ สมเด็จ และกลองร�ำวง พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทั้งนี้ในปี พ.ศ. 2556 องค์การบริหาร ทรงสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ ส่วนต�ำบลเอกราช จังหวัดอ่างทอง ได้รับรางวัล เครื่องดนตรีไทย ท�ำให้ประชาชนตระหนักถึง ดีเด่นประเภทองค์กรสนับสนุนและส่งเสริม ความส�ำคัญของเครื่องดนตรีไทยมากขึ้น จึงเกิด การท่องเที่ยว (ภาครัฐ) การประกวดรางวัล การร่วมแรงร่วมใจของชุมชนเอกราช ได้มีการ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism จัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตกลองชุมชนขึ้น เพื่อเป็น Awards) ครั้งที่ 9 ศูนย์กลางกระจายสินค้าไปยังลูกค้า โดยในปี พ.ศ. 2557 กระทรวง ชุมชมเอกราช ต�ำบลเอกราช อ�ำเภอ วัฒนธรรมได้มอบรางวัลวัฒนคุณากร เพื่อแสดง ป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็นชุมชนท�ำกลอง ว่า องค์การบริหารส่วนต�ำบลเอกราช เป็นผู้ท�ำ ที่เป็นมรดกที่สืบทอดมามากกว่า 70 ปี โดยมี คุณประโยชน์ด้านส่งเสริมงานศาสนาศิลปะ และ ทุนทางประเพณีวัฒนธรรมเกี่ยวกับกลอง อาทิ วัฒนธรรม ประเภทองค์กร เนื่องจากองค์การ เช่น พิธีไหว้ครูกลอง รวมถึงการใช้ภูมิปัญญา บริหารส่วนต�ำบลเอกราชถือว่าเป็นองค์การที่ให้ ท้องถิ่นมาผสมผสานในการท�ำกลองตั้งแต่อดีต การสนับสนุนหมู่บ้านท�ำกลองในการสืบสาน จนถึงปัจจุบัน จึงท�ำให้ชุมชนนี้มีจุดเด่นและ วัฒนธรรมการท�ำกลอง และมีส่วนร่วมในประเพณี สามารถผลิตกลองที่มีคุณภาพที่ดี อีกทั้งยัง การไหว้ครูกลองประจ�ำปีเห็นได้ว่า องค์การบริหาร สามารถผลิตกลองที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละ ส่วนต�ำบลเอกราช ได้ด�ำเนินการแบบบูรณาการ ประเทศได้อีกด้วย ส่งออกขายไปทั่วโลกและเป็น ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยเน้นผลิตภัณฑ์ ที่รู้จักของชาวต่างชาติ ปัจจุบันเป็นหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับชาวบ้าน ท�ำกลองและศูนย์ซ่อมกลองแห่งเดียวที่ใหญ่ที่สุด ในชุมชน ในประเทศไทย ประเด็นที่ 3 ประเภทกลุ่มผู้ผลิต ประเด็นที่ 2 ประเภทของผลิตภัณฑ์ และจ�ำนวนกลุ่มผู้ผลิตของชุมชน หมู่บ้าน ชุมชน ของชุมชนหมู่บ้านเอกราช จังหวัดอ่างทอง ท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง จากการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยต่าง ๆ และ จากการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยต่าง ๆ และ การสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง ทีมผู้วิจัยได้สรุป การสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง ทีมผู้วิจัยได้สรุป ประเภทของผลิตภัณฑ์ชุมชน ของชุมชนหมู่บ้าน ผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มผู้ผลิต และจ�ำนวนกลุ่ม เอกราช จังหวัดอ่างทอง ดังนี้ กลองทัด กลองตุ๊ก ผู้ผลิตของชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอ กลองแขก กลองตะโพนไทย กลองร�ำมะนา ป่าโมก จังหวัดอ่างทอง พบว่า ผู้ผลิตกลองยาว วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 149

มีจ�ำนวน 27 ราย ได้แก่ ร้านลูกพ่อสวิง ร้าน แห่งนี้ยังคงอนุรักษ์การผลิตกลองแบบไทยมาอย่าง สุวรรณราชกลองราช ร้านสมจิตร ร้านสมใจ ต่อเนื่องยาวนาน ร้านประจบ ร้านเนียมพันธ์กลองไทย ร้าน นอกจาการการเยี่ยมชมกรรมวิธีการ เพยราตรีเนียมพันธ์ ร้านสยามกลองยาว ท�ำกลองแล้ว หมู่บ้านเอกราชยังได้มีการรวมตัว ร้านเฉลิมชัย ร้านทิวา ร้านกลองก�ำนันยุทธ กันจัดพิธีไหว้ครูกลองเป็นงานประจ�ำปี เพื่อด�ำรง ร้านกลองลุงเหลี่ยม ร้านกลองก�ำนันหงส์ฟ้า และรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมไทยไว้อย่าง ร้านทองล้วน ร้านลออง ร้านบ�ำรุงกลองยาว เต็มเปี่ยม เป็นสังคมไทยที่ต้องเกี่ยวข้องกับ ร้านคะนึง ร้านสมควร ร้านสมพิศ ร้านลัดดา พิธีกรรมความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์และนับถือ ร้านล�ำดวน ร้านกลองทองล้วน ร้านกลองวีระ บูชาครู ดังนั้น การท�ำกลองจึงมีพิธีกรรมและ และร้านล�ำภู ความเชื่อโดยเฉพาะ ซึ่งมีการสืบเนื่องต่อกันมา ประเด็นที่ 4 การมีส่วนร่วมการ จนเป็นประเพณีของแหล่งหมู่บ้านกลองเอกราช บริหารจัดการการท่องเที่ยวหมู่บ้านท�ำกลอง ก่อนที่จะเริ่มท�ำกลองได้ จะต้องประกอบพิธี เอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ยกครูกลอง ส�ำหรับผู้เริ่มหัดท�ำกลองเป็นครั้งแรก รูปแบบของการท่องเที่ยวหมู่บ้าน ในพิธีประกอบไปด้วยผู้ท�ำพิธี คือ ครูโขน ซึ่งเป็น ท�ำกลองเอกราช อ�ำเภอปากโมก จังหวัดอ่างทอง ชายที่สามารถท่องจ�ำและอ่านบทสวดได้ และ เป็นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม นักท่องเที่ยว เป็นที่นับถือของคนทั่วไป เครื่องเซ่น เช่น หัวหมู จะเข้ามาเยี่ยมชมกรรมวิธีการท�ำกลอง ตั้งแต่ เป็ด ไก่ มะพร้าว กล้วย ข้าวตอก ไข่ เหล้า เริ่มกลึงท่อนไม้ ไปจนถึงขั้นตอนการขึ้นกลอง ขนมหวานและดอกไม้ จะท�ำพิธีกันเฉพาะวัน การฝังหมุด ส�ำหรับกลองที่ท�ำมีตั้งแต่ขนาดเล็ก พฤหัสบดี เดือนเก้า ข้างแรม จะเป็นแรมกี่ค�่ำ ถึงใหญ่ เช่น กลองทัด กลองสั้น กลองยาว ก็ได้ แล้วแต่ความสะดวก พิธีไหว้ครูกลอง กลองร�ำวง และกลองเพลที่ใช้ในวัด จนกระทั่ง ในทุก ๆ ปีจะมีการไหว้ครูกลองครั้งแรกโดย กลองขนาดเล็กจิ๋วส�ำหรับเป็นของที่ระลึกและ ชาวบ้านที่มีอาชีพในการท�ำกลอง ต้องท�ำพิธีไหว้ครู ยังสามารถซื้อกลับบ้านได้อีกด้วย นอกจาก ในวันพฤหัสบดี มีเครื่องเซ่นไหว้ เช่นเดียวกับ กรรมวิธีการท�ำกลองแล้วที่หมูบ้านเอกราชยังมี พิธียกครูกลอง มีการนัดหมายจัดร่วมกันที่บ้านใด กลองยาวที่ยาวที่สุดในโลกก็ว่าได้ โดยมีขนาด บ้านหนึ่ง นับเป็นงานพิธีที่ท�ำให้เกิดความสามัคคี หน้ากลองกว้าง 36 นิ้ว 92 เซนติเมตร ยาว อีกด้วย 7.6 เมตร ท�ำจากไม้จามจุรีต่อกัน 6 ท่อน กลองใบนี้ จังหวัดอ่างทองได้เล็งเห็นความ ถือเป็นเอกลักษณ์ของหมู่บ้านท�ำกลองใบนี้ ส�ำคัญของชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช ตั้งเด่นตระหง่านอยู่หน้าบ้านของ ก�ำนันหงส์ฟ้า ซึ่งสามารถน�ำทุนทางวัฒนธรรม และภูมิปัญญา หยดย้อย ผู้สร้างกลองขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2537 ท้องถิ่น มาเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดยน�ำมา และใช้เวลาสร้างราว 1 ปี แม้ปัจจุบันหมู่บ้าน ส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ท�ำกลองจะมีไม่มากในประเทศไทย แต่ที่หมู่บ้าน มากขึ้น จึงมอบหมายให้ส�ำนักงานการท่องเที่ยว วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 150

และกีฬาจังหวัดอ่างทองและอ�ำเภอป่าโมก ทางวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง เนื่องจากมีอาชีพหลัก จัดท�ำโครงการเพื่อเสนอของบประมาณจากกลุ่ม ในการท�ำกลองโดยมีการสืบต่อรุ่นต่อรุ่นและ จังหวัดภาคกลางตอนบน ประกอบด้วย ลพบุรี, มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ ชุมชน สิงห์บุรี, ชัยนาท, อ่างทอง เพื่อมาด�ำเนินการ มีท�ำเลที่ตั้งที่สะดวกต่อการเดินทาง ชาวบ้าน โครงการในรูปแบบของการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนมีอัธยาศัยที่ดี เป็นมิตรต่อนักท่องเที่ยว เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด ในชื่องาน ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่นักท่องเที่ยวสามารถเดินชม “งานมหกรรมกลองนานาชาติและพิธีไหว้ครูกลอง” ตามเส้นทางถนนหมู่บ้านท�ำกลองได้แทบทุกบ้าน ส�ำหรับวัตถุประสงค์ของการจัดงานคือ เพื่อเป็น จุดอ่อน จังหวัดอ่างทองเป็นจังหวัด การส่งเสริมภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมประเพณี ทางผ่าน ท�ำให้นักท่องเที่ยวไม่แวะในสถานที่ ท้องถิ่นวิถีชีวิตพื้นบ้านของชุมชนต�ำบลเอกราช ท่องเที่ยว เนื่องจากไม่ทราบในสถานที่ท่องเที่ยว หมู่บ้านท�ำกลองและจังหวัดอ่างทอง อีกทั้ง ในจังหวัด ชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองยังไม่ได้มีการ เป็นการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลป ก�ำหนดอัตลักษณ์ของแต่ละบ้านที่ชัดเจนว่า วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนต�ำบล มีความถนัดในเรื่องใดและยังไม่มีการก�ำหนด เอกราช ให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย และเป็น เส้นทางการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ยังขาดบุคลากร การเพิ่มจ�ำนวนนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาว ที่จะพัฒนาการท่องเที่ยว เช่น มัคคุเทศก์ ส�ำหรับ ต่างชาติ เพื่อสร้างรายได้ให้กับท้องถิ่น เพื่อเป็น การประชาสัมพันธ์ของชุมชนหมู่บ้านท�ำกลอง การอนุรักษ์สืบสานและเผยแพร่วัฒนธรรมการ โดยผ่านสื่อต่าง ๆ มีการใช้เป็นภาษาไทยอย่างเดียว ท�ำกลอง ขนบธรรมเนียมประเพณีไหว้ครูกลอง ท�ำให้นักท่องเที่ยวต่างชาติไม่ทราบข้อมูล และ ให้คงอยู่สืบไป จังหวัดอ่างทองได้จัดกิจกรรมส่งเสริม แม้ว่าจะเป็นหมู่บ้านท�ำกลองมาเป็นระยะเวลา การท่องเที่ยวโดยจัดงานมหกรรมกลองนานาชาติ ที่ยาวนาน แต่เป็นที่รู้จักในเฉพาะกลุ่มสนใจ ประจ�ำปี โดยมีแนวคิดที่น�ำวิถีวัฒนธรรมพื้นบ้าน งานกลอง เท่านั้น ที่โดดเด่นคือการค�ำกลอง การแสดงศิลปวัฒนธรรม โอกาส การท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ ต่าง ๆ เกี่ยวกับกลอง ทั้งของไทยและต่างชาติ โดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมเป็นที่นิยมในหมู่ ออกมาน�ำเสนออย่างยิ่งใหญ่ ตั้งแต่การจัดขบวน นักท่องเที่ยว จังหวัดอ่างทองมียุทธศาสตร์การ แห่กลองชนิดต่าง ๆ การจัดแสดงนิทรรศการ พัฒนาจังหวัด พัฒนาชุมชนน่าอยู่ น่าเที่ยว ท�ำให้ การแสดงบนเวที และการจัดพิธีการไหว้ครูกลอง หมู่บ้านในจังหวัดอ่างทองได้รับการส่งเสริมอาชีพ ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์สภาพการณ์ และวิถีชีวิตเพื่อเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทีมผู้วิจัยได้ท�ำการศึกษาจากเอกสาร นอกจากนี้ยังเป็นจังหวัดที่เป็นที่สนใจของ งานวิจัยต่าง ๆ และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง สื่อมวลชนที่จะเข้ามาช่วยประชาสัมพันธ์ และ เพื่อท�ำการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและ นโยบายของรัฐบาลสนับสนุนการท่องเที่ยว อุปสรรคหมู่บ้านท�ำกลองเอกราช ดังนี้ ท�ำให้ชุมชนตื่นตัวในเรื่องของการส่งเสริมการ จุดแข็ง ชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองมีทุน ท่องเที่ยวในระดับชุมชน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 151

อุปสรรค นักท่องเที่ยวไทยไม่ได้ให้ความ ประเพณีกลอง แต่ในส่วนของบุคคลภายนอก สนใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเท่าไรนัก หรือคนต่างถิ่นถือว่ามีจ�ำนวนน้อย งานด้านการ นอกจากนี้นักท่องเที่ยวต่างชาติมีจ�ำนวนลดลง ท่องเที่ยวจึงเป็นเสมือนงานประเพณีในหมู่บ้าน เนื่องจากปัญหาภาวะเศรษฐกิจ สถานการณ์ เท่านั้น ทั้งนี้คนต่างถิ่นจะเข้าร่วมในประเพณี น�้ำท่วม ของอ�ำเภอป่าโมกเป็นประจ�ำทุก ๆ ปี ไหว้ครูกลองเป็นส่วนใหญ่ ท�ำให้นักท่องเที่ยวไม่สามารถเข้ามาท่องเที่ยว 4. ในการจัดงานประเพณีเพื่อการ ในเส้นทางนี้ได้ ตลอดจนคนในชุมชนก็ไม่สามารถ ท่องเที่ยว มีเพียงงานประเพณีกลองประจ�ำปี ผลิตกลองได้เช่นกัน และปัญหาทรัพยากรที่มี เท่านั้น ซึ่งชาวบ้านในหมู่บ้านนิยม จะเข้าไปมี จ�ำกัด เช่น หนังควาย หรือไม้ที่ผลิตท�ำกลอง ส่วนร่วมในการประชุม เพื่อก�ำหนดกิจกรรมต่าง ๆ อาจประสบภาวะขาดแคลนได้ในอนาคต ซึ่งอาจ ในงานประเพณีตลอดจนการก�ำหนดงบประมาณ จะส่งผลต่อการผลิตกลองได้ในอนาคต เนื่องจาก เช่น การไหว้ครูกลอง การจัดการกิจกรรมบนเวที วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตต้องมีการคัดสรร และ การจัดขบวนรถกลอง และการประชาสัมพันธ์ เป็นงานที่ใช้แรงงานฝีมือ 5. โดยส่วนใหญ่ชาวบ้านในหมู่บ้าน ขั้นที่ 3 ขั้นการวางแผนปฏิบัติการ ท�ำกลองสามารถเป็นผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการ วิจัย ท�ำกลองให้กับนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี ในขั้นตอนนี้ ทีมผู้วิจัยใช้วิธีการสังเกต เพราะเป็นภูมิปัญญาที่แต่ละบ้านมีอัตลักษณ์ สนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์ ตลอดจนการ พิเศษที่แตกต่างกันไป เข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการต่าง ๆ ของงาน 6. ผู้ที่เข้าร่วมในประเพณีไหว้ครูกลอง ประเพณีท�ำกลอง สามารถสรุปประเด็นที่ส�ำคัญ มีความสนใจในการจัดแสดงนิทรรศการ การแสดง ได้ดังนี้ บนเวที ฯลฯ โดยงานประเพณีนี้ถือเป็นการแสดง 1. ผู้ที่ส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ความสามัคคีของชุมชน เพราะแต่ละบ้านจะจัด ท่องเที่ยวในหมู่บ้านท�ำกลอง คือ ผู้ที่มีอายุอยู่ช่วง รถกลองประดับดอกได้ และถือเป็นศิลปวัฒนธรรม วัยกลางคนและวัยสูงอายุ ปัญหาหนึ่งที่พบ คือ ประเพณีท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น การหาผู้สืบทอดการท�ำกลอง 7. คนที่มาร่วมงานประเพณีกลองมีความ 2. หน่วยงานราชการมีส่วนร่วมในการ ตั้งใจที่จะมาร่วมงานทุกปี และพร้อมที่จะเข้าร่วม บริหารจัดการท่องเที่ยวหมู่บ้านท�ำกลองกับชาวบ้าน ในกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะพิธีพราหมณ์ พิธี ในหมู่บ้าน ซึ่งในขั้นต้น อบต.ได้พยายามให้มีการ ครอบครู ตลอดจนพร้อมสนับสนุนเผยแพร่ให้มี พัฒนาผลิตภัณฑ์กลองเพื่อเป็น OTOP ในระดับ การรับรู้ประเพณีและแหล่งท�ำกลอง เพื่อให้ สามดาวและสี่ดาวก่อนที่จะมีการพัฒนาการ นักท่องเที่ยวได้รับทราบถึงแหล่งท่องเที่ยว ท่องเที่ยวในหมู่บ้าน หมู่บ้านท�ำกลอง 3. ผู้ผลิตหรือผู้ขายกลองในแต่ละบ้าน 8. การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับหมู่บ้าน มีการส่งขบวนกลอง หรือกลองยาวเข้าร่วมงาน ท�ำกลอง ตลอดจนประเพณีต่าง ๆ ที่จัดขึ้น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 152

ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้มากกว่านี้โดยเพิ่ม ที่เกี่ยวข้องเพื่อยกระดับความร่วมมือ โดยควรให้ ไปยังจังหวัดอื่น ๆ ด้วย เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยมีการแบ่งหน้าที่กัน นักท่องเที่ยวเกิดความสนใจ อย่างชัดเจนและเหมาะสม 7. การจัดกิจกรรมควรมีการบูรณาการ 3. ระบบการจัดการท่องเที่ยว (system) จากจังหวัดอื่น ๆ เพื่อเป็นการดึงให้คนต่างถิ่น ควรต้องสร้างโปรแกรมการจัดการท่องเที่ยว เข้ามาเที่ยวในพื้นที่ เช่น การแข่งขันท�ำกลอง โดยการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เป็น จากจังหวัดอื่น ๆ นอกจากนี้ ควรจัดรูปแบบ ประโยชน์ เช่น การใช้ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ FB การจัดกิจกรรมที่หลากหลายที่สามารถดึงดูด 4. ผู้มีส่วนร่วม (staff) หมู่บ้านท�ำกลอง นักท่องเที่ยวมาเที่ยวได้เพิ่มขึ้น และสร้างรายได้ เอกราชควรต้องมีการพัฒนานักเรียนให้พื้นที่ ให้กับประชาชนในพื้นที่มากขึ้น ให้เป็นเยาวชนมัคคุเทศก์ เพื่อที่จะสามารถให้ 8. วิถีชีวิตของชาวบ้านในหมู่บ้าน บริการนักท่องเที่ยว และเป็นการพัฒนาท้องถิ่น ท�ำกลองมีวิถีชีวิตที่เริ่มเปลี่ยนแปลงจากการ อย่างยั่งยืน เป็นสังคมชนบทเข้าสู่การเป็นสังคมเมืองมากขึ้น 5. ทักษะความช�ำนาญงาน (skill) 9. จากการสัมภาษณ์ในชุมชน พบว่า หมู่บ้านท�ำกลองเป็นหมู่บ้านที่มีทักษะในการ มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาสอบถามชุมชนท�ำ ท�ำกลองอย่างโดดเด่น เรียกได้ว่า เป็นหมู่บ้าน กลองในลักษณะของการท�ำโฮมสเตย์ ซึ่งชาวบ้าน ท�ำกลองที่มีชื่อเสียงในระดับประเทศ แต่การ ในชุมชนไม่ค่อยเห็นด้วย ที่จะพัฒนาให้เกิดการท่องเที่ยวได้ ทักษะที่ส�ำคัญ ขั้นที่ 4 ขั้นการติดตาม ตรวจสอบและ อีกประการ คือ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ซึ่งจะ ปรับปรุง ช่วยให้มีนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเดินทาง ทีมนักวิจัยได้น�ำข้อมูลที่ได้จากการประชุม มายังหมู่บ้านท�ำกลอง แบบมีส่วนร่วม มาน�ำเสนอเป็นแผนพัฒนา 6. รูปแบบการด�ำเนินการ (style) แม้ว่า การท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ โดยใช้รูปแบบ ในรูปแบบการด�ำเนินการท่องเที่ยว องค์การบริหาร การจัดการการท่องเที่ยวแบบ 7S Model ส่วนต�ำบล หน่วยงานภาครัฐและผู้ประกอบการ 1. กลยุทธ์ (strategy) หมู่บ้านท�ำกลอง จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม แต่ควรต้อง เอกราชควรต้องปรับแผนงานการท่องเที่ยว ยกระดับการมีส่วนร่วมในระดับชุมชน โดยการสร้างความร่วมมือกับระดับอ�ำเภอ หรือ 7. การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ระดับจังหวัด เพื่อสร้างเป็นเครือข่ายความร่วมมือ (share value) ชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองควรต้อง ตลอดจนพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในระดับ ศึกษาแลกเปลี่ยน ประสบการณ์กับชุมชนที่ ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เป็นต้นแบบของการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ 2. โครงสร้างองค์กร (structure) หมู่บ้าน เพื่อให้เห็นตัวอย่างของการบริหารจัดการ ท�ำกลองเอกราชควรก�ำหนดโครงสร้างความร่วม ท่องเที่ยวที่ดี มือกับชุมชน หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงาน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 153

ขั้นที่ 5 การสรุปผลการวิจัย Pamok Thailand ซึ่งจะช่วยให้นักท่องเที่ยว ทีมนักวิจัยได้สรุปแผนการท่องเที่ยว ดังนี้ ต่างประเทศสามารถเห็นถึงวัฒนธรรมชุมชน แผนพัฒนาการท่องเที่ยวในระดับ หมู่บ้านท�ำกลองเอกราชได้เป็นรูปธรรม และ มหภาค : หน่วยงานภาครัฐควรต้องมีการ จัดท�ำสถานที่ท่องเที่ยวโดยใช้แผนที่ระบบ บูรณาการกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับชุมชนอื่น ๆ เทคโนโลยี google map เนื่องจากในปัจจุบัน เช่น การจัดงานมหกรรมของของดีแต่ละอ�ำเภอ การใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทส�ำคัญ และควรต้องมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวและ ในเรื่องของการท่องเที่ยว ทีมนักวิจัยจึงได้ท�ำ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ควบคู่กันไป เพื่อสร้าง การส�ำรวจแล้วพบว่า ในระบบ google map แรงจูงใจให้กับนักท่องเที่ยว ตลอดจนส่งเสริม ที่ทั่วโลกใช้ยังไม่มีการระบุหมู่บ้านท�ำกลองเข้าไป ให้มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ในแผนที่ ควรส่งเสริมให้จังหวัดอ่างทองเป็นจุดแวะท่องเที่ยว อภิปรายผลการวิจัย ของนักท่องเที่ยว เนื่องจากในปัจจุบันอ่างทอง จากผลการวิจัยในเรื่องจุดแข็งทาง เป็นเพียงจังหวัดที่เป็นทางผ่านเพื่อเชื่อมต่อไป วัฒนธรรมของชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองพบว่า ยังจังหวัดอื่น ๆ มีความสอดคล้องกับประเด็นของการท่องเที่ยว แผนพัฒนาการท่องเที่ยวในระดับ เชิงสร้างสรรค์ ในเรื่องมรดกทางวัฒนธรรม จุลภาค: การพัฒนาแผนการท่องเที่ยวควรให้ (cultural heritage) ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวที่ ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในระดับที่เป็นทางการ เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมดั้งเดิม โดยการท�ำกลอง ควรมีการปรับปรุงกระบวนการบริหารจัดการ ของชุมชนหมู่บ้านท�ำกลองถือเป็นว่างานศิลปะ โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมอื่น ๆ ฝีมือประเภทหนึ่งที่ต้องอนุรักษ์ไว้ เนื่องจาก นอกเหนือจากงานประเพณีไหว้ครูกลอง เพื่อเป็น การท�ำกลองเป็นงานที่ไม่สามารถใช้เครื่องจักร การสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมซึ่งต้องใช้ระยะ ทดแทนได้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เวลา นอกจากนี้ควรปรับรูปแบบประเพณีโดยให้ Klinmuenwai (2016) ที่ศึกษาวิจัยเรื่อง ศักยภาพ นักท่องเที่ยวเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมที่สามารถ และแนวทางการจัดการการท่องเที่ยวชุมชน ท�ำได้ในงานประเพณีกลอง และควรต้องมีการ ล�ำปางหลวง อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง ให้ความรู้นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับกลองและประเพณี ที่ผลการศึกษา พบว่า ศักยภาพการท่องเที่ยว ต่าง ๆ ในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการ ที่นักท่องเที่ยวให้ความส�ำคัญอยู่ในระดับมาก ปรับกิจกรรมให้มีความน่าสนใจโดยให้นักท่องเที่ยว มี 6 ด้าน คือ 1) อัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยว เข้ามามีส่วนร่วม ตลอดจน ควรสร้างแผนที่การ 2) ด้านความสามารถในการเข้าถึง 3) ด้าน ท่องเที่ยวให้กับชุมชนหรือการประชาสัมพันธ์ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก 4) ด้านสถานที่พักแรก โดยใช้ทั้งภาษาไทยและอังกฤษควบคู่กัน 5) ด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว และ 6) ด้าน นอกจากนี้ ทีมนักวิจัยได้มีการจัดท�ำเพจ บริการเสริมอื่น ๆ เช่น การเดินทางที่สะดวกสบาย เป็นภาษาอังกฤษ โดยใช้ชื่อว่า Drum Village, วำรสำรวิชำกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนคร 154

อย่ำงไรก็ตำม จุดที่ควรพัฒนำของ ด้ำนกำรมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำประชำชน ชุมชนหมู่บ้ำนท�ำกลองคือ เรื่องของกำร มีส่วนร่วมน้อยเนื่องจำกกำรบริหำรจัดกำร ประชำสัมพันธ์ซึ่งสอดคล้องกับงำนวิจัยของ มีเจ้ำของพื้นที่ท่องเที่ยวและหน่วยงำนภำครัฐดูแล Khanchanata (2017) ที่ศึกษำเรื่อง รูปแบบกำร และด้ำนกำรมีส่วนร่วมในกำรติดตำมผลกำร บริหำรจัดกำรพิพิธภัณฑ์ชุมชนวัดถ�้ำพระศิลำทอง ด�ำเนินงำน ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรลงมติ ในเรื่องรูปแบบกำรบริหำรจัดกำรพิพิธภัณฑ์ ตำมโอกำสที่มีกำรเรียกประชุมของหมู่บ้ำนเท่ำนั้น ชุมชน โดยเสนอว่ำ กำรประชำสัมพันธ์ควรแบ่ง ออกเป็น 2 ส่วน คือ กำรประชำสัมพันธ์ส�ำหรับ ข้อเสนอแนะ คนในชุมชนและกำรประชำสัมพันธ์ส�ำหรับคน 1. ชำวบ้ำนในชุมชนไม่ค่อยเข้ำใจว่ำ ภำยนอกชุมชน งำนวิจัยจะมีประโยชน์อย่ำงไร ท�ำให้ทีมวิจัย ส�ำหรับประเด็นกำรมีส่วนร่วมของ ต้องใช้เวลำในกำรลงพื้นที่เพื่อสร้ำงควำมคุ้นเคย ชุมชนหมู่บ้ำนท�ำกลองเอกรำช พบว่ำ ควรมีกำร ซึ่งปัญหำนี้ต้องใช้ระยะเวลำ แต่ทีมมีเวลำที่จ�ำกัด เพิ่มกำรมีส่วนร่วมของชุมชนซึ่งสอดคล้อง กำรวิจัยในพื้นที่จึงควรมีอย่ำงต่อเนื่อง กับงำนวิจัยของ Sukko (2017) ที่ศึกษำกำร 2. นักท่องเที่ยวเข้ำมำเฉพำะในช่วงงำน จัดกำรท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ้ำนดอนข่ำ ประเพณีเท่ำนั้น ชุมชนควรต้องหำแนวทำง โดยกำรมีส่วนร่วมของชุมชน ในเรื่องแนวคิด สร้ำงกิจกรรมอื่นเพื่อขยำยระยะเวลำกำรท่องเที่ยว “ปรับกิจกรรมเดิม สร้ำงกิจกรรมใหม่ เพื่อเพิ่ม นอกจำกนี้ควรส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวต่ำงชำติ กำรมีส่วนร่วม” โดยแต่ละกิจกรรมควรมีกำร เดินทำงมำท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สื่อสำรกับชุมชนให้รับทรำบ และสอดคล้อง 3. แม้ว่ำหมู่บ้ำนท�ำกลองเอกรำชจะเคย กับงำนวิจัยของ Ratanapongtra et al., (2017) ได้รับรำงวัลด้ำนกำรท่องเที่ยว แต่กำรพัฒนำ ที่ท�ำกำรวิจัยเรื่อง กำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำร ด้ำนกำรท่องเที่ยวหรือด้ำนผลิตภัณฑ์ ควรได้รับ พัฒนำกำรท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชนอโยธยำ กำรสนับสนุนอย่ำงต่อเนื่องเพื่อสะท้อนให้เห็น จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ผลกำรศึกษำพบว่ำ อัตลักษณ์และสร้ำงมูลค่ำเพิ่มให้กับชุมชน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 155

REFERENCES

Bunlong et al., (2016). Academic of society : Principle and Method. Bangkok: The Thailand Research Fund. Khanchanata, C. (2017). The Appropriated Museum Management Model of Sila Thong Cave Temple Community by using Participatory of Ched Subdistrict, Khemarat District UbonRatchathani Province. Bangkok: The Thailand Research Fund. Klinmuenwai, K. (2016). Potential and Community-based Tourism Management Guideline of Lampanglung Community, KohKha District, Lampang Province. Journal of Social Academic, 9(2), 1-11. Komchadluek. (2011). “Akkarad drum making village, Ang Thong” Retrieve on 1 May 2016. From http://www.komchadluek.net. Ratanapongtra,et al., (2017). The Participation of Local People for Ecotourism Development of Ayothaya Community in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. The Journal of Social Communication Innovation, 5(2), July-December, 2017, 8-16. Sukko, T. (2017). The Cultural Tourism Management Ban Don Kha by using the 7th commnunity participation, Chonnabon Subdistrict, Chonnabon District, Khon Kaen Province. Bangkok: The Thailand Research Fund. Thaitambondotcom. (2016). “The Details of Akkard: Pamok, Ang Thong” Retrieve on 1 May 2016 from http://www.thaitambon.com. Watboon et al., (2009). Guideline for Community Participation in Agro Tourism Management at Ban Don Gulf, Suratthani Province. Bangkok: The Thailand Research Fund. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 156

บทความวิจัย

พัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวไปสู่การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ชุมชน แบบมีส่วนร่วมของชาวต�ำบลเชียงรากใหญ่ อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี DEVELOPING HOMSTAY’S TOURISM RESOURCES TO COMMUNITY HOMESTAYS PARTICIPATION IN CHIANG RAK YAI SUB-DISTRICT, SAM KHOK DISTRICT, PATHUM THANI PROVINCE ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุล* Nakamon Punchakhettikul*

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร* Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University*

Email: [email protected]*

Received: 2019-03-31 Revised: 2019-04-03 Accepted: 2019-10-10

บทคัดย่อ งานวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาทรัพยากรท่องเที่ยวต�ำบลเชียงรากใหญ่ อ�ำเภอ สามโคก จังหวัดปทุมธานีที่มีความพร้อมให้มีความเชื่อมโยงระหว่างประเภทของทรัพยากรให้มี ความเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบไปสู่การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ และ 2) เพื่อสร้างรูปแบบการท่องเที่ยว จากข้อแรกน�ำไปสู่แบบโฮมสเตย์ ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย 1) ผู้น�ำเป็นทางการ ผู้น�ำชุมชนในการ สร้างโฮมสเตย์อย่างละ 1 คน 2) สมาชิกของชุมชนผู้เข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 30 คน 3) เครือข่ายโอม ผู้ประกอบการโฮมสเตย์ที่ประสบผลส�ำเร็จ 1 เครือข่าย เครื่องมือในการศึกษาคือ ท�ำกิจกรรม ร่วม สนทนา พูดคุยและสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการตีความ ผลของการศึกษาพบว่า องค์ประกอบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมมีความพร้อม แยกเป็น องค์ประกอบเป็น 1) องค์ประกอบภายนอกชุมชน ได้แก่ ทรัพยากรการท่องเที่ยว ชุมชนมีแม่น�้ำ เจ้าพระยา มีวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ ทรัพยากรการท่องเที่ยวบางรายการสามารถปรับปรุงและ เสริมความสมบูรณ์ขึ้นได้โดยเฉพาะสร้างศูนย์เรียนรู้ เชื่อมโยงจุดนันทนาการอย่างครบวงจร และ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 157

ภาคีเครือข่ายพร้อมให้ความร่วมมือในการสร้างโฮมสเตย์ 2) องค์ประกอบภายใน ได้แก่ ความสามัคคี ความร่วมมือ ความเชื่อมั่นในผู้น�ำและแรงบันดาลใจที่จะสร้างโฮมสเตย์และคาดว่าจะประสบผลส�ำเร็จ ผลที่ได้จากการพูดคุย ความพร้อมแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มแรก พร้อมที่จะสร้างทันทีหลังงานวิจัย ชิ้นนี้เสร็จโฮมสเตย์ของกลุ่มแรกตาดว่าจะเกิดขึ้น กลุ่มที่สอง พร้อมที่จะสร้างแต่รอเวลาที่เหมาะสม กลุ่มที่สาม พร้อมที่จะสร้างแต่ขอดูผลการด�ำเนินการของสองกลุ่ม การสร้างโฮมสเตย์ที่เชียงรากใหญ่ จากการพิจารณาองค์ประกอบสองประการข้างต้น น่าจะมีรูปแบบที่เหมาะสมเฉพาะตนของชุมชน เชียงรากใหญ่

ค�ำส�ำคัญ: การท่องเที่ยว โฮมสเตย์ การมีส่วนร่วม

Abstract The objectives of research were 1) to develop and organize types of tourism’s resources in Chiang Rak Yai Subdistrict, Sam Khok District, Pathum Thani Province into systematically linked to Tourism homestay and 2) to create a model homestay tourism properly for this community. The key informants including 1) one formal leader and one spiritual community leader 2) 30 members of the community who participated in the building homestay project. 3) one successful network with homestay entrepreneur. The instruments were participation in activity, dialogue and interview. All information was analyzed by interpretation. The results of the study showed that cultural tourism as homestay resources were proper and readiness to operate community homestay. There were divided into 2 elements: 1) the first is outside community elements consist of; (1) the community located at riverbank of Chao Phraya River, (2) cultural richness and identity, (3) community learning center, (4) cooperation of network partners. These elements would be improved and enhanced integrity. 2) The second is inside community elements consist of; (1) community harmony, (2) community aspiration to think and work together, those inside elements would be completely created. The results of discussion about the readiness were divided into 3 groups. The first group was ready to be built immediately after this research was completed. The second group would be operation but have to wait for the right time. The third group was ready to build but have to wait and see the results from the first and the second group. Creating a homestay in Chiang Rak Yai from considering two elements above it should be a specific model that was appropriate for the Chiang Rak Yai community. Therefore, the suitable model was underneath วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 158 the both elements is “building a homestay based on community, comprehensive learning, and complete integrated recreation”, it will influence to the satisfaction of both individuals and groups of tourists.

Keywords: Tourism, Homestays, Participation

บทน�ำ โฮมสเตย์เป็นรูปแบบหนึ่งของการ ของการพัฒนาแนวใหม่ บริบทของเชียงรากใหญ่ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ปรากฏทั่วโลก การ ที่จะท�ำให้เกิดมูลค่าดังกล่าวได้อีกทางหนึ่งคือ ท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์เป็นประเภทการ การพัฒนาโฮมสเตย์ จะเป็นการน�ำเอาทุนทาง ท่องเที่ยวที่ท�ำลายทรัพยากรน้อยและคุ้มต่อการ วัฒนธรรมมาสู่การท่องเที่ยวเพราะกระแสโลก ลงทุน การทุ่งเที่ยวจึงเป็นอุตสาหกรรมประเภท ความต้องการท่องเที่ยวของคนมีมากขึ้น หนึ่งที่น�ำรายได้เข้าประเทศ หลังวิกฤติเศรษฐกิจ แหล่งท่องเที่ยวที่จะตอบสนองนักท่องเที่ยว ประเทศไทยมุ่งเน้นภาคบริการ คือ อุตสาหกรรม จึงได้รับการสร้าง ฟื้นฟูขึ้น ในทุกระดับตั้งแต่ การท่องเที่ยว หน่วยงานที่รับผิดชอบคือกระทรวง ชุมชน ระดับจังหวัดและระดับประเทศ การจัดการ กรม และจังหวัดตามล�ำดับมีแผนการพัฒนา ท่องเที่ยวที่เหมาะสมของแต่ละพื้นที่จะแตกต่างกัน ฟื้นฟู สร้างและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบ ในเขตพื้นที่ต�ำบลเชียงรากใหญ่ อ�ำเภอสามโคก ต่าง ๆ ผลการส่งเสริมการท่องเที่ยวน�ำไปสู่ จังหวัดปทุมธานี มีลักษณะเด่นคือ พื้นที่ตั้งอยู่ การสร้างรายได้ให้แก่ประเทศอันดับแรก ๆ ของ ใกล้ตัวจังหวัดและกรุงเทพมหานคร การคมนาคม รายได้ของเงินเข้าไปประเทศโดยไม่ต้องลงทุนมาก สะดวก ตั้งอยู่ริมฝั่งน�้ำเจ้าพระยา ชุมชนมี เหมือนการสร้างสินค้าอื่น ๆ สถานการณ์ อัตลักษณ์ความเป็นมอญ มีวัฒนธรรมที่ต้อนรับ สอดคล้องกับระบบโลกาภิวัตน์ที่ทั่วโลกมีความ คนแปลกหน้า เป็นต้น กล่าวอีกนัยหนึ่ง ต�ำบล เชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวกัน ความเคลื่อนที่ของคน เชียงรากใหญ่มีทุนคือสภาพแวดล้อมและทรัพยากร เป็นไปได้ง่าย การสื่อสารในการโฆษณาแหล่ง ท้องถิ่นเหมาะต่อการสร้างแหล่งท่องเที่ยวแบบ ท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงคนต่างพื้นที่ได้ทั่วถึง โฮมเสตย์อย่างมาก งานวิจัยเรื่อง “การประยุกต์ บริบทโลกมีการแข่งขันและพัฒนา แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการ มุ่งเน้นเศรษฐกิจเป็นหลัก สังคมไทยก็อยู่ใน ท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์: กรณีศึกษาอ�ำเภอ บริบทโลกซึ่งต้องปรับตัวโดยการสร้างรูปแบบ สามโคก จังหวัดปทุมธานี” ของผู้วิจัยเองชี้ให้เห็น ประเทศไทย 4.0 ให้สังคมเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ว่ากลุ่มตัวอย่างและผู้เกี่ยวข้องมีความกระตือรือร้น การพัฒนาบนพื้นฐานของทุนที่มีอยู่ การพัฒนา ที่จะพัฒนาชุมชนของตนเองเป็นแหล่งท่องเที่ยว ในอีกแง่หนึ่งที่มีรากฐานจากล่างไปสู่บน แบบโฮมเสตย์ พร้อมกันนั้นชุมชนมีทรัพยากร บนพื้นฐานบริบทของแต่ละแห่งซึ่งเป็นแนวคิด การท่องเที่ยวเหมาะที่จะพัฒนาไปสู่การท่องเที่ยว วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 159

แบบโฮมสเตย์ได้จริง โดยน�ำงานวิจัยดังกล่าวไปใช้ ระเบียบวิธีวิจัย ประโยชน์คือการพัฒนาเป็นโฮมสเตย์อย่างเป็น สถานที่เก็บข้อมูล รูปธรรมและตอบสนองเงื่อนไขการท่องเที่ยวเชิง สถานที่มีความพร้อมทางด้านทรัพยากร วัฒนธรรมทั้งบริโลกและบริบทท้องถิ่นได้อย่างดี การท่องเที่ยว ตัวบุคคล ชุมชนและการจัดการ ดังนั้น งานวิจัยชิ้นนี้เป็นเป็นการต่อยอด พร้อมที่จะด�ำเนินการเป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบ และน�ำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โฮมสเตย์ คือต�ำบลเชียงรากใหญ่ อ�ำเภอสามโคก จริงจัง จึงท�ำวิจัยตามหลักการพัฒนาทดลอง จังหวัดปทุมธานี โดยผู้วิจัยมีส่วนร่วมกับการพัฒนาการสร้างการ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ท่องเที่ยวแบบโฮมเสตย์ที่ชุมชนดังกล่าวขึ้น ผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) ของ งานวิจัยนี้ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. ผู้ร่วมโครงการโฮมเสตย์ ซึ่งเป็นคน 1. เพื่อพัฒนาทรัพยากรของต�ำบล ในชุมชนเชียงรากใหญ่ จ�ำนวน 30 คน เชียงรากใหญ่ อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี 2. ผู้ประกอบการที่มีกิจการอยู่แล้ว ที่มีความพร้อมให้มีความเชื่อมโยงระหว่างประเภท ในต�ำบลเชียงรากใหญ่และใกล้เคียง มีความพร้อม ของทรัพยากรไปสู่การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ ในการร่วมโครงการและเป็นส่วนหนึ่งของการ 2. เพื่อสร้างรูปแบบการท่องเที่ยวน�ำไปสู่ ท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ ได้แก่ ร้านอาหาร ร้าน แบบโฮมสเตย์ของต�ำบลเชียงรากใหญ่ อ�ำเภอ กาแฟ ร้านจักรยาน เจ้าของสวนผัก จ�ำนวน 5 คน สามโคก จังหวัดปทุมธานี 3. นักวิชาการที่จะให้ค�ำปรึกษาทางด้าน วิชาการการสร้างโฮมสเตย์ การสร้างเครือข่าย ขอบเขตของการวิจัย และความเชื่อมโยงกับนโยบายของภาครัฐ ขอบเขตการวิจัยแบ่งได้ ดังนี้ จ�ำนวน 3 คน 1. ขอบเขตเชิงพื้นที่ 4. เครือข่ายผู้ประกอบการโฮมสเตย์ของ งานวิจัยนี้มีขอบเขตพื้นที่ศึกษา ชุมชนอื่นที่จะให้ค�ำแนะน�ำและเล่าประสบการณ์ ศึกษาต�ำบลเชียงรากใหญ่ อ�ำเภอสามโคก ถึงปัญหา อุปสรรคและปัจจัยความส�ำเร็จ จังหวัดปทุมธานี ในการสร้างโฮมสเตย์และเป็นเครือข่ายที่จะร่วม 2. ขอบเขตเนื้อหา แลกเปลี่ยนข่าวสารทั้งในและนอกประเทศ งานวิจัยนี้มีขอบเขตเนื้อหาศึกษา การโอนถ่ายนักท่องเที่ยวในเครือข่าย การเชื่อม เกี่ยวกับการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ การพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวระหว่างกันเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว และเนื้อหาการมีส่วนร่วม ให้มีการท่องเที่ยวต่อเนื่องและหลากหลาย 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา (หนึ่งเครือข่าย) ระยะเวลาท�ำการวิจัย 12 เดือน 5. เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานภาครัฐที่จะ เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560-30 กันยายน 2561 ให้ค�ำแนะน�ำเชิงนโยบาย การด�ำเนินการท่องเที่ยว วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 160

แบบโฮมสเตย์สอดคล้องกับนโนบายรัฐ ให้ค�ำ 1. ศึกษาสถานการณ์ โดยการเข้าไปร่วม แนะน�ำการสร้างโฮมสเตย์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน กิจกรรมและสังเกตการณ์.ในการในกิจกรรมการ ตามพรบ.ของโฮมสตย์และผู้ให้ค�ำรับรองจาก ด�ำเนินงานของชุมชน ประสานงานกับผู้ให้ข้อมูล ภาครัฐ ตลอดจนแนะน�ำทุนจากภาครัฐในการ ทั้งหมด เพื่อรวบรวมข้อมูลจากที่เคยส�ำรวจในงาน สนับสนุนการด�ำเนินการสร้างและการจัดการ ศึกษาก่อนหน้า น�ำไปสู่การพัฒนาโครงการ โฮมสเตย์ ให้ค�ำแนะน�ำอุปสรรคและผลสัมฤทธิ์ กลุ่มเป้าหมายคือสมาชิกคนในชุมชนและปราชญ์ ที่โครงการอื่น ๆ ได้ด�ำเนินการในปัจจุบันและ ชาวบ้าน ในอดีต ได้แก่ ท่องเที่ยวจังหวัด 2 คน และองค์การ 2. แนวทางการสร้างโฮมสเตย์ โดยการ บริหารส่วนต�ำบลเชียงรากใหญ่ 2 คน เข้าร่วมสังเกตการณ์และปรึกษาหารือ ร่วมกัน 6. ปราชญ์ชาวบ้าน ที่เชี่ยวชาญด้าน วางแผน ศึกษาผลดีผลเสียของโฮมสเตย์ที่อื่น วัฒนธรรม พิธีกรรมและอัตลักษณ์ของคนใน จากผู้ให้ข้อมูลเครือข่าย เพื่อแสวงหาอัตลักษณ์ ชุมชน จ�ำนวน 1 คน ของพื้นที่จากคนในชุมชนที่ร่วมโครงการ แนวทาง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การสร้างโฮมสเตย์ที่เชื่อมโยงกันของผู้ประกอบการ เครื่องมือในการศึกษาตามลักษณะผู้ให้ จากผู้ประกอบการ การด�ำเนินการให้สอดคล้องกับ ข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลที่ได้พบปะกันเป็นประจ�ำและ ทิศทางการพัฒนาประเทศ การท�ำได้จริง เชื่อมโยง เข้าถึงง่าย จะใช้เครื่องมือพูดคุยและสนทนา ส่วนผู้ให้ กับสถานการณ์ท่องเที่ยวทั้งระดับจุลภาคและ ข้อมูลที่เข้าถึงค่อนข้างจะเป็นทางการจะเน้นการ มหภาค ลักษณ์โฮมสตย์ตามมาตรฐานของภาครัฐ สัมภาษณ์อย่างไม่มีโครงสร้าง ซึ่งรายละเอียด ดังนี้ จากนักวิชากร การแสวงหาทุน แหล่งสนับสนุน 1. พูดคุย สนทนา สนทนาและประชุมกลุ่ม และการเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ภาครัฐ จาก กับผู้ให้ข้อมูล 1 (ผู้ให้ข้อมูลข้างต้น) เจ้าหน้าที่รัฐ กลุ่มเป้าหมายคือ เจ้าหน้าที่รัฐ 2. พูดคุยและสนทนากับผู้ให้ข้อมูล 2 คนในชุมชน 3. สัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างกับผู้ให้ 3. เตรียมด�ำเนินโครงการ โดยร่วม ข้อมูล 3 สังเกตการณ์และร่วมกิจกรรมการด�ำเนินการ 4. สนทนากับผู้ให้ข้อมูล 4 ปรับบ้าน ชุมชน ทรัพยากรท้องถิ่นให้เป็น 5. สัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างกับข้อ โฮมสเตย์ ตลอดจนการระดมทุน การร่วมกัน ให้ข้อมูล 5 และ 6 ปรึกษาหารือ การก�ำหนดเป้าหมาย ขอบเขต นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือคือการสังเกต และการเชื่อมแหล่งทรัพยากรต่าง ๆ ของชุมชน จากการร่วมโครงการการสร้างโฮมสตย์ตลอด ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ร่วมกันแก้ปัญหา โครงการ ร่วมกันให้ข้อชี้แนะ พร้อมประเมินโครงการคร่าว ๆ ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล ประชาสัมพันธ์โครงการต่อคนภายนอกผ่านสื่อ การรวบรวมข้อมูล ตามกิจกรรมของ ต่าง ๆ เช่น facebook สถานวิทยุชุมชน แผ่นพับ โครงการ มีล�ำดับขั้นตอน ดังนี้ ป้ายข้างถนน เป็นต้น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 161

การด�ำเนินการโครงการประมาณ 8 เดือน รวมทั้งมัคคุเทศก์ การปรึกษาหารือ 4 ครั้ง ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้มีส่วนร่วมในฐานะนักวิชาการ ในประเด็นดังนี้ การติดตามศึกษาโครงการ ผู้วิจัยจะลงพื้นที่ ประชุมปรึกษาหารือครั้งแรก เป็นการ ประมาณ สองสัปดาห์ต่อหนึ่งครั้ง เพื่อจะเข้าใจ ระดมความเห็นของคนในชุมในประเด็น ปัญหาและพัฒนาการของโครงการอย่างต่อเนื่อง อัตลักษณ์ของคนในชุมชนและทรัพยากรการ ในการรวมรวมและเรียบเรียงข้อมูล หลังจากเสร็จ ท่องเที่ยวในชุมชนที่มีอยู่แล้วและส่งเสริมสิ่งที่ โครงการ ผู้วิจัยใช้เวลาอีกสี่เดือน ร่วมเป็น 12 เดือน มีอยู่แล้ว ตลอดจนพัฒนาให้มาใหม่ ประชุม เสร็จสิ้นโครงการวิจัย ปรึกษาหารือครั้งที่สอง ประเด็นต่อเนื่องจาก การวิเคราะห์ข้อมูล ประเด็นแรก คือ แนวทางการสร้างโฮมสเตย์ การวิเคราะห์ข้อมูลมาจากการเก็บข้อมูล ประโยชน์ของการจัดท่องเที่ยวโฮมสเตย์ นอกจาก ตามขั้นตอน ทรัพยากรการท่องเที่ยวของชุมชนแล้ว มีปัจจัย การเก็บข้อมูลแต่ละขั้นตอนจะถูก ที่ไม่เอื้อต่อการสร้างโฮมสเตย์ การพัฒนาศูนย์ น�ำมาเรียบเรียง ส่วนใดที่เกี่ยวข้องกับโจทย์วิจัย เรียนรู้และจุดนันทนาการให้เชื่อมโยงและเป็น จะเลือกไว้ ส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องจะตัดออก ระบบ ประชุมครั้งที่สาม ประเด็นที่พูดคุยคือ ส่วนที่เกี่ยวข้องมาจัดระบบความ ประเด็นความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของ สัมพันธ์ระหว่างกัน การวิเคราะห์นี้ด�ำเนินพร้อม ประเทศ ของจังหวัด ของอ�ำเภอและขององค์การ ไปกับการมีส่วนร่วมและขณะเก็บข้อมูลไป บริหารส่วนท้องถิ่น ซึ่งการสร้างแหล่งท่องเที่ยว พร้อมกัน เพราะเป็นการวิจัยที่มีส่วนร่วม เชิงวัฒนธรรมแบบโฮมสเตย์สอดคล้องกับ การด�ำเนินการสร้างโฮมสเตย์ ข้อมูลและการ ยุทธศาสตร์ทุกระดับ การประชุมครั้งนี้ได้อภิปราย จัดเก็บปรับได้ต่อเนื่อง จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและภัยคุกคาม อย่างไร ในขั้นสุดท้ายน�ำข้อมูลที่ได้เก็บไว้และ ก็ตามสิ่งเหล่านี้จะส่งผลบวกหรือลบขึ้นอยู่กับ วิเคราะห์ตามล�ำดับขั้นตอนที่ผ่านมา มาวิเคราะห์ การจัดการของชุมชน เช่น สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น และสรุปผลอีกครั้ง ในอนาคต คือ การสร้างเขื่อนริมแม่น�้ำเจ้าพระยา อันเป็นที่ตั้งของชุมชน ซึ่งจะส่งผลทางบวกคือ สรุปผลของการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย น�้ำจะไม่ท่วมชุมชนอีกต่อไป การจัดการท่องเที่ยว สรุปผลของการวิจัย โฮมสเตย์สามารถรับนักท่องเที่ยวได้ตลอดปี สรุปผลวิจัยแยกเป็นประเด็นได้ดังนี้ ขณะเดียวกันสิ่งที่เป็นผลกระทบเชิงลบคือ การด�ำเนินการวิจัยสามขั้นตอนข้างต้น ทัศนียภาพของความเป็นธรรมชาติเดิมก็จะหายไป ขั้นตอนที่สามเป็นการประชุมปรึกษาหารือ ชุมชนตั้งอยู่ใกล้เมือง ในอนาคตความเป็นเมือง ของผู้สนใจในชุมชน จ�ำนวนมาก 30 คน และ จะขยับขยายเข้ามาสู่ชุมชน มีการกล่าวถึงพื้นที่ คนภายนอก คือ นักวิชาการ หน่วยงานภาครัฐ ในชุมชนอาจจะถูกเปลี่ยนมือและถูกสร้างเป็น ผู้ประเมินโฮมสเตย์ ภาคีเครือข่ายโฮมสเตย์ สนามกอล์ฟ เป็นต้น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 162

ประชุมปรึกษาหารือครั้งที่สี่ ประเด็น ประเพณี เช่น ท�ำบุญพระร้อย วันสงกรานต์ คือการสร้างเครือข่ายและการประชาสัมพันธ์ เป็นต้น การรวมกลุ่มอีกประการหนึ่ง คือการ การตลาด ผลจากการประชุมพูดคุยโดยมี รวมกลุ่มร่วมกันท�ำกิจกรรมหรือโครงการโดยมี ผู้ประกอบการธุรกิจโฮมสเตย์ธัญรี เพื่อแลกเปลี่ยน วัตถุประสงค์ชัดเจน ชุมชนมีความสนใจอย่างมาก ประสบการณ์และการท�ำงานโฮมสเตย์มีความเห็น ผู้น�ำกลุ่มที่จะเริ่มท�ำโฮมสเตย์เป็น ว่าพื้นที่ชุมชนเชียงรากใหญ่มีความพร้อมด้าน ตัวอย่างเป็นน�ำในเชิงการประสานงานและ ทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบ บริการมากกว่าผู้น�ำเชิงจิตวิญญาณหรือผู้น�ำ กับพื้นที่ของตน ซึ่งพื้นที่ของผู้ประกอบการใน ที่มีลักษณะของการชี้น�ำ เพราะชุมชนปัจจุบัน ธัญบุรีเป็นพื้นที่โล่งปกติ เมื่อสร้างโฮมสเตย์แล้ว เช่นชุมชนเชียงรากใหญ่เป็นชุมชนที่ใกล้กรุงเทพฯ จึงค่อยปรับให้สวยงาม ต่อมามีนักท่องเที่ยว รับข่าวสารข้อมูลได้เร็วและง่าย ผู้น�ำจึงไม่ใช่ผู้รู้ เที่ยวทะยอยมาพักทั้งคนในพื้นที่และนอกพื้นที่ มากกว่าสมาชิกในชุมชนแต่เป็นผู้เสียสละและ คนนอกพื้นที่บางทีมาพักเพราะโฮมเสตย์เป็นพื้นที่ ท�ำเป็นตัวอย่าง ซึ่งท�ำให้สมาชิกในชุมชนมีความ ใกล้กรุงเทพฯ เมื่อมาท�ำธุระที่กรุงเทพฯ เห็นว่า เชื่อมั่นและมีความศรัทธาและพร้อมที่จะสร้าง ในกรุงเทพฯ ที่พักเต็มหรือมีความแออัด จึงเลือก โฮมสเตย์ จากการพูดคุย และประชุมกลุ่มได้ พักโฮมสเตย์แทน ต่อมานักท่องเที่ยวมาพักถามหา ข้อสรุปถึงความพร้อมในการด�ำเนินการโฮมสเตย์ สิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ของธัญบุรีและต้องการเรียนรู้ สามระดับ ดังนี้ คุณเด่นดวงจึงรื้อฟื้นการสร้างการท�ำถ่าน (ถ่าน พร้อมมากอย่างยิ่ง เป็นผู้พร้อมจะสร้าง หุงต้มแบบมอญ) ให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้และ ได้ทันทีและตัดสินใจจะสร้างแล้ว ขณะที่งาน ลองร่วมท�ำ อีกทั้งได้ขายสินค้นนี้ด้วย วิจัยนี้ก�ำลังสรุปงาน ผู้ที่มีความพร้อมอย่างยิ่งคือ ความพร้อมของการสร้างโฮมสเสตย์ คุณเบล ซึ่งมีเนื้อที่จ�ำนวนหนึ่งที่จะสร้างโดยแยก ผลจากการประชุมปรึกษาหารือของ โฮมเสตย์ออกจากตัวบ้าน โดยสร้างบริเวณ ชุมชนตลอดเวลาที่ผ่านมาพบว่าชุมชนมีความ หลังบ้านซึ่งส่วนหนึ่งเป็นสระเลี้ยงปลา กลมเกลียว มีความเป็นญาติพี่น้องเป็นพื้นฐาน พร้อมมาก เป็นกลุ่มคนเคยคิดจะสร้าง อยู่แล้วและมีผู้น�ำกลุ่มโดยธรรมชาติคือผู้อาวุโส มาก่อนและเมื่อได้ปรึกษาหารือกันกับชุมชน พระสงฆ์ที่เป็นเจ้าอาวาสและผู้น�ำอย่างเป็น ผ่านการประชุมหลายครั้งได้ตัดสินใจจะสร้าง ทางการ คือ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลและ (แต่ก�ำหนดเวลาไม่แน่นอน) ได้แก่ ครูที่เกษียณ ก�ำนัน ผู้น�ำอย่างเป็นทางการก็มีพื้นฐานมาจาก ราชการ มีประมาณ 2 - 3 ราย มีบ้านติดกับ ผู้น�ำอย่างไม่เป็นทางการ กล่าวคือเป็นผู้ที่ชุมชน แม่น�้ำเจ้าพระยา และมีบ้านที่สามารถแบ่งห้อง ให้ความเชื่อถือและมีเครือญาติจ�ำนวนมาก ให้นักท่องเที่ยวพักได้หลายห้อง ด้านล่างบ้านเป็น การรวมกลุ่มเกิดขึ้นในปกติชีวีติประจ�ำวันคือ พื้นโล่ง หน้าบ้านมีทุ่นและเลี้ยงปลาจ�ำนวนหนึ่ง การรวมกลุ่มในวันส�ำคัญทางศาสนา เช่น วัน พร้อมที่จะท�ำ เป็นกลุ่มที่เหลือราว เข้าพรรษา วันพระสวนะ และวันส�ำคัญตาม 20 กว่ารายมีความตั้งใจจะท�ำแต่รอดูตัวอย่าง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 163

กลุ่มแรกและกลุ่มที่สองด�ำเนินการไปก่อน ชีวิตและตอบสนองการท่องเที่ยว พร้อมกันนั้น กลุ่มที่สามพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับกลุ่มแรก ก็มีการประชาสัมพันธ์โครงการในอินเตอร์เน็ต และกลุ่มที่สองในการขับเคลื่อนเพราะการจัดการ เฟสบุ๊กและรายงานทีวี ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (แบบโฮมสเตย์) เป็นการ การปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนเป็นผู้ จัดโดยชุมชนและความร่วมมือของชุมชน ด�ำเนินการในนามคณะกรรมการ พร้อมกันนั้น ขั้นตอนด�ำเนินการ จะได้เสนอของบประมาณจากหน่วยงานท้องถิ่น 1. กลุ่มที่มีความพร้อมในการสร้าง ที่รายการงบเหล่านี้ได้ถูกบรรจุไว้ในยุทธศาสตร์ โฮมสเตย์คือกลุ่มได้เริ่มด�ำเนินการก่อสร้าง ซึ่งมี การส่งเสริมการท่องเที่ยวตามที่ปรากฏแผนพัฒนา ประมาณสามหลัง ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและองค์การ 2. ตั้งกรรมการด�ำเนินงาน แบ่งเป็น บริหารส่วนจังหวัดตามล�ำดับเพื่อรับการสนับสนุน ฝ่ายต่าง ๆ ดังนี้ 1) ที่ปรึกษา คือ เจ้าอาวาส อย่างไรก็ตาม การรวมตัวของคนในชุมชนในการ ก�ำนัน ประธานองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น พัฒนาตามก�ำลังโดยการพึ่งตัวเองเป็นหลักด้วย นักวิชาการ เครือข่ายโฮมสเตย์ธัญบุรี ผู้ประเมิน การค่อยปรับปรุงพัฒนาจะน�ำไปสู่การเรียนรู้ โครงการโฮมสเตย์ 2) ประธานกรรมการด�ำเนินงาน ร่วมกัน ก่อให้เกิดความเข้มแข็งและมีกิจกรรมใด คือ คุณเบล 3) ประธานและกรรมการฝ่ายต่าง ๆ เช่น ท�ำโดยการตัดสินใจและการมีส่วนร่วมของชุมชน ฝ่ายจัดระบบและพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว ในการตัดสินใจตั้งแต่แรกจนไปถึงขั้นตอนสุดท้าย ฝ่ายเสริมสร้างและอนุรักษ์วัฒนธรรม ฝ่าย คือโครงการประสบความส�ำเร็จและด�ำเนินการ ประชาสัมพันธ์ ฝ่ายจัดระบบและจัดรายได้ ต่อเนื่องลักษณะเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน ให้เป็นธรรม (จัดคิวให้นักท่องเที่ยวได้พักโฮมสเตย์ รูปแบบการการท่องเที่ยวแบบ โดยเฉลี่ยให้ทั่วถึงทุกโฮมสเตย์ ตามล�ำดับคิว) โฮมสเตย์ของเชียงรากใหญ่ สร้างสินค้าของที่ระลึก ฝ่ายเสริมสร้างพัฒนา งานวิจัยชิ้นนี้มิได้ศึกษางานโฮมสเตย์ เสริมสร้างศูนย์เรียนรู้ ฝ่ายประสานงานภายใน ในเชิงส�ำรวจจากชุมชนที่มีโฮมสเตย์แล้วในมิติ และภายนอก โดยแนวทางการแต่งตั้งแต่การ ด้านต่าง ๆ เช่นงานวิจัยชิ้นอื่น ๆ ที่ศึกษาความ เป็นไปเพื่อแบ่งสรรสมาชิกในชุมชนให้รับผิดชอบ ร่วมมือของชุมชน ผลสัมฤทธิ์ของการด�ำเนินการ ขั้นตอนการแต่งตั้งกรรมการเกิดขึ้น ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบโฮมเสตย์ รูปแบบ/ พร้อมควบคู่กับสร้างโฮมสเตย์ กลุ่มที่สร้าง ลักษณะการสร้างโฮมสเตย์ แต่งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการ โฮมสเตย์ด�ำเนินการส่วนคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ศึกษาความพร้อมและการพัฒนาความพร้อม จะมีการประชุมกันอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่การ ไปสู่โฮมสเตย์ของชุมชนผ่านกระบวนการปรึกษา ปรับภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อมให้สวยงามเหมาะ หารือ การมีส่วนร่วมของชุมชน โดยที่ชุมชนเป็น ส�ำหรับเป็นแหล่งท่องเที่ยว การจัดศูนย์เรียนรู้ ฐานของการสร้างโฮมสเตย์ เมื่อมีกระบวนการ และจัดกลุ่มร้านค้าที่จะร่วมโครงการให้เป็นระบบ ในการพัฒนาไปสู่โฮมสเตย์แล้ว ในบริบทพื้นที่ เชื่อมโยงกัน การฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณีให้มี เฉพาะของเชียงรากใหญ่ ลักษณะและประเภท วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 164

ของทรัพยากรท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ลักษณะ มีบ้านพักที่ให้คนพักคล้ายโฮมสเตย์ จึงจ�ำเป็น ของชุมชนของเชียงรากใหญ่ และเป้าประสงค์ คือการเป็นพันธมิตรกับแหล่งที่พักอื่น ๆ ของการสร้างโฮมสเตย์ของชุมชนเชียงรากใหญ่ ขณะเดียวกันก็ชูวัฒนธรรมเป็นจุดเด่นภายใต้ ตลอดจนถึงการเปรียบเทียบโฮมเสตย์ที่ประสบ การจัดการของชุมชน ผลส�ำเร็จมีรูปแบบ ลักษณะอย่างไร ภายใต้กฎ ข้อ 3 ลักษณะเด่นที่เชียงรากใหญ่ ระเบียบของภาครัฐก�ำหนดลักษณะ ข้อบังคับ ควรเน้นคือ การสร้างเครือข่ายซึ่งเครือข่าย การท�ำโฮมเสตย์นั้น บนพื้นฐานข้อมูลเหล่านั้น โฮมสเตย์ธัญบุรีเสนอตนเองเป็นเครือข่าย ผ่านการปรึกษาหารือ สัมมนาสี่ครั้งนั้น พอประมวล แลกเปลี่ยนข้อมูลและถ่ายเทนักท่องเที่ยว ลักษณะจ�ำเพาะที่ควรเป็นรูปแบบของการสร้าง เมื่อที่หนึ่งไม่ว่าแต่โอมสเตย์อีกสถานที่หนึ่งว่าง โฮมสเตย์บนฐานของชุมชนเชียงรากใหญ่ สามารถขยับขยายได้ ก่อนเสนอรูปแบบที่เหมาะสมส�ำหรับ เครือข่ายกับมัคคุเทศก์ซึ่งมัคคุเทศก์ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเชียงรากใหญ่ ผู้วิจัย เป็นปัจจัยส�ำคัญในการดึงนักท่องเที่ยวเข้ามาพัก วิเคราะห์โฮมสเตย์โดยภาพรวมและประเภท นอกจากนี้ถ้าหากท�ำได้ เป็นเครือข่ายกับสถานศึกษา ที่ประสบผลส�ำเร็จในพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งระดับประถม มัธยมและอุดมศึกษา ซึ่งการ รูปแบบการสร้างโฮมสเตย์ที่เหมาะสม มีเครือข่ายในปัจจุบันของชุมชนเชียงรากใหญ่ ส�ำหรับชาวเชียงรากใหญ่ มีเครือข่ายกับสถาบันการศึกษาระดับต่าง ๆ กรณีเชียงรากใหญ่มีลักษณะความ อยู่แล้ว เพียงท�ำให้เข้มแข็งขึ้นกว่าเดิม เครือข่าย เป็นเฉพาะบางอย่าง 1) มีทรัพยากรท่องเที่ยว กับสื่อสารมวลชนเพื่อกระจายข่าวและเผยแผ่ คือ แม่น�้ำเจ้าพระยา ศูนย์เรียนรู้และนันทนาการ การด�ำเนินกิจกรรมของชุมชน เท่าที่ผ่านมาชุมชน วัฒนธรรมความเป็นมอญ 2) ด้านภูมิศาสตร์ เชียงรากใหญ่ได้รับการประชาสัมพันธ์บ่อยตาม อยู่ใกล้เมือง การคมนาคมเป็นไปได้สะดวก สื่อสารมวลชน 3) มีเครือข่าย 4) นันทนาการ 5) ชุมชนเดิม ข้อ 4 ชุมชนเดิมและชุมชนสมัยใหม่ และชุมชนสมัยใหม่ ชุมชนเชียงรากใหญ่ไม่ใช่ชุมชนในอุดมคติ องค์ประกอบทั้ง 5 ประการ ชุมชน ในการสร้างโฮมสเตย์เช่นเดียวกับชาวผู้ไท เชียงรากใหญ่มีลักษณะจ�ำเพาะแตกต่างจาก ที่ชุมชนห่างไกลจากตัวเมือง การผูกมัดของ ที่อื่น ชุมชนทางวัฒนธรรมยังปรากฏให้เห็น แต่ในกรณี ข้อ 1 แหล่งนันทนาการมีความโดดเด่น การผูกมัดน�ำไปสู่การสร้างโฮมสเตย์นั้น เงื่อนไข ซึ่งมีอยู่แล้วและควรพัฒนามีความเชื่อมโยงกัน ความพร้อมมีความแตกต่างกัน อย่างไรก็ดี อย่างเป็นระบบ การปั่นจักรยาน จิบกาแฟ ทัศน ควรสร้างวัฒนธรรมหรือฟื้นฟูความเป็นมอญ ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์และล่องเรือช่วงเย็น (อาจจะเป็นวัฒนธรรมประดิษฐ์) เพื่อตอบสนอง ข้อ 2 ภูมิศาสตร์ใกล้ตัวเมือง การ การท่องเที่ยว คมนาคมสะดวก ท�ำให้บริเวณใกล้เคียงมีรีสอร์ท วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 165

ข้อ 5 ทรัพยากรการเรียนรู้และ ของทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงพื้นที่มีอยู่จริง นันทนาการ จุดเด่นคือแม่น�้ำเจ้าพระยา สภาพเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน วัฒนธรรมและ ซึ่งปรากฏชัดควรปรับภูมิทัศน์และใช้ประโยชน์ แรงบันดาลใจที่จะท�ำของคนในชุมชนที่จะท�ำจริง จากทรัพยากรการท่องเที่ยวโดยเฉพาะแม่น�้ำ แล้วเสนอแนวทางการสร้างบนพื้นฐานข้อมูล เจ้าพระยาให้มากที่สุด เหล่านี้และการสร้างนั้นอยู่บนพื้นฐานของ รูปแบบที่เหมาะสมก็คือ “การสร้าง โฮมสเตย์ โดยมีเป้าหมายของการสร้างคือ โฮมสเตย์บนฐานชุมชนและเครือข่ายเพื่อการ ก�ำไรของชุมชนหรือก�ำไรทางวัฒนธรรมหรือสิ่งที่ เรียนรู้และนันทนาการอย่างครบวงจร” เป็นคุณค่าเป็นอันดับแรกและก�ำไรคือตัวเงิน อภิปรายผลของการวิจัย อันเป็นมูลค่าควบคู่ไปด้วย โดยมีตัวชี้วัดคือ การสร้างโฮมสเตย์ที่เชียงรากใหญ่ ความยั่งยืนของโครงการ มีลักษณะจ�ำเพาะเหมือนและแตกต่างจากการ การอภิปรายผลจึงอิงกับงานวิจัยที่ศึกษา สร้างโฮมสเตย์ที่อื่น ๆ งานวิจัยเกี่ยวกับโฮมสเตย์ โฮมสเตย์ที่ผ่านมาเพื่อเป็นฐานการเสนอแนวทาง ปรากฏผลคล้ายกันก็คือ องค์ประกอบหลักของ ในการสร้างโฮมสเตย์ที่เหมาะสมกับบริบทชุมชน โฮมสเตย์ที่น�ำไปสู่ผลส�ำเร็จที่ยั่งยืนคือ โฮมสเตย์ เชียงรากใหญ่ มีทรัพยากรท่องเที่ยวรองรับโดยเฉพาะอัตลักษณ์ งานศึกษาที่ผ่านมาที่ศึกษาการด�ำเนินการ ทั้งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ จัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่งการท่องเที่ยว วัตถุธรรม ลักษณะของชุมชนชนบทที่รักษา แบบโฮมสเตย์เป็นอีกประเภทหนึ่งของการท่องเที่ยว อัตลักษณ์ของตนเองไว้ได้ การด�ำเนินการ บนฐานของชุมชนและวัฒนธรรม ซึงหมายถึง บริการโดยคนในชุมชนโดยมชุมชนมีส่วนร่วม เมื่อมีชุมชนเกิดขึ้นสิ่งที่ร้อยรัดเข้าเป็นชุมชนหรือ (community based homestay) มีกิจกรรมทาง ความเป็นชุมชนอยู่ได้ด้วยสายร้อยรัดทาง วัฒนธรรมบางประการ รูปแบบการท่องเที่ยวแบบ วัฒนธรรม กล่าวอีกนัยหนึ่งความเป็นชุมชนคือ ท่องโฮมสเตย์จึงเป็นการอนุรักษ์ (สิ่งแวดล้อม) ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มิติการ สิ่งที่ดึงดูดนักนักท่องเที่ยวคือ อัตลักษณ์ทาง ศึกษาที่ผ่านมามีการศึกษาการประเมินโครงการ วัฒนธรรมที่แตกต่างจากนักท่องเที่ยว ความ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การประสบผลส�ำเร็จ เป็นมิตร (Duangpikul & Methaphan, 2018) ; อย่างยั่งยืน ผลกระทบจาการท่องเที่ยวเชิง (Seyanont & Somphobsakul, 2010) ; วัฒนธรรม การน�ำอัตลักษณ์มาใช้ในการท่องเที่ยว (Kongpetch et al., 2015) เชิงวัฒนธรรม ชาติพันธ์กับการท่องเที่ยวเชิง อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้มิได้ศึกษา วัฒนธรรม ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โฮมสเตย์ที่มีอยู่แล้วแต่ศึกษาความเป็นไปซึ่งชุมชน ของประเทศต่างๆทั่วโลก ผลวิจัยมีความพ้องกัน มีความพร้อมสามระดับ บางระดับมีความตื่นตัว ในแง่ที่ว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (แบบ ที่จะลงมือด�ำเนินการ การเสนอแนวทางการสร้าง โฮมสเตย์) เป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คือการ โฮมเสตย์จึงต้องศึกษาบนพื้นฐานการเป็นจริง ท่องเที่ยวที่ท�ำลายทรัพยากรท่องเที่ยวน้อยหรือ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 166

ใช้ทรัพยากรท่องเที่ยวยังคงด�ารงอยู่ และผู้ให้ โดยเฉพาะด้านทรัพยากรการท่องเที่ยวและ การท่องเที่ยวคุ้มค่ากับการจัดการท่องเที่ยว เครือข่าย ซึ่งเครือข่ายมีลักษณะเด่นของชุมชน สิ่งที่ได้รับจากการท่องเที่ยวเชิง เชียงรากใหญ่ค่อนข้างชัดเจนกว่าโฮมสเตย์ วัฒนธรรม คือ กระบวนการเรียนรู้ของคน แหล่งอื่น รูปแบบที่เหมาะสมในการสร้าง ในชุมชนต่อการจัดการและด�าเนินการจัดการ โฮมสเตย์ก็คือ การสร้างโฮมเสตย์บนฐาน ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบโฮมสเตย์ เพราะ วัฒนธรรมและเครือข่ายซึ่งจะท�าให้การด�าเนินการ การจัดการท่องเที่ยวโดยเฉพาะโฮมสเตย์จะผ่าน ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมมีความยั่งยืนได้จริง อุปสรรค ปัญหาซึ่งเกิดจากภายในชุมชนและ จากนักท่องเที่ยว ซึ่งชุมชนจะมีการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ในการบริหารจัดการ การปรึกษาหารือของคน งานวิจัยชิ้นนี้ได้สิ้นสุดตามระยะ ในชุมชนและการท�างานเป็นทีม การมีส่วนร่วม โครงการ คือ 1 ปี ผ่านกระบวนการปรึกษาหารือ ของคนในชุมชน สิ่งที่เป็นผลและสิ่งที่เป็น พูดคุยของคนในชุมชนและหน่วยงานภาคอื่น ๆ เหตุการณ์จัดการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์คือ ผลการศึกษาคือ องค์ประกอบการท่องเที่ยว คนในชุมชนได้มีประสบการณ์การเรียนรู้ในการ เช่น ทรัพยากรท่องเที่ยวมีความพร้อม ชุมชน แก้ไขปัญหาและคิดค้นสิ่งต่าง ๆ เพื่อตอบสนอง มีความร่วมมือและร่วมแรงกัน และในที่สุด นักท่องเที่ยวได้มากที่สุด ชุมชนได้เรียนรู้ มีกลุ่มความพร้อมที่สุดตัดสินใจลงมือท�า วัฒนธรรม วิถีชีวิต ระบบคิดจากนักท่องเที่ยว โฮมสเตย์ ที่แตกต่างจากตนเองท�าให้เกิดการเรียนรู้ เพราะฉะนั้นงานวิจัยชิ้นต่อไปควรเป็น ความแตกต่างจากตนเอง ท�าให้ชุมชนมี งานวิจัยติดตามประเมินผลของโครงการว่า โลกทัศน์ที่กว้างไกลขึ้น ชุมชนมีการพัฒนาและ โครงการหรือการด�าเนินการประสบความส�าเร็จ มีความเปลี่ยนแปลงด้านกายภาพ ภูมิศาสตร์ มากน้อยเพียงใด ยั่งยืนหรือไม่อย่างไร ซึ่งสะท้อน และสังคมให้เหมาะสม มีความสะดวก เข้าถึงง่าย ให้เห็นกระบวนการสร้างโฮมสเตย์ตามล�าดับ และมีความปลอดภัย ชุมชนมีความภาคภูมิใจใน ขั้นตอนจนถึงขั้นตอนการสร้างและประเมินผล อัตลักษณ์ มีความเชื่อมั่นในอัตลักษณ์ของตน สัมฤทธิ์ผล ซึ่งผลสัมฤทธิ์หรือไม่ประสบผล สุดท้ายชุมชนมีรายได้ สัมฤทธิ์จะได้สืบสาวว่าเกิดจากขั้นตอนใดของ งานวิจัยความพร้อมของชุมชน กระบวนการพัฒนาโฮมสเตย์หรือหลังจากการ เชียงรากใหญ่ ชุมชนมีคุณสมบัติทุกประการพร้อม สร้างโฮมสเตย์เสร็จแล้ว วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 167

REFERENCES

Duangpikul & Methaphan. (2018). Homestay and Sustainable Tourism Management in Nan Province. Journal of Graduate Research Vol.9 No.1 (January - June 2018) Kongpetch et al., (2015). A Development of a Homestay Village for Environmental Conservation Tourism Services in Nong Bua Lamphu Province. Journal of Education, Mahasarakham University 167 Volume 9 Number 3 July - September 2015 Seyanont & Somphobsakul. (2010) A Value Creation in Sustainable Tourism of Homestay Business: Case Study of Homestay at Ampawa Floating Market Area in Samutsongkhram Provinve วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 168

บทความวิจัย

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภค ในการตัดสินใจซื้อสินค้าท้องถิ่นของวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ PACKAGING DESIGN CORRELATES CONSUMER PERCEPTION OF LOCAL PURCHASING DECISION OF BAN NONG MAKHA COMMUNITY ENTERPRISE, PRANBURI, PRACHUABKIRIKHAN อังคณา จัตตามาศ1* อัชฌาพร กว้างสวาสดิ์2 และ พัชราภรณ์ บ่อน้อย3 Aungkana Jattamart1*, Achaporn Kwangsawad2 and Patcharaporn Bonoi3

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล1*, 2, 3 Department of Business Information Technology, Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Wang Klai Kangwon Campus1*, 2, 3

Email: [email protected]*

Received: 2018-12-05 Revised: 2019-03-02 Accepted: 2019-05-22

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบบรรจุภัณฑ์ของสินค้าท้องถิ่นวิสาหกิจชุมชน บ้านหนองมะค่า อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) ศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีผล ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าท้องถิ่น และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการวิจัยแบบผสมผสานด้วยการน�ำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพที่ตอบสนองสถานการณ์ เฉพาะพื้นที่ และข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อประเมินผลการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์ต่อการ รับรู้ของผู้บริโภคด้วยการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนาและเชิงอนุมาน ซึ่งกลุ่มตัวอย่างในการประเมินผล การออกแบบบรรจุภัณฑ์ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง จ�ำนวน 400 คน ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านหนองมะค่า จ�ำนวน 9 คน, กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จ�ำนวน 5 คน และกลุ่มนักท่องเที่ยว วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 169

และผู้มาศึกษาดูงาน จ�ำนวน 386 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) บรรจุภัณฑ์ใหม่ออกแบบให้มีโครงสร้าง สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายและพกพา รวมทั้งสามารถจัดเก็บได้นานขึ้น 2) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ คือ ระดับการศึกษาต่างกันมีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นชุมชน บ้านหนองมะค่าแตกต่างกันที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 และ 3) ปัจจัยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ด้าน โครงสร้างและด้านกราฟิกมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่า

ค�ำส�ำคัญ: ออกแบบบรรจุภัณฑ์ การรับรู้ วิสาหกิจชุมชน

ABSTRACT The objective of this research was to 1) design packaging of local products in Ban Nong Makha Community Enterprise Pran Buri District 2) to study demographic factors that affect to consumer perception of local product that can make people purchase’s decision and 3) to study the relationship between packaging design factors that affect consumer perception of decided to buy local products that using an integrated research process by presenting qualitative data that responds to a particular situation and quantitative data for evaluation of packaging design which influences to consumer perception and inferential statistical analysis. The sample groups in the evaluation of packaging design uses are 400 selective methods including 9 people in Ban Nong Makha Community Enterprise, 5 design experts, and 386 tourists and visitors. The results of the study showed that 1) New packaging designed should have a structure that is easy to move and carry. 2) Demographic factors are different levels of education that affecting consumers’ perception of purchasing local products in Ban Nong Makha community that the different is at the 0.05 level and 3) the factors in packaging design structure and packaging design are positively correlated with consumer perception of purchasing decisions in Ban Nong Makha community with statistical significance at 0.05 level.

Keywords: Packaging design, Perception, Community enterprise วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 170

บทน�ำ ปัจจุบันการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้า ชุมชนบ้านหนองมะค่า ต�ำบลหนองตาแต้ม ท้องถิ่นก�ำลังได้รับความนิยมในหลายชุมชน อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นกลุ่ม เนื่องจากเป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างความเจริญ วิสาหกิจชุมชนที่เกิดจากการรวมกลุ่มของสมาชิก แก่ชุมชนเพื่อให้สามารถยกระดับฐานะความ ในชุมชนเมื่อปี พ.ศ.2543 มีสมาชิกก่อตั้ง 30 คน เป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น โดยการผลิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างอาชีพและกระจาย หรือจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้กลาย รายได้ให้แก่ชาวบ้าน อีกทั้งยังก่อให้เกิดความ เป็นสินค้าที่มีคุณภาพ มีจุดเด่น มีความเป็น สามัคคีภายในชุมชน ซึ่งการรวมกลุ่มส่วนใหญ่ เอกลักษณ์ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมในแต่ละ จะเป็นการท�ำงานแบบช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ท้องถิ่น และสามารถน�ำไปจ�ำหน่ายสู่ท้องตลาดได้ เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่สร้างขึ้นล้วนเป็นผลผลิต (Kunasri, 2017) ขณะเดียวกันการพัฒนา ทางการเกษตรของชาวบ้าน และปัจจุบันได้มีการ ผลิตภัณฑ์สินค้าท้องถิ่นยังได้รับการส่งเสริม ขยายตลาดกลุ่มเป้าหมายนอกเหนือจากชาวบ้าน จากภาครัฐในการช่วยเหลือด้านความรู้สมัยใหม่ ในชุมชน ด้วยการมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายที่เป็น และการบริหารจัดการเพื่อเชื่อมโยงสินค้าจาก นักท่องเที่ยวและผู้มาศึกษาดูงาน เนื่องจากชุมชน ชุมชนสู่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ บ้านหนองมะค่าตั้งอยู่ใกล้กับสถานที่ท่องเที่ยว ด้วยระบบร้านค้าเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต ของอ�ำเภอปราณบุรี รวมทั้งมีการเพิ่มช่องทางการ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการพัฒนา จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร ท้องถิ่น สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้ และมีการตั้งเป้าหมายที่จะกระจายผลิตภัณฑ์ โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างรายได้ ไปยังเขตปริมณฑลต่อไป แต่ยังพบปัญหาของ ด้วยการน�ำทรัพยากรภูมิปัญญาในท้องถิ่นมา ลักษณะบรรจุภัณฑ์สินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้าน พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ หนองมะค่าที่ไม่มีความโดดเด่น ไม่สามารถสื่อ มีจุดเด่นและมีมูลค่าเพิ่มเป็นที่ต้องการของตลาด ถึงสินค้าที่ถูกบรรจุอยู่ภายในและเอกลักษณ์ของ (Chawthai, 2018) ซึ่งส่วนส�ำคัญในการพัฒนา ชุมชนได้ ผลิตภัณฑ์ คือการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้มี คณะผู้วิจัยเล็งเห็นถึงปัญหาและความ ความทันสมัย มีจุดเด่น มีความเป็นเอกลักษณ์ ส�ำคัญของรูปแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าท้องถิ่นของ ดึงดูดใจผู้บริโภค สามารถสื่อถึงสินค้าที่บรรจุอยู่ วิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า ต�ำบลหนองตาแต้ม ภายใน แสดงให้เห็นรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้า อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จึงได้ (Bunsung, 2013) รวมถึงที่มาของแหล่งวัตถุดิบ ศึกษาการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์ เพื่อให้ผู้บริโภคมั่นใจในคุณภาพของสินค้าท้องถิ่น ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อสินค้า ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคให้ตัดสินใจ ท้องถิ่นของวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า เพื่อให้ ซื้อได้ง่ายขึ้น เข้าใจการรับรู้ของผู้บริโภคต่อการตัดสินใจซื้อ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 171

สินค้า น�ำไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นชุมชน 4. ขอบเขตด้านสินค้าส�ำหรับออกแบบ ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค และ บรรจุภัณฑ์: สินค้าที่มีการออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ เป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าต่อไป ประกอบด้วย 1) สินค้าขนุนฉาบ 2) น�้ำส้มควันไม้ มะพร้าวแก้ว และ 3) กล้วยอบ ของวิสาหกิจ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ชุมชนบ้านหนองมะค่า ต�ำบลหนองตาแต้ม 1. เพื่อออกแบบบรรจุภัณฑ์ของสินค้า อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ท้องถิ่นวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า ต�ำบล หนองตาแต้ม อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบ- สมมติฐาน คีรีขันธ์ 1. ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ ท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่าแตกต่างกัน เลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นวิสาหกิจชุมชนบ้านหนอง- 2. ปัจจัยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ มะค่า ด้านโครงสร้างและด้านกราฟิกมีความสัมพันธ์ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ทางบวกต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ ปัจจัยด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีผลต่อการ เลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่า รับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า ท้องถิ่นวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า กรอบแนวคิดของการวิจัย การวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาปัจจัยด้านการ ขอบเขตของการวิจัย ออกแบบผลิตภัณฑ์มาศึกษา ซึ่งเกี่ยวข้องกับ 1. ขอบเขตด้านประชากร: คัดเลือก การออกแบบรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ให้เข้ากับ กลุ่มตัวอย่างจากจ�ำนวนประชากร ดังนี้ 1) สมาชิก ผลิตภัณฑ์ การใช้เลือกใช้สี รวมถึงการออกแบบ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า, 2) กลุ่ม ลวดลายบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์สื่อถึง ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ และ 3) กลุ่ม ผลิตภัณฑ์ให้ชัดเจน (Sakda, 2014) ประกอบด้วย นักท่องเที่ยวและผู้มาศึกษาดูงานที่วิสาหกิจ 1) การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ และ 2) การ ชุมชนบ้านหนองมะค่า ออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ เพื่อน�ำศึกษาความ 2. ขอบเขตด้านตัวแปร: ตัวแปรอิสระ สัมพันธ์ของการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ การรับรู้ ซึ่งมีผลมาจากการประมวลผลของสมอง และ 2) ปัจจัยด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ และสั่งการไปยังอวัยวะสัมผัส ทั่วร่างกายและ ตัวแปรตาม คือ ปัจจัยด้านการรับรู้ แปลความเป็นพฤติกรรม บุคลิกภาพ การกระท�ำ 3. ขอบเขตด้านสถานที่: วิสาหกิจชุมชน (Kanitsatranont, 2558) รวมถึงพฤติกรรม บ้านหนองมะค่า ต�ำบลหนองตาแต้ม อ�ำเภอ การตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ เกี่ยวข้องกับ ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจไม่ว่าจะทั้งปัจจัย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 172

ทางสิ่งแวดล้อม เช่น วัฒนธรรม หรือปัจจัยทาง 2. ตัวแปรตาม คือ ปัจจัยด้านการรับรู้ ด้านสังคม รวมไปถึงปัจจัยทางด้านการตลาดที่เป็น เกี่ยวข้องกับการรับรู้ที่เป็นผลมาจากการประมวลผล ส่วนส�ำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค ของสมองและส่งมายังระบบประสาท ซึ่งสั่งการ เป็นอย่างมาก (Philip, 1994) จึงน�ำมาสู่กรอบ ไปยังอวัยวะสัมผัสต่าง ๆ ทั่วร่างกายและแปลความ แนวคิดในการวิจัยดังแสดงในภาพที่ 1 ออกมาเป็นพฤติกรรม บุคลิกภาพ การกระท�ำ

ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ การรับรู้ของผู้บริโภค ปัจจัยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ในการตัดสินใจซื้อสินค้า - ด้านโครงสร้าง - ด้านกราฟฟิก

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย

ในการวิเคราะห์ผลการออกแบบบรรจุ- (Kanitsatranont, 2015) รวมถึงพฤติกรรมการ ภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภค ตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ ต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าท้องถิ่นของวิสาหกิจ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจไม่ว่าจะทั้งปัจจัยทาง ชุมชนบ้านหนองมะค่าด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล สิ่งแวดล้อม เช่น วัฒนธรรม หรือปัจจัยทางด้าน เชิงปริมาณ ประกอบด้วยตัวแปรที่ศึกษาดังนี้ สังคม รวมไปถึงปัจจัยทางด้านการตลาดที่เป็น 1. ตัวแปรอิสระ ประกอบด้วย ส่วนส�ำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค - ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ เป็นอย่างมาก (Philip, 1994) ได้แก่ สถานภาพ, เพศ, อายุ, รายได้, ระดับการ ศึกษา และอาชีพ ระเบียบวิธีวิจัย - ปัจจัยด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ การวิจัยนี้ใช้กระบวนการวิจัยแบบ เกี่ยวข้องกับการออกแบบรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ ผสมผสาน (Mixed Methods) ด้วยการน�ำเสนอ ให้เข้ากับผลิตภัณฑ์ การใช้เลือกใช้สี รวมถึงการ ข้อมูลในเชิงคุณภาพ (Qualitative) ที่ตอบสนอง ออกแบบลวดลายบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ สถานการณ์เฉพาะพื้นที่ และข้อมูลเชิงปริมาณ สื่อถึงผลิตภัณฑ์ให้ชัดเจน (Sakda, 2014) (Quantitative) ส�ำหรับประเมินผลการออกแบบ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยที่ศึกษาดังนี้ 1) การ บรรจุภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของ ออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ 2) การออกแบบ ผู้บริโภคด้วยการวิเคราะห์ทางสถิติ (vichaikit, กราฟิกบรรจุภัณฑ์ 2015) โดยน�ำกระบวนการของการวิจัยเชิง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 173

ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action ด้วยการจัดท�ำแบบร่างบรรจุภัณฑ์ และออกแบบ Research: PAR) มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้ผู้มี เป็นบรรจุภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการของ ส่วนร่วมกับผลิตภัณฑ์ชุมชนได้มีส่วนร่วมกับ สมาชิกวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่าที่มีความ กระบวนการตั้งแต่การระบุปัญหา การส�ำรวจ สัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ การวิเคราะห์ การปฏิบัติ จนน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ซื้อสินค้าท้องถิ่น ที่ดีขึ้น (Boonsawang, 2016) ซึ่งมีขั้นตอนการ โดยสินค้าที่มีการออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ ด�ำเนินการดังนี้ ประกอบด้วย 1) สินค้าขนุนฉาบ 2) น�้ำส้มควันไม้ ขั้นตอนที่ 1 การระบุประเด็นปัญหา มะพร้าวแก้ว และ 3) กล้วยอบ ของวิสาหกิจ ในขั้นตอนการระบุประเด็นปัญหา ชุมชนบ้านหนองมะค่า ต�ำบลหนองตาแต้ม ส�ำหรับการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมนี้ อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ด�ำเนินการโดยการลงพื้นที่สัมภาษณ์ เพื่อเก็บ ขั้นตอนที่ 3 การประเมินผลการออกแบบ รวบรวมข้อมูลจากผู้ที่มีส่วนร่วมกับผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ชุมชน ได้แก่ สมาชิกของวิสาหกิจชุมชนบ้าน คณะผู้วิจัยน�ำบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบ หนองมะค่า จ�ำนวน 9 คน ประกอบด้วยข้อมูล ไว้ไปประเมินผลการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มี ด้านทรัพยากร ด้านภูมิปัญญาของชุมชน ความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคกับกลุ่ม อัตลักษณ์ของชุมชนและด้านการเข้าถึงเทคโนโลยี ตัวอย่าง โดยเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการ ในชุมชน ซึ่งจะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ออกแบบบรรจุภัณฑ์คือ แบบสอบถามออนไลน์ ร่วมกันระหว่างคณะผู้วิจัยและผู้ที่มีส่วนร่วมกับ ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1) ข้อมูลทั่วไปของ ผลิตภัณฑ์ชุมชน ผู้ตอบแบบสอบถาม จ�ำนวน 6 ข้อ, ส่วนที่ 2) จนน�ำมาสู่ข้อสรุปประเด็นปัญหาคือ การรับรู้ของผู้บริโภคต่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ลักษณะบรรจุภัณฑ์สินค้าไม่มีความโดดเด่น ประกอบด้วยข้อค�ำถามด้านการออกแบบ ไม่สามารถสื่อถึงสินค้าที่ถูกบรรจุอยู่ภายในและ โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ จ�ำนวน 5 ข้อ และด้าน เอกลักษณ์ของชุมชนได้ ด้วยเหตุนี้วิสาหกิจชุมชน การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ จ�ำนวน 5 ข้อ, บ้านหนองมะค่าจึงมีความต้องการบรรจุภัณฑ์ ส่วนที่ 3) การรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ ที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคต่อการ ซื้อสินค้า ประกอบด้วยข้อค�ำถาม จ�ำนวน 6 ข้อ ตัดสินใจซื้อสินค้าท้องถิ่นของวิสาหกิจชุมชน และส่วนที่ 4) ข้อเสนอแนะ ตรวจสอบคุณภาพ บ้านหนองมะค่า ของเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการออกแบบ ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ คือ 1) ประเมินความสอดคล้อง เมื่อเข้าใจถึงประเด็นปัญหาและความ ของข้อค�ำถามกับจุดประสงค์จากผู้เชี่ยวชาญ ต้องการของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนบ้าน- ทั้งหมด 3 ท่าน และ 2) การทดสอบความเชื่อมั่น หนองมะค่าเกี่ยวกับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์แล้ว ของแบบสอบถามด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา คณะผู้วิจัยได้วางแผนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Method) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 174

(Cronbach, Lee J.,1974) มีค่าความเชื่อมั่น เชิงปริมาณด้วยสถิติดังนี้ 1) สถิติเชิงพรรณนา เท่ากับ 0.83 ได้แก่ ค่าร้อยละ และความถี่ อธิบายข้อมูล ประชากรที่ใช้ในการประเมินผลการ ประชากรศาสตร์ และ 2) สถิติเชิงอนุมาน ออกแบบบรรจุภัณฑ์ประกอบด้วย สมาชิกกลุ่ม เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของการออกแบบ วิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า, กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ บรรจุภัณฑ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคต่อการตัดสินใจ ด้านการออกแบบ และกลุ่มนักท่องเที่ยวและ ซื้อสินค้าท้องถิ่น การทดสอบค่าที (t-test) การ ผู้มาศึกษาดูงานที่วิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า ทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One Way โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากจ�ำนวนประชากร ANOVA) ซึ่งวิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี ค�ำนวณจากสูตรไม่ทราบขนาดตัวอย่างของ LSD และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย W.G. Cochran (Cochran, 1953) โดยก�ำหนด ด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson) ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และระดับค่าความ ขั้นตอนที่ 5 การแลกเปลี่ยน คลาดเคลื่อนร้อยละ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ค�ำนวณได้ เป็นขั้นตอนการน�ำเสนอข้อมูลที่วิเคราะห์ เท่ากับ 384 คน ซึ่งผู้วิจัยได้ก�ำหนดเป็น 400 คน ได้จากผลการออกแบบบรรจุภัณฑ์ต่อสมาชิก แบ่งออกเป็นสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้าน ของวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า เพื่อน�ำ หนองมะค่า จ�ำนวน 9 คน, กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ข้อเสนอแนะมาปรับปรุงและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ด้านการออกแบบ จ�ำนวน 5 คน และกลุ่ม ที่สอดคล้องกับการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าท้องถิ่น นักท่องเที่ยวและผู้มาศึกษาดูงานที่วิสาหกิจ ของผู้บริโภคต่อไป ชุมชนบ้านหนองมะค่า จ�ำนวน 386 คน ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ผลการ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ออกแบบบรรจุภัณฑ์ สรุปผลการวิจัย รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม 1. ผลออกแบบบรรจุภัณฑ์ของสินค้า ออนไลน์เพื่อวิเคราะห์ผลการออกแบบบรรจุ ท้องถิ่นวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า ภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภค ต�ำบลหนองตาแต้ม อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัด ต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าท้องถิ่นของวิสาหกิจ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมชนบ้านหนองมะค่าด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 175

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบการออกแบบบรรจุภัณฑ์เดิมและบรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาใหม่

บรรจุภัณฑ์เดิม

บรรจุภัณฑ์ใหม่

จากตารางที่ 1 พบว่า การออกแบบบรรจุ จากการส�ำรวจข้อมูลทั่วไป ภัณฑ์เดิมมีลักษณะเป็นกล่องพลาสติกใส ไม่มี พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ภาพกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ขณะที่บรรจุภัณฑ์ที่ จ�ำนวน 224 คน (55.6%) มีช่วงอายุ 20 - 30 ปี ออกแบบและพัฒนาใหม่มีโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ จ�ำนวน 170 คน (42.5%) ระดับการศึกษา ในรูปแบบกล่องกระดาษ เพื่อความสะดวกในการ ปริญญาตรี จ�ำนวน 180 คน (45%) มีอาชีพ เคลื่อนย้ายและง่ายต่อการพกพา และภายใน พนักงานบริษัทเอกชน จ�ำนวน 108 คน (27%) และ มีถุงพลาสติกใสเพื่อป้องกันความชื้น ท�ำให้สินค้า มีรายได้ 10,000 - 20,000 บาท จ�ำนวน 131 คน สามารถจัดเก็บได้นานขึ้น รวมทั้งยังมีการออกแบบ (32.8%) กราฟิกด้วยการใช้ทฤษฎีของสีเพื่อช่วยในการ 1.2 ปัจจัยด้านการออกแบบ บ่งบอกถึงผลิตภัณฑ์ภายใน บรรจุภัณฑ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการ 1.1 ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีผล ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าท้องถิ่น ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้าท้องถิ่น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 176

ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะห์การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภค

รายการ S.D. ระดับ การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ 4.31 0.63 มาก การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ 4.26 0.65 มาก ภาพรวมการออกแบบบรรจุภัณฑ์มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภค 4.30 0.64 มาก

จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์การ - ผู้บริโภคที่มีอายุต่างกันมีผลต่อ ออกแบบบรรจุภัณฑ์มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภค การรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อ พบว่า การออกแบบบรรจุภัณฑ์มีผลต่อการรับรู้ สินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่าไม่แตกต่างกัน ของผู้บริโภค ในภาพรวมมีผลระดับมาก เฉลี่ย ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 เท่ากับ 4.30 โดยการออกแบบด้านโครงสร้าง - ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาต่างกัน บรรจุภัณฑ์มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภคสูงสุด มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.31 และรองลงมาคือ การ เลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่า ออกแบบด้านการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ แตกต่างกันที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 และเมื่อ มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภค ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 เปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่พบความ 2. ผลการวิเคราะห์ปัจจัยด้าน แตกต่าง 2 คู่ คือ มัธยมปลายกับอนุปริญญา และ ประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภค มัธยมปลายกับปริญญาตรี ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าท้องถิ่น - ผู้บริโภคที่มีรายได้ต่างกันมีผล ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีผล ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อ ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่าไม่แตกต่างกัน สินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่า พบว่า ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 - ผู้บริโภคที่มีเพศต่างกันมีผลต่อการ - ผู้บริโภคที่มีอาชีพต่างกันมีผลต่อ รับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า การรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อ ท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่าไม่แตกต่างกันที่ สินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่าไม่แตกต่างกัน ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 - ผู้บริโภคที่มีสถานภาพต่างกันมีผล 3. ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อ ปัจจัยด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีผลต่อการ สินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่าไม่ต่างกันที่ รับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 ท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่า วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 177

ตารางที่ 3 แสดงค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ต่างกันมีผล ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่า

โครงสร้าง กราฟฟิก การรับรู้ ตัวแปร (S) (G) (P) โครงสร้าง (S) 1.00 กราฟิก (G) 0.63** 1.00 การรับรู้ (P) 0.59** 0.58** 1.00 4.32 4.26 4.25 S.D. 0.38 0.41 0.41 ** p < 0.01 จากตารางที่ 3 พบว่า การออกแบบ ทางบวกกับการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ บรรจุภัณฑ์ด้านโครงสร้าง (S) และการออกแบบ เลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่า บรรจุภัณฑ์ด้านกราฟิก (G) มีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งผู้บริโภค ทางบวกกับการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ ให้ความส�ำคัญต่อความปลอดภัยของสินค้าว่า เลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่า มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคมากที่สุด อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = 0.59 ส่วนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ด้านการออกแบบ และ 0.0.58 ตามล�ำดับ) กราฟิกนั้นผู้บริโภคให้ความส�ำคัญกับบรรจุภัณฑ์ จากการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความ ที่สามารถสื่อถึงสินค้าที่อยู่ภายในว่ามีความ สัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อ สัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ สินค้าท้องถิ่นของวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า เลือกซื้อสินค้ามากที่สุด ต�ำบลหนองตาแต้ม อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัด อภิปรายผลการวิจัย ประจวบคีรีขันธ์ พบว่า 1) บรรจุภัณฑ์ใหม่ออกแบบ การศึกษาเรื่อง การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้มีโครงสร้างสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายและ ที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการ พกพา รวมทั้งสามารถจัดเก็บได้นานขึ้น 2) ปัจจัย ตัดสินใจซื้อสินค้าท้องถิ่นของวิสาหกิจชุมชน ด้านประชากรศาสตร์ คือ ระดับการศึกษาต่างกัน บ้านหนองมะค่า ต�ำบลหนองตาแต้ม อ�ำเภอปราณบุรี มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบว่า ผู้บริโภคที่มีระดับ เลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้านหนองมะค่า การศึกษาต่างกันมีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภค แตกต่างกันที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 และ 3) ปัจจัย ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นชุมชนบ้าน ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ด้านโครงสร้าง และการ หนองมะค่าแตกต่างกันที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ด้านกราฟิกมีความสัมพันธ์ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยเรื่อง “ปัจจัยทางการตลาด วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 178

ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ OTOP พลาสติกซีนเพื่อป้องกันความชื้น ท�าให้สามารถ ประเภทเกลือสปากุญณภัทรของผู้บริโภคใน ยืดอายุของสินค้าได้นานขึ้น และใช้ทฤษฎีของ อ�าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี” (Thongkhot, สีมาช่วยในการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ 2016) ที่พบว่า ระดับของการศึกษาของผู้บริโภค เพื่อให้สามารถบ่งบอกถึงตัวผลิตภัณฑ์ภายใน มีผลกระทบต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าอย่างมี และสร้างการจดจ�าให้กับผู้บริโภคได้ ซึ่งสรุปผล นัยส�าคัญทางสถิติ เนื่องจากระดับการศึกษา ความพึงพอใจจากกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีความ อาจส่งผลต่อทัศนคติในการใช้จ่ายเงิน พึงพอใจการออกแบบบรรจุภัณฑ์ด้านโครงสร้าง การออกแบบบรรจุภัณฑ์ด้านโครงสร้าง อยู่ในระดับมาก เฉลี่ย 4.31 และการออกแบบ ของบรรจุภัณฑ์มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ บรรจุภัณฑ์ด้านกราฟิกอยู่ในระดับมาก เฉลี่ย 4.26 ของผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อสินค้าท้องถิ่น โดยเฉพาะการรับรู้ถึงความปลอดภัยของสินค้า ข้อเสนอแนะ ความสะดวกในการใช้งานของบรรจุภัณฑ์ เป็นส่วน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการ ที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคมากที่สุด ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์ต่อการ และในส่วนของการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ รับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจ ซื้อสินค้า มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการ ท้องถิ่นของวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า ตัดสินใจซื้อสินค้าท้องถิ่น โดยเฉพาะการรับรู้ถึง ต�าบลหนองตาแต้ม อ�าเภอปราณบุรี จังหวัด ความสวยงาม ความน่าสนใจของผลิตภัณฑ์ และ ประจวบคีรีขันธ์ ดังนั้นการศึกษาในครั้งต่อไป ความชัดเจนของรายละเอียดสินค้า เป็นส่วนที่มี ควรศึกษาความพึงพอใจในเรื่องของการใช้ ความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้บริโภคมากที่สุด บรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยเรื่อง “เส้นและแนวคิด ในการออกแบบผลิตภัณฑ์” (Porncharoen, กิตติกรรมประกาศ 2003) ที่พบว่า การออกแบบเกิดขึ้นเพื่อ ขอขอบคุณวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองมะค่า วัตถุประสงค์ในการสร้างสินค้าให้ดึงดูดใจ ต�าบลหนองตาแต้ม อ�าเภอปราณบุรี จังหวัด ผู้บริโภค มีความสวยงามและดูแปลกตา รวมถึง ประจวบคีรีขันธ์ ที่เอื้อเฟอสถานที่และข้อมูล สามารถใช้งานได้ดีในราคาที่เหมาะสม ซึ่งคณะ ในการท�าวิจัย และขอขอบคุณมหาวิทยาลัย ผู้วิจัยได้น�าผลการศึกษาที่มาออกแบบบรรจุภัณฑ์ เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ที่สนับสนุน ที่มุ่งเน้นความปลอดภัยของตัวสินค้าโดยใช้ การท�าวิจัยในครั้งนี้ กระดาษลูกฟูกในการท�ากล่อง และภายในมีถุง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 179

REFERENCES

Boonsawang, A. (2016). Brand and Packaging Design for promoting Food Product Identity in Southern Border Province. Bangkok. (in Thai) Bunsung, A. (2013). Designs Packageing Woven fabrics for Tambon FAK-THA of Uttaradit Province :Industrial Technology Lampang Rajabhat University Journal. (in Thai) Chawthai, D., Pormma, G., Kwangsawad, A. & Jattamart, A. (2018). Compare Usage Sticker Lines. Advocates for Community Products Prachuap Khiri Khan Province. The 3rd National Conference on Informatics, Agriculture, Management , Business Administration, Engineering , Science and Technology. (in Thai) Cochran, W.G. (1953). Sampling Techiques. New York : John Wiley & Sons. Inc. Cronbach, Lee J. (1974). Essentials of Psychological Testing. 3rd ed. New York : McGraw-Hill. Kanitsatranont, K. (2014). Perception of Quality and Marketing Communications Affected Purchase Decision of Organic Vegetable Product of Citizen in the District of Bangkok. Graduate School, Bangkok University. (in Thai) Kunasri, K., Panmanee, C., Singkharat, S., Suthep, S. & Suthep, D. (2017). Local Identity Selection for Community Product Development: Case Study of Baan Huay Chompoo Community Enterprise. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences, 10(4), 86. (In Thai) Ngam vichaikit, A. (2015). Mixed medthods approach:Qualitative and quantitative research design. Modern Management Journal (Humanities and Social Sciences), 13(1). (in Thai) Porncharoen, R. (2003). Lines and Ideas for Product Design,Technology-Promotion- Association (Thailand-Japan). (in Thai) Petcharaporn, N. (2015). The Behavior And Satisfaction Of Thai Tourists On Visiting Koh Kret (Kret ISLAND), nonthaburi province”7 (special), 67. (in Thai) Philip, K. (1994). Marketing management: analysis planning implementation and control. 9th ed. New Jersey: A Simon & Schuster Company.z.172. Sakda, P. (2014). The Local Corporate Identity Design for Dried Banana Crisps Package of Bang Ruk Noi Woman. manuafacturer group. Noonthaburi. Rajamangala University of Technology Rattanakosin. (in Thai) Thongkhot, Y. (2016). Marketing factors affecting the Decision to Purchase OTOP of Salt Spa Kunnapat in Ban Dung District, Udonthani Province. The 7th Hatyai National and International Conference June 23, 2016. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 180

บทความวิจัย

การพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร A DEVELOPMENT OF ACTIVITIES MODEL TO PROMOTE THE METHEMATICS PROBLEM SOLVING ABILITY BASED ON PISA ASSESSMENT FRAMEWORK FOR MATHAYOM 1 UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2, BANGKOK วีรยุทธ ด้วงใย1* ภาณุพงศ์ สามารถ2 เตชิต ตรีชัย3 และ พรหมมา วิหคไพบูลย์4 WeeraYut DuangYai1*, PhanuPhong Samat2, TeChit TriChai3 and PhromMa WihokPhaibun4

หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2, 3, 4 Doctor of Philosophy in Development Strategy Phranakhon Rajabhat University Bangkok, Thailand1*, 2, 3, 4

Email: [email protected]*

Received: 2019-02-05 Revised: 2019-06-14 Accepted: 2019-07-15

บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของดุษฏีนิพนธ์สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา ผู้วิจัย ขอน�ำเสนอผลการศึกษา วัตถุประสงค์ที่ 2 ของการวิจัยเท่านั้นคือ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและ แนวทางในการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร ใช้แบบของการวิจัยและพัฒนาโดยระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน ระหว่างระเบียบ วิธีวิจัยเชิงปริมาณและระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก การวิจัย เชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ ได้แก่ อาจารย์ผู้สอนคณิตศาสตร์ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ปกครอง และ นักเรียนจ�ำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาในด้านทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 181

ตามแนวทางการประเมินของ PISA มีดังนี้ 1) ด้านการคิดสถานการณ์ของปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์ 2) ด้านการใช้หลักการ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา 3) ด้านการตีความและประเมิน ผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ ในส่วนของแนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา คณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA มีดังนี้ 1) ด้านรูปแบบปัญหาในการจัดการเรียนรู้ 2) ด้านบรรยากาศในการเรียนรู้ และ 3) รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้

ค�ำส�ำคัญ: การพัฒนา รูปแบบกิจกรรม ทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ การประเมินของพิซ่า

ABTRACT This article is part of the Ph.D. dissertation of the Department of Development Strategy. The researcher would like to present the results of the study of the 2nd objectives of the research only: To study the problems and guidelines for developing mathematics problem-solving skills according to the PISA assessment framework for Mathayomsuksa 1 students of schools under the Secondary Educational Service Area 2, Bangkok. This research used a research and development model based on a mixed research methodology between quantitative research and qualitative research methods and mainly used qualitative research methods to study. Qualitative research provides valuable information, such as mathematics instructors, school administrators, parents, and 15 students. The research tools were structured interview forms and perform data analysis as content analysis. The results of the research revealed that the problems in solving mathematics skills according to the PISA assessment framework were as follows: 1) The situation of mathematical problems 2) The use of mathematical principles/processes in solving problems 3) Interpret and evaluate mathematical results. In the results of the study of the guidelines for the development of activities model to promote the mathematics problem-solving ability based on PISA assessment framework are as follows: 1) The form of learning management problems 2) The atmosphere in Learning and 3) learning activities

Keywords: Development, Activities Model, Mathematics Problem Solving Ability Based, PISA Assessment Framework วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 182

บทน�ำ โลกก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 ประชากรเป็น of the fundamental Education Commission, ทรัพยากรที่ส�ำคัญที่สุดในการแข่งขัน ดังนั้น 2017) สิ่งแรกที่ควรเร่งพัฒนาคือคนรุ่นใหม่ให้มีศักยภาพ การเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิต อันเป็นสากล ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 นั้น ในศตวรรษที่ 21 จึงเป็นเรื่องส�ำคัญของกระแส จะเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต คือเรียนรู้ 3R 7C การปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษ โดย 3R คือ อ่านออก (Reading, เขียนได้ (Writing) ที่ 21 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่ส�ำคัญที่สุดคือ และ คิดเลขเป็น (Arithemetics) ส่วน 7C ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มี ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ การเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เด็ก ทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and ในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และ Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ ทักษะกระบวนการคิด ซึ่งมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ต่อการพัฒนาตัวเด็กนักเรียน (Phimphan ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม Dechakup and Phayao Yindeesuk, 2014) ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) การให้เหตุผล ปัญหาทางด้านตรรกศาสตร์ ทักษะด้านความร่วมมือ การท�ำงานเป็นทีม และ เหตุผลในการแก้ปัญหาของนักเรียนแต่ละคน ภาวะผู้น�ำ (Collaboration, Teamwork and อาจจะตัดสินใจไม่ได้ว่าใครถูก หรือผิด แต่ควรจะ Leadership) ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ พิจารณาถึงเหตุผลที่ใช้ในการสนับสนุน นอกจาก และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, นี้แล้วควรฝึกให้นักเรียมองปัญหาในเชิงที่เป็น and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ ระบบมากขึ้น รู้ว่าเมื่อเกิดปัญหาต่าง ๆ ขึ้นแล้ว และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ควรจะด�ำเนินการอย่างไร อีกทั้งควรปลูกฝังให้ (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ นักเรียนมีความคิดในเชิงตรรกศาสตร์เพื่อให้ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning นักเรียนมีเหตุผลในเชิงของการแก้ปัญหา Skills) (Vijarn Phanich, 2013) ส่วนทางด้านการเรียนรู้ คณิตศาสตร์เป็นวิชา ประเทศไทยได้ให้ความส�ำคัญด้านการ ที่เกี่ยวข้องกับนามธรรมค่อนข้างมาก ผู้สอน ศึกษาของชาติ โดยยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงควรหารูปแบบที่เป็นรูปธรรมมาสอนเพื่อช่วย ได้จัดท�ำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 พัฒนาในกระบวนการคิดของนักเรียนดังที่ ยุพิน เพื่อเป็นกรอบเป้าหมายและทิศทางในการจัดการ พิพิธกุล (Phiphitkun, 2002) ได้กล่าวถึง ลักษณะ ศึกษาของประเทศไทย โดยมุ่งพัฒนาศักยภาพ ส�ำคัญของวิชาคณิตศาสตร์ว่าคณิตศาสตร์เป็น ของผู้เรียนอย่างเต็มที่ เน้นการคิดวิเคราะห์ วิชาที่เกี่ยวกับความคิดของมนุษย์ มีความส�ำคัญ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การใฝ่เรียนรู้ และ ต่อการพัฒนาความคิด พัฒนากระบวนการคิด การคิดประยุกต์ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ให้รู้จักคิด คิดเป็น คิดอย่างมีเหตุผล มีระบบ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Office ขั้นตอนในการคิดช่วยสร้างเสริมคุณลักษณะ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 183

ที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นในการด�ำรงชีวิต ความคิด วัดผลไปที่การรู้ คือ การน�ำความรู้ไปใช้ได้จริง ทางคณิตศาสตร์นั้นจะต้องมีแบบแผนและรูปแบบ โดยวัด 3 ด้าน คือ การอ่าน วิทยาศาสตร์ และ สามารถน�ำคณิตศาสตร์ไปแก้ไขปัญหาทาง คณิตศาสตร์ ผลการประเมินของนักเรียนไทย วิทยาศาสตร์ได้ คณิตศาสตร์ช่วยให้คนมีเหตุผล ต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติทุกวิชา และมีแนวโน้ม ใฝ่รู้ การคิดเป็นกระบวนการทางสมองของมนุษย์ ลดลงอย่างต่อเนื่อง อาทิ คะแนนคณิตศาสตร์ ซึ่งมีศักยภาพสูง ผู้มีความสามารถในการคิดสูง ของนักเรียนไทยใน PISA 2015 คะแนนเฉลี่ย สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้ลุล่วงไปได้ และมีการ มาตรฐานที่ 490 คะแนนและอยู่ที่ 415 คะแนน พัฒนาชีวิตของตนให้เจริญงอกงามยิ่ง ๆ ขึ้นไป ซึ่งต�่ำกว่าลดลงจาก PISA 2012 ถึง 11 คะแนน การน�ำทักษะกระบวนการคิดเข้ามามีบทบาท และอยู่ในอันดับที่ 55 จาก 72 ประเทศ ขณะที่ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้เรียนจึงเป็น เวียดนามอยู่อันดับที่ 21 สิงคโปร์อยู่อันดับที่ 1 บทบาทและภารกิจโดยตรงที่ผู้สอนต้องค�ำนึง ฮ่องกงอันดับที่ 2 (Institute for the Promotion และเห็นถึงความส�ำคัญ ซึ่งครูเป็นผู้ที่มีบทบาท of Teaching Science and Technology, 2015) ส�ำคัญในการส่งเสริมความคิดของผู้เรียน ครูจึง โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ควรจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความเหมาะสมของ (Programme for International Student ผู้เรียน โดยหาเทคนิค วิธีการสอนแปลก ๆ ใหม่ ๆ Assessment) ที่เรียกสั้น ๆ ว่า PISA มีจุดประสงค์ มุ่งให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง คอยติดตาม เพื่อหาตัวชี้วัดให้กับประเทศสมาชิก OECD ว่า ให้ก�ำลังใจพร้องทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีอิสระ ระบบการศึกษาของชาติสมาชิกเตรียมเยาวชน ในการแสดงออกทางด้านความคิดและการกระท�ำ ของชาติตนให้มีความพร้อมส�ำหรับอนาคต ตามจินตนาการและความพึงพอใจของผู้เรียน ให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพและสามารถมี ก็จะช่วยพัฒนาความคิดของผู้เรียนได้อย่างดี ส่วนร่วมท�ำให้ชาติมีศักยภาพในการแข่งขัน (Praphansiri Susaorat, 2010) สภาวการณ์การ เชิงเศรษฐกิจเมื่อเป็นผู้ใหญ่ได้หรือไม่เพียงใด ศึกษาไทยในปัจจุบันจากการประเมินคุณภาพ PISA ได้ให้ความส�ำคัญกับปัญหาในชีวิตจริง การศึกษา โดยส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน ในสถานการณ์จริงในโลก การประเมินการรู้เรื่อง และประเมินคุณภาพการศึกษา ประเมินตาม ทางคณิตศาสตร์ของ PISA จึงให้ความชัดเจน มาตรฐานการศึกษาด้านผู้เรียน ระดับขั้นพื้นฐาน ที่ความต้องการให้นักเรียนเผชิญหน้ากับปัญหา มาตรฐานที่ 4 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางคณิตศาสตร์ที่มีอยู่ในแวดวงของการด�ำเนิน สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ ชีวิต ซึ่งต้องการให้นักเรียนระบุสถานการณ์ที่ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ เป็นมาตรฐานที่ ส�ำคัญของปัญหา กระตุ้นให้หาข้อมูล ส�ำรวจ ได้คะแนนต�่ำสุด เมื่อเปรียบเทียบการประเมิน ตรวจสอบ และน�ำไปสู่การแก้ปัญหา ดังนั้นการที่ นักเรียนในโครงการประเมินผลนักเรียน PISA เลือกใช้ค�ำว่า การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ นานาชาติ (Program for International Student แทนค�ำว่า “ความรู้คณิตศาสตร์” ก็เพื่อเน้น Assessment หรือ PISA) ซึ่ง PISA ได้เน้นการ ความชัดเจนของความรู้คณิตศาสตร์ที่น�ำมาใช้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 184

ในสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งวิธีการประเมินรูปแบบนี้ การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ที่มีผลประเมินต�่ำ จะเป็นตัวชี้วัดการพัฒนานักเรียนไปสู่การเป็น ให้มีผลประเมินที่ดีขึ้น อีกทั้งจะเป็นประโยชน์ นักเรียนที่มีคุณภาพในศตวรรษที่ 21 ผู้วิจัยจึง ต่อส�ำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สามารถ เลือกแนวทางการประเมินของ PISA มาเป็น น�ำรูปแบบกิจกรรมนี้ไปประยุกต์ใช้ได้ แนวทางในการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย การศึกษาในศตวรรษที่ 21 (Institute for 1. เพื่อศึกษาระดับของทักษะการ the Promotion of Teaching Science and แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมิน Technology, 2010) ของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการ โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนให้มี มัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร ศักยภาพรองรับการประเมินของ PISA ปรากฏ 2. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและแนวทาง ว่ายังไม่มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับ ในการพัฒนาด้านทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ การประเมินนี้อย่างชัดเจน และผลประเมิน ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำหรับ การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) ในปี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัด การศึกษา 2560 ที่ผ่านมาพบว่า โรงเรียนสังกัด ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร มีผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน 3. เพื่อพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริม (O-Net) วิชาคณิตศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ย 28.34 ทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทาง จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ซึ่งต�่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย การประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม วิชาคณิตศาสตร์ของโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร ศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ ซึ่งอยู่ที่ 33.44 คะแนน (National Educational การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร Testing Institute, 2017) 4. เพื่อประเมินรูปแบบกิจกรรมส่งเสริม จากที่กล่าวมานี้ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนา ทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทาง รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา การประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม คณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA ศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ ซึ่งเหมาะกับการพัฒนานักเรียนไปสู่การเรียนรู้ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้โรงเรียนสังกัดส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพ- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ มหานคร ซึ่งผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ต่อ 1. เป็นแนวทางให้กับครูผู้สอน นักเรียนเป็นจ�ำนวนมากในการพัฒนาทักษะ คณิตศาสตร์ได้น�ำรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 185

การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางประเมิน 2) เชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญในการเก็บ ของ PISA ไปปรับใช้พัฒนาในกระบวนการ รวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ จ�ำนวน 29 คน จัดการเรียนการสอนส�ำหรับชั้นมัธยมศึกษา 2. ขอบเขตเนื้อหา 2. เป็นแนวทางในการสร้างหรือพัฒนา การวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ก�ำหนด รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา ขอบเขตเนื้อหาดังนี้ คณิตศาสตร์ตามแนวทางประเมินของ PISA 2.1 ศึกษาระดับของทักษะการ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมิน 3. ได้ต้นแบบในการพัฒนารูปแบบ ของ PISA ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามแนวทางประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียน มัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร โดยศึกษา ชั้นมัธยมศึกษา 1) การคิดสถานการณ์ของปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์ 2) การใช้หลักการและกระบวนการทาง ขอบเขตของการวิจัย คณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา 3) การตีความ การศึกษาเรื่องการพัฒนารูปแบบ และประเมินผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ กิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ 2.2 ศึกษาสภาพปัญหาและ ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำหรับ แนวทางในการพัฒนาด้านทักษะการแก้ปัญหา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัด คณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้ก�ำหนดขอบเขตของ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 การวิจัย ดังต่อไปนี้ กรุงเทพมหานคร โดยศึกษา 1) การคิดสถานการณ์ 1. ขอบเขตประชากร ของปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์ 2) การใช้หลักการ การวิจัยครั้งนี้ได้ท�ำการศึกษาจาก และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ปัญหา 3) การตีความและประเมินผลลัพธ์ทาง สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา คณิตศาสตร์ เขต 2 กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้ก�ำหนดขอบเขต 2.3 พัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริม ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างไว้เป็น 2 กลุ่ม ทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทาง ตามระเบียบวิธีวิจัยดังนี้ 1) เชิงปริมาณ ประชากร การประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม และกลุ่มตัวที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิง ศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ ปริมาณ ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงาน เขตพื้นที่การ ประกอบด้วยกิจกรรมส่งเสริมทักษะในด้าน ศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร 1) การคิดสถานการณ์ของปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์ จ�ำนวน 22,725 คน กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 396 คน 2) การใช้หลักการและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 186

ในการแก้ปัญหา 3) การตีความและประเมิน พัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ ผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมิน 2.4 ประเมินรูปแบบกิจกรรมส่งเสริม ของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทาง โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม การประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานครครั้งนี้ คือ โรงเรียน ศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ ที่มีการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในสังกัด การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 โดยประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ที่ประกอบ กรุงเทพมหานคร ด้วยกิจกรรม แบบฝึก แบบทดสอบ แบบประเมิน 4. ขอบเขตระยะเวลา ความพึงพอใจ การวิจัยในครั้งนี้ด�ำเนินการภาคเรียน 3. ขอบเขตด้านพื้นที่ ที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป พื้นที่ในการด�ำเนินการวิจัยเรื่องการ

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ข้อมูลส่วนบุคคล ทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ 1. เพศ 1. การคิดสถานการณ์ของปัญหาในเชิง 2. อายุ คณิตศาสตร์ 3. ผลการเรียนเดิม 2. การใช้หลักการและกระบวนการทาง 4. เจตคติที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา 3. การตีความและประเมินผลลัพธ์ทาง คณิตศาสตร์

ศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางในการ ประเมินรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทาง ตามแนวทางการประเมินของ PISA ของ การประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สพม. 2 กรุงเทพมหานคร

พัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 187

ระเบียบวิธีวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 3 คน 1. แบบของการวิจัย และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 4 คน แบบของการวิจัยในครั้งนี้เป็นการ 2.2.2 กลุ่มผู้เข้าร่วมระดมสมอง วิจัยและพัฒนา (Research & Development) (Brains Storming) เพื่อพัฒนารูปแบบกิจกรรม ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตาม Methodologies) ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ แนวทางการประเมินของ PISA จ�ำนวน 15 คน (Quantitative Research) และการวิจัยเชิง ได้แก่ อาจารย์ผู้สอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยม คุณภาพ (Qualitative Research) ศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 5 คน อาจารย์ช�ำนาญการ 2. ประชากร พิเศษด้านคณิตศาสตร์จ�ำนวน 5 คน ผู้เชี่ยวชาญ 2.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับ ด้านการสอนคณิตศาสตร์จากสถาบันอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงาน จ�ำนวน 5 คน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพ- 3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม มหานคร จ�ำนวน 22,725 คน เพื่อศึกษาระดับ ข้อมูล ของทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทาง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม การประเมินของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม ข้อมูลในครั้งนี้ แบ่งตามระเบียบวิธีวิจัย ได้แก่ ศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ 3.1 เครื่องมือเชิงปริมาณ เพื่อศึกษา การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ระดับของทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ 2.2 เชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำหรับ (Key Informants) ได้แก่ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัด รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 คณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA กรุงเทพมหานคร ได้แก่ แบบประเมินทักษะการ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมิน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ของ PISA ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมาจากการศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร มีจ�ำนวน 30 คน ได้แบ่ง ข้อมูลจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็น 2 กลุ่ม ตามภารกิจดังนี้ โดยแบ่งค�ำถามออกเป็น 2 ตอน และเพื่อประเมิน 2.2.1 กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์แบบ รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา มีโครงสร้าง (Structured Interview) ศึกษาสภาพ คณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA ปัญหาและแนวทางในการพัฒนาด้านทักษะการ ได้แก่ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) แบบ แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมิน ทดสอบหลังเรียน (Post-Test) และแบบประเมิน ของ PISA จ�ำนวน 15 คน ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ความพึงพอใจ (Satisfaction Survey Form) จ�ำนวน 3 คน อาจารย์ผู้สอนคณิตศาสตร์ระดับ 3.2 เครื่องมือเชิงคุณภาพ ผู้วิจัย มัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 5 คน ผู้ปกครอง พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลตาม วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 188

วัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยการวิเคราะห์และ ของ PISA ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังเคราะห์จากการศึกษาแนวคิดทฤษฏีและ ต่อไป งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือดังกล่าวนี้มีจ�ำนวน 5. การวิเคราะห์ข้อมูล 2 ชุด ดังนี้ 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางในการ ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา พัฒนารูปแบบกิจกรรม 2) ประเด็นการระดม (Content Analysis) ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากการ สมอง เพื่อพัฒนารูปแบบกิจกรรม สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างในการศึกษาสภาพ 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล ปัญหาและแนวทางในการพัฒนาทักษะการ การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก�ำหนด แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมิน ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ของ PISA ใช้การระดมสมองในการพัฒนา ของการวิจัย ดังนี้ รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและแนวทาง ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำหรับ ในการพัฒนาด้านทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัด ตามแนวทางการประเมินของ PISA ส�ำหรับ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร ในขั้นตอนนี้มีกิจกรรมดังนี้ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สรุปผลการวิจัย (Structured Interview) กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้วิจัยจะได้สรุปอภิปรายผลการศึกษา จ�ำนวน 15 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยในประเด็นต่าง ๆ จ�ำนวน 3 คน ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ระดับชั้น ดังนี้ มัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 5 คน ผู้ปกครอง 1. ผลการศึกษาสภาพปัญหาการพัฒนา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 3 คน ทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทาง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 4 คน การประเมินของ PISA ขั้นตอนนี้ใช้เวลา 2 เดือน การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างจาก ผลจากการศึกษาสภาพปัญหาและ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ จ�ำนวน 15 คน ประกอบด้วย แนวทางในการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ผู้บริหารโรงเรียนจ�ำนวน 3 คน ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 5 คน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้น�ำไปสู่ ผู้ปกครองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น การพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการ จ�ำนวน 3 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมิน จ�ำนวน 4 คน โดยมีประเด็นการสัมภาษณ์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 189

แยกเป็น 2 ส่วนคือ การศึกษาสภาพปัญหา 1) ปัญหาที่ครูน�ำมาใช้ในการจัดการ ในด้านทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ตาม เรียนรู้เป็นปัญหาที่ดึงดูดความสนใจและท้าทาย แนวทางประเมินของ PISA มี 3 ด้าน ดังนี้ ความสามารถของนักเรียน พบว่า ผู้ให้ข้อมูล 1) ด้านการคิดสถานการณ์ของ ส�ำคัญทั้งหมดเห็นด้วยและเห็นว่าจะช่วยท�ำให้ ปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์พบว่า การจัดการ กิจกรรมที่มีปัญหาเหล่านี้อยู่เป็นกิจกรรมที่มี เรียนรู้คณิตศาสตร์ในปัจจุบันนั้นสามารถสอน ประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ให้ผู้เรียนระบุประเด็นทางคณิตศาสตร์ที่โจทย์ 2) ปัญหาที่ครูน�ำมาใช้ในการจัดการ ก�ำหนดมาให้และสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบได้ เรียนรู้เป็นปัญหาที่แปลกใหม่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริง แต่ยังไม่สามารถแปลงปัญหาให้อยู่ในรูปแบบ และสถานการณ์จริง พบว่าผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ ของปัญหาทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง ทั้งหมดเห็นด้วยเป็นอย่างยิ่ง และให้เน้นเป็นหลัก น�ำคณิตศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหาได้ โดยให้พัฒนาให้นักเรียนเรียนรู้เพื่อน�ำไปใช้จริงได้ 2) ด้านการใช้หลักการ/กระบวนการ และเข้าใจว่าเรียนไปเพื่ออะไร และจะน�ำไปใช้ได้ ทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา การจัดการ อย่างไร ซึ่งอยากให้ทุกเรื่องเป็นปัญหาเช่นนี้ เรียนรู้คณิตศาสตร์ในปัจจุบัน ยังไม่สามารถ 3) ปัญหาที่ครูน�ำมาใช้ในการจัดการ สอนให้ผู้เรียนน�ำกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาทาง เรียนรู้เป็นปัญหาที่มีสถานการณ์น�ำคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ตลอดจนน�ำกฎเกณฑ์หรือโครงสร้าง ไปใช้ พบว่าผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญทั้งหมดเห็นด้วย ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาได้ท�ำได้ และอยากให้เป็นปัญหาที่น�ำคณิตศาสตร์ไปใช้ได้ เพียงการค�ำนวณค่าตามขั้นตอนที่มีอยู่แล้วได้ อย่างเป็นรูปธรรม นักเรียนสามารถเข้าใจและ เท่านั้น เห็นถึงการน�ำไปใช้ได้จริง 3) ด้านการตีความและประเมิน 4) ปัญหาที่ครูน�ำมาใช้ในการจัดการ ผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ การจัดการเรียนรู้ เรียนรู้เป็นปัญหาที่มีวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย คณิตศาสตร์ในปัจจุบันผู้เรียนสามารถตีความ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา พบว่า ผลลัพธ์ที่ได้กลับไปสู่บริบทในชีวิตจริงได้ แต่ไม่ ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่ง และ สามารถอธิบายความเป็นเหตุเป็นผลของขั้นตอน ควรฝึกการให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนความคิด วิธีที่น�ำมาใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และไม่ ซึ่งกันและกัน รวมทั้งฝึกให้นักเรียนรับฟังความ สามารถอธิบายความสมเหตุสมผลของผลลัพธ์ คิดเห็นของผู้อื่น กับปัญหานั้น ๆ ได้ 5) บรรยากาศในการเรียนรู้ พบว่า 2. ผลศึกษาแนวทางในการพัฒนา นักเรียนอยากได้บรรยากาศในการเรียนรู้เป็น รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา บรรยากาศที่สนุกสนานไม่เคร่งเครียด ผู้ปกครอง คณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA อยากให้บรรยากาศในการเรียนรู้ เป็นบรรยากาศ มี 9 ประเด็น ดังนี้ ของการเรียนรู้ที่น�ำไปใช้จริงมากกว่าการเรียน เพื่อรู้เพียงอย่างเดียว ผู้บริหารอยากให้บรรยากาศ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 190

ในการเรียนรู้เป็นบรรยากาศของการร่วมมือกัน ผลการศึกษาสภาพปัญหาและแนวทาง ระหว่างครูกับนักเรียนมากกว่าครูเป็นเพียง ในการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ผู้สอนเท่านั้น ครูอยากให้บรรยากาศให้ทุกคน ตามแนวทางการประเมินของ PISA ได้แลกเปลี่ยนไปพร้อม ๆ กัน ช่วยเหลือซึ่งกัน 1. กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และกัน ตามแนวทางการประเมินของ PISA ใน 3 ด้าน 6) การมีส่วนร่วมในการกระบวนการ ประกอบด้วย ด้านการคิดสถานการณ์ของ จัดการเรียนรู้การแก้ปัญหา พบว่า ผู้ให้ข้อมูล ปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์ ด้านการใช้หลักการ/ ส�ำคัญทั้งหมด เห็นด้วยที่ครูและนักเรียน ควรมี กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา ส่วนร่วมในกระบวนการจัดการเรียนรู้ และควรให้ และด้านการตีความและประเมินผลลัพธ์ทาง นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ใน คณิตศาสตร์ พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาทาง ทุกคาบ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนทุกคนมีความรัก คณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA ในการที่จะเรียนและเห็นคุณค่าของตนเอง ทั้ง 3 ด้านนั้น ในด้านการคิดผู้เรียนยังไม่สามารถ 7) การท�ำงานเป็นกลุ่ม ผู้ให้ข้อมูล แปลงปัญหาให้อยู่ในรูปแบบของปัญหาทาง ส�ำคัญทั้งหมด เห็นว่ากระบวนการท�ำงานเป็นกลุ่ม คณิตศาสตร์ได้ ในด้านการใช้ผู้เรียนยังไม่สามารถ จะช่วยพัฒนาผู้เรียนให้ยอมรับกติกาช่วยเหลือ น�ำขั้นตอนกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปแก้ ซึ่งกันและกัน ฝึกความรับผิดชอบในหน้าที่ของ ปัญหาได้ ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาได้ตามขั้นตอน ตนเองและเสียสละเพื่อส่วนรวม ตัวอย่างของครูเพียงเท่านั้น ส่วนด้านการตีความ 8) กิจกรรมที่หลากหลายในการ ผู้เรียนสามารถแปลความผลลัพธ์ไปสู่บริบท จัดการเรียนรู้ พบว่าควรเป็นกิจกรรมที่น�ำ ในชีวิตจริงได้ แต่ไม่สามารถอธิบายความสมเหตุ คณิตศาสตร์ไปใช้แก้ปัญหาจริง ในสถานการณ์จริง สมผลของผลลัพธ์กับปัญหานั้นได้ จึงท�ำให้ หรือสถานการณ์จ�ำลอง ควรเป็นกิจกรรมกลุ่ม นักเรียนมีปัญหากับกระบวนการแก้ปัญหา โดยให้ผู้เรียนทุกคนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีการ ทางคณิตศาสตร์ตามแนวทางการประเมินของ PISA แลกเปลี่ยนความคิดและมีความสนุกไม่น่าเบื่อ สอดคล้องกับรายงานสถาบันส่งเสริมการสอน 9) การช่วยเหลือจากครูในการคิด วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Institute for แก้ปัญหา พบว่าครูควรเป็นผู้วางแผนออกแบบ the Promotion of Teaching Science and กิจกรรมแล้วเป็นผู้ควบคุมด�ำเนินกิจกรรมให้อยู่ Technology, 2015) ที่น�ำเสนอผลการประเมิน ในกรอบ ลดบทบาทในการแสดงความคิดเห็น คะแนนคณิตศาสตร์ของนักเรียนไทยใน PISA เป็นหลักแต่เป็นเพียงผู้คอยให้ค�ำปรึกษาแทน 2015 ที่ลดลงจาก PISA 2012 ถึง 11 คะแนน อภิปรายผลการวิจัย มาอยู่ในอันดับที่ 55 จาก 72 ประเทศ ผู้วิจัยจะได้สรุปอภิปรายผลการศึกษา 2. รูปแบบปัญหาในการจัดการเรียนรู้ ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยใน 4 ประเด็นต่าง ๆ พบว่า ควรเป็นปัญหาที่ดึงดูดความสนใจและ ดังนี้ ท้าทายความสามารถของผู้เรียนเป็นปัญหา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 191

ที่แปลกใหม่และเกี่ยวข้องกับชีวิตจริงของผู้เรียน มัธยมศึกษา เขต 10 พบว่า กระบวนการจัดการ เป็นปัญหาที่มีวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลายวิธี เรียนรู้ที่จัดขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนรู้จัก คิด วิเคราะห์ มุ่งเน้นในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น บรรยากาศ แก้ปัญหามากกว่าการค�ำนวณค่าเพียงอย่างเดียว ทางการเรียนรู้จะต้องเป็นบรรยากาศที่น่าสนใจ สอดคล้องกับมิสธิติยา ใจชื่น (Jaichuen, 2010) ท้าทาย รู้จักการท�ำงานเป็นทีม สามารถน�ำความรู้ ได้ท�ำการศึกษาวิจัยการสร้างแบบฝึกเพื่อพัฒนา ไปสู่การใช้ในชีวิตจริง เห็นคุณค่าของการน�ำไปใช้ ทักษะการแก้โจทย์ปัญหาเรื่องโจทย์ปัญหาร้อยละ ให้เกิดประโยชน์และสามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่น การลดราคา ก�ำไร ขาดทุน ของนักเรียนชั้นประถม ได้อย่างมีความสุข ศึกษาปีที่ 5 พบว่าผู้เรียนที่ได้รับการฝึกโดยการใช้ 4. รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาเรื่องโจทย์ ควรเป็นกิจกรรมที่น�ำคณิตศาสตร์ไปใช้แก้ปัญหา ปัญหาร้อยละ การลดราคา ก�ำไร ขาดทุนของ จริงในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จ�ำลอง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สามารถพัฒนา ผู้เรียนทุกคนควรได้ลงมือกระท�ำด้วยตนเอง ทักษะการแก้ปัญหาเรื่องร้อยละ การลดราคา มีกิจกรรมเล่นปนเรียนเพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อ ก�ำไร ขาดทุนได้ผลดี เนื่องจากแบบฝึกที่ผู้วิจัย วิชาคณิตศาสตร์ ควรเป็นกิจกรรมที่มีการท�ำงาน สร้างขึ้นค�ำนึงถึงความสามารถและปัญหาทาง เป็นกลุ่มผู้เรียนช่วยกันระดมสมองในการหาวิธีการ การเรียนรู้ของผู้เรียน โจทย์ที่ก�ำหนดให้เป็นโจทย์ แก้ปัญหาสอดคล้องกับบุญรัตน์ ฐิตยานุวัฒน์ ที่พบได้ในชีวิตประจ�ำวันของนักเรียน มุ่งเน้น (Thittayanuwat, 2010) ได้ท�ำการศึกษาวิจัย กระบวนการคิดแก้ปัญหามากกว่าการค�ำนวณค่า การพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่องการแก้โจทย์ปัญหา เรียงล�ำดับเนื้อหาจากง่ายไปหายากมีจ�ำนวนข้อ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่จัดการ ไม่มากจนเกินไป ท�ำให้ผู้เรียนมีก�ำลังใจ รู้สึกสนุก เรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิค KWDL พบว่า มีความสุข มีความมั่นใจ เกิดทักษะความเข้าใจ การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเรียนเป็นกลุ่มคละ สามารถน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ ท�ำให้ผู้เรียน ความสามารถใช้กระบวนการกลุ่มให้นักเรียน มีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ท�ำงานร่วมกันและช่วยเหลือกัน เพื่อให้เกิด 3. บรรยากาศในการเรียนรู้ พบว่า ประโยชน์ในการเรียนสูงสุดแก่ตนเองและกลุ่ม ควรเป็นบรรยากาศที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน ชี้ให้เห็นผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ทุกคนมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น นอกจากนั้นการตั้งค�ำถามเพิ่มเติมในแต่ละขั้น ซึ่งกันและกัน มีการเรียนรู้นอกห้องเรียนที่เกี่ยวข้อง ของ KWDL ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคิดหาค�ำตอบ ในชีวิตจริงมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่าง ได้ดียิ่งขึ้น สมาชิกภายในกลุ่มร่วมแรงร่วมใจกัน เพื่อนร่วมมือกันในการเรียนรู้สอดคล้องกับ นฤมล ในการเรียนมากขึ้น ท�ำให้คะแนนของกลุ่มจาก ก้อนขาว (KhonKhao, 2015) ได้ท�ำการศึกษาวิจัย สมาชิกทุกคนเพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากความร่วมมือ สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียน ช่วยเหลือกัน ศรัทธาสมุทร สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 192

ข้อเสนอแนะ ระดับล่างขึ้นมาเป็นขั้น ๆ เพื่อให้นักเรียนคุ้นเคย 1. จากผลการวิจัยพบว่า ควรมีการ และได้เรียนรู้การแก้ปัญหาในระดับชั้นต่าง ๆ จัดให้มีชั่วโมงเรียนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา โดยให้บ้านและโรงเรียนร่วมมือกันในการพัฒนา กระบวนการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมและ กระบวนการคิด ในแต่ละเนื้อหา ควรน�ามาเชื่อมโยงใช้กับชีวิตจริง 3. ควรมีการท�าวิจัยการพัฒนารูปแบบ 2. จากผลการวิจัยพบว่า ควรมีการ กิจกรรมส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ วางแผนการจัดการเรียนรู้การแก้ปัญหามาตั้งแต่ ในเนื้อหาอื่น ๆ หรือกับวิชาอื่น ๆ ต่อไป

REFERENCES

Boonyarat Thittayanuwat. (2010). The development of Hearing Impaired Students’ Learning outcome in addition word problem of the 6th Grade students’ taught corporative learning together with KWDL Technique. Master’s thesis of Curriculum and teaching methods Silpakorn University. Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2010). PISA Assessment Results 2009 Reading Mathematics and Science: Executive Summary. Bangkok : Arun Karn Pim Partnership Limited. Misthitiya Jaichuen. (2010). Classroom research report on the development of problem solving skills on triangles of 5th grade students using the practice model. Bangkok: Assumption College. National Educational Testing Institute. (2017). Summary of the basic national educational test (O-NET) of Mathayom 3 students in the academic year 2017. Bangkok: National Educational Testing Institute. Narumon Khonkhao. (2015). Study of the learning environment of Students of Sattha Samut School under the Office of Secondary Educational Service Area 10. Master’s thesis of The field of educational administration Burapa university. Office of the fundamental Education Commission. (2017).Guidelines for organizing learning skills in the 21st century that focus on professional competencies. n.d : n.p. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 193

Phimphan Dechakup & Phayao Yindeesuk. (2014). Learning management in the 21st century. Bangkok : SE-ED Book Center. Praphansiri Susaorat. (2010). Development of thinking. Bangkok : 9119 Technical Printing Partnership Limited. Vijarn Phanich. (2013). Creating learning into the 21st century. Nakhon Pathom: S Charoen Printing Co., Ltd. Yupin Phiphitkun. (2002). How to teach mathematics. Journal of Mathematics Science Education and technology. 36(116), 15-22. . (2015). PISA 2015 research summary of reading and mathematics science. Bangkok : Arun Karn Pim Partnership Limited. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 194

บทความวิจัย

การวิเคราะห์ความต้องการจ�ำเป็นของการพัฒนาครู โรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร THE PRIORITY NEDDS INDEX MODIFIED ANALYSIS OF LERTLAH KASET- NAWAMIN SCHOOL TEACHER DEVELOPMENT BASED ON THE CONCEPT OF TEACHER INNOVATORS ’ CHARACTERISTICS มลธิชา กลางณรงค์1* และ นันทรัตน์ เจริญกุล2 Monticha Klangnarong1* and Nantarat Charoenkul2

สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Department of Educational Administration, Faculty of Education Chulalongkorn University, Bangkok Thailand1*, 2

Email: [email protected]*

Received: 2019-03-31 Revised: 2019-07-06 Accepted: 2019-07-08

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจ�ำเป็น ของการพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย คณะผู้บริหารโรงเรียนเลิศหล้า จ�ำนวน 20 คน และครูชาวไทยที่ท�ำหน้าที่ปฏิบัติ การสอนในโรงเรียนเลิศหล้า ประจ�ำปีการศึกษา 2561 จ�ำนวน 84 คน รวมทั้งหมด 104 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการพัฒนาครูโรงเรียน เลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงมาตรฐาน และการจัดล�ำดับความ ส�ำคัญของความต้องการจ�ำเป็น ผลการวิจัยเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของคุณลักษณะของครูนวัตกรทั้ง 6 ด้าน ในมิติภาพรวม พบว่า สภาพปัจจุบันของคุณลักษณะครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า คุณลักษณะด้านทักษะการสังเกต ความกล้าเสี่ยง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 195

และทักษะการทดลอง ( = 3.09) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ทักษะการสร้างเครือข่าย ( = 3.00) และต�่ำที่สุด คือ ความคิดสร้างสรรค์ ( = 2.95) เมื่อพิจารณาความต้องการจ�ำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร พบว่า มีค่าความต้องการจ�ำเป็นของด้านย่อยสูงสุดล�ำดับ 1 คือ คุณลักษณะด้านความคิดสร้างสรรค์ (PNI = 0.61) อันดับ 2 คือ คุณลักษณะด้านทักษะการ ตั้งค�ำถาม (PNI = 0.60) อันดับ 3 คือ คุณลักษณะด้านทักษะการสร้างเครือข่าย (PNI = 0.57) อันดับ 4 คือ คุณลักษณะด้านความกล้าเสี่ยง และคุณลักษณะด้านทักษะการทดลอง (PNI = 0.54) และ อันดับ 5 คือคุณลักษณะด้านทักษะการสังเกต (PNI = 0.53)

ค�ำส�ำคัญ: การพัฒนาครู ครูนวัตกร สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การวิเคราะห์ความต้องการ จ�ำเป็น

ABSTRACT This quantitative research aims to study the requirement of development for teachers at Lertlah Kaset -Nawamin School based on innovative teachers’ characteristics. The data has been gathered from 20 staffs at the management level in the Lertlah Kaset-Nawamin School and 84 Thai teachers who teach in kindergarten, primary, and secondary levels in the academic year of 2018. The total sample size is 104 people. The research instrument used in this research is a questionnaire that surveys the present circumstances and circumstances of development for teachers at Lertlah Kaset-Nawamin School based on innovative teachers’ characteristics. The data were analyzed using descriptive statistics, which are frequency, percentage, mean, standard deviation, and PNI Modified ranking. The results related to the present circumstances and the normal circumstances consisted of 6 skills, which are creativity, questioning, observation, venturing, experimentation, and network building. The finding of the present circumstances of Lertlah Kaset-Nawamin School based on innovative teachers’ characteristics was at a moderate level. In addition to the skill-level analysis, It appeared that observation, venturing and experimentation skills gain the highest means value ( = 3.09) followed by network building ( = 3.00), and the lowest is creativity ( = 2.95) The requirements of development for teachers at Lertlah Kaset-Nawamin School based on innovative teachers’ characteristics, it can be seen that the highest qualification is creativity (PNI = 0.61). The second requirement is questioning skills (PNI = 0.60). The วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 196 third requirement is network building skills (PNI = 0.57). The fourth is venturing skills and experimentation skills (PNI = 0.54), while the lowest requirement is observation skills (PNI = 0.53).

Keywords: Teacher Development, Teacher Innovators, The Present Circumstances, The Expected Circumstances, The PNI Modified Analysis

บทน�ำ ประเทศไทย 4.0 เป็นยุคเทคโนโลยี ระดับโลก มีการเรียนรู้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สมัยใหม่และนวัตกรรม การศึกษา 4.0 คือการ มีความยืดหยุ่นสูง เปิดกว้างเพื่อรองรับสิ่งใหม่ น�ำองค์ความรู้มาบูรณาการสร้างนวัตกรรมเพื่อ ที่เกิดขึ้นได้ดี มีความสามารถในการบริหาร ตอบสนองความต้องการของสังคม ในศตวรรษ การเปลี่ยนแปลง มีความกล้าเสี่ยงอย่างรอบคอบ ที่ 21 เป็นยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge- ในการตัดสินใจที่เกี่ยวกับด้านวิสัยทัศน์มากขึ้น Based Economy) ที่ปัจจัยในการผลิตและ (Vanichvasin, 2009) และค�ำนึงถึงความต้องการ แข่งขันก�ำลังเปลี่ยนไปเป็นปัจจัยที่ไม่อาจจับต้อง ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายในและภายนอก ได้มากขึ้น (Vanichvasin, 2009) ดังนั้นการ องค์กร มีทักษะการท�ำงานเป็นทีมและการสื่อสาร พัฒนานวัตกรรมจึงเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้ ที่มีประสิทธิภาพ (Bass & Avolio, 1990) ทุกองค์กรสร้างจุดยืนที่เข้มแข็งเป็นองค์กรแห่ง นอกจากนี้การทําให้ครูผู้สอนให้การยอมรับ นวัตกรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อความอยู่รอด เทคโนโลยีนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ นั้น การเจริญเติบโตและการสร้างสมรรถนะในการ ยังเป็นภารกิจที่สําคัญของผู้บริหารโรงเรียน แข่งขันอย่างยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ (Bagley, 2014) ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าไม่ใช่ สังคม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นนี้ส่งผล เรื่องง่ายที่จะทําให้เกิดการยอมรับ โดยเฉพาะ ต่อแนวทางการจัดการศึกษาไทยในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของโรงเรียนที่มี เป็นอย่างมาก กล่าวคือ มีแนวโน้มเป็นระบบ ความซับซ้อนและมีความท้าทายหลาย ๆ เหตุผล การศึกษาที่เพิ่มศักยภาพและทักษะการเรียนรู้ (Schrum and Levin, 2009) ในขณะที่ ของผู้เรียน เพื่อพัฒนาหรือปรับตัวให้เท่าทันกับ บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ประกอบไปด้วย สภาวะการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก ครูเป็นผู้เรียนรู้ร่วมกับผู้เรียน (Co-learner) (Chaemchoy, 2015) ด้วยเหตุนี้ผู้น�ำของสถาน โดยผู้บริหารสถานศึกษาต้องสร้างแรงบันดาลใจ ศึกษาไม่เพียงแต่ต้องรับมือกับความท้าทาย (Inspiration) ให้ครูปรับเปลี่ยนสู่มุมมองสมัยใหม่ ในปัจจุบันแต่ยังต้องเตรียมความพร้อมจัดการ เพื่อให้สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ กับอนาคตที่ก�ำลังจะมาถึงด้วย (Daft, 2008) (Instructional Design) ที่หลากหลาย โดยค�ำนึง ผู้บริหารการศึกษาพึงมีมุมมองที่กว้างไกล ถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน ความต้องการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 197

ของสังคมและชุมชน และความเป็นนานาชาติ จัดการเป็นมาตรฐานระดับสากลบนพื้นฐาน และมีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ของข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี เป็นผู้น�ำ สื่อสาร (ICT skills) เพื่อให้สามารถเชื่อมโยง ด้านองค์ความรู้การจัดการศึกษาระบบ English โลกแห่งการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Program โดยครูมืออาชีพที่เหนือชั้น ผู้เรียน และการสื่อสาร (Songkram, 2014) อีกทั้งครู ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ มีทักษะความ ยังเป็นผู้จัดการเรียนรู้และผู้นําทางในการไปถึง สามารถในการแข่งขันด้านวิชาการ มีคุณธรรม จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ เป็นผู้กําหนดเป้าหมาย จริยธรรม และพัฒนาตนในสังคมแห่งการเรียนรู้ และนักตั้งคําถาม เป็นนักออกแบบการเรียนรู้ อย่างมีความสุข ผู้ปกครองและชุมชนมีความ สําหรับบทบาทนี้ครูจะต้องเป็นนักสร้างสรรค์ พึงพอใจและให้ความร่วมมือกับโรงเรียนอย่าง ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เพื่อ ต่อเนื่อง (Brochure Lertlah School Division เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ผู้เรียนไปในทาง The Best in English Program Schools and สร้างสรรค์ โดยเริ่มจากการทําความเข้าใจ Leader in International Program Schools ผู้เรียนก่อน แล้วออกแบบค�ำถามหรือปัญหา 25th Anniversary, 2560) โดยคณะผู้บริหาร รวมทั้งแนะนํากิจกรรมที่จะนําผู้เรียนไปสู่ความ โรงเรียนเลิศหล้าได้ก�ำหนดพันธกิจหลักด้าน เข้าใจและเกิดการเรียนรู้ ซึ่งการออกแบบการ องค์กร ได้แก่ จัดท�ำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ เรียนรู้นี้อาจจะมีความแตกต่างหลากหลายกัน และเทคโนโลยีให้เป็นปัจจุบันเอื้อต่อการปฏิบัติ ออกไปเป็นรายบุคคล การเรียนรู้ในแต่ละเนื้อหา งานและการจัดการเรียนการสอน ด้านบุคลากร รายวิชาจะมีสภาพแวดล้อมหรือบริบทที่แตกต่าง ได้แก่ พัฒนาระบบการศึกษา การอบรมแก่ กันออกไป (Newquist, 2015) ดังนั้นครูจะต้อง บุคลากร สร้างบรรยากาศการท�ำงานแบบ เป็นผู้ที่สามารถจัดสภาพแวดล้อมหรือบริบท กัลยาณมิตรโดยอยู่บนหลักการของเหตุผล ให้สอดคล้องกับสิ่งที่ผู้เรียนกําลังเรียนรู้ เพื่อให้ เพื่อปลูกฝังบุคลากรให้มีความรักและผูกพันต่อ ผู้เรียนสามารถเข้าใจเนื้อหานั้น ๆ ได้อย่างแท้จริง องค์กร ส่งเสริมรูปแบบการท�ำงานเป็นทีมและ และรวดเร็วขึ้น เป็นผู้กวดขันหรือผู้ประกันคุณภาพ ระบบการพัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพที่ อีกหนึ่งบทบาทที่สําคัญของครูในยุคดิจิทัล คือ เหนือชั้น และด้านผู้เรียน ได้แก่ เรียนรู้อย่างเป็น การควบคุมคุณภาพอย่างพิถีพิถัน โดยการ ธรรมชาติ ได้รับประสบการณ์ตรงจากครูชาว ประเมินผลจะไม่เป็นเพียงการให้คะแนนชิ้นงาน ต่างประเทศเจ้าของภาษา จัดการเรียนการสอน เมื่อสิ้นสุดการเรียนรู้เท่านั้น แต่จะต้องคอยกากับํ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนได้แสดงออกถึง ควบคุมคุณภาพของชิ้นงานจนกว่าจะมีคุณภาพ ศักยภาพทางด้านภาษา วิชาการ เทคโนโลยี ในระดับสูง อันเป็นกรอบวิสัยทัศน์ที่ทุกโรงเรียน สู่การแข่งขันทั้งภายในและภายนอก ส่งเสริมให้ พึงให้ความส�ำคัญ (Chaemchoy, 2015) นักเรียนสร้างนวัตกรรมเทคโนโลยีและประยุกต์ วิสัยทัศน์ของโรงเรียนเลิศหล้า สาขา ใช้ในการเรียนวิชาต่าง ๆ และได้ก�ำหนดนโยบาย ถนนเกษตร-นวมินทร์ เป็นองค์กรที่มีระบบบริหาร การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใช้นวัตกรรม วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 198

เป็นฐาน ซึ่งนวัตกรรมเป็นส่วนหนึ่งของแผน การท�ำงานแบบเดิมที่มีขั้นตอนซับซ้อนและไม่มี กลยุทธ์การพัฒนาสถานศึกษาที่บุคลากรทุก ความยืดหยุ่น คนจะต้องร่วมกันบริหารจัดการเพื่อให้เกิด จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นผู้วิจัย นวัตกรรมใหม่ ๆ (Brochure Lertlah School จึงเห็นความจ�ำเป็นที่ผู้บริหารจะต้องพัฒนาครู Division, 2017) อย่างไรก็ตามในปัจจุบัน ที่มีคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้นเพื่อสร้างครูนวัตกร ยังพบปัญหาด้านความเป็นนวัตกรของครูฝ่ายไทย และต้องสร้างวัฒนธรรมการท�ำงานที่มุ่งเน้นการ 4 ประการ ซึ่งประกอบด้วย ประการที่หนึ่งปัญหา เปิดใจยอมรับสิ่งใหม่ ๆ กระตุ้นให้ครูมีความ ด้านนวัตกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ ครูบางส่วน มุ่งมั่นตั้งใจที่จะปฏิบัติงานให้บรรลุสู่เป้าประสงค์ ยังใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย ไม่มีเทคนิคการสอน ที่ตั้งไว้ร่วมกัน ชี้น�ำให้ครูวิเคราะห์สถานการณ์ ที่ทันสมัย และขาดวิธีประเมินผลการเรียนรู้ และโอกาสในการสร้างนวัตกรรมใหม่ในมุมมอง ที่หลากหลาย ยังคงมีความเชื่อเดิม (Fixed ที่หลากหลายโดยพิจารณาปัจจัยภายในและ Mindset) เกี่ยวกับรูปแบบการสอนของตนที่เคยใช้ ปัจจัยภายนอกสถานศึกษา สนับสนุนให้ครูลอง มานานกว่ายี่สิบปีเป็นรูปแบบที่ดีที่สุดโดยไม่ น�ำวิธีการหรือแนวคิดใหม่ ๆ ประยุกต์ใช้ในการ ค�ำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมของ จัดการเรียนการสอนในห้องเรียนอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียน ประการที่สองปัญหาด้านนวัตกรรมสื่อ ด้วยเหตุผลดังกล่าวทําให้ผู้วิจัยมีความสนใจ การสอน ครูไม่เข้าใจและไม่รู้จักวิธีการใช้นวัตกรรม ที่จะศึกษาว่าสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ การเรียนการสอนที่ทางโรงเรียนจัดท�ำขึ้น หรือ ของความเป็นครูนวัตกร เพื่อศึกษาความต้องการ ยังไม่มีการน�ำสื่อนวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียน จ�ำเป็นของการพัฒนาคุณลักษณะของครูนวัตกร การสอนอย่างต่อเนื่อง และครูขาดความรู้ความ ของครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ เข้าใจในการผลิตการสื่อนวัตกรรมการเรียน การสอนที่ทันสมัยและมีความหลากหลาย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประการที่สามปัญหาด้านนวัตกรรมการวัดและ 1. เพื่อศึกษาความต้องการจ�ำเป็นของ ประเมินผล ครูไม่สามารถน�ำนวัตกรรมมาใช้ การพัฒนาคุณลักษณะของครูนวัตกรของครู เป็นเครื่องมือในการวัดผลและประเมินผลการ โรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ เรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและ รวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา ด้วยการ ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุน 1. ผู้บริหารกลุ่มโรงเรียนเลิศหล้า การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประการที่สี่ มีสารสนเทศในการพัฒนาคุณลักษณะของครู ปัญหาด้านนวัตกรรมการท�ำงานของครู ได้แก่ นวัตกรให้เกิดขึ้นในตัวครูผู้สอน ผลการวิจัย ครูขาดทักษะการท�ำงานเป็นทีม ยึดติดกับรูปแบบ ในครั้งนี้ท�ำให้ผู้บริหารทราบถึงสภาพปัจจุบัน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 199

ของคุณลักษณะของครูนวัตกรของครู และได้ (2014) ; Sutthawart & Siriwong (2015); มองเห็นว่าคุณลักษณะใดที่ควรจะปรับปรุง Prajan & Chaemchoy (2018) ประกอบด้วย เน้นย�้ำ ส่งเสริม หรือพัฒนาให้ครูมีคุณลักษณะ 6 คุณลักษณะ ได้แก่ 1) ความคิดสร้างสรรค์ ของครูนวัตกรมากขึ้น น�ำไปสู่การสร้างสถานศึกษา 2) ทักษะการตั้งค�ำถาม 3) ทักษะการสังเกต แห่งนวัตกรรมต่อไป 4) ความกล้าเสี่ยง 5) ทักษะการทดลอง และ 2. ผู้บริหารมีสารสนเทศในการสรรหา 6) ทักษะการสร้างเครือข่าย และคัดเลือก การแต่งตั้ง การเตรียมผู้สืบทอด 2. ขอบเขตด้านประชากร ตําแหน่งการอบรมพัฒนาคุณลักษณะของครู ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นวัตกรของครู ตลอดจนสามารถใช้เป็นแนวทาง คือ โรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ในการกําหนดค่าตอบแทนแก่ครูที่มีคุณลักษณะ 3. ขอบเขตด้านเวลา ตามที่ต้องการ การวิจัยครั้งนี้ใช้ระยะเวลาการศึกษา ระหว่างเดือนธันวาคม 2561 - พฤษภาคม 2562 ขอบเขตการวิจัย 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา กรอบแนวคิดของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาความต้องการ การวิจัยความต้องการจ�ำเป็นของ จ�ำเป็นในการพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขา การพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร- ถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะ นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร ของครูนวัตกร โดยใช้สังเคราะห์จากแนวคิดของ ได้มีกรอบแนวคิดในการวิจัยดังนี้ Rogers (1983); Chaemchoy (2012); George วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 200

สภาพปัจจุบันของคุณลักษณะของครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร ประกอบด้วย 1) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2) มีทักษะการตั้งค�ำถาม 3) มีความช่างสังเกต 4) มีความกล้าเสี่ยง 5) มีทักษะการทดลอง ความต้องการจ�ำเป็น 6) มีทักษะการสร้างเครือข่าย ของการพัฒนาครู โรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ สภาพพึงประสงค์ของคุณลักษณะของครูโรงเรียนเลิศหล้า ตามแนวคิดคุณลักษณะ สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร ของครูนวัตกร ประกอบด้วย 1) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2) มีทักษะการตั้งค�ำถาม 3) มีความช่างสังเกต 4) มีความกล้าเสี่ยง 5) มีทักษะการทดลอง 6) มีทักษะการสร้างเครือข่าย

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย

ระเบียบวิธีวิจัย โรงเรียนเลิศหล้าสาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มี 2 ชุด ประกอบด้วย ชุดที่ 1 ส�ำหรับคณะผู้บริหาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความต้องการ ได้แก่ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน รองผู้อ�ำนวยการ จ�ำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขา โรงเรียนฝ่ายต่าง ๆ และหัวหน้าฝ่ายต่าง ๆ ของ ถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะ โรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ของครูนวัตกรโดยแบ่งขั้นตอนการวิจัยเป็น ประจ�ำปีการศึกษา 2561 และชุดที่ 2 ส�ำหรับครู 2 ขั้นตอน ดังนี้ ชาวไทยที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านการเรียนการสอน ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ในโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ และสภาพที่พึงประสงค์ของคุณลักษณะของ ระดับเตรียมอนุบาลศึกษา อนุบาลศึกษา ประถม ครูนวัตกรของครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนน ศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น ประจ�ำปีการ เกษตร-นวมินทร์ โดยใช้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ศึกษา 2561 คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพ พึงประสงค์ของคุณลักษณะของครูนวัตกรของครู ที่พึงประสงค์ของคุณลักษณะของครูนวัตกรของ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 201

ครูโรงเรียนเลิศหล้าสาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ถนนเกษตร-นวมินทร์ จากผู้ให้ข้อมูลที่แบ่งเป็น แบ่งออกเป็น 2 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 2 กลุ่ม ซึ่งได้แก่ คณะผู้บริหาร จ�ำนวน 20 คน สถานภาพทั่วไปของผู้ให้ข้อมูล (สําหรับผู้บริหาร และคณะครูชาวไทยจ�ำนวน 84 คน รวมจ�ำนวน และครูผู้สอน) ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ทั้งหมด 104 คน ซึ่งประมวลผลเป็นค่าคะแนน สูงสุด ระยะเวลาที่ด�ำรงต�ำแหน่งปัจจุบันในโรงเรียน สภาพปัจจุบันและคะแนนสภาพที่พึงประสงค์ เลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ มีลักษณะ เพื่อน�ำมาวิเคราะห์ค่าความต้องการจ�ำเป็นของ เป็น แบบตรวจสอบรายการ (Check lists) และ การพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร- ตอนที่ 2 สอบถามระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร

สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของ โดยใช้สูตร PNI Modified คุณลักษณะของครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนน การแปลความหมายของสภาพปัจจุบัน เกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครู และสภาพที่พึงประสงค์ของคุณลักษณะของครู นวัตกร เป็นแบบตอบสนองคู่ (Dual - response นวัตกร ดังนี้ format) ซึ่งลักษณะของข้อคาถามเป็นมาตราส่วนํ คะแนน 5 หมายถึง ระดับคะแนนหรือ ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ระดับสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์ ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาความต้องการจ�ำเป็น มากที่สุด ของการพัฒนาคุณลักษณะของครูนวัตกรของครู คะแนน 4 หมายถึง ระดับคะแนนหรือ โรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ระดับสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์ โดยน�ำข้อมูลจากแบบสอบถามในขั้นตอนที่ 1 มาก

ด�ำเนินการหาค่าความต้องการจ�ำเป็น PNI Modified คะแนน 3 หมายถึง ระดับคะแนนหรือ เพื่อวิเคราะห์และจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น ระดับสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์ ของการพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนน ปานกลาง เกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของ คะแนน 2 หมายถึง ระดับคะแนนหรือ ครูนวัตกร ระดับสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์ น้อย สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย คะแนน 1 หมายถึง ระดับคะแนนหรือ สรุปผลการวิจัย ระดับสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการวิจัย น้อยที่สุด โดยท�ำการศึกษาจากข้อมูลเกี่ยวกับสภาพ ดังตารางที่ 1 เกณฑ์การให้คะแนนสภาพ ปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของคุณลักษณะ ปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์ ของครูนวัตกรของครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 202

ตารางที่ 1 เกณฑ์การให้คะแนนสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์

คะแนนเฉลี่ย ความหมาย 4.50 – 5.00 มีสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด 3.50 – 4.49 มีสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก 2.50 – 3.49 มีสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับปานกลาง 1.50 – 2.49 มีสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับน้อย 1.00 – 1.49 มีสภาพปัจจุบัน/ระดับสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับน้อยที่สุด

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพ เมื่อพิจารณาความต้องการจ�ำเป็นของ ปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของคุณลักษณะ การพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร- ครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร พบว่า พบว่า มีค่าความต้องการจ�ำเป็นของด้านย่อย สภาพปัจจุบันของคุณลักษณะครูโรงเรียนเลิศหล้า สูงสุดล�ำดับ 1 คือ คุณลักษณะด้านความคิด สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะ สร้างสรรค์ (PNI = 0.61) ล�ำดับ 2 คือ คุณลักษณะ ของครูนวัตกร อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา ด้านทักษะการตั้งค�ำถาม (PNI = 0.60) ล�ำดับ เป็นรายด้าน ปรากฏว่า คุณลักษณะด้านทักษะ 3 คือ คุณลักษณะด้านทักษะการสร้างเครือข่าย การสังเกต คุณลักษณะด้านความกล้าเสี่ยง และ (PNI = 0.57) ล�ำดับ 4 คือ คุณลักษณะด้านความ คุณลักษณะด้านทักษะการทดลอง ( = 3.09) กล้าเสี่ยงและคุณลักษณะด้านทักษะการทดลอง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ คุณลักษณะด้าน (PNI = 0.54) และล�ำดับ 5 คือคุณลักษณะด้าน ทักษะการสร้างเครือข่าย ( = 3.00) และ ทักษะการสังเกต (PNI = 0.53) ดังตารางที่ 2 ต�่ำที่สุด คือ คุณลักษณะด้านความคิดสร้างสรรค์ สภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการ ( = 2.95) พัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร- นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 203

ตารางที่ 2 สภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร- นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร

สภาพปัจจุบัน สภาพปัจจุบัน (D) ระดับสภาพที่พึงประสงค์ (I) ค่า อันดับ และสภาพพึงประสงค์ PNI ที่ ของคุณลักษณะของครูนวัตกร ค่าเฉลี่ย ส่วน แปล ค่าเฉลี่ย ส่วน แปล ของครูโรงเรียนเลิศหล้า เบี่ยงเบน ผล เบี่ยงเบน ผล สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ มาตรฐาน มาตรฐาน (S.D.) (S.D.) 1. ด้านความคิดสร้างสรรค์ 2.95 0.73 ปานกลาง 4.76 0.48 มากที่สุด 0.61 1 2. ด้านทักษะการตั้งค�ำถาม 2.99 0.80 ปานกลาง 4.76 0.45 มากที่สุด 0.60 2 3. ด้านทักษะการสังเกต 3.09 0.76 ปานกลาง 4.72 0.46 มากที่สุด 0.53 5 4. ด้านความกล้าเสี่ยง 3.09 0.83 ปานกลาง 4.76 0.46 มากที่สุด 0.54 4 5. ด้านทักษะการทดลอง 3.09 0.77 ปานกลาง 4.76 0.43 มากที่สุด 0.54 4 6. ด้านทักษะการสร้างเครือข่าย 3.00 0.79 ปานกลาง 4.71 0.49 มากที่สุด 0.57 3 รวม 3.04 0.78 ปานกลาง 4.75 0.46 มากที่สุด 0.56 -

อภิปรายผลการวิจัย การทดลอง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ การศึกษาวิจัยความต้องการจ�ำเป็นของ คุณลักษณะด้านทักษะการสร้างเครือข่าย และ การพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร- ต�่ำที่สุด คือ คุณลักษณะด้านความคิดสร้างสรรค์ นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Sutthawart & มีประเด็นส�ำคัญที่น�ำมาอภิปรายผลดังนี้ Siriwong (2015) ได้ท�ำการศึกษาความเป็น 1. ระดับสภาพปัจจุบันของคุณลักษณะ นวัตกรทางการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาครัฐ: ของครูนวัตกร การศึกษาทฤษฎีฐานราก ผลการวิจัยพบว่า จากผลการวิจัยเกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน คุณลักษณะส�ำคัญของนวัตกรทางการศึกษา ของคุณลักษณะของครูนวัตกรทั้ง 6 ด้าน ขั้นพื้นฐานในภาครัฐ ประกอบด้วย ความช่างสังเกต อันประกอบไปด้วย ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะ หรือพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความละเอียดลออ การตั้งค�ำถาม ทักษะการสังเกต ความกล้าเสี่ยง จากการปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ไวต่อ ทักษะการทดลอง และทักษะการสร้างเครือข่าย ความเป็นอยู่ ปฏิกิริยา และการเปลี่ยนแปลงของ ในมิติภาพรวม พบว่า สภาพปัจจุบันของคุณลักษณะ สิ่งแวดล้อมทางการศึกษาในภาพรวม รวมทั้ง ครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนนเกษตร-นวมินทร์ องค์การ บุคคล และการปฏิบัติงาน โดยรอบรู้ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร อยู่ใน ทุกอย่างรอบตัว ท�ำให้ประเมินสถานการณ์ต่าง ๆ ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ได้รวดเร็ว อีกทั้งยังสอดคล้องกับผลการศึกษา คุณลักษณะด้านทักษะการสังเกต คุณลักษณะ ของ Meesuwan (2017) ซึ่งได้ท�ำการศึกษา ด้านความกล้าเสี่ยง และคุณลักษณะด้านทักษะ วิธีพัฒนาศักยภาพความเป็นนวัตกรการศึกษา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 204

และพบว่านวัตกรทางการศึกษาต้องมีความฉลาด จินตนาการ ด้วยวิธีการหรือแนวทางใหม่ ๆ ที่ ทางการค้นพบ (Discovery Quotient: DQ) ท้าทาย สามารถน�ำความรู้ทางการศึกษา และ ซึ่งประกอบด้วยทักษะความเชี่ยวชาญเฉพาะ ความรู้อื่น มาดัดแปลง ผสมผสานให้เป็นความคิด ได้แก่ การเชื่อมโยงความคิด ตั้งค�ำถาม สังเกต ที่มีมุมมองใหม่ที่สามารถตอบสนอง ต่อเหตุการณ์ ปฏิสัมพันธ์และทดลอง นอกจากนี้ ต้องกล้าท�ำ หรือปัญหาทางการศึกษาได้ดีขึ้น มีความสร้างสรรค์ สิ่งใหม่ ไม่พอใจกับสถานภาพปัจจุบัน กล้าเสี่ยง อย่างรอบด้าน มีคุณค่า และเป็นประโยชน์ อย่างชาญฉลาดในการท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของของ Sutthawart & มีความกระตือรือร้นในการตั้งค�ำถามอีกด้วย Siriwong (2015) ได้ท�ำการศึกษาความเป็น นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ Prajan & นวัตกรทางการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาครัฐ: การ Chaemchoy (2018) ซึ่งได้ศึกษารูปแบบการ ศึกษาทฤษฎีฐานราก ซึ่งผลการวิจัยพบว่า นวัตกร บริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม ทางการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาครัฐนั้นจะเป็นผู้ที่ ของครู ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และพบว่า ริเริ่ม ประดิษฐ์คิดค้น สร้างสรรค์ และสนับสนุน ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครู ประกอบด้วย ให้เกิดเทคนิควิธีการ รูปแบบ เครื่องมือ กระบวนการ (1) ทักษะการสื่อสาร (2) ทักษะการสังเกต หรือผลงาน ที่เป็นนวัตกรรม ส�ำหรับใช้ในการ (3) ทักษะการตั้งคําถาม (4) ทักษะการทดลอง ปฏิบัติงานของตนเอง องค์การ และส่งมอบไปยัง (5) ทักษะการสร้างเครือข่าย (6) ทักษะการ ระบบการจัดการศึกษา ซึ่งมีประโยชน์ มีคุณค่า เชื่อมโยง (7) ทักษะการวิพากษ์ (8) ทักษะ และเหมาะสมต่อการพัฒนา และแก้ปัญหาทาง การสังเคราะห์ (9) ทักษะการประยุกต์ และ การศึกษาขั้นพื้นฐานในภาครัฐ และยังสอดคล้อง (10) ทักษะการสร้างสรรค์ กับงานวิจัยของ Boonyam (2011) ที่ได้ท�ำการ 2. ความต้องการจ�ำเป็นของการพัฒนา วิจัยเรื่องปัจจัยเชิงสาเหตุพหุระดับที่มีอิทธิพลต่อ คุณลักษณะของครูนวัตกร พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมระดับบุคคลและระดับ เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มงานเพื่อสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในบริษัท ระดับสภาพปัจจุบันและระดับสภาพที่พึงประสงค์ เอกชนของไทย ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยในระดับ ของการพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนน บุคคลที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรม เกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของ ในระดับบุคคลมากที่สุด คือ ลักษณะการคิดริเริ่ม ครูนวัตกร พบว่า คุณลักษณะของครูนวัตกรด้าน สร้างสรรค์ รองลงมาคือลักษณะเปิดกว้างทาง ความคิดสร้างสรรค์มีค่าความต้องการจ�ำเป็น ความคิด ในการพัฒนาสูงสุด ซึ่งแสดงให้เห็นว่าครูนวัตกร ความต้องการจ�ำเป็นในการพัฒนา จะต้องมีความสามารถทางการคิดได้หลายทิศ คุณลักษณะของครูนวัตกรล�ำดับ 2 คือ คุณลักษณะ หลายทาง หรือการคิดหาค�ำตอบหรือหาทาง ด้านทักษะการตั้งค�ำถาม ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย แก้ปัญหาได้หลายรูปแบบ เป็นความสามารถที่ ของ Prajan & Chaemchoy (2018) ซึ่งได้ศึกษา พิเศษในการจูงใจและน�ำบุคคลอื่นอย่างมีวิสัยทัศน์ รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิด วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 205

เชิงนวัตกรรมของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สร้างพลังความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพบว่าทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครู เพื่อสร้างสรรค์และพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ โดยจัด ประกอบด้วยทักษะการตั้งค�ำถามหรือความ ระบบความสัมพันธ์ให้เกิดความเกื้อกูลเชื่อมโยงกัน สามารถในการใช้ค�ำถามเพื่อช่วยขยายความคิด ประกอบด้วย 1) สามารถสร้างพลังความร่วมมือ โดยกระตุ้นให้สืบเสาะหาค�ำตอบ และเกิดการ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวคิด ความรู้ ข้อมูลข่าว คิดวิเคราะห์เพื่อสร้างองค์ความรู้ และสร้างแรง สารสารสนเทศได้อย่างหลากหลาย 2) สามารถ บันดาลใจพัฒนาสิ่งใหม่ ประกอบด้วย 1) สามารถ สื่อสารแบบสองทางเพื่อถ่ายทอดความคิด ใช้ค�ำถามกระตุ้น ยั่วยุให้เกิดข้อสงสัยเพื่อค้นหา ความรู้สึก และอารมณ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ค�ำตอบได้ 2) สามารถใช้ค�ำถามจุดประกาย ที่ตรงกัน มีความคิดร่วมกัน 3) สามารถสร้าง ให้ฉุกคิดและเกิดข้อสงสัยเพื่อค้นหาค�ำตอบได้ แบบอย่างค่านิมยมองค์กรให้เกิดพฤติกรรม 3) สามารถใช้ค�ำถามที่ท้าทายความสามารถ ทางบวกที่จะส่งผลดีต่อการสร้างความร่วมมือ ให้แสวงหาค�ำตอบและความรู้โดยไม่มีที่สิ้นสุด ในองค์กร 4) สามารถรวบรวมความคิดและ 4) สามารถใช้ค�ำถามพื้นฐานเพื่อให้เกิดการค้นหา สร้างสรรค์แนวทางใหม่ ๆ มาปรับใช้ในการ ค�ำตอบได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 5) สามารถ ท�ำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 5) สามารถ ใช้ค�ำถามเพื่อเกิดการคิดวิเคราะห์และสร้าง สร้างความสัมพันธ์ให้เกื้อกูลเชื่อมโยงกันโดย องค์ความรู้และแนวคิดใหม่ ๆ ได้ 6) สามารถ มีความเท่าเทียม มีอิสระต่อกัน เพื่อให้เกิด ใช้ค�ำถามเพื่อขยายความคิดความเข้าใจให้ แรงบันดาลใจในการท�ำงาน และ 6) สามารถ กระจ่างได้ 7) สามารถใช้ค�ำถามเพื่อเชื่อมโยง สร้างทีมงานประสานความช่วยเหลือกันเป็น ความคิดต่าง ๆ ได้สมเหตุสมผล 8) สามารถใช้ ความสัมพันธ์เชิงแนวราบมากกว่าที่จะเป็นแนวดิ่ง ค�ำถามเพื่อสร้างพลังให้เกิดการค้นหาค�ำตอบ และผลการวิจัยพบว่า ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม ในการขยายความรู้ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความคิด ของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีผลการประเมิน ใหม่ ๆ และ 9) สามารถใช้ค�ำถามเพื่อสร้างแรง ตํ่าสุดคือ ทักษะการสร้างเครือข่ายส่วนการบริหาร บันดาลใจในการพัฒนาสิ่งใหม่ได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครู ความต้องการจ�ำเป็นในการพัฒนา ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คุณลักษณะของครูนวัตกรล�ำดับ 3 คือ คุณลักษณะด้านทักษะการสร้างเครือข่าย ข้อเสนอแนะ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Prajan & 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำผลวิจัยไปใช้ Chaemchoy (2018) ซึ่งได้ศึกษารูปแบบการ 1.1 ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถ บริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม น�ำผลการวิเคราะห์ความต้องการจ�ำเป็นดังกล่าว ของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และพบว่าทักษะ ไปใช้เป็นแนวทางในการท�ำวิจัยเพื่อเสริมสร้าง การคิดเชิงนวัตกรรมของครู ประกอบด้วยทักษะ คุณลักษณะของครูนวัตกรให้เกิดขึ้นในตัวครู การสร้างเครือข่ายหรือความสามารถในการ ผู้สอน ผลการวิจัยในครั้งนี้ท�ำให้ผู้บริหารทราบ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 206

ถึงสภาพปัจจุบันของคุณลักษณะของครูนวัตกร บุคลากรให้มีความเป็นมืออาชีพ และมีศักยภาพ ของครู และได้มองเห็นว่าคุณลักษณะใดที่ควร ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่มีคุณค่า เพื่อยก จะปรับปรุง เน้นย�้า ส่งเสริม หรือพัฒนาให้ครู ระดับคุณภาพการศึกษาอันเป็นรากฐานที่ส�าคัญ มีคุณลักษณะของครูนวัตกรมากขึ้น น�าไปสู่การ ในการพัฒนาขีดความสามารถและ ศักยภาพ สร้างสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมต่อไป การส่งเสริม ทางการแข่งขันของประเทศในระยะยาว สอดรับ หรือพัฒนาครูผู้สอนให้เป็นนวัตกรหรือเป็นผู้น�า ตามวิสัยทัศน์ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สืบไป ในด้านการใช้นวัตกรรมการศึกษา ควรได้รับ 2. ข้อเสนอแนะในการท�าวิจัยครั้งต่อไป การสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างการ 2.1 ควรศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพปัจจัย จูงใจ ในการพัฒนานวัตกรให้มีจ�านวนมากขึ้น อื่น ๆ เพิ่มเติมที่อาจจะส่งผลต่อคุณลักษณะ เช่น จัดการศึกษาดูงาน จัดการอบรม และการ ของครูนวัตกร สนับสนุนการเข้าร่วมการอบรมเกี่ยวกับความเป็น 2.2 ควรมีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ นวัตกรทางการศึกษา ด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารการศึกษาและ 1.2 ครูผู้สอนสามารถน�าผลการ ผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อจะได้ทราบความคิดเห็น วิจัยไปต่อยอดเพื่อพัฒนาแนวทางในการ ที่หลากหลาย เสริมสร้างคุณลักษณะของครูนวัตกรได้อย่าง 2.3 ควรศึกษาปัญหาและอุปสรรค มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้ในอนาคต ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณลักษณะของครู อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการพัฒนา นวัตกร

REFERENCES

Bagley, Rebecca O. (2014). The 10 Traits of Great Innovators. Retrieved from http://www. forbes.com/sites/rebeccabagley/2014/01/15/the-10-traits-of-great-innovators/ #1046058ed50b Bass, B.M. & Avolio, B.J. (1990). Transformational leadership development. California : Consulting Psychologists Press. Boonyam, T. (2011). The Multi-Level Causal Factors Influencing Individual and Group Innovative Behavior for Marking Product Innovations in Thai Private Companies (Doctoral dissertation). Bangkok: Srinakharinwirot University. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 207

Brochure Lertlah School Division. (2017).The Best in English Program Schools and Leader in International Program Schools 25 th Anniversary. Chaemchoy, S. (2012). Concept of innovation for school management in the 21st century. The Journal of Education Naresuan University. 14(2), 117-128. (in Thai) Chaemchoy, S. (2015) Technology leadership: Bringing technology to classrooms and schools in the Century 21. The Journal of Education Naresuan University. 16(4), 216-224. (in Thai) Couros, G. (2014). 8 Characteristics of the “Innovator’s Mindset”. Retrieved from : http:// georgecouros.ca/blog/archives/4783. Couros, G. (2014). The Innovator’s Mindset: Empower Learning, Unleash Talent, and Lead a Culture of Creativity. Daft, R.L. (2008). The leadership experience. 4th ed. Mason, OH: Thomson south-western. Meesuwan, W. (2017). Factors contributing to characteristics of teacher innovators in educational technology in Professional Pre-Service Teacher Schools of the Naresuan University Network. The Journal of Education Naresuan University. 19(3), 50-61. (in Thai) Newquist, E. (2015). 7 Characteristics of Highly Successful Innovators. Retrieved from http://www.innovationexcellence.com/blog/2015/03/13/7-characteristics-of- highlysuccessful-innovators/ Prajan, O. & Chaemchoy, S. (2018). Administrative Model for Development Teacher’s Innovative Thinking Skills in the Basic Education School. The Journal of Education Far Eastern University. 12(1), 156-169. (in Thai) Prajan, O. & Chaemchoy, S. (2018). The basic education school management for developing teacher’ s innovative thinking skills. Educational Management and Innovation Journal, Chulalongkorn University, 1(2), 53-68. (in Thai) Rogers, E. M. (1983). Diffusion of innovation (3rd ed.). New York: Free Press. Schrum, L and Levin, B.B, (2009). Leading 21st Century Schools: Harnessing Technology for Engagement and Achievement. California, United States of America. Songkram, N. (2014). Innovation: The students to be innovators (2nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai) Sutthawart, W., & Siriwong, P. (2015). Educational Innovator’s Potential Development Method. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(1), 749-765. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 208

Sutthawart, W., & Siriwong, P. (2015). The basic educational innovator in public sector: A study for grounded theory. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 8(2), 281- 300. (in Thai) Vanichvasin, P. (2009). A development model of innovative leadership competencies as part of informal education to enhance learning of selected leaders in Thailand. Doctoral Dissertation, Assumtion University. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 209

บทความวิจัย

การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 THE DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITIES FOR MATTHAYOM SUEKSA TWO STUDENTSON PARALLELS USING CONSTRUCTIVIST THEORY จักรพงษ์ ตรียุทธ์1* นพพร แหยมแสง2 และ วินิจ เทือกทอง3 Jakkapong Triyut1*, Noppon Yamsang2 and Vinit Thuakthong3

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย3 Master of Education Faculty of Education Ramkhamhaeng University Bangkok, Thailand1*, 2 School of Educational Studies Sukhothai Thammathirat Open University Bangkok, Thailand3

Email: [email protected]*

Received: 2019-03-30 Revised: 2019-07-15 Accepted: 2019-07-17

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ที่เรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน และเพื่อศึกษา ความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2/8 โรงเรียนเทพศิรินทร์ จ�ำนวน 60 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบที (Paired sample T-Test) ผลการวิจัยพบว่า (1) ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 82.37/81.17 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 210

วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ .05 (3) ระดับความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.05 - 4.63

ค�ำส�ำคัญ: กิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ ทฤษฎีการสร้าง องค์ความรู้

ABSTRACT In this thesis, it aims to develop learning activities for selected Matthayom Sueksa Two students on parallels using constructivist theory designed to satisfy the set efficiency standard of 80/80. It also compares the academic achievement of these students in mathematics on parallels prior to the commencement and after the completion of the study. Finally, to determine the levels of student satisfaction with the learning activities. Utilizing the cluster sampling method, and selecting a sample population consisting of 60 students in Matthayom Sueksa 2/8. Using techniques of descriptive statistics, and analyzing the collected data in terms of mean and standard deviation. The technique of paired sample t-test was also employed. Findings are as follows: (1) The efficiency of learning activities using constructivist theory on parallels for the students was at 82.34/81.17, thereby surpassing the set efficiency standard of 80/80. (2) The academic achievement of the students in mathematics on parallels using the learning activities after the completion of the study was higher than prior to its commencement at the statistically significant level of .05. (3) The overall satisfaction with the learning activities was at a high level. When considered in each aspect, it was found that the average was between 4.05 and 4.63.

Keywords: Learning activity, Development of learning activity, Constructivist, Constructivist Theory วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 211

บทน�ำ ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ครูจะต้องปรับ ในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์ แนวทางการเรียนการสอนที่จะต้องส่งเสริม หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้ ให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่จะเป็นพื้นฐาน จะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการสร้างความรู้ เป้าหมาย ต่อการใช้ชีวิตในอนาคต โดยเปลี่ยนการสอน ของการสอนจะเปลี่ยนจากการถ่ายทอดให้ผู้เรียน แบบเดิม จากครูเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ ได้รับสาระความรู้ที่แน่นอน ตายตัว ไปสู่การ นักเรียนหน้าชั้นเรียนมาเป็นนักเรียนจะต้องศึกษา สาธิตกระบวนการแปล และสร้างความหมาย หาความรู้จากนอกห้องเรียนด้วยตนเอง โดยผ่าน ที่หลากหลาย ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้จัดกระท�ำกับ สื่อเทคโนโลยีที่ครูเป็นผู้จัดท�ำขึ้น จากนั้นครูจะน�ำ ข้อมูลหรือประสบการณ์ต่าง ๆ และจะต้องสร้าง สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้มาใช้ท�ำกิจกรรมในชั้นเรียน ความหมายให้กับสิ่งนั้นด้วยตนเอง (Sariwat, โดยครูมีหน้าที่คอยให้ค�ำแนะน�ำและตั้งค�ำถาม 2014) ให้นักเรียนได้ร่วมกันแก้ปัญหาแลกเปลี่ยน จากการศึกษาแนวการจัดการเรียนรู้ ความคิดเห็น ท�ำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับ ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง นักเรียน จึงสามารถช่วยให้นักเรียนได้พัฒนา ปัญหาการเรียนของนักเรียน เรื่อง เส้นขนาน ทักษะการคิดเพิ่มมากขึ้น ในการจัดการเรียนรู้วิชา ในวิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนไม่สามารถแก้โจทย์ คณิตศาสตร์แบบเดิม มักจะเน้นครูเป็นศูนย์กลาง ปัญหา เรื่อง เส้นขนานได้ เนื่องจากไม่สามารถ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครูจะเน้นบรรยาย เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ไม่เข้าใจ และให้นักเรียนท�ำแบบฝึกหัดครั้งละมาก ๆ แต่การ ในสถานการณ์ หรือเงื่อนไขในโจทย์ปัญหาที่ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้าง ก�ำหนดให้ และไม่สามารถสร้างองค์ความรู้ องค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivist) ให้ความ ตลอดจนน�ำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ ส�ำคัญกับผู้เรียนมากกว่าครู โดยที่เน้นผู้เรียน แก้โจทย์ปัญหา และหาค�ำตอบของปัญหานั้นได้ ให้เกิดปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ หรือเหตุการณ์ด้วยตัว ดังเห็นได้จากรายงานผลการทดสอบทางการ ของผู้เรียนเอง ท�ำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ และ ศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชา แก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยเน้นการสร้างความรู้ คณิตศาสตร์ของสถาบันทดสอบทางการศึกษา ด้วยตนเองจากประสบการณ์ และการตีความหมาย แห่งชาติ (2561) ปรากฏว่า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากประสบการณ์ โดยใช้ประสบการณ์ใหม่/ ปีการศึกษา 2558 มีผู้เข้าสอบ มีคะแนนเฉลี่ย ความรู้ใหม่ผสมผสานกับประสบการณ์เดิม/ ระดับประเทศ 32.40 โรงเรียนเทพศิรินทร์ ความรู้เดิมสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ (Wiangwalai, มีคะแนนเฉลี่ย 51.28 ปีการศึกษา 2559 2013) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎี มีคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 29.31 โรงเรียน การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองนั้นเน้นผู้เรียน เทพศิรินทร์ มีคะแนนเฉลี่ย 51.37 ปีการศึกษา เป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ให้ความ 2560 มีคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 26.30 ส�ำคัญกับกระบวนการ และวิธีการของบุคคล โรงเรียนเทพศิรินทร์ มีคะแนนเฉลี่ย 52.88 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 212

จากข้อมูลข้างต้นกล่าวได้ว่าคะแนนเฉลี่ยวิชา เกี่ยวข้องกับการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง คณิตศาสตร์ปีการศึกษา 2558 - 2560 ของ มาพัฒนาขั้นตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โรงเรียนเทพศิรินทร์สูงกว่าระดับประเทศทุกปี เป็น 5 ขั้น ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ขั้นน�ำเข้าสู่ การศึกษา และมีแนวโน้มที่คะแนนจะปรับสูงขึ้น บทเรียน เป็นการแนะน�ำบทเรียนสร้างแรงจูงใจ แต่เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ ในการเรียน เร้าความสนใจ 2. ขั้นทบทวน สาระเรขาคณิตและมาตรฐาน ค3.2 ของโรงเรียน ความรู้เดิม เป็นขั้นที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ เทพศิรินทร์ พบว่า ปีการศึกษา 2558 สาระเรขาคณิต แสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมมา มีคะแนนเฉลี่ย 62.64 และมาตรฐาน ค3.2 จัดความสัมพันธ์ กับหัวข้อที่ก�ำลังจะเรียนให้เป็น มีคะแนนเฉลี่ย 66.28 ปีการศึกษา 2559 สาระ หมวดหมู่ 3. ขั้นเสริมความรู้ใหม่ เป็นขั้นที่ส�ำคัญ เรขาคณิตมีคะแนนเฉลี่ย 71.26 และมาตรฐาน ของการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ ค3.2 มีคะแนนเฉลี่ย 67.24 ปีการศึกษา 2560 ดังนี้ 3.1 ขั้นแสดงความคิด ให้ผู้เรียนได้แสดง สาระเรขาคณิตมีคะแนนเฉลี่ย 52.49 และ ความรู้ ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมด้วยการอภิปราย มาตรฐาน ค3.2 มีคะแนนเฉลี่ย 45.91 พบว่า กลุ่ม แสดงความคิดเห็นหลายมุมมอง 3.2 ขั้นสร้าง คะแนนมีการปรับสูงขึ้นในปีการศึกษา 2559 และ องค์ความรู้ใหม่ เป็นการเชื่อมโยงความรู้ที่มี คะแนนปรับลดลงเป็นจ�ำนวนมากในปีการศึกษา อยู่เดิม ท�ำให้ผู้เรียนสามารถก�ำหนดความคิดใหม่ 2560 ทั้งนี้ เรื่อง เส้นขนาน อยู่ในมาตรฐานการ หรือความรู้ใหม่ขึ้น 3.3 ขั้นการน�ำเสนอองค์ความรู้ เรียนรู้ ค3.2 สาระเรขาคณิต วิชาคณิตศาสตร์ ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็น วิจารณ์ปัญหา พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เสนอวิธีแก้ปัญหาที่หลากหลาย เลือกและประยุกต์ ในฐานะที่ผู้วิจัยเป็นครูผู้สอนวิชา วิธีแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม พร้อมทั้งสื่อ คณิตศาสตร์ในรายวิชาพื้นฐาน ระดับชั้น ความหมายขององค์ความรู้ที่สร้างขึ้นใหม่ได้อย่าง มัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียน ชัดเจนด้วยภาษาของตนเองได้ 4. ขั้นประยุกต์ เทพศิรินทร์ จึงมุ่งเน้นที่จะให้นักเรียนสามารถ ใช้ความรู้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้ จากเรื่องที่เป็น ในการแก้ปัญหา พัฒนาผลที่เกิดขึ้น ให้การ สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่นักเรียนพบเจอ สนับสนุนแนวคิด วิธีด�ำเนินการ และน�ำเสนอ ในชีวิตประจ�ำวัน ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ ผลงาน 5. ขั้นประเมินผล เป็นขั้นที่ผู้เรียน ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ในการ จะทบทวนความคิด ความเข้าใจ โดยการ พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้าง เปรียบเทียบระหว่างความรู้เดิมกับองค์ความรู้ใหม่ องค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับ ใช้ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นส�ำหรับการเรียนรู้อย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นั้น ผู้วิจัยตระหนัก มีความหมาย และสามารถถ่ายทอดออกมา ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ เป็นภาษาของตนเองได้ และอีกประการหนึ่ง ไม่สามารถท�ำให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ด้วย ที่ผู้วิจัยตระหนักเช่นเดียวกัน คือ การจัดเรียง ตนเองได้ผู้วิจัยศึกษาแนวคิด และทฤษฎีที่ ล�ำดับเนื้อหา เช่นเดียวกับหนังสือ หรือแบบเรียน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 213

ทั่วไปไม่สามารถท�ำให้นักเรียนสามารถสร้าง 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรม องค์ความรู้ด้วยตนเองได้ และการเรียงล�ำดับ การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ เนื้อหาแบบเดิมนั้นไม่ได้ค�ำนึงล�ำดับในการน�ำ ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียน องค์ความรู้ไปใช้ในการเหตุผลทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยจึงท�ำการแบ่งเนื้อหาใหม่ออกเป็น 6 เรื่อง ย่อย และน�ำมาจัดเรียงล�ำดับเนื้อหา ดังนี้ เรื่อง สมมติฐานของการวิจัย ที่ 1 เส้นขนาน เรื่องที่ 2 เส้นขนานและมุมภายใน 1. กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎี เรื่องที่ 3 เส้นขนานและมุมแย้ง เรื่องที่ 4 เส้นขนาน การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน และมุมภายนอกกับมุมภายใน เรื่องที่ 5 เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ และรูปสามเหลี่ยม เรื่องที่ 6 ระยะห่างระหว่าง ตามเกณฑ์ 80/80 เส้นขนาน ซึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. นักเรียนที่เรียนรู้ผ่านกิจกรรม วิชาคณิตศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นนั้น การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ ต้องมีการจัดล�ำดับเนื้อหาที่ครูจะใช้สอน ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน มีผลสัมฤทธิ์ทาง โดยเรียงล�ำดับจากเรื่องง่ายไปหาเรื่องยาก และ การเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ยังต้องมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ 3. นักเรียนที่เรียนรู้ผ่านกิจกรรม สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง พร้อมทั้ง การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ สามารถน�ำองค์ความรู้ไปประยุกต์ในการแก้ ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน มีความพึงพอใจต่อ ปัญหาเรื่อง เส้นขนาน และเรื่องอื่น ๆ ได้ อีกทั้ง กิจกรรมการเรียนรู้ในระดับมาก ยังเป็นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ให้สูงขึ้นอีกด้วย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎี วัตถุประสงค์ของการวิจัย การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มี ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2. ได้แนวทางในการจัดกิจกรรม ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 การเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง วิชาคณิตศาสตร์ ให้ดียิ่งขึ้น การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน 3. เป็นแนวทางในการปรับปรุง และ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนรู้ พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการ แบบการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองก่อนเรียน สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเรื่องอื่น ๆ ในวิชา และหลังเรียน คณิตศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 214

ขอบเขตของการวิจัย ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ เรื่องที่ 1 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็น เส้นขนาน เรื่องที่ 2 เส้นขนานและมุมภายใน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทพศิรินทร์ เรื่องที่ 3 เส้นขนานและมุมแย้ง เรื่องที่ 4 เส้นขนาน ที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 และมุมภายนอกกับมุมภายในเรื่องที่ 5 เส้นขนาน ห้องเรียนทั่วไปจ�ำนวน 5 ห้องเรียน มีนักเรียน และรูปสามเหลี่ยมเรื่องที่ 6 ระยะห่างระหว่าง ทั้งหมด 298 คน เส้นขนาน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย คือ ภาคเรียน เลือกตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น ที่ 2 ปีการศึกษา 2561 (Probability Sampling) ซึ่งเป็นนักเรียน 5. ตัวแปรของการวิจัย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 จ�ำนวน 60 คน โรงเรียน 5.1 ตัวแปรอิสระ (Independent เทพศิรินทร์ ที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 variables) ได้แก่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2561 ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่าง โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง แบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) ใช้ห้องเรียน 5.2 ตัวแปรตาม (dependent เป็นหน่วยการสุ่ม variables) ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา 3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นวิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน และความพึงพอใจ คณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน โดยผู้วิจัยได้แบ่ง ของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ เนื้อหาใหม่ออกเป็น 6 เรื่อง และจัดเรียงเนื้อหา ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 215

กรอบแนวคิดของการวิจัย

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง (Constructivist) หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นให้นักเรียนได้ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล เพื่อค้นพบหลักการ กฎเกณฑ์ นิยาม สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และน�ำเสนอองค์ความรู้ได้ โดยมี ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นน�ำเข้าสู่บทเรียน เป็นการแนะน�ำบทเรียนสร้างแรงจูงใจ ในการเรียน เร้าความสนใจ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ขั้นทบทวนความรู้เดิม เป็นขั้นที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ วิชาคณิตศาสตร์ แสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมมาจัดความสัมพันธ์ กับ เรื่อง เส้นขนาน หัวข้อที่ก�ำลังจะเรียนให้เป็นหมวดหมู่ 3. ขั้นเสริมความรู้ใหม่ เป็นขั้นที่ส�ำคัญของการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ ดังนี้ 3.1 ขั้นแสดงความคิด ให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ ความเข้าใจ ที่มีอยู่เดิมด้วยการอภิปรายกลุ่ม แสดงความคิดเห็นหลายมุมมอง 3.2 ขั้นสร้างองค์ความรู้ใหม่ เป็นการเชื่อมโยงความรู้ที่มี อยู่เดิม ท�ำให้ผู้เรียนสามารถก�ำหนดความคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ขึ้น 3.3 ขั้นการน�ำเสนอองค์ความรู้ ผู้เรียนสามารถแสดงความ ความพึงพอใจ คิดเห็น วิจารณ์ปัญหา เสนอวิธีแก้ปัญหาที่หลากหลาย เลือกและ ของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรม ประยุกต์วิธีแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม พร้อมทั้งสื่อความหมายของ การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎี องค์ความรู้ที่สร้างขึ้นใหม่ได้อย่างชัดเจนด้วยภาษาของตนเองได้ การสร้างองค์ความรู้ 4. ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนประยุกต์ใช้ความรู้ ด้วยตนเอง ทักษะในการแก้ปัญหา พัฒนาผลที่เกิดขึ้น ให้การสนับสนุนแนวคิด วิธีด�ำเนินการ และน�ำเสนอผลงาน 5. ขั้นประเมินผล เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะทบทวนความคิด ความ เข้าใจ โดยการเปรียบเทียบระหว่างความรู้เดิมกับองค์ความรู้ใหม่ ใช้ ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นส�ำหรับการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และสามารถ ถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาของตนเองได้

ระเบียบวิธีวิจัย ในวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ�ำนวน 9 แผน แผนการ (Quasi-Experimental Research) โดยใช้รูปแบบ จัดการเรียนรู้มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด การศึกษากลุ่มเดียวทดสอบก่อน และหลังการ ( = 4.74) (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง ทดลอง (The One Group Pretest Posttest การเรียน เรื่อง เส้นขนาน เป็นแบบทดสอบปรนัย Design) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ (1) แผนการ แบบเลือกตอบ จ�ำนวน 20 ข้อ ซึ่งดัชนีความ จัดการเรียนรู้แบบการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สอดคล้องมีค่าอยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 มีค่าความ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 216

ยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.39 - 0.74 มีค่าอ�ำนาจ ชั่วโมงที่ 10 เรื่อง ระยะห่างระหว่าง จ�ำแนกอยู่ระหว่าง 0.22 - 0.74 และมีค่าความ เส้นขนาน เชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.89 (3) แบบสอบถาม ชั่วโมงที่ 11 ทดสอบหลังเรียน ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการ โดยในแต่ละชั่วโมงจะให้นักเรียนท�ำ เรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วย แบบฝึกหัดและเก็บคะแนนจากการท�ำแบบฝึกหัด ตนเองในวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน จ�ำนวน ระหว่างเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล 14 ข้อ เป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating 2. หลังกลุ่มตัวอย่างเรียนรู้ผ่านกิจกรรม Scale) 5 ระดับ ซึ่งดัชนีความสอดคล้องมีค่า การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วย อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 ค่าอ�ำนาจจ�ำแนกมีค่า ตนเองจนจบบทเรียน ให้กลุ่มตัวอย่างท�ำแบบ อยู่ระหว่าง 0.3-0.76 และความเชื่อมั่นทั้งฉบับ สอบถามความพึงพอใจที่นักเรียนมีต่อกิจกรรม เท่ากับ 0.85 การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ โดยผู้วิจัยได้ด�ำเนินการตามล�ำดับ ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ขั้นตอน ดังนี้ 3. น�ำคะแนนที่ได้จากการทดสอบวัดผล 1. ท�ำการทดลองโดยให้นักเรียนชั้นมัธยม สัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน ศึกษาปีที่ 2/8 จ�ำนวน 60 คน เรียนรู้ผ่านกิจกรรม มาวิเคราะห์ตามวิธีการทางสถิติโดยการ การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ เปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทาง ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน จ�ำนวน 11 ชั่วโมง การเรียนโดยใช้การทดสอบที (Paired sample ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ t-test) ชั่วโมงที่ 1 ทดสอบก่อนเรียน ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง เส้นขนาน สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ชั่วโมงที่ 3 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน สรุปผลการวิจัย ชั่วโมงที่ 4 - 5 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง 1. ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรม ชั่วโมงที่ 6 - 7 เรื่อง เส้นขนานและมุม การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วย ภายนอกกับมุมภายใน ตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม ชั่วโมงที่ 8 - 9 เรื่อง เส้นขนานและรูป ศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 สามเหลี่ยม ดังข้อมูลที่ปรากฏ (ดูตารางที่ 1) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 217

ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คะแนน จ�ำนวนนักเรียน คะแนนเฉลี่ย ประสิทธิภาพ ระหว่างเรียน 60 125.2 82.37 หลังเรียน 60 16.23 81.17

จากตารางที่ 1 พบว่า การจัดกิจกรรม 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ คณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียน ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนรู้ผ่านกิจกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ 82.37/81.17 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ ด้วยตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน ดังข้อมูล 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ ที่ปรากฏ (ดูตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียน

การทดสอบ จ�ำนวนนักเรียน S.D. t Sig. ก่อนเรียน 60 9.38 2.34 .00 34.01* หลังเรียน 60 16.23 2.07 *มีนัยส�ำคัญที่ระดับ .05 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 218

จากตารางที่ 2 พบว่า การทดสอบ เรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน หลังเรียน นักเรียนจ�ำนวน 60 คน ก่อนเรียนนักเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ .05 มีคะแนนเฉลี่ย 9.38 หลังเรียนนักเรียน 3. ระดับความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรม มีคะแนนเฉลี่ย 16.23 นักเรียนที่เรียนรู้ผ่าน การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วย กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้าง ตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม องค์ความรู้ด้วยตนเองมีผลสัมฤทธิ์ทางการ ศึกษาปีที่ 2 ดังข้อมูลที่ปรากฏ (ดูตารางที่ 3)

ตารางที่ 3 ความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ความพึงพอใจ รายการ S.D. ความหมาย 1. การน�ำเข้าสู่บทเรียน 4.07 0.78 มาก 2. การที่ครูทบทวนความรู้เดิมก่อนที่จะสอนเรื่องใหม่ 4.55 0.59 มากที่สุด 3. การที่ครูให้นักเรียนค้นคว้า รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง 4.08 0.72 มาก 4. การที่ครูคอยกระตุ้นให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ด้วย 4.63 0.49 มากที่สุด ตนเอง 5. การที่ครูคอยจุดประกายความคิดเมื่อนักเรียนเริ่มต้น 4.48 0.60 มาก ในการแก้ปัญหาไม่ได้ 6. การที่ครูคอยเสริมแรงให้นักเรียนค้นหาค�ำตอบ แก้ปัญหา 4.23 0.59 มาก ด้วยตนเอง 7. การที่ครูให้นักเรียนท�ำกิจกรรมเป็นกลุ่ม 4.05 0.62 มาก 8. การแสดงความคิดเห็น หรือการอภิปรายกลุ่มร่วมกับ 4.18 0.62 มาก เพื่อน 9. การน�ำเสนอความรู้หน้าชั้นเรียน 4.35 0.66 มาก 10. การอภิปรายเนื้อหาร่วมกับครู 4.30 0.65 มาก 11. ใบกิจกรรมช่วยให้เข้าใจเรื่องเส้นขนานมากขึ้น 4.27 0.71 มาก 12. ใบกิจกรรมมีสถานการณ์ที่นักเรียนต้องการวางแผน 4.20 0.73 มาก ในการแก้ปัญหา 13. ความยากง่ายของแบบฝึกหัด 4.25 0.73 มาก 14. เวลาในการท�ำกิจกรรมแต่ละกิจกรรม 4.42 0.67 มาก โดยภาพรวม 4.29 0.17 มาก วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 219

จากตารางที่ 3 พบว่า ระดับความพึงพอใจ กลุ่มภาคสนาม พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทาง ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้าง การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน องค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับ ระหว่างเรียนและหลังเรียนอยู่ในระดับดีมาก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยภาพรวมอยู่ใน และประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ระดับมาก ( = 4.29) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ที่ก�ำหนดไว้ ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า อยู่ในระดับมากขึ้นไปทุกข้อ และมีค่าเฉลี่ย ในครั้งนี้ มุ่งเน้นที่จะพัฒนาประสิทธิภาพของ อยู่ระหว่าง 4.05 - 4.63 สามอันดับที่นักเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้าง พึงพอใจมากที่สุด อันดับที่ 1 คือ การที่ครูคอย องค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับ กระตุ้นให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพ ( = 4.63) อันดับที่ 2 คือ การที่ครูทบทวน ตามเกณฑ์ 80/80 โดยผู้วิจัยตระหนักว่า การจัด ความรู้เดิมก่อนที่จะสอนเรื่องใหม่ ( = 4.55) เรียงล�ำดับเนื้อหา เช่นเดียวกับหนังสือ หรือ และอันดับที่ 3 คือ การที่ครูคอยจุดประกาย แบบเรียนทั่วไปไม่สามารถท�ำให้นักเรียนสามารถ ความคิดเมื่อนักเรียนเริ่มต้นในการแก้ปัญหา สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้ เนื่องจากการ ไม่ได้ ( = 4.48) และสามอันดับที่นักเรียน จัดเรียงเนื้อหาแบบเดิมนั้น ไม่ได้ค�ำนึงถึงการ มีความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ การที่ครูให้นักเรียน จัดเรียงเนื้อหาที่เอื้อต่อการสร้างองค์ความรู้ และ ท�ำกิจกรรมเป็นกลุ่ม ( = 4.05) การน�ำเข้าสู่ การน�ำองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ในเรื่องที่ต้องเรียน บทเรียน ( = 4.07) และการค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ถัดไปของนักเรียน จึงท�ำการแบ่งเนื้อหาใหม่ออกเป็น และสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง ( = 4.08) 6 เรื่องย่อย และน�ำมาจัดเรียงล�ำดับเนื้อหา ดังนี้ ตามล�ำดับ เรื่องที่ 1 เส้นขนาน เรื่องที่ 2 เส้นขนานและมุม อภิปรายผลการวิจัย ภายใน เรื่องที่ 3 เส้นขนานและมุมแย้ง เรื่องที่ 4 1. ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรม เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน เรื่องที่ 5 การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม เรื่องที่ 6 ระยะห่าง ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้น ระหว่างเส้นขนาน ซึ่งในการจัดเรียงล�ำดับ มัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 82.37/81.17 เนื้อหาใหม่ในครั้งนี้ ส่งผลให้นักเรียนสามารถ ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ เนื่องจาก สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้ พร้อมทั้งสามารถ ผู้วิจัยได้น�ำกิจกรรมการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมา น�ำองค์ความรู้ไปประยุกต์ในการแก้ปัญหาได้ ท�ำการหาประสิทธิภาพเป็นรายบุคคล แล้วน�ำ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎี ข้อบกพร่องที่พบไปปรับปรุงแก้ไข และน�ำไปหา การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองครั้งนี้ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพเป็นกลุ่มย่อยอีกครั้งหนึ่ง พบว่า ตามเกณฑ์ 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับ ประสิทธิภาพต�่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ งานวิจัยของสิทธิกร สุมาลี (Sumalee, 2015) แต่เนื่องจากประสิทธิภาพที่ได้มีค่าใกล้เคียงกับ ศึกษาเรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ เกณฑ์ที่ตั้งไว้ น�ำไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็น ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ในรายวิชา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 220

คณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของ สิ่งที่เป็นรูปธรรมไปหานามธรรม หรือสอนจาก พหุนาม ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สิ่งที่ใกล้ตัวนักเรียนก่อนสอนสิ่งที่อยู่ไกลตัว โรงเรียนสารสาสน์วิเทศราชพฤกษ์ ผลการศึกษา นักเรียน และจัดล�ำดับเนื้อหาให้ตรงตามเนื้อหา พบว่า ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการ ที่ต้องการสอนโดยสอนเรื่องที่ง่ายก่อนสอน เรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ในรายวิชา เรื่องที่ยาก และครูต้องคอยกระตุ้นให้นักเรียน คณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม คิดเป็นล�ำดับขั้นตอนอย่างมีเหตุผล โดยขั้นตอน มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.11/83.86 ซึ่งเป็นไป ที่ก�ำลังท�ำเป็นผลมาจากขั้นตอนก่อนหน้านั้น ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองนั้น คณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนาน หลังเรียนสูงกว่า สุวิทย์ มูลค�ำ และอรทัย มูลค�ำ(Moonkhum, ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ .05 ในการ S. & Moonkhum, O., 2007) ผู้เรียนจะต้องเป็น จัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ให้ประสบ ผู้กระท�ำ สร้างความรู้ และสร้างความหมายแก่ ความส�ำเร็จนั้นต้องมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความรู้ สิ่งที่ได้เรียน โดยการน�ำมาเชื่อมโยงกับความรู้เดิม ความเข้าใจ สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้ หรือประสบการณ์เดิม กิจกรรมการเรียนควรเปิด และในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งนี้ โอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ ความสามารถตาม มุ่งเน้นที่จะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ความเชื่อของตน จะช่วยฝึกให้สร้างความหมาย คณิตศาสตร์ เรื่อง เส้นขนาน ของนักเรียนให้สูงขึ้น กับความรู้ใหม่ที่ได้รับ จะเห็นได้ว่าการจัดกิจกรรม โดยผู้วิจัยตระหนักว่า การจัดเรียงล�ำดับเนื้อหา การเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วย เช่นเดียวกับหนังสือ หรือแบบเรียนทั่วไปไม่ ตนเองนั้นท�ำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถท�ำให้นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ สูงขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ซึ่งสอดคล้องกับ ด้วยตนเองได้ จึงท�ำการแบ่งเนื้อหาใหม่ออกเป็น งานวิจัยของ Ritter (2010) ศึกษาเรื่อง Mixed 6 เรื่องย่อย และน�ำมาจัดเรียงล�ำดับเนื้อหาใหม่ Methods Study Using Constructive Learning ซึ่งในการจัดเรียงล�ำดับเนื้อหาใหม่ในครั้งนี้ Team Model for Secondary Mathematics ค�ำนึงถึงนักเรียนเป็นส�ำคัญ โดยจัดเรียงเนื้อ Teachers ผลการศึกษาพบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ จากง่ายไปยาก และล�ำดับขั้นตอนในการให้เหตุ ทางการเรียนในระดับสูงขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทาง ทางเรขาคณิต ส่งผลให้นักเรียนสามารถสร้าง สถิติจากการเรียนรู้ผ่านรูปแบบกลุ่มการเรียนรู้ องค์ความรู้ด้วยตนเองได้ พร้อมทั้งสามารถน�ำ ในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน องค์ความรู้ไปประยุกต์ในการแก้ปัญหาเรื่อง ระดับมัธยมศึกษา และสามารถแสดงทักษะทาง เส้นขนาน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สิริพร คณิตศาสตร์อย่างไม่เป็นทางการได้ และงานวิจัย ทิพย์คง (Thipkhong, 2002) ที่กล่าวไว้ว่า การสอน ของ เสรี ค�ำอั่น (Khumun, 2015) ศึกษาเรื่อง คณิตศาสตร์สอนเพื่อช่วยให้นักเรียนประสบผล การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ส�ำเร็จในการเรียนคณิตศาสตร์นั้น ต้องสอนจาก ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เรื่อง ล�ำดับ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 221

และอนุกรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิต ต่าง ๆ ครู และผู้เรียนต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรม มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ผลการวิจัยพบว่า การถามตอบ นั่นคือ ครูที่สนใจจะจัดการเรียนรู้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ตามทฤษฎีการสร้างความรู้จะต้องเข้าใจแนวคิด ก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส�ำคัญ หลักการมองแบบการน�ำแนวคิดสู่การ 3. ระดับความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรม ปฏิบัติ ทั้งข้อเสนอแนะ ข้อควรค�ำนึงถึงเกี่ยวกับ การเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีดังกล่าวเพื่อจะได้ ด้วยตนเอง เรื่อง เส้นขนาน ส�ำหรับนักเรียนชั้น เกิดประสิทธิผลสูงสุดกับผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก แนวคิดของ สิริอร วิชชาวุธ (Witchawut, 2001) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมาก ที่กล่าวว่า ความพึงพอใจน�ำไปสู่ผลงาน โดยมี และมากที่สุด เนื่องจากผู้วิจัยได้น�ำกิจกรรมการ ความเชื่อว่า บุคคลจะสร้างผลงานที่ดีก็ต่อเมื่อ เรียนรู้ไปทดลองกับกลุ่มย่อย และสัมภาษณ์ เขาได้รับการตอบสนองความต้องการจนเป็น นักเรียนหลังจากเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ที่น่าพอใจ โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ท�ำให้ทราบถึงข้อบกพร่องของกิจกรรมการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. การพัฒนากิจกรรมการเรียน เมื่อทดลองใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่ม โดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ภาคสนาม ผู้วิจัยได้จัดหาสื่อการเรียนรู้ที่ช่วย เรื่องเส้นขนาน ส�ำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ท�ำให้นักเรียนสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น และ ในครั้งนี้พิจารณาเฉพาะคะแนนที่นักเรียนได้จาก เหมาะสมกับวัยนักเรียน รวมทั้งศึกษาทฤษฎีที่ การท�ำแบบฝึกหัด และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ท�ำให้นักเรียนเข้าใจง่ายขึ้นด้วย ซึ่งสอดคล้องกับ ทางการเรียนเท่านั้น หากมีการน�ำไปประยุกต์ใช้ แนวคิดของ ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน (laohacharatsang, 2018) ที่กล่าวว่า การเรียนรู้ ควรประเมินทักษะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกิดจาก ประสบการณ์ในการลงมือกระท�ำของ อื่น ๆ ประกอบด้วย เช่น การมีส่วนร่วม และความ ผู้เรียน (Learning By Doing) ภายใต้กิจกรรม รับผิดชอบต่อการท�ำงานเป็นกลุ่ม เป็นต้น การเรียนรู้ หรือสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ที่ผู้สอน 2. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ได้จากการ เป็นผู้ออกแบบไว้ให้ล่วงหน้า โดยที่ผู้สอนเป็น พัฒนาครั้งนี้ เป็นแนวทางหนึ่งส�ำหรับน�ำไป ผู้ที่มีความส�ำคัญในการออกแบบการสอนที่ให้ พัฒนาต่อยอดและปรับให้มีความเหมาะสมกับ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเกื้อหนุน (Scaffold) เรื่องที่จะน�ำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และส่งเสริมอ�ำนวยความสะดวก (Facilitator) ทั้งนี้นอกจากค�ำนึงถึงความเหมาะสมแล้วควร ผู้เรียนในกิจกรรมต่าง ๆ โดยที่ผู้เรียนมีส่วนร่วม ค�ำนึงถึงสภาพปัญหา และความพร้อมของ กับการเรียนรู้ของตนอย่างกระตือรือร้น สร้าง นักเรียนด้วย เพื่อให้กิจกรรมการเรียนได้ถูก ความรู้ ผ่านชิ้นงาน โครงงาน และ/หรือ ผลงาน พัฒนาให้ดียิ่งขึ้นไป วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 222

ข้อเสนอแนะในการท�าวิจัยครั้งต่อไป 2. ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม เพื่อน�าไป 1. ควรมีการศึกษา และติดตามผล ปรับปรุง พัฒนา วิจัยให้สามารถพัฒนาการ การน�ากิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรม เรียนรู้ด้านจิตพิสัย และทักษะพิสัย เนื่องจาก การเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องอื่น ๆ เพื่อน�าผล การวิจัยครั้งนี้เน้นให้นักเรียนสามารถสร้าง กิจกรรมการเรียนที่ได้ไปปรับปรุง และพัฒนา องค์ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการมุ่งเน้นที่จะ กิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง พัฒนาการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยเป็นส่วนใหญ่

REFERENCES

Khumun, S. (2015). The Development of Mathematics Instruction and Study Activities on Sequences and Series Based on Constructivist Theory for Matthayom Sueksa Six Students at Ramkhamhaeng University. Master of Education. Ramkhamhaeng University. (in Thai) laohacharatsang, T. (2018). Information technology innovation for education in the learning era 4.0. Chiangmai: Tongsam Design. (in Thai) Moonkhum, S. & Moonkhum, O., (2007). 19 Learning Management Methods for Development of Knowledge. Bangkok: Parbpim Printing. (in Thai) National Institute of Educational Testing Service. (2018). Results of Ordinary National Educational Test. (Online). Available from: http://www.niets.or.th/. Ritter, K. L. (2010). Mixed methods study using constructive learning team model for secondary mathematics teachers. Dissertation Abstracts Antinational, 42(04), 2445-A. Sariwat, L. (2014). Psychology for Teachers. Bangkok: O. S. Printing House. (in Thai) Sumalee, S. (2015). The Development of Learning Activities in Mathematics Based on the Application of Constructivist Theory to the Factoring of Polynomials for Matthayom Sueksa Three Students at Sarasas Witaed Ratchaphruek School. Master of Education. Ramkhamhaeng University. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 223

Thipkhong, S. (2002). Curriculum and Mathematics Teaching. Bangkok: Institute of Academic Development. (in Thai) Wiangwalai, S. (2013). Learning Management. Bangkok: Odean Store. (in Thai) Witchawut, S. (2001). Introduction to Industrial Psychology and Organization. Bangkok: Thammasat Printing house. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 224

บทความวิจัย

ความต้องการจ�ำเป็นของการพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรม ของผู้บริหารโรงเรียน ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ THE NEED ASSESSMENT OF INNOVATIVE LEADERSHIP DEVELOPMENT OF THE ADMINISTRATORS OF AFFILIATED SCHOOLS OF TRIAM UDOM SUKSA PATTANAKARN ตฤณเศรษฐ์ รัตนรังสฤษฏ์1* และ สุกัญญา แช่มช้อย2 Trinnased Rudtanarungsarid1* and Sukanya Chaemchoy2

สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Division of Educational Administration, Department of Educational Policy, Management, and Leadership, Faculty of Education Chulalongkorn University, Bangkok Thailand1*, 2

Email: [email protected]*

Received: 2019-03-31 Revised: 2019-07-08 Accepted: 2019-07-12

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจ�ำเป็น ของการพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ จ�ำนวน 17 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ หัวหน้าทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมจ�ำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 148 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย เลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ การจัดล�ำดับความส�ำคัญของความต้องการจ�ำเป็น

(PNIModified) ความต้องการจ�ำเป็นของการพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ พบว่ามีค่าความต้องการจ�ำเป็นของด้านย่อยสูงสุดอันดับ 1 คือ องค์ประกอบ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 225

ด้านความคิดสร้างสรรค์ (PNI = 0.67) อันดับ 2 คือ องค์ประกอบด้านการท�ำงานเป็นทีม (PNI = 0.66) และอันดับ 3 คือ องค์ประกอบด้านการมีวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลง (PNI = 0.65) ตามล�ำดับ

ค�ำส�ำคัญ: ภาวะผู้น�ำ ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรม ผู้บริหาร สภาพที่พึงประสงค์ ความต้องการจ�ำเป็น

ABSTRACT The objective of this quantitative research was to study the need assessment of innovative leadership development of the administrators of affiliated schools of Triam Udom Suksa Pattanakarn. The informants of this research were 148 people: school directors of affiliated schools of Triam Udom Suksa Pattanakarn and the heads of every department from 17 schools. The questionnaire was chosen to be the research tool to get the information about the current situation and the desirable characteristics of innovative leadership development of the administrators of affiliated schools of Triam Udom Suksa Pattanakarn. Statistical analysis such as frequency, percentage, mean, standard deviation and modified priority needs index (PNIModified,) were used to describe the obtained information. The need assessment of innovative leadership development of the administrators of affiliated schools of Triam Udom Suksa Pattanakarn was summarized that had the modified priority needs index as follows: The first need assessment was creativity (PNI = 0.67). The second need assessment was teamwork (PNI = 0.66). And the third need assessment was vision to change, for the better (PNI = 0.65).

Keywords: leadership, innovative leadership, administrators, desirable characteristics, need assessment

บทน�ำ ยุคนี้เป็นยุคโลกาภิวัฒน์และเป็นสังคม บริหารการศึกษาก็เช่นเดียวกันจ�ำเป็นต้องปรับ เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge – based เปลี่ยนแนวทางในการด�ำเนินการจึงจะท�ำให้การ society and Economy) ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไป ศึกษาบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ อย่างรวดเร็ว การบริหารจัดการในทุกวิชาชีพ ธีระ รุญเจริญ (Runcharoen, 2011) ผู้บริหาร จ�ำเป็นต้องปรับตัวอย่างมาก เพื่อน�ำไปสู่ความ สถานศึกษามีบทบาทส�ำคัญในการเป็นผู้น�ำ ส�ำเร็จและความเจริญก้าวหน้า การจัดและ ในยุคโลกาภิวัตน์ และเป็นผู้ที่มีความส�ำคัญในการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 226

ขับเคลื่อนการจัดการศึกษา ให้บรรลุวัตถุประสงค์ วิจัยและ การพัฒนานวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง ของการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องมีบทบาท และสร้างประโยชน์ต่อสังคม ในการจัดการและพฤติกรรมขององค์กร ตลอดจน โดยผู้บริหารจ�ำเป็นต้องมีทักษะในการ ต้องมีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ บริหารการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และต้องมี ภาวะผู้น�ำเป็นอย่างดี ต้องรู้ถึงเทคนิคในการน�ำ แนวทางในการบริหารจัดการองค์กรให้เกิดการ ความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและ เรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ด้วยกระบวนวิธีใหม่ ๆ โดย สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เพื่อน�ำ สามารถน�ำองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีในรูปแบบ องค์กรไปสู่จุดหมายปลายทางอย่างมีประสิทธิผล ต่าง ๆ เข้ามาบริหารจัดการสถานศึกษา โดยมุ่งหวัง และยั่งยืน ผู้น�ำที่ดีต้องมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ให้สถานศึกษาปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับยุคสมัย น�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการอย่าง และเกิดผลส�ำเร็จต่อองค์กร กอปรกับในยุคโลก เพียงพอและมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันที่มีการแข่งขันกันสูง (High Competitive) สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ในยุคโลกาภิวัฒน์ (Globalization) มีความ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2579 ได้ก�ำหนด ไร้พรมแดนไม่มีอะไรกีดขวางการติดต่อสื่อสารได้ ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายในการจัดการศึกษา เช่นเดียวกับการพัฒนาองค์กรของ ในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาก�ำลังคน ผู้บริหารสถานศึกษาจ�ำเป็นต้องใช้ทั้งเทคนิค การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความ ในการบริหารจัดการ (Management) และ สามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยมีแนวทาง ความเป็นผู้น�ำ (Leadership) เพื่อน�ำองค์กร ในการผลิตและพัฒนาก�ำลังคนให้มีสมรรถนะ สู่ความส�ำเร็จในการเปลี่ยนแปลงได้ ดังนั้น ในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดงาน การพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมจึงมีความ และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่ง โดยการพัฒนา ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาก�ำลังคนที่มีความ สถานศึกษาต้องอาศัยผู้น�ำที่มีวิสัยทัศน์เชิง เชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน ซึ่งสอดคล้อง นวัตกรรมเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการ กับยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคน เปลี่ยนแปลงเชิงนวัตกรรม ดังนั้นผู้บริหารองค์กร ทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ จึงเป็นกลไกส�ำคัญที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยมีแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ ขององค์กร และสามารถน�ำพาองค์กรไปสู่เป้าหมาย และคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และ ที่ตั้งไว้ได้ หากผู้บริหารมีความรู้ ความสามารถ คุณลักษณะที่จ�ำเป็นในศตวรรษ ที่ 21 พัฒนา และคุณลักษณะที่เหมาะสมที่จะผลักดันให้งาน รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้เรียน ก้าวไปได้ด้วยกันก็จะสามารถสร้างความเจริญ ในศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้แบบ ก้าวหน้าแก่องค์กรได้ นงพงา ปั้นทองพันธุ์ คิดวิเคราะห์ ทักษะกระบวนการ การน�ำหลักการ (Puntongpun, 1999) ไปประยุกต์ใช้ และขยายสู่การสร้างความรู้เชิง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 227

จากความส�ำคัญดังกล่าวข้างต้นผู้น�ำ “เพื่อให้โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา มีความส�ำคัญในการปรับเปลี่ยนองค์กร พัฒนา แก่นักเรียน โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษา คุณภาพขององค์กร ไปสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม พัฒนาการ” โดยผ่านโครงการต่าง ๆ พร้อมกับ และที่ส�ำคัญสิ่งที่ผู้น�ำต้องมีคือความสามารถ มีการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ร่วมกันโดยให้เป็นไป​ ในภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรม ซึ่งภาวะผู้น�ำเชิง ตามวิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมาย เป้าหมาย ตัวชี้วัด นวัตกรรมจะส่งผลให้สามารถปฏิบัติงานให้ได้ และยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นวัตกรรมหรือสิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อ พ.ศ. 2560 - 2579 โดยการบริหารสถานศึกษา สถานศึกษา สามารถพัฒนาการศึกษาได้อย่าง ของผู้บริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งต้องอาศัย มีคุณภาพบนพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลง คุณลักษณะของผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร ของโลกอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นผู้บริหารทางการ สถานศึกษาในการยกระดับคุณภาพของนักเรียน ศึกษา จ�ำเป็นต้องมีความเป็นผู้น�ำ (Leadership) และการบริหารจัดการสถานศึกษา จึงสอดคล้อง ในการบริหารจัดการองค์การหรือสถานศึกษา กับนโยบายของนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ (Organization or Schools) ให้เกิดประสิทธิภาพ จันทร์โอชา Government performance (Efficiency) และประสิทธิผล (Effectiveness) report (2015) โดยจากรายงานผลการด�ำเนินงาน ตามเป้าหมาย (Goals) ซึ่งการบริหารจัดการ ของรัฐบาล กล่าวถึง การพัฒนาและส่งเสริม องค์การย่อมมีความเสี่ยงต่าง ๆ (Risks) ผู้บริหาร การใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี จะต้องมีวิสัยทัศน์ (Vision) และสมรรถนะ การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม โดยเฉพาะ (Competency) โดยมีความสามารถ (Ability) อย่างยิ่งการส่งเสริมระบบการเรียนการสอน มีความเป็นผู้น�ำสามารถน�ำพาองค์การให้มีความ ที่เชื่อมโยงระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เจริญเติบโต (Growth) อยู่รอดได้ท่ามกลาง วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การผลิต การเปลี่ยนแปลง (Survival) มีความเป็นเลิศ ก�ำลังคนในสาขาที่ขาดแคลน การเชื่อมโยง (Excellence) อย่างยั่งยืน (Sustainable) ภารดี ระหว่างการเรียนรู้กับการท�ำงาน จึงเป็นภารกิจ อนันต์นาวี (Anannawee, 2017) อันหนึ่งที่ต้องร่วมกันสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ ในบริบทของโรงเรียนในเครือเตรียมอุดม ทันสมัยให้ทันกับโลกปัจจุบัน และอนาคตที่จะ ศึกษาพัฒนาการ ซึ่งประกอบไปด้วย 17 โรงเรียน เกิดขึ้น ผู้บริหารสถานศึกษาจึงจ�ำเป็นต้องมีภาวะ ซึ่งในบริบทสภาพแวดล้อม หมายรวมไปถึง ผู้น�ำเชิงนวัตกรรมใช้ในการบริหารงานในสถาน ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอน ในแต่ละ ศึกษา และสนับสนุนผลักดันให้เกิดการเรียนรู้ โรงเรียนมีความแตกต่างกัน คุณลักษณะของ โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในสถานศึกษา ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียน ให้เพียงพอ และมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้น แต่ละแห่งย่อมมีความแตกต่างกัน แต่เนื่องด้วย ทางโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ได้มีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ขององค์กรร่วมกันคือ ได้มีวัตถุประสงค์ส�ำคัญของการสร้างเครือข่าย คือ “มุ่งพัฒนาผู้เรียนและโรงเรียนในเครือเตรียมอุดม วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 228

ศึกษาพัฒนาการ ให้มีคุณภาพด้านวิชาการและ วัตถุประสงค์ของการวิจัย คุณธรรม” และจุดเน้นปรัชญาขององค์กรที่ว่า เพื่อศึกษาความต้องการจ�ำเป็นของ “ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม” การพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร อย่างไรก็ตามสภาพความเป็นจริงของ โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ บริบทโรงเรียนยังมีปัญหาของการพัฒนาภาวะ ผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือ ขอบเขตการวิจัย เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการซึ่งพบว่ามีการ 1. ขอบเขตประชากร พัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมอยู่ในระดับต�่ำ ประชากรในการวิจัย คือ โรงเรียน โดยการพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมมีความ ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ จ�ำนวน ส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการบริหารบุคลากรในองค์กร 17 โรงเรียน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อองค์กรในการก�ำหนด 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา ทิศทางขององค์กรอย่างมีกลยุทธ์ เชิงนวัตกรรม การศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนา เพื่อการขับเคลื่อนให้บุคลากรสามารถสร้าง ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียน นวัตกรรมในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิต ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ มีขอบเขต และการให้บริการอย่างสรรค์ ซึ่งมีความส�ำคัญ เนื้อหา 5 ขอบเขต คือ 1. การมีวิสัยทัศน์เพื่อการ ทั้งต่อการบริหารงานของบุคลากรในองค์กร และ เปลี่ยนแปลง 2. การท�ำงานเป็นทีม 3. ความคิด เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กร สร้างสรรค์ 4. การมีอิทธิพลและการโน้มน้าว จากความส�ำคัญของปัญหาดังกล่าว 5. การบริหารความเสี่ยง ท�ำให้ผู้วิจัยสนใจศึกษาความต้องการจ�ำเป็นของ 3. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย การพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 - เดือน โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ มิถุนายน 2562 โดยมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์ และเพื่อเป็นข้อมูล สารสนเทศในการวางแผนพัฒนาการบริหารงาน กรอบแนวคิดของการวิจัย นวัตกรรมในสถานศึกษา และเป็นแนวทางในการ การวิจัยความต้องการจ�ำเป็นของการ พัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียน พัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อันจะเป็น โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการได้ ประโยชน์ต่อการพัฒนาและผลักดันส่งเสริม มีกรอบแนวคิดในการวิจัยดังนี้ ให้เกิดการพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรม ตลอดจน ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรม ประกอบด้วย สามารถท�ำให้บุคลากรและองค์กรทางการ (พิทักษ์ ทิพย์วารี และ วิทยากร ยาสิงห์ทอง ศึกษาไทยให้สามารถพัฒนาสู่องค์กรที่มีมาตรฐาน (Thipwaree, 2014) & (Yasingthong, 2018) ระดับสากลได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 1. การมีวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลง หมายถึง ความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 229

ในการมองเห็นภาพอนาคตที่พึงปรารถนา ก�ำหนด ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียน เป้าหมายและนโยบาย ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ในการสร้างวัฒนธรรมให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง อย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 2. การท�ำงานเป็นทีม หมายถึง ความ โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สามารถของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริม จ�ำนวน 17 โรงเรียน ให้ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษา ร่วมคิด กลุ่มตัวอย่าง คือ 1. ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ร่วมสร้าง ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผิดชอบ ในการ ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ และ พัฒนานวัตกรรมให้เกิดประโยชน์ต่อสถานศึกษา 2. หัวหน้า ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรียนละ 3. ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความ 8 คน โดยผู้ให้ข้อมูลในครั้งนี้ได้จากการเลือก สามารถของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีความ แบบเจาะจง (Purposive Sampling) รวมผู้ให้ คล่องแคล่วในการคิด ความคิดยืดหยุ่น ความคิด ข้อมูลทั้งสิ้น 153 คน ริเริ่ม และความคิดละเอียดลออ เพื่อเป็นทางเลือก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในการส่งเสริมการท�ำงานของครู และบุคลากร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น ภายในสถานศึกษา แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึง 4. การมีอิทธิพลและการโน้มน้าว ประสงค์ของภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร หมายถึง ความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ในการสร้างแรงจูงใจ จุดประกายความคิด ชี้แนะ มี 2 ชุด ประกอบด้วย ชุดที่ 1 ส�ำหรับผู้บริหาร แนวทางในการพัฒนานวัตกรรม ให้ครูและ ได้แก่ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ชุดที่ 2 ส�ำหรับครู บุคลากรเห็นด้วยกับการปรับเปลี่ยนรูปแบบ ได้แก่ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ การบริหารจัดการสถานศึกษา การเรียนรู้ ประกอบด้วย 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 5. การบริหารความเสี่ยง หมายถึง สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะของ ความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษาในการ แบบสอบถามเป็นแบบเลือกตอบ (Check list) วางแผนความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง พัฒนา ตอนที่ 2 สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ ทางเลือกในการบริหารความเสี่ยง ตรวจสอบ ของภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียน ติดตาม และควบคุมความเสี่ยงเพื่อป้องกัน ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เป็นแบบ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสถานศึกษา ตอบสนองคู่ (Dual – response format) มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating ระเบียบวิธีวิจัย Scale) 5 ระดับ หาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย ในการวิจัย โดยการออกแบบและสร้างแบบ (Descriptive Research) โดยมีวัตถุประสงค์ ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างและเนื้อหา เพื่อศึกษาความต้องการจ�ำเป็นของการพัฒนา ของแบบสอบถามฯ เพื่อเสนอผู้ทรงคุณวุฒิ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 230

จ�ำนวน 3 ท่าน เพื่อพิจารณาตรวจสอบความตรง ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดล�ำดับ

เชิงเนื้อหา โดยคัดเลือกข้อค�ำถามที่มีค่าดัชนี ความส�ำคัญของความต้องการจ�ำเป็น (PNIModified) ความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไปซึ่งถือว่า ข้อค�ำถามนั้นผ่านเกณฑ์ จากนั้นน�ำเสนอ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย แบบสอบถามต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบ สรุปผลการวิจัย ความเหมาะสมและพิจารณาให้ความเห็นชอบ 1. ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและ ในการจัดพิมพ์แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ สภาพที่พึงประสงค์ โดยท�ำการศึกษาจากข้อมูล เพื่อไปใช้เก็บข้อมูลกับผู้ให้ข้อมูล เกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ การเก็บรวบรวมข้อมูล ของภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียน ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยระบบ ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ จากกลุ่ม ออนไลน์ โดยจัดท�ำหนังสือขอความอนุเคราะห์ ตัวอย่างที่แบ่งเป็น 2 กลุ่มซึ่งได้แก่ ผู้บริหาร จากสาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ โรงเรียน จ�ำนวน 17 คน และหัวหน้าทุกกลุ่ม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงกลุ่มตัวอย่าง สาระการเรียนรู้จ�ำนวน 131 คน รวมทั้งสิ้น 148 คน เพื่อขอเก็บรวบรวมข้อมูล จากนั้นส่งแบบสอบถาม ซึ่งประมวลผลเป็นค่าคะแนนสภาพปัจจุบันและ ออนไลน์ไปยังกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 153 ฉบับ คะแนนสภาพที่พึงประสงค์จากการน�ำค่าความ ได้รับกลับมาจ�ำนวน 148 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 97 ต้องการจ�ำเป็นของการพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิง การวิเคราะห์ข้อมูล นวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือเตรียม

ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม อุดมศึกษาพัฒนาการ โดยใช้สูตร PNIModified โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ดังตารางที่ 1 ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต

ตารางที่ 1 สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียน ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ

ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรม สภาพปัจจุบัน (D) ระดับสภาพที่พึงประสงค์ (I) ค่า อันดับ ของผู้บริหารโรงเรียน PNI ความ ในเครือเตรียมอุดมศึกษา S.D. แปล S.D. แปล ต้องการ พัฒนาการ ผล ผล จ�ำเป็นที่ 1. การมีวิสัยทัศน์เพื่อกาเปลี่ยนแปลง 2.88 0.83 ปานกลาง 4.73 0.46 มากที่สุด 0.65 3 2. การท�ำงานเป็นทีม 2.88 0.72 ปานกลาง 4.80 0.41 มากที่สุด 0.66 2 3. ความคิดสร้างสรรค์ 2.89 0.70 ปานกลาง 4.83 0.37 มากที่สุด 0.67 1 4. การมีอิทธิพลและการโน้มน้าว 2.95 0.75 ปานกลาง 4.75 0.44 มากที่สุด 0.61 5 5. การบริหารความเสี่ยง 2.90 0.73 ปานกลาง 4.75 0.44 มากที่สุด 0.64 4 รวม 2.90 0.75 ปานกลาง 4.77 0.42 มากที่สุด 0.65 - วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 231

1.1 สภาพปัจจุบันของภาวะผู้น�ำ โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือ มีประเด็นส�ำคัญที่น�ำมาอภิปรายผลดังนี้ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อยู่ในระดับปานกลาง 1. ระดับสภาพปัจจุบัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า 1. องค์ประกอบ จากผลการวิจัยสภาพปัจจุบันของ การมีอิทธิพลและการโน้มน้าว ( = 2.95) มีค่า ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียน เฉลี่ยสูงสุด 2. การบริหารความเสี่ยง ( = 2.90) ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ พบว่า และ 3. การมีวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลง ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา ( = 2.88) ตามล�ำดับ เป็นรายด้าน พบว่า องค์ประกอบการมีอิทธิพล 1.2 สภาพที่พึงปะสงค์ของภาวะ และการโน้มน้าวมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ทั้งนี้อาจเป็น ผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือ เพราะผู้บริหารโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษา เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ พบว่า ผู้บริหาร พัฒนาการ ได้ให้ความส�ำคัญกับการเอาใจใส่ โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาได้ และพัฒนาครูในด้านการจัดการเรียนการสอน ให้ความส�ำคัญกับองค์ประกอบด้านความคิด สวัสดิภาพความเป็นอยู่ รวมถึงการพัฒนาคุณภาพ สร้างสรรค์ มากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ของครูสู่การเป็นครูมืออาชีพ จึงสามารถท�ำให้ ( = 4.83) รองลงมา คือ องค์ประกอบด้านการ ผู้บริหารโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษา ท�ำงานเป็นทีมโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 4.80) พัฒนาการมีทักษะการมีอิทธิพลและการโน้มน้าว และองค์ประกอบด้านการบริหารความเสี่ยง สามารถสร้างความเชื่อมั่น ความไว้ใจ ความ ( = 4.75) ตามล�ำดับ ศรัทธา ให้เกิดขึ้นกับบุคลากรในสถานศึกษา 1.3 ความต้องการจ�ำเป็นสูงที่สุดของ ดังที่ สมพงษ์ เกษมสิน (Kasemsin, 1996) อ้างถึง การพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร ใน ประภัสสร หลักหาญ (Lakhan, 2009) กล่าวไว้ โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ว่า ความสามารถและประสิทธิภาพของโรงเรียน พบว่า มีค่าความต้องการจ�ำเป็นของด้านย่อย จะดีหรือไม่ เพียงไรนั้นขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของ สูงสุดอันดับ 1 คือ องค์ประกอบด้านความคิด ผู้บริหารโรงเรียน จึงอาจกล่าวได้ว่า คุณลักษณะ สร้างสรรค์ (PNI = 0.67) อันดับ 2 คือ ของผู้บริหาร มีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่นในการน�ำ องค์ประกอบด้านการท�ำงานเป็นทีม (PNI = โรงเรียนไปสู่ความส�ำเร็จตามเป้าหมาย ผู้บริหาร 0.66) และอันดับ 3 คือ องค์ประกอบด้านการ ที่มีคุณลักษณะที่ดี มีความสามารถในการบริหาร มีวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลง (PNI = 0.65) เป็นที่ยอมรับและเชื่อถือศรัทธาจากบุคลากร ตามล�ำดับ มักจะเป็นผู้น�ำที่ดีเสมอ สอดคล้องกับงานวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ของ วัลลภา ลออเอี่ยม (Laolam, 2009) ได้ท�ำการ การศึกษาวิจัยความต้องการจ�ำเป็นของ ศึกษาอิทธิพลของบทบาทผู้บริหารสถานศึกษา การพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร ตามการรับรู้ของครูที่มีต่อขวัญก�ำลังใจในการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 232

ปฏิบัติงานของครูโรงเรียนสังกัดเทศบาล จังหวัด ครูและบุคลากรทางการศึกษาเกิดความรักใคร่ พระนครศรีอยุธยา ผลการวิจัยพบว่า บทบาท สามัคคี ช่วยเหลือเจือจุนงานของสถานศึกษา การเป็นผู้น�ำ การเป็นนักวิชาการ การเป็น โดยการจูงใจจะช่วยให้อ�ำนาจหน้าที่ของผู้บริหาร ผู้นิเทศงาน การเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุน การเป็น เป็นที่ยอมรับของครู ซึ่งเอื้ออ�ำนวยต่อการสั่งการ ผู้ประสานงาน และการเป็นผู้ตัดสินใจของ สนองต่อความต้องการของครู และเป็นธรรม ผู้บริหาร ตามการรับรู้ของครูร่วมกันมีอิทธิพล ต่อทุกฝ่าย ครูมีขวัญก�ำลังใจ ไม่เบื่อหน่ายงาน ต่อขวัญก�ำลังใจในการปฏิบัติงานของครู และ ทุ่มเทกับการท�ำงานอย่างเต็มที่ ท�ำให้สถาน สอดคล้องกับงานวิจัยของศุภลักษณ์ ตรีสุวรรณ ศึกษาประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ และ (Treesuwan, 2005) ได้กล่าวว่า ปัจจุบันการ สอดคล้องกับงานวิจัยของสุภาวดี ลาภเจริญ เข้าสู่ต�ำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนจะต้องผ่าน และคณะ (Lapcharoen, 2018) พบว่า ปัจจัย กระบวนการคัดเลือก สอบคัดเลือก ผ่านการ ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง มีระดับความคิดเห็น อบรมหลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อเพิ่มพูน ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา ความรู้ความสามารถในการบริหารงานให้มี รายด้าน พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีค่าเฉลี่ย ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างแรง สูงสุด ได้แก่ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ จูงใจในการท�ำงานของครู ผู้บริหารส่วนใหญ่ รองลงมาคือ การสร้างแรงบันดาลใจ การค�ำนึงถึง มีวุฒิการศึกษาสูงขึ้นในระดับปริญญาตรี และ ความเป็นปัจเจกบุคคล และการกระตุ้นทาง ปริญญาโท มีความรู้ความสามารถ และมีพฤติกรรม ปัญญาตามล�ำดับ ทั้งนี้การมีอิทธิพลอย่างมี สร้างแรงจูงใจ ให้ความเชื่อมั่น ไว้วางใจครู อุดมการณ์มีค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด อาจเป็น ยอมรับความสามารถของครูมากขึ้นในการ เพราะว่าผู้บริหารโรงเรียนได้แสดงพฤติกรรม ท�ำงาน ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ครูเข้ามามีส่วนร่วม ลักษณะการบริหารที่มีความมุ่งมั่นในการอุทิศตน ในงาน มีการพบปะหารือติดต่อสื่อสารซึ่งกัน ในการปฏิบัติงาน แสดงพฤติกรรมลักษณะการ และกัน เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายของโรงเรียน สร้างแรงบันดาลใจให้เกิดความเชื่อมั่นและแสดง นอกจากนี้ครูโดยเฉลี่ยมีวุฒิทางการศึกษาเพิ่มขึ้น ให้เห็นความตั้งใจอย่างแน่วแน่ แสดงพฤติกรรม เข้ารับการอบรมพัฒนาความรู้หลักสูตรต่าง ๆ ลักษณะการกระตุ้นทางปัญญา กระตุ้นอาจารย์ อันเป็นประโยชน์ต่อการท�ำงานมากขึ้น ท�ำให้ ให้เกิดความริเริ่มสร้างสรรค์ และแก้ปัญหา ตัวครูเองต้องหาแนวทางในการสร้างแรงจูงใจ ร่วมกันอย่างเป็นระบบ อีกทั้งแสดงพฤติกรรม ในการท�ำงาน เพื่อความส�ำเร็จของงานและ ลักษณะการค�ำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล เพื่อความก้าวหน้าในหน้าที่การงานของตนเอง มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับอาจารย์ทุกระดับ ในโอกาสต่อไป ผู้วิจัยเห็นว่าการที่ผู้บริหาร ตลอดจนยอมรับฟังความคิดเห็นของอาจารย์ มีทักษะการมีอิทธิพลและการโน้มน้าว ทักษะ อย่างแท้จริงและจริงใจ สอดคล้องกับแนวคิดของ ในการสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นกับครูมีความส�ำคัญ ธร สุนทรายุทธ์ (Suntarayuth, 2008) และ อย่างมากในการน�ำพาความส�ำเร็จมาสู่สถานศึกษา รัตติกรณ์ จงวิศาล (Chongvisal, 2013) เสนอว่า วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 233

ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงมีลักษณะความเป็น ละเอียดรอบคอบและยืดหยุ่นตามความเหมาะสม ผู้น�ำที่อาศัยกระบวนการน�ำ กระตุ้นจุดประกาย อีกทั้งความคิดสร้างสรรค์ยังเป็นปัจจัยหนึ่งที่มี ให้ผู้ตามคล้อยตามให้บรรลุถึงความสนใจ อีกทั้ง อิทธิพลทางตรงส่งผลต่อวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร สอดคล้องกับทฤษฎีของ Bass & Avolio (1994 ซึ่งผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ย่อมจะส่งเสริมให้เกิด อ้างถึงใน รัตติกรณ์ จงวิศาล (Chongvisal, 2013) ความเปลี่ยนแปลงในเชิงสร้างสรรค์สามารถ กล่าวว่า ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร พัฒนาสถานศึกษาให้ประสบความส�ำเร็จตาม ทั้ง 4 ด้านให้ความส�ำคัญกับความต้องการของ เป้าหมาย นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัย แต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกัน ของ ขวัญชนก โตนาค และคณะ (Tonak, 2. ระดับสภาพที่พึงประสงค์ Chaemchoy & Kornpuang, 2014) ได้ท�ำการ จากผลการวิจัยระดับสภาพที่ วิเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรม พึงประสงค์ของภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมของ สาหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานศึกษาํ โดย ผู้บริหารโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษา จุดมุ่งหมายของการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษา พัฒนาการ ที่พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนในเครือ องค์ประกอบภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารํ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาได้ให้ความส�ำคัญกับ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ องค์ประกอบด้านความคิดสร้างสรรค์ มากที่สุด การศึกษา ภาคเหนือตอนล่าง และ 2) เพื่อวิเคราะห์ โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด เมื่อพิจารณาในประเด็น องค์ประกอบเชิงยืนยันภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรม ที่ผู้บริหารโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง พัฒนาการ ควรให้ความส�ำคัญในการพัฒนา ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) กลุ่มตัวอย่างสาหรับการํ ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรมในด้านองค์ประกอบ สัมภาษณ์ ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญจํานวน 9 คน ของความคิดสร้างสรรค์เป็นล�ำดับแรกนั้น 2) กลุ่มตัวอย่างสําหรับการตอบแบบสอบถาม อาจกล่าวได้ว่า ในการพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิง ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน นวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนองค์ประกอบหลัก จํานวน 419 คน องค์ประกอบที่ 1 บุคลิกภาพ ส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาภาวะผู้น�ำ ภายใน ตัวแปรที่มีน�้ำหนักความสําคัญมากที่สุด คือ ผู้บริหารต้องมึความคิดสร้างสรรค์ ถึงจะบรรลุ คือ ความคิดสร้างสรรค์ ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรม โดยจากผลการวิจัยนี้ 3. ความต้องการจ�ำเป็น ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร จากผลการวิจัยที่พบว่า องค์ประกอบ (Surakitbowon, 2006) สรุปว่า คุณลักษณะ ด้านความคิดสร้างสรรค์มีค่าความต้องการ ส�ำคัญของผู้บริหารสถานศึกษาประการหนึ่งที่ จ�ำเป็นสูงสุด ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคุณลักษณะที่ ส่งผลต่อการความส�ำเร็จในการบริหารจัดการ ผู้บริหารจะต้องมีส�ำหรับการเป็นผู้น�ำเชิง อย่างมืออาชีพ คือ การมีความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรมเพื่อน�ำไปสู่การปฏิรูปการศึกษา ได้แก่ เป็นผู้ริเริ่มโครงการใหม่ ๆ สามารถคิดหาทาง การมีความคิดสร้างสรรค์ มีความรู้ลึกและรู้รอบ เลือกได้หลากหลายเพื่อการแก้ปัญหา มีความ และกล้าที่จะเปลี่ยนแปลง โดยสอดคล้องกับ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 234

วิสัยทัศน์ขององค์กร คือ “มุ่งพัฒนาผู้เรียน ที่ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการท�ำงาน และโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เป็นทีมกับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา ให้มีคุณภาพด้านวิชาการและคุณธรรม” และ สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรี- จุดเน้นปรัชญาขององค์กรที่ว่า “ความเป็นเลิศ อยุธยา เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า มีการท�ำงาน ทางวิชาการและคุณธรรม” สอดคล้องกับงาน เป็นทีมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสอดคล้อง วิจัยของ ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร (Surakitbowon, กับแนวคิดของสุภาวดี แก้วส�ำราญ (Kaewsamran, 2006) ได้กล่าวว่าคุณลักษณะส�ำคัญของผู้บริหาร 2010) ที่ได้สรุปไว้ว่า การท�ำงานเป็นทีม เป็นการ สถานศึกษาประการหนึ่งที่ส่งผลต่อการความ รวมกลุ่มของบุคคลเพื่อร่วมกันท�ำงานอย่างมี ส�ำเร็จในการบริหารจัดการอย่างมืออาชีพ คือ การ หลักการ สมาชิกทุกคนปฏิบัติงานได้ตามบทบาท มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่มโครงการใหม่ ๆ หน้าที่ความรับผิดชอบของตนอย่างถูกต้องและ สามารถคิดหาทางเลือกได้หลากหลายเพื่อการ เหมาะสม โดยมีการประสานความสัมพันธ์ซึ่งกัน แก้ปัญหา มีความละเอียดรอบคอบและยืดหยุ่น และกัน การติดต่อสื่อสารกัน การตัดสินใจร่วมกัน ตามความเหมาะสม อีกทั้งความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้สามารถท�ำงานได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ยังเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีอิทธิพลทางตรงส่งผลต่อ ที่ก�ำหนด ด้วยเหตุนี้จึงเป็นเหตุผลให้บุคลากร วิสัยทัศน์ของผู้บริหารซึ่งผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ ในสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ย่อมจะส่งเสริมให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในเชิง ประถมศึกษาปทุมธานีเขต 2 ให้ความส�ำคัญของ สร้างสรรค์สามารถพัฒนาสถานศึกษาให้ประสบ การท�ำงานเป็นทีมอยู่ในระดับมาก ความส�ำเร็จตามเป้าหมาย องค์ประกอบด้านการมีวิสัยทัศน์เพื่อ องค์ประกอบด้านการท�ำงานเป็นทีมมีค่า การเปลี่ยนมีค่าความต้องการจ�ำเป็นในล�ำดับ ความต้องการจ�ำเป็นในอันดับรองลงมาซึ่งแสดง ที่สาม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคุณลักษณะที่ผู้บริหาร ให้เห็นว่าการปฏิบัติงานในองค์กรทุกองค์กร จะต้องมีส�ำหรับการเป็นผู้น�ำเชิงนวัตกรรม คือ จ�ำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือทั้งในด้านทักษะ การมีวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลงโดยสามารถ ความรอบรู้ของแต่ละบุคคล การมีสัมพันธภาพ น�ำวิสัยทัศน์ที่สร้างไปสู่การปฏิบัติได้ โดยการ ที่ดีของสมาชิกในทีม เพื่อให้ผลการปฏิบัติงาน หลอมรวมวิสัยทัศน์ของตนเองไปสู่ปรัชญา บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์การ นโยบาย เป้าหมาย ตลอดจนโครงการต่าง ๆ สอดคล้องกับ Woodcock (1989) ที่ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อให้วิสัยทัศน์ที่สร้างขึ้นด�ำเนินไปเป็นผล ไว้ว่า การท�ำงานเป็นทีมเป็นการที่แต่ละบุคคล ส�ำเร็จ หากผู้บริหารมีการสร้างวิสัยทัศน์ มาร่วมกันท�ำงาน เพื่อน�ำไปสู่ผลส�ำเร็จที่มากกว่า เผยแพร่วิสัยทัศน์แล้ว แต่ไม่น�ำไปปฏิบัติ ผลก็จะ การที่พวกเขาท�ำงานเพียงล�ำพัง และยังท�ำให้เกิด ไม่เกิดขึ้นซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เอกฉันท์ การกระตือรือร้น เกิดความพอใจ และสนุกสนาน โชติฉันท์ (Chotchan, 2007) ที่พบว่า วิสัยทัศน์ ในการท�ำงาน และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามทัศนะ อ�ำนวย มีสมทรัพย์ (Meesomsap, 2010) ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 235

การศึกษา นครราชสีมา มีการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ การพัฒนาไปสู่การเป็นผู้น�าเชิงนวัตกรรมที่ อยู่ในระดับสูงที่สุด ทั้งนี้อาจมาจากผู้บริหารที่ ประสบผลส�าเร็จด้วยองค์ประกอบด้านความคิด ด�ารงต�าแหน่งในสถานศึกษาต้องผ่านการอบรม สร้างสรรค์ การท�างานเป็นทีม และการมีวิสัยทัศน์ หลักสูตรพัฒนาผู้บริหารเพื่อเข้าสู่ต�าแหน่งของ เพื่อการเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา ซึ่งในปัจจุบัน 1.3 เสนอต่อกระทรวงศึกษาธิการ การเข้าอบรมหลักสูตรนี้ผู้บริหารจะต้องแสดง เพื่อก�าหนดเป็นนโยบายและเกณฑ์ในการพัฒนา วิสัยทัศน์การบริหารให้เป็นรูปธรรมมากที่สุด ภาวะผู้น�าเชิงนวัตกรรมสู่โรงเรียนภาครัฐและ และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ แคทรียา ภาคเอกชนทั่วประเทศ เพื่อการพัฒนาการศึกษา หน่อมอก (Normok, 2015) ที่พบว่า วิสัยทัศน์ ของประเทศไทยสู่การเป็นสถานศึกษาที่ได้รับ ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอ�าเภอ มาตรฐานสากล เมืองน่าน ด้านการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์อยู่ใน 2. ข้อเสนอแนะส�าหรับการวิจัย อันดับแรก เนื่องจากผู้บริหารได้มีการกระจาย ครั้งต่อไป อ�านาจ และความรับผิดชอบให้คณะครูได้ท�าตาม 2.1 จากการศึกษาสภาพปัจจุบัน ความเหมาะสม ให้ความร่วมมือร่วมใจในการ ของภาวะผู้น�าเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียน ท�างานเป็นทีม มีการกระตุ้นให้ครูมีความตื่นตัว ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการพบว่า และกระตือรือร้นในการท�างานด้วยวิธีการใหม่ ๆ องค์ประกอบด้านการท�างานเป็นทีมมีค่าเฉลี่ย ต�่าที่สุด การพัฒนาทักษะการท�างานเป็นทีม ข้อเสนอแนะ จึงเป็นประเด็นที่ควรศึกษาต่อว่ามีแนวทางใด 1. ข้อเสนอแนะส�าหรับน�าผลการ ที่สามารถพัฒนาทักษะการท�างานเป็นทีมได้ วิจัยไปใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ 1.1 จัดท�าคู่มือการพัฒนาภาวะ 2.2 ความต้องการจ�าเป็นที่ต้อง ผู้น�าเชิงนวัตกรรมส�าหรับอบรมพัฒนาผู้บริหาร ได้รับการพัฒนาสูงที่สุดคือองค์ประกอบด้าน โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นประเด็นที่ควรศึกษา โดยใช้หลักแนวคิดในการพัฒนาจากคู่มือ ต่อว่ามีแนวทางใดที่สามารถพัฒนาความคิด 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ สร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาได้อย่าง การท�างานเป็นทีม และการมีวิสัยทัศน์เพื่อการ มีประสิทธิภาพ เปลี่ยนแปลง 2.3 น�าแนวทางที่ได้จากการวิจัย 1.2 จัดฝกอบรมและพัฒนาภาวะ ไปต่อยอดในการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อน�าไปสู่ ผู้น�าเชิงนวัตกรรมส�าหรับผู้บริหารโรงเรียน การพัฒนาตัวชี้วัดในการพัฒนาภาวะผู้น�า ในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เพื่อน�าร่อง เชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนทั่วประเทศ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 236

REFERENCES

Anannawee, P. (2017). Factors affecting the success of school administration based on asean community under the basic education commission in the eastern. The journal of education studies, Chulalongkorn University. (in Thai) Bass, B.M. & Avolio, B.J. (1990). Transformational leadership development. California : Consulting Psychologists Press. Chaemchoy, S (2015). Technology Leadership: Leading Technology into 21st Century School. The Journal of Education Naresuan University. (in Thai) Chongvisal, R. (2013). Leadership, Theory, Research, and Development. Bangkok. Chulalongkorn University Press. (in Thai) Chotchan, E. (2007). A comparative study of the primary school administrator’s vision as opinions by administrator and teachers under Nakron Ratchasima educational service area office. Master degree of education in educational administration Nakron Ratchasima Rajabhat University. (in Thai) Kaewsamran, S. (2010). Development for Teamwork in Personnel of Education, Religion, and Culture Department in Provincial Administrative Organization of Khonkaen. Master’s Degree Independent Study in Educational Administration of Mahasarakham University. (in Thai) Kasemsin, S. (1996). Administration (8th ed.). Bangkok. Thai Watanapanich. (in Thai) Lakhan, P. (2008). School administrator’s characters affecting academic management effectiveness of a basic educational school in krug thonburi group, under the Bangkok metropolis. Graduate studies journal, SSRU. (in Thai) Laolam, W. (2009). A study of the influences of school administrators’ perceived role son the morale of the performance of the teacher in schools under Phranakron si Ayutthaya municipality. Master of education degree in educational administration Phranakron si Ayutthaya Rajabhat University. (in Thai) Lapcharoen, S (2018). Administrative factors that affecting learning organization of the demonstration school of Ramkhamhaeng University. Educational management and innovation journal Chulalongkorn University. (in Thai) Meesomsap, A. (2010). A study of relationship between team work and academic administration of school under the office of Phranakron si Ayutthaya educational วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 237

service area 1. Master of education degree in educational administration Phranakron si Ayutthaya Rajabhat University. (in Thai) Normok, K. (2015). Vision of basic education institution administrators in Nan district. Chiangmai: Faculty of Education Chiangmai: Chiangmai University. (in Thai) Puntongpun, N. (1999). Relationships between staff nurses personal factors, leadership, job empowerment of head nurses, and job performance of staff nurses, intensive care units, governmental hospitals, Bangkok Metropolis. Degree of master of nursing sciences in nursing administration. Faculty of nursing, Chulalongkorn University. (in Thai) Runcharoen, T. (2011). Profession of Educational Management and Administration in Educational Reform (Revised Edition) for the Second Reform and the Third External Quality Assessment (6th ed.). Bangkok: Khaofang. (in Thai) Suntarayuth, T. (2008). Reformative Administration : Theory, Research, and Educational Procedure. Bangkok. Natikul Press Co.,Ltd. (in Thai) Surakitbowon, S. (2006). Seeking and Development for Professional Leadership of School Administrators. Bangkok: Suweerayasan. (in Thai) Thipwaree, P. (2014). A Development Model of Innovative Leadership for Institute of Physical Education Administrators. Ph.D. Program in Educational Leadership and Innovation. Faculty of Education, Prince of Songkhla University. (in Thai) Tonak, K. , Chaemchoy, S. & Kornpuang, A. (2014). Analysis of Innovation Leadership for Basic Educational Administrators. The Journal of Education Naresuan University. (in Thai) Treesuwan, S. (2005). Teachers’ working motivation in school of samutsongkhram educational service area office. Master of education department of educational administration graduate school Silpakorn University. (in Thai) Woodcock, M. (1989). Team development manual. 2 nd ed. Great Britain : Billing and son. Yasingthong, W. & Somprach, K. (2018). Innovative Leadership Affecting Teachers Learnin under the Secondary Education Service Area Office25. The Journal of Education Graduate Studies Research, KKU. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 238

บทความวิจัย

การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ส�ำหรับนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ระดับชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาการจัดการ THE USE OF PRACTICAL LEARNING ACTIVITIES THAT AFFECT LEARNING ACHIEVEMENT IN PRINT MEDIA PRODUCTION FOR STUDENTS IN COMMUNICATION ART 3rd GRADE, FACULTY OF MANAGEMENT SCIENCE อรอนงค์ โฆษิตพิพัฒน์* Ornanong Kositpipat*

สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย* Department of Communication Arts, Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University Bangkok, Thailand*

Email: [email protected]*

Received: 2019-03-04 Revised: 2019-07-12 Accepted: 2019-09-12

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษาจากการใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนก่อนและหลัง และศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาจากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบลงมือปฏิบัติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์ชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือ ปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ต่อการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในการ ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ค่า t-test แบบ Dependents วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 239

ผลการวิจัย พบว่าผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษาจากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการสอนแบบบรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ (step by step) มีนักศึกษาผ่านเกณฑ์จ�ำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 93.99 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 55.42 สูงกว่าก่อนเรียนมีค่าเท่ากับ 34.67 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ ผลการเรียนรู้จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธี การสอนแบบบรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ ส่งผลท�ำให้การเรียนหลังเรียนจากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการสอนแบบบรรยายเนื้อหาแล้วด�ำเนินการ ทดสอบท�ำให้ผลการเรียนดีขึ้น และผลความพึงพอใจของนักศึกษาจากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ อยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย 4.19

ค�ำส�ำคัญ: การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ การเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

Abstract The purpose this research was to enhance student learning achievement in using new practical learning activities in Print Media Production Course, to compare learning outcomes pretest and posttest using practical learning activities and to study the students’ satisfaction towards practical learning activities. A one-group pretest and posttest experimental design was conducted. Thirty-three of 3rd year students of Education Faculty, Phranakhon Rajabhat University, who enrolled Print Media Production Course, were participated during the second semester of academic year 2017. The research tools consisted of practical lesson plan in Print Media Production Course, achievement test, and questionnaire. The collected data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and t-test for dependent samples. The findings were as follows; the achievement of the practical learning activities was 93.99%, the students’ achievement average scores before practical learning activities were 34.67 but the average scores after practical learning activities were 55.42, which was higher than those before learning with this method at the .05 significances level. The majority of students were satisfied with this practical learning step by step activities at average of 4.19. Most of students had better results from this learning method

Keywords: The Use of Learning Activities, Practical Learning Activities, Print Media Production Course วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 240

บทน�ำ การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาการ รายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์นั้น ส่วนหนึ่งต้องมี ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่งการเรียนเน้นการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ทักษะการลงมือปฏิบัติต่อการเรียนรู้ที่ท�ำให้เกิด ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการออกแบบ ความรู้ และความเข้าใจนั้นจะส่งผลสัมฤทธิ์ต่อ การจัดหน้าสิ่งพิมพ์ การใช้แบบตัวอักษร การ ผู้เรียนหรือนักศึกษาเป็นอย่างมาก สร้างภาพและกราฟิก การสร้างหน้าสิ่งพิมพ์ ผู้วิจัยจึงได้น�ำแนวคิดของรูปแบบการเรียน การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) โดยการ การสอนวิชาอาชีพของ Tisana (2005) กล่าวถึง ใช้โปรแกรมอะโดบี้ อินดีไซน์ (Adobe InDesign) การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะปฏิบัติที่ดีนั้น ในการจัดท�ำผลิตสื่อขึ้นมา ซึ่งการเป็นหัวใจหลัก ผู้สอนควรเริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์งานที่จะให้ ของการท�ำงานของการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ในรายวิชา ผู้เรียนท�ำ โดยแบ่งงานออกเป็นส่วนย่อย ๆ และ จึงมุ่งที่นักศึกษานั้นได้รับความรู้เกี่ยวกับการ ล�ำดับงานจากง่ายไปหายาก แล้วให้ผู้เรียน ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ด้วยโปรแกรมอะโดบี้ อินดีไซน์ ได้ฝึกท�ำงานย่อย ๆ มีความรู้เข้าใจงานที่จะท�ำ ให้มากที่สุด จากการเรียนการสอนในที่ผ่านมา เรียนรู้ลักษณะนิสัยที่ดีในการท�ำงาน ฝึกท�ำงาน ผู้สอนได้สอนในรูปแบบการบรรยายอธิบาย ในสถานการณ์ใกล้เคียง และ Nuanjid (1992) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการผลิตสื่อ ได้เป็นผู้พัฒนารูปแบบนี้ขึ้นเป็นรูปแบบการเรียน สิ่งพิมพ์ในรูปแบบต่าง ๆ ส่วนใหญ่แล้วเป็นการ การสอน ประกอบด้วย เทคนิควิธีการ 3 วิธี ได้แก่ ฟังบรรยายจากผู้สอน ซึ่งจากข้อมูลการสอน การสอนทฤษฎีก่อนสอนงานปฏิบัติ การสอนงาน ที่ผ่านมานั้น ผู้เรียนหรือนักศึกษาจะนั่งฟังบรรยาย ปฏิบัติก่อนสอนทฤษฏี และการสอนทฤษฏีและ ไม่ได้ฝึกปฏิบัติเท่าที่ควร ท�ำให้ผู้เรียนไม่เกิดการ ปฏิบัติไปพร้อม ๆ กัน เรียนรู้ในการปฏิบัติด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียน จากแนวคิดดังกล่าวผู้วิจัยจึงสนใจ ไม่มีความช�ำนาญ ขาดทักษะ ขาดประสบการณ์ จะศึกษาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ และความรู้เชิงปฏิบัติจริงภายในห้องเรียน ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนรายวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ส�ำหรับนักศึกษาสาขาวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ หากมุ่งเน้นไปที่การฝึก นิเทศศาสตร์ ระดับชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาการ ปฏิบัติจริงของผู้เรียนโดยตรง ส่งผลท�ำให้ผู้เรียน จัดการ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2560 นั้นเกิดประสบการณ์ และทันต่อยุคสมัยปัจจุบัน และการน�ำแนวคิดการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ ที่เทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้าเข้ามาช่วย ของผู้เรียน มาปรับใช้ในการสอนจะท�ำให้ผู้เรียน การท�ำงานผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ ที่มีความรู้ มีทักษะการปฏิบัติได้จริงด้วยตนเอง ในการท�ำงาน อย่างโปรแกรมอะโดบี้ อินดีไซน์ ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญในกระบวนการเรียนการสอน และการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจะส่งผลให้ เพื่อวัดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของนักศึกษา ผู้เรียนนั้นมีความรู้และยังเกิดความเข้าใจใน และสามารถน�ำไปปรับใช้ในการจัดการเรียน การเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น ซึ่งการเรียนใน การสอนในรายวิชาอื่น ๆ ต่อไป วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 241

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2. เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียน 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ การสอนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ ของนักศึกษาจากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กับรายวิชาที่มีรูปแบบการสอนด้านปฏิบัติของ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ สาขานิเทศศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ 3. เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอน เรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่จะน�ำไปใช้พัฒนาทักษะและศักยภาพของ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ผู้เรียนในการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ ขอบเขตของการวิจัย ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษา นักศึกษา สาขานิเทศศาสตร์ชั้นปีที่ 3 ระดับปริญญาตรี ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 1. ผลจาการวิจัยท�ำให้ทราบถึง พระนคร ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการผลิตสื่อ ประสิทธิภาพของการสอน เพื่อน�ำผลไปปรับปรุง สิ่งพิมพ์ รหัส 3023401 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา จัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบ 2560 ลงมือปฏิบัติ

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิต สื่อสิ่งพิมพ์ ความพึงพอใจของนักศึกษา จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 242

ระเบียบวิธีวิจัย 4. ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียน การศึกษาครั้งนี้ได้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ การสอน โดยประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษา 5. ด้านการประเมินผล สาขานิเทศศาสตร์ชั้นปีที่ 3 ระดับปริญญาตรี โดยสร้างเป็นแบบสอบถามมาตราส่วน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ประมาณค่า 5 ระดับตามวิธีของไลเคิร์ท และ พระนคร จ�ำนวน 83 คน แบบสอบถามปลายเปิด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษา 4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน สาขานิเทศศาสตร์ชั้นปีที่ 3 ระดับปริญญาตรี ต่อการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง การผลิต พระนครที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการผลิตสื่อ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรมอะโดบี้ สิ่งพิมพ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน อินดีไซต์ เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 33 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นเลือกกลุ่ม จ�ำนวน 70 ข้อ ทดลองในงานวิจัยครั้งนี้ เป็นการเลือกโดยใช้วิธี การเก็บข้อมูล การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (cluster การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ sampling) ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ส�ำหรับนักศึกษาสาขาวิชา 1. เอกสารและชุดกิจกรรมการเรียนรู้ นิเทศศาสตร์ ระดับชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาการ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ จัดการ มีวิธีการเก็บข้อมูล ดังนี้ เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม 1. การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบ อะโดบี้ อินดีไซน์ วัดผลการเรียน โดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. แบบวัดการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ลงมือปฏิบัติที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เรื่องการผลิต เรื่อง การผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) อะโดบี้ อินดีไซน์ 1.1 ผู้วิจัยแนะน�ำการสอน โดยการ 3. แบบประเมินความพึงพอใจของ ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติที่มีผลต่อ นักศึกษาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการผลิตสื่อ ลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ สิ่งพิมพ์ เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ส�ำหรับนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ระดับ (e-book) ด้วยโปรแกรม อะโดบี้ อินดีไซน์ มีการ ชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาการจัดการ 5 ด้าน ได้แก่ แนะน�ำวิธีการเรียน คะแนนเก็บพื้นฐาน และ 1. ด้านอาจารย์ผู้สอน แนะน�ำการท�ำแบบทดสอบก่อนเรียนจากการ 2. ด้านการจัดการเรียนการสอน การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิต 3. ด้านเนื้อหาของรายวิชา สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 243

(e-book) ด้วยโปรแกรมอะโดบี้ อินดีไซน์ เพื่อหา เก็บคะแนนเรียบร้อยแล้วนั้น ผู้สอนจะท�ำการ ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทดสอบโดยสร้างเป็นแบบสอบถามให้เลือกตอบ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เนื้อหาการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) 1.2 ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการสอนใน ด้วยโปรแกรมอะโดบี้ อินดีไซน์ เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ รูปแบบทฤษฎีด้วยการอธิบายโครงสร้างเนื้อหา หลังการเรียนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือ ในการเรียนประกอบสื่อการสอน เมื่ออธิบายเสร็จ ปฏิบัติ เป็นรายบุคคลอีกครั้ง เพื่อเป็นคะแนนเก็บ ในแต่ละหัวข้อได้ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง เป็นการวัดและประเมินผลโดยนักศึกษาทุกคน ตามการสอนของผู้สอน โดยผู้วิจัยได้พานักศึกษา จะต้องได้คะแนนจากแบบทดสอบไม่ต�่ำกว่า ปฏิบัติในแต่ละขั้นตอนแบบปฏิบัติ การผลิต ร้อยละ 50 จึงถือว่าผ่าน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) ด้วยโปรแกรม 1.5 หลังจากที่ผู้สอนเก็บคะแนน อะโดบี้ อินดีไซน์ จากการการเรียนรู้จากการใช้ชุดกิจกรรมการ 1.3 การเรียนการสอนโดยเน้นรูปแบบ เรียนรู้ลงมือปฏิบัติ โดยการท�ำแบบทดสอบเนื้อหา ลงมือปฏิบัติจริง ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ซึ่งการ เพื่อหาผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนการใช้ชุดกิจกรรม เรียนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนจะด�ำเนิน การเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ และผลการเปรียบเทียบ การในรูปแบบลักษณะที่คล้ายกัน คือ 1) อธิบาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังจากการ ด้วยสื่อประกอบการสอน 2) พานักศึกษาลงมือ ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติใน ปฏิบัติจริงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม รายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ อะโดบี้ อินดีไซน์ ที่ใช้ในการเรียนการสอน และ 2. การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 3) ตรวจสอบการปฏิบัติในแต่ละเนื้อหา และ ความพึงพอใจต่อการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ประเมินผลด้วยการให้คะแนนการปฏิบัติของ ลงมือปฏิบัติ ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ แต่ละชุดการเรียนรู้ของแต่ละผู้เรียน โดยแบ่ง ส�ำหรับนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ระดับ เป็น 7 ชุด ๆ ละ 10 คะแนน รวม 70 คะแนน และ ชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาการจัดการ จ�ำนวน 25 ข้อ ประเมินผลโดยนักศึกษาทุกคนจะต้องได้คะแนน 5 ด้าน ได้แก่ จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ 2.1 การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการ ลงมือปฏิบัติ เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 50 จึงถือว่าผ่าน ด้วยโปรแกรม (Adobe InDesign) 1.4 หลังจากเรียนด้วยการใช้ชุด 2.2 ความรู้ความเข้าใจต่อการใช้ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ กิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ เรื่องการผลิต ทางการเรียนในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม (Adobe เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) InDesign) ด้วยโปรแกรมอะโดบี้ อินดีไซน์ และได้คะแนน 2.3 การน�ำไปใช้ที่ได้รับจากการใช้ การปฏิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และผู้สอน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ เรื่องการผลิต วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 244

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม (Adobe 1.00 - 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจ InDesign) อยู่ในระดับน้อยที่สุด 2.4 ความสามารถด้านทักษะปฏิบัติ 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจ ต่อการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ อยู่ในระดับน้อย เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม 2.51 - 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจ (Adobe InDesign) อยู่ในระดับปานกลาง 2.5 ความพึงพอใจต่อวิธีการสอน 3.51 - 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจ ของอาจารย์ต่อการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับ มาก ลงมือปฏิบัติ เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 4.51 - 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจ ด้วยโปรแกรม (Adobe InDesign) อยู่ในระดับมากที่สุด โดยทั้ง 5 ด้าน เป็นแบบประเมินค่า การวิเคราะห์ข้อมูล 5 ระดับ (Rating Scale) โดยอ้างอิงตามแบบ การวิเคราะห์จากคะแนนการการเรียนรู้ ทดสอบทัศนคติของ Likert คือ ก�ำหนดค่าความ จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ พึงพอใจต่อสิ่งต่าง ๆ 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนของนักศึกษาจากการ ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ โดย โดยก�ำหนดค่าระดับความพึงพอใจ ค�ำนวณหาค่าเฉลี่ยร้อยละ และวิเคราะห์ข้อมูล แต่ละช่วงคะแนนและความหมาย ดังนี้ จากแบบสอบถามความพึงพอใจ ของนักศึกษา ระดับ 1 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ใน ต่อการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ ระดับน้อยที่สุด ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ส�ำหรับนักศึกษา ระดับ 2 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ใน สาขาวิชานิเทศศาสตร์ ระดับชั้นปีที่ 3 คณะ ระดับน้อย วิทยาการจัดการ โดยค�ำนวณหาค่าเฉลี่ย ระดับ 3 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ใน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ค่า t-test ระดับปานกลาง แบบ Dependents ระดับ 4 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ระดับ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ใน สรุปผลการวิจัย ระดับมากที่สุด 1. ผลวิเคราะห์จากคะแนนการเรียนรู้ ส�ำหรับการให้ความหมายของค่าที่วัดได้ จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ ผู้วิจัยได้ก�ำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการให้ความหมาย โดยค�ำนวณหาค่าเฉลี่ยร้อยละ โดยวิธีการสอน โดยการให้ค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านและรายข้อ แบบบรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ พบว่า คะแนน (Boonchom, 2002) ดังนี้ ที่ผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลที่ตั้งไว้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 245

จะต้องท�ำแบบทดสอบได้ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 50 เรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิต จึงถือว่าผ่าน นักศึกษาส่วนใหญ่มีผลการเรียน สื่อสิ่งพิมพ์ แสดงดังตาราง 1 จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือ จากตารางที่ 1 แสดงผลพบว่า คะแนน ปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธี เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนการ การสอนแบบบรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ แล้วด�ำเนิน ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ การทดสอบสอบ คือ มีจ�ำนวนที่ผ่านคะแนน ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้วิธีการ ร้อยละ 90 จ�ำนวน 7 คน รองลงมาคือคะแนน สอนแบบบรรยายเนื้อหาแล้วด�ำเนินการทดสอบ ร้อยละ 80 จ�ำนวน 13 คน และผลกาเรียนที่ผ่าน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ คะแนนร้อยละ 70 จ�ำนวน 5 คน ส่วนที่ได้คะแนน ระดับ .05 (ค่า P เท่ากับ .000 < .05) ซึ่งสอดคล้อง ร้อยละ 60 จ�ำนวน 4 คน และคะแนนร้อยละ 50 กับสมมติฐานการวิจัยที่ก�ำหนดไว้ใน คือผล จ�ำนวน 2 คน รวมทั้งที่ผ่านเกณฑ์การวัดและ สัมฤทธิ์ทางการเรียนของหลังเรียนการใช้ชุด ประเมินผลทั้งหมด 31 คน กิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชา และคะแนนที่ไม่ผ่านการวัดและ การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้วิธีการสอนแบบ ประเมินผลคือท�ำคะแนนได้ต�่ำร้อยละ 50 คือ บรรยายเนื้อหาแล้วด�ำเนินการทดสอบ มีค่าเฉลี่ย ได้คะแนนร้อยละ 40 จ�ำนวน 2 คน ดังนั้น หลังเรียนเท่ากับ 58.21 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ผ่านเกณฑ์จ�ำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 93.99 ก่อนเรียนมีค่าเท่ากับ 34.67 จากคะแนนเต็ม 2. ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง 70 คะแนน และผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบ การเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมการ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาจากการ

ตารางที่ 1 ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้วิธีการสอนแบบบรรยายเนื้อหา แล้วด�ำเนินการทดสอบ

การทดสอบ จ�ำนวน คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน ค่า t P ผู้เรียน เฉลี่ย มาตรฐาน ก่อนเรียน 33 34.67 6.10 -16.20* .000 หลังเรียน 33 58.21 9.46 *นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 246

ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติใน เนื้อหาแล้วด�ำเนินการทดสอบ สูงกว่า ผลสัมฤทธิ์ รายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการสอนแบบ ทางการเรียนของนักศึกษาจากการใช้ชุดกิจกรรม บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ และผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิต การเรียนหลังเรียน การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการสอนแบบบรรยายพร้อม แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ฝึกปฏิบัติ และมีจ�ำนวนนักศึกษาที่มีคะแนน โดยวิธีการสอนแบบบรรยายเนื้อหาแล้วด�ำเนิน หลังเรียนที่ผ่านเกณฑ์ 50 คะแนน ขึ้นไป จ�ำนวน การทดสอบ พบว่าผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง 31 คน จาก 33 คนของผู้เรียน การเรียนของนักศึกษาจากการใช้ชุดกิจกรรม แสดงให้เห็นว่าการเรียนรู้จากการใช้ชุด การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิต กิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชา สื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการสอนแบบบรรยายพร้อม การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการสอนแบบบรรยาย ฝึกปฏิบัติ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน พร้อมฝึกปฏิบัติ ส่งผลท�ำให้ การเรียนหลังเรียน การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือ ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการสอน ปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการ แบบบรรยายเนื้อหาแล้วด�ำเนินการทดสอบ สอนแบบบรรยายเนื้อหาแล้วด�ำเนินการทดสอบ พบว่า จ�ำนวนนักศึกษา 21 คน จาก 33 คน มีผลการเรียนดีขึ้น เกินครึ่งของผู้เรียนทั้งหมด ที่มีคะแนนมีผล 3. ผลความพึงพอใจของนักศึกษาจาก สัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน การใช้ชุดกิจกรรม การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการ ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ทั้ง 5 ด้าน แสดง ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการสอนแบบบรรยาย ดังตารางที่ 2 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 247

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลผลค่าระดับความพึงพอใจ ของผลรวม ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาจากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

ระดับความพึงพอใจ หัวข้อประเมิน S.D. แปลผล 1. ด้านการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ 4.09 .479 มาก เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม (Adobe InDesign) 2. ด้านความรู้ความเข้าใจต่อการใช้ชุดกิจกรรม 4.19 .499 มาก การเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ เรื่องการผลิต หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม (Adobe InDesign) 3. ด้านการน�ำไปใช้ที่ได้รับจากการใช้ชุดกิจกรรม 4.22 .469 มาก การเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ เรื่องการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม (Adobe InDesign) 4. ด้านความสามารถด้านทักษะปฏิบัติ 4.27 .456 มาก ต่อการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม (Adobe InDesign) 5. ด้านความพึงพอใจต่อวิธีการสอนของอาจารย์ 4.18 .425 มาก ต่อการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ เรื่องการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม (Adobe InDesign) ผลรวม 4.19 .389 มาก

อภิปรายผลการวิจัย มีผลการเรียนจากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือ โดยวิธีการสอนแบบบรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ ปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ พบว่า (step by step) แล้วด�ำเนินการทดสอบสอบ คือ คะแนนที่ผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลที่ มีจ�ำนวนที่ผ่านคะแนนร้อยละ 90 จ�ำนวน 7 คน ตั้งไว้ จะต้องท�ำแบบทดสอบได้ไม่ต�่ำกว่า รองลงมาคือคะแนนร้อยละ 80 จ�ำนวน 13 คน ร้อยละ 50 จึงถือว่าผ่าน นักศึกษาส่วนใหญ่ และผลการเรียนที่ผ่านคะแนนร้อยละ 70 จ�ำนวน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 248

5 คน ส่วนที่ได้คะแนนร้อยละ 60 จ�ำนวน 4 คน ปฐมพยาบาล (ค่าเฉลี่ย 2.59) และด้านการ และคะแนนร้อยละ 50 จ�ำนวน 2 คน รวมทั้งที่ ประกอบอาหาร (ค่าเฉลี่ย 2.56) ตามล�ำดับ ผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลทั้งหมด 31 คน ดังนั้นการเรียนรู้ของนักศึกษาจากการ และคะแนนที่ไม่ผ่านการวัดและประเมินผล ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ คือท�ำคะแนนได้ต�่ำร้อยละ 50 คือ ได้ คะแนน ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ มีส่วนส�ำคัญที่ ร้อยละ 40 จ�ำนวน 2 คน ดังนั้นผ่านเกณฑ์จ�ำนวน ส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น 31 คน คิดเป็นร้อยละ 93.99 ซึ่งสอดคล้องกับ 2. ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง งานวิจัยของ Jittirat (2011) ได้ศึกษาเรื่อง การเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมการ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาการวัด เรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิต และประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการสอน สื่อสิ่งพิมพ์ ใช้วิธีการสอนแบบบรรยายเนื้อหา แล้วสอบ ของนักศึกษาวิชาชีพครูสาขาวิชาเอก แล้วด�ำเนินการทดสอบสอบ พบว่า คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ หมู่เรียน 53/19 ปีการศึกษา 2553 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนการใช้ชุด พบว่า นักเรียนที่เรียนใช้วิธีการสอนแล้วสอบ กิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชา มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยส�ำคัญทาง เนื้อหาแล้วด�ำเนินการทดสอบสอบ สูงกว่า สถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนที่เรียนใช้วิธีการ ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอนแล้วสอบ เช่นเดียวกับงานของ Sirimani (ค่า P เท่ากับ .000 < .05) ซึ่งสอดคล้องกับ (2010) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ สมมติฐานการวิจัยที่ก�ำหนดไว้ใน คือผลสัมฤทธิ์ ของนักศึกษาโดยใช้วิธีสอนที่เน้นทักษะปฏิบัติ ทางการเรียนของหลังเรียนการใช้ชุดกิจกรรม พบว่าแผนการจัดการเรียนรู้ผู้วิจัยสร้างขึ้น การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการผลิต ทั้ง 5 แผน สามารถพัฒนาทักษะปฏิบัติด้านการ สื่อสิ่งพิมพ์ โดยมีค่าเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 55.42 ดูแลสุขภาพเด็กของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนมีค่าเท่ากับ ชั้นปีที่ 3 แขนงวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ 34.67 จากคะแนนเต็ม 70 คะแนน มหาวิทยาราชภัฏสวนสุนันทาได้ดี ท�ำให้นักศึกษา ทั้งนี้ผลการเรียนรู้จากการใช้ชุดกิจกรรม มีทักษะปฏิบัติดีขึ้นจากระดับพอใช้ (ค่าเฉลี่ย 1.47) การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรายวิชาการ เป็นระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย 2.54) ทางด้านทักษะ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธีการสอนแบบบรรยาย ปฏิบัติเป็นรายบุคคลของนักศึกษามีค่าเฉลี่ยดีขึ้น พร้อมฝึกปฏิบัติ ส่งผลท�ำให้ การเรียนหลังเรียน จากเดิมทุกคน โดยมีทักษะปฏิบัติดีขึ้นอยู่ใน จากการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือ ระดับดีมาก จ�ำนวน 20 คน (ร้อยละ 62.50) ปฏิบัติในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยวิธี ทักษะปฏิบัติตามกิจกรรมที่ปฏิบัติเรื่องการจัด การสอนแบบบรรยายเนื้อหาแล้วด�ำเนินการ นิทรรศการอาหารเด็กปฐมวัย มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ทดสอบสอบ มีผลการเรียนดีขึ้นซึ่งสอดคล้องกับ (ค่าเฉลี่ย 2.75) รองลงมาคือทักษะด้านการ งานวิจัยของ Songkran (2012) ท�ำการศึกษา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 249

เรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาการ (2015) ได้ศึกษาเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียน บัญชีเพื่อชุมชน กิจกรรมการจัดท�ำโครงงานแบบ การสอนรายวิชาการบริหารสารสนเทศ 2 โดย บูรณาการกับภาคปฏิบัติ พบว่า ประเมินผลการ เน้นรูปแบบฝึกปฏิบัติจริง พบว่า 1) ผลการศึกษา ใช้ชุดวิชาหลังเรียนของนักศึกษาท�ำให้นักศึกษา ผลสัมฤทธิ์การเรียน พบว่าการทดสอบหลังเรียน รู้จักหรือเข้าใจเป็นอย่างดีก่อนการเรียนรู้อย่าง มีนักศึกษาผ่านเกณฑ์ จ�ำนวน 42 คน คิดเป็น มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (P < 0.05) ส่วนการศึกษา ร้อยละ 67.74 และนักศึกษาที่เรียนโดยใช้วิธี ถึงผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักศึกษาโดยใช้ การสอนบรรยายและพาฝึกปฏิบัติจริงด้วยตนเอง กิจกรรมการจัดท�ำโครงงานแบบบูรณาการ แล้วจึงด�ำเนินการทดสอบสอบ พบว่า การทดสอบ กับภาคปฏิบัติ พบว่านักศึกษามีผลการเรียนรู้ หลังเรียนมีนักศึกษาผ่านเกณฑ์ จ�ำนวน 56 คน ต�่ำสุด 77 คะแนน ซึ่งเกินกว่าที่ก�ำหนดไว้ใน คิดเป็นร้อยละ 90.32 2) ผลการประเมิน ความ ข้อสมมติฐาน 60 คะแนน ซึ่งถือว่าผลสัมฤทธิ์ พึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน รายวิชา ในการเรียนของนักศึกษาโดยใช้กิจกรรมการ การบริหารสารสนเทศ 2 โดยเน้นรูปแบบฝึก จัดท�ำโครงงานแบบบูรณาการกับภาคปฏิบัติ ปฏิบัติจริงของนักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เช่นเดียวกับงานของ Charukit (2015) ได้ศึกษา (ค่าเฉลี่ย = 3.84) เมื่อพิจาณาเป็นรายด้าน เรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนการสอนรายวิชาการ พบว่า นักศึกษา มีความพึงพอใจในระดับมาก บริหารสารสนเทศ 2 โดยเน้นรูปแบบฝึกปฏิบัติจริง ทุกด้าน และเช่นเดียวกับงานวิจัยของ Nattapong พบว่า ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน พบว่า (2014) ได้ศึกษาการศึกษาการเรียนรู้แบบลงมือ การทดสอบหลังเรียนมีนักศึกษาผ่านเกณฑ์ ปฏิบัติในรายวิชา TMT423 โดยพบว่าความ จ�ำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 67.74 และ พึงพอใจจากการเรียนแบบลงมือปฏิบัติพบว่า นักศึกษาที่เรียนโดยใช้วิธีการสอนบรรยายและ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยภาพรวมเท่ากับ 3.79 พาฝึกปฏิบัติจริงด้วยตนเองแล้วจึงด�ำเนินการ มีระดับความพึงพอใจมาก แสดงว่านักศึกษา ทดสอบ พบว่า การทดสอบหลังเรียนมีนักศึกษา มีความพึงพอใจในระดับมากต่อการเรียนการสอน ผ่านเกณฑ์ จ�ำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 90.32 แบบลงมือปฏิบัติและทุกด้านมีระดับความพึงพอใจ ดังนั้นการเรียนรู้ของนักศึกษาจากการ ระดับมาก เช่นเดียวกัน ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติใน ดังนั้นผลความพึงพอใจของนักศึกษา รายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ มีส่วนส�ำคัญที่ส่งผล ต่อการเรียนด้วยรูปแบบการใช้ชุดกิจกรรม ถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น การเรียนรู้ลงมือปฏิบัติที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ 3. ผลความพึงพอใจของนักศึกษาจาก ทางการเรียนในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ ส�ำหรับนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ระดับชั้น ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ภาพรวมทั้ง 5 ด้าน ปีที่ 3 คณะวิทยาการจัดการ ให้มีผลต่อการเรียน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวม ในระดับมาก อยู่ที่ 4.19 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Charukit วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 250

ข้อเสนอแนะ คอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบ ข้อเสนอแนะในการน�าผลการวิจัย บางส่วนจะท�าให้นักศึกษาเข้าใจได้มากยิ่งขึ้น ไปใช้ และการเรียนโดยการเรียนปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ ผู้เรียนจึงไม่ควรขาดเรียนบ่อยซึ่งจะท�าให้ ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การเรียนปฏิบัติไม่สามารถเข้าใจหรือติดต่อ การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ส�าหรับนักศึกษาสาขาวิชา ผู้สอนไม่ทัน นิเทศศาสตร์ ระดับชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาการ ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป จัดการ เรื่อง การผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1. ควรมีการศึกษาและเปรียบเทียบ ด้วยโปรแกรม อะโดบี้ อินดีไซน์ เป็นงานวิจัย การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติที่มีผล ที่ใช้ในพัฒนาการเรียนการสอน โดยมีการใช้ ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาอื่น ๆ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติ เพื่อให้ เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนการสอน และพัฒนา นักศึกษาได้ปฏิบัติจริง โดยผู้วิจัยได้พานักศึกษา ทักษะการเรียนของผู้เรียนด้วย ปฏิบัติในแต่ละขั้นตอนแบบ การผลิตหนังสือ 2. ควรมีการเปรียบเทียบการใช้ชุด อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) ด้วยโปรแกรมอะโดบี้ กิจกรรมการเรียนรู้ลงมือปฏิบัติกับรายวิชา อินดีไซน์ ดังนั้นนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ที่เป็นภาคทฤษฏี ถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ วิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์จึงต้องมีความรู้เรื่อง ผู้เรียน

REFERENCES

Boonchom Srisa-ard. (2002). Preliminary research. 7th Edition. Bangkok: Suviriyasan. Charukit Sai Sing. (2015). Achievement in teaching and learning of information service courses 2 with emphasis on practical practice models. The Ist National Conference on Technology and Innovation Management NCTIM 2015 Rajabhat Maha Sarakham University Maha Sarakham Thailand 12-13 May 2015. Jittirat Saengloetuthai. (2011). Development in Academic Achievement by Lecturing and Assessment: The Case of Teaching Student Major in Mathematics Group 53/19, 2010. Faculty of Education, Rajabhat Nakhon Pathom University. Nattapong Chaisaengpratheep. (2014). The Classroom Research in TMT423: Research Methodology for the Tourism industry. Faculty of Arts Sripatum University. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 251

Nuanjid Chaowakeeratiphong. (1992). Development in Practical Learning Activities Focusing on Practical Learning: Graduate Teaching Program. Doctor of Philosophy Program in Curriculum and Instruction. Chulalongkorn University. Sirimani Banjong. (2010). Learning development of graduate student using practical learning methods. Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University. Songkran Gaivong. (2012). The development of teaching and learning platform in the subject of community accounting related the integration of theoretical concept with real practice. Bangkok: Dhurakit Pundit University. Tisana Khammani. (2005). Teaching style Various choices. 3rd Edition. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 252

บทความวิจัย

ความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรม ตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรม THE PRIORITY NEEDS OF WATSONGTHAM SCHOOL MANAGEMENT BASED ON THE CONCEPT OF INNOVATION ORGANIZATION สุรเชษฐ์ หิรัญสถิตย์1* และ สุกัญญา แช่มช้อย2 Surachet Hirunsathit1* and Sukanya Chaemchoy2

สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Educational Management, Department of Educational Policy, Management and Leadership, Faculty of Education, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand1*, 2

Email: [email protected]*

Received: 2019-04-11 Revised: 2019-06-30 Accepted: 2019-07-08

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียน วัดทรงธรรมตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรม ประชากรที่ศึกษาคือ โรงเรียนวัดทรงธรรม จังหวัด สมุทรปราการ สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 1 คน รองผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 4 คน และครู 83 คน รวมจ�ำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์

ความต้องการจ�ำเป็น (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรมตามแนวคิดองค์กร แห่งนวัตกรรม มีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นจากสูงที่สุดไปหาต�่ำที่สุดคือ ด้านที่ 3 การตรวจสอบ

(PNIModified = 0.342) มีองค์ประกอบที่มีค่าความต้องการจ�ำเป็นที่สูงสุด และต�่ำสุดคือ องค์ประกอบ

ที่ 2 เทคโนโลยี (PNIModified = 0.377) และองค์ประกอบที่ 1 โครงสร้างการบริหาร (PNIModified = 0.315)

ด้านที่ 2 การด�ำเนินงานตามแผน (PNIModified = 0.333) มีองค์ประกอบที่มีค่าความต้องการจ�ำเป็น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 253

ที่สูงสุดและต�่ำสุดคือ องค์ประกอบที่ 2 เทคโนโลยี (PNIModified = 0.364) และองค์ประกอบที่ 1

โครงสร้างการบริหาร (PNIModified = 0.291) ด้านที่ 1 การวางแผน (PNIModified = 0.330) มีองค์ประกอบ ที่มีค่าความต้องการจ�ำเป็นที่สูงสุดและต�่ำสุดคือ องค์ประกอบที่ 5 เครือข่ายความร่วมมือ

(PNIModified = 0.390) และองค์ประกอบที่ 1 โครงสร้างการบริหาร (PNIModified = 0.279) และด้าน

ที่ 4 การปรับปรุง (PNIModified = 0.329) มีองค์ประกอบที่มีค่าความต้องการจ�ำเป็นที่สูงสุดและ

ต�่ำสุดคือ องค์ประกอบที่ 2 เทคโนโลยี (PNIModified = 0.359) และองค์ประกอบที่ 3 วัฒนธรรมองค์การ

(PNIModified= 0.301) ตามล�ำดับ

ค�ำส�ำคัญ: ความต้องการจ�ำเป็น การบริหารโรงเรียน องค์กรแห่งนวัตกรรม

ABSTRACT The purpose of this research was to study the priority needs of Watsongtham School management based on the concept of innovation organization. The study population was Watsongtham school Samut Prakarn Province under the Office of Secondary Education Service Area 6. The research informants consisted of a School Director, four Vice Directors of School and 83 teachers. The total of this research were 88 informants. The research instrument used in this study was a 5 level rating scaled questionnaire. The returned questionnaires from 88 sampling were 100%. The data was analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and Modified Priority Needs Index (PNIModified). The research found that: The priority needs of Watsongtham school management based on the concept of innovation organization. The priority needs of Watsongtham school management sorted from highest to lowest were as follows: 3) Check (PNIModified=0.342).The highest element of priority need was Technology (PNIModified=0.377) and the lowest element of priority need was Administrative Structure (PNIModified=0.315); 2) Do (PNIModified=0.333). The highest element of priority need was Technology (PNIModified=0.364) and the lowest element of priority need was Administrative Structure (PNIModified=0.291); 1) Plan (PNIModified=0.330)

The highest element of priority need was Collaboration Network (PNIModified=0.390) and the lowest element of priority need was Administrative Structure (PNIModified=0.279) and 4) Act

(PNIModified=0.329) The highest element of priority need was Technology (PNIModified=0.359) and the lowest element of priority need was Organizational Culture (PNIModified=0.301), respectively.

Keywords: Priority Needs, School Management, Innovation Organization วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 254

บทน�ำ สภาพบริบทสังคมไทยปัจจุบันที่เผชิญ ปรับปรุง เป็นกระบวนการบริหารคุณภาพที่ก่อ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับโลก ให้เกิดประสิทธิภาพและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 มีความก้าวหน้า ทั้งในด้านการบริหารจัดการ ครูและบุคลากร ของเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย การศึกษา กระบวนการจัดการเรียนรู้ และการสร้างสัมพันธ์ ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตและพัฒนาศักยภาพ ผู้ปกครองและชุมชน ซึ่งแต่ละขั้นตอนจ�ำเป็นต้อง คนไทยให้มีความพร้อมทั้งด้านสติปัญญา สังคม ขับเคลื่อนพร้อมกันทั้งในระดับผู้บริหาร ครูและ อารมณ์ คุณธรรม และทักษะการด�ำเนินชีวิต บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน จึงจะ จึงเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการขับเคลื่อนให้เกิด เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการอันเป็นการ ความเจริญก้าวหน้าและการแก้ปัญหาด้านต่าง ๆ ส่งผลให้ผลผลิตมีคุณภาพ และเสริมสร้างความ ในสังคมได้ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการ เข้มแข็งในการบริหารจัดการศึกษา ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม องค์กรแห่งนวัตกรรม เป็นองค์กร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 22 สถานศึกษา ที่มีแนวคิดมุ่งเน้นการสร้างสรรค์ให้เกิดการ และบุคลากรทุกคนต้องกระตุ้นให้เกิดความคิด เปลี่ยนแปลงทั้งระบบ ไม่ว่าจะเป็นด้าน สร้างสรรค์ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการความคิดให้เกิดสิ่งใหม่ที่แตกต่าง เพื่อผนึกก�ำลังขับเคลื่อนภารกิจและผลลัพธ์ และเป็นประโยชน์น�ำไปใช้จนเป็นผลส�ำเร็จ นั่นคือ คุณภาพของผู้เรียนและคุณภาพการจัดการ (Yossyingyong, 2018) ด้านกระบวนการจัดการ ศึกษาสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เรียนรู้ที่มีคุณภาพ ด้านการจัดการเรียนรู้ และ ไปสู่เป้าหมายที่สถานศึกษาวางไว้ (Ministry of ด้านนวัตกรรมทางการศึกษา ซึ่งต้องอาศัย Education, 2010) องค์ประกอบโครงสร้าง เทคโนโลยี วัฒนธรรม การบริหารโรงเรียน เป็นภารกิจหลักของ ภาวะผู้น�ำ ทรัพยากรมนุษย์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ผู้บริหารสูงสุดที่ต้องก�ำหนดแบบแผนขั้นตอน และเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและภายนอก และแนวทางไว้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ สถานศึกษา และประยุกต์ใช้ตามแนวคิดเชิง โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้เพื่อความเป็น นวัตกรรมด้วย (Chaemchoy, 2018) ส่งผลให้ต้อง ระบบ เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องน�ำไปสู่การปฏิบัติ ปรับกระบวนการบริหารการศึกษา ความร่วมมือ ให้ภารกิจบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ ผู้บริหาร และการมีส่วนร่วมในการท�ำงานให้เข้มแข็ง กระตุ้น จึงต้องน�ำหลักการว่าด้วยการบริหารกิจการ ความคิดสร้างสรรค์ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร บ้านเมืองและสังคมที่ดีบูรณาการในการบริหารและ จึงเป็นความท้าทายของผู้บริหาร บุคลากร จัดการศึกษา โดยบูรณาการเข้ากับการบริหาร ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานที่ โรงเรียนด้วยหลักวงจรบริหารคุณภาพ PDCA เกี่ยวข้องที่ต้องร่วมมือร่วมใจก�ำหนดทิศทาง (Deming, 1993) ประกอบด้วย การวางแผน การจัดการศึกษาและกระบวนการท�ำงาน การด�ำเนินงานตามแผน การตรวจสอบ และการ ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทางสร้างสรรค์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 255

เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนา อันเกิดจากการด�ำเนินการขับเคลื่อนร่วมกัน ด้านการบริหารจัดการ บุคลากร การจัดการเรียนรู้ ทั้งในระดับผู้บริหาร ครูและบุคลากร นักเรียน และผู้เรียน จนกระทั่งเปลี่ยนสภาพทั้งระบบ รวมถึงผู้ปกครองและชุมชน และประเด็นที่สอง ให้เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมที่เป็นรูปธรรมได้ ด้านการบริหารจัดการศึกษา พบว่า โรงเรียน โรงเรียนวัดทรงธรรม เป็นประเภท ก�ำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน แต่มี โรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่ เปิดท�ำการสอนระดับ ข้อสังเกตในด้านโครงสร้างการบริหารและ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย สังกัด แนวทางการบริหารสถานศึกษาที่มีกระบวนการ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ทางการบริหารไม่ชัดเจนทั้งในระดับผู้บริหาร ครู กระทรวงศึกษาธิการ มีพื้นที่ตั้งอยู่ติดกับวัด และบุคลากรในโรงเรียน เช่น การประสานงาน ทรงธรรมวรวิหาร และชุมชนตลาดพระประแดง ร่วมกัน การท�ำงานที่ยังไม่มีความเป็นระบบ จากการศึกษารายงานประจ�ำปีสถานศึกษาพบว่า ความไม่รวดเร็วในการตอบสนองและความไม่ ประเด็นที่หนึ่ง ด้านข้อมูลทั่วไป พบว่า ผู้บริหาร ยืดหยุ่นในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ อีกทั้ง มีการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและเกิด รอยต่อของการสืบสานวัฒนธรรมภายในองค์กร การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนโดยยึดหลักการ การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรที่ กระจายอ�ำนาจทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ ด�ำเนินการขับเคลื่อนตามนโยบายเร่งด่วนหรือ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป และ เร่งรัดจากหน่วยงานต้นสังกัด ซึ่งบางครั้งเป็นการ หลักวงจรบริหารคุณภาพ PDCA ประกอบด้วย ปฏิบัติแบบให้ทันตอบรับต่อกระแสแต่ไม่ใช่เกิด 1) การวางแผนเตรียมการ ก�ำหนดทิศทางการ จากการปฏิบัติโดยความเคยชินและเป็นกิจวัตร ด�ำเนินการที่ส่งผลต่อกระบวนการอื่น ๆ 2) การ ต่อเนื่อง ทั้งนี้อาจมีผลจากภาวะผู้น�ำของบุคลากร ปฏิบัติ ตามแผนการที่ก�ำหนดไว้ร่วมกันให้เกิด ที่ไม่สามารถชักจูงหรือกระตุ้นให้องค์กรร่วมกัน ประสิทธิผล ภายใต้กรอบของกิจกรรม/โครงการ เห็นคุณค่าและให้ความส�ำคัญเรื่องนั้น ๆ ทั้งยัง ของแผนที่ได้เลือกไว้ 3) การติดตาม/ตรวจสอบ ขาดโอกาสและสถานการณ์ที่เปิดให้มีการ และประเมินผล ภายหลังด�ำเนินการกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของบุคลากรในระดับ และโครงการต่าง ๆ มีการติดตาม ตรวจสอบและ ต่าง ๆ นอกจากนี้ ด้านผู้เรียน พบว่า มีนักเรียน ประเมินผลการปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์ และ ที่สภาพความเป็นอยู่และพื้นฐานครอบครัว 4) การปรับปรุงและพัฒนา (Act) ซึ่งน�ำผลการ ประสบปัญหาทั้งในด้านการเรียนรู้และพฤติกรรม ประเมินในทุกส่วนงานมาใช้เป็นข้อมูลพิจารณา แสดงออกที่ไม่เหมาะสม อาจส่งผลให้เกิด หาแนวทางปรับปรุง แก้ไข และกระตุ้นให้เกิด พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์และกระทบต่อการ พัฒนาการปฏิบัติงาน ล้วนมีความสอดคล้องและ พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม สัมพันธ์กัน ทั้งในด้านการบริหารจัดการศึกษา (Watsongtham School, 2016) ด้านครูผู้สอน ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ จากสภาพการณ์ข้างต้น ผู้วิจัยมีความ และด้านการสร้างสัมพันธ์ผู้ปกครองและชุมชน สนใจที่จะศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 256

พึงประสงค์ของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรม ขอบเขตของการวิจัย ตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรมและวิเคราะห์ 1. ขอบเขตด้านประชากรและผู้ให้ข้อมูล หาความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียน 1.1 ประชากร คือ โรงเรียนวัด ตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรม เพื่อเป็น ทรงธรรม จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดส�ำนักงาน สารสนเทศในการก�ำหนดทิศทางการจัดการ เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ส�ำนักงาน ศึกษาและพัฒนาเป็นแนวทางการบริหารของ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง โรงเรียนให้เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม อีกทั้ง ศึกษาธิการ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1.2 ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ให้มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อผู้เรียนและ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 1 คน รองผู้อ�ำนวยการ บุคลากรในโรงเรียน โรงเรียน 4 คน และครู 83 คน รวมจ�ำนวน 88 คน 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) การบริหารโรงเรียน ได้แก่ การวางแผน เพื่อศึกษาความต้องการจ�ำเป็นของ การด�ำเนินงานตามแผน การตรวจสอบ และ การบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรมตามแนวคิด การปรับปรุง 2) องค์ประกอบขององค์กรแห่ง องค์กรแห่งนวัตกรรม นวัตกรรม ได้แก่ โครงสร้างการบริหาร เทคโนโลยี วัฒนธรรมองค์การ ภาวะผู้น�ำ และเครือข่าย ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ความร่วมมือ 1. โรงเรียนวัดทรงธรรมมีข้อมูล 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา ตั้งแต่เดือน พื้นฐานในการพัฒนากระบวนการท�ำงาน ตุลาคม พ.ศ. 2561 จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ตามหลักวงจรบริหารคุณภาพ PDCA ให้เป็น 2562 โรงเรียนแห่งนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลจนสามารถเป็นสถานศึกษา กรอบแนวคิดของการวิจัย ต้นแบบด้านการบริหารจัดการศึกษาได้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ 2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรของโรงเรียน เกี่ยวข้อง เพื่อการศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่ มีสารสนเทศเพื่อใช้ก�ำหนดทิศทางการบริหาร พึงประสงค์ และความต้องการจ�ำเป็นของการ การศึกษาและพัฒนาเป็นแนวทางการบริหาร บริหารโรงเรียนวัดทรงธรรมตามแนวคิดองค์กร โรงเรียนตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรม อันเป็น แห่งนวัตกรรม สามารถก�ำหนดเป็นกรอบแนวคิด การส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมการบริหารการศึกษา ของการวิจัยได้ดังนี้ ของผู้บริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของ 1. การบริหารโรงเรียน ประกอบด้วย ครู และนวัตกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมี 1) การวางแผน 2) การด�ำเนินงานตามแผน ประสิทธิภาพ 3) การตรวจสอบ และ 4) การปรับปรุง (Deming, 1993) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 257

2. องค์ประกอบขององค์กรแห่ง 2. ก�ำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย และ นวัตกรรม ประกอบด้วย 1) โครงสร้างการบริหาร ข้อค�ำถามในการสอบถามให้มีความชัดเจน 2) เทคโนโลยี 3) วัฒนธรรมองค์การ 4) ภาวะผู้น�ำ ตามผังโครงสร้างเครื่องมือวิจัย โดยก�ำหนดให้ และ 5) เครือข่ายความร่วมมือ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบบตอบสนองคู่ ระเบียบวิธีวิจัย 3. ออกแบบและสร้างแบบตรวจสอบ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบเชิง ความตรงเชิงโครงสร้างและเนื้อหาของแบบสอบ บรรยาย (Descriptive Research) ท�ำการศึกษา ถามฯ ก�ำหนดความตรงเชิงโครงสร้างและเนื้อหา สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการ ระหว่างข้อค�ำถามกับนิยามศัพท์ บริหารโรงเรียนวัดทรงธรรมตามแนวคิดองค์กร 4. น�ำแบบตรวจสอบความตรงเชิง แห่งนวัตกรรม ประชากรและผู้ให้ข้อมูลในการ โครงสร้างและเนื้อหาแนบกับแบบสอบถามฯ วิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย ประชากรคือ โรงเรียน เสนออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อปรับปรุงและแก้ไข วัดทรงธรรม จังหวัดสมุทรปราการ และผู้ให้ข้อมูล 5. น�ำแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไข ได้แก่ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 1 คน รองผู้อ�ำนวยการ แล้วเสนอผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 ท่าน โรงเรียน 4 คน และครูผู้สอน 83 คน รวมจ�ำนวน เพื่อพิจารณาตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา 88 คน ก�ำหนดจากการเทียบสัดส่วนตามตาราง โดยคัดเลือกข้อค�ำถามที่มีค่าดัชนีความ ของ Krejcie & Morgan (Srisa-ard, 2013) สอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไปซึ่งถือว่าข้อค�ำถาม เครื่องมือที่ใช้แบ่งออกเป็น 3 ตอน นั้นผ่านเกณฑ์ ผลการตรวจสอบความตรง ได้แก่ ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบ เชิงเนื้อหาของข้อค�ำถามจ�ำนวน 112 ข้อ พบว่า แบบสอบถาม ลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ ทุกข้อค�ำถามมีค่า IOC เท่ากับ 1.00 และมีค่า ตอนที่ 2 สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ IOC ทั้งฉบับเท่ากับ 1.00 สามารถคัดเลือกไว้ ของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรมตามแนวคิด ใช้ได้ จากนั้นน�ำเสนอแบบสอบถามต่ออาจารย์ องค์กรแห่งนวัตกรรม เป็นแบบมาตราส่วน ที่ปรึกษา เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและ ประมาณค่า 5 ระดับ แบบตอบสนองคู่ และ พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจัดพิมพ์ ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็น/ เสนอแนะเพิ่มเติม ลักษณะ แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ เป็นค�ำถามปลายเปิดและเป็นแบบเขียนตอบ 6. น�ำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ out) จ�ำนวน 30 คน กับกลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มผู้ให้ ที่ใช้ในการวิจัย มีขั้นตอนดังนี้ ข้อมูลในโรงเรียน แล้วน�ำมาวิเคราะห์หาค่า 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ความเชื่อมั่น โดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของ กับการบริหารสถานศึกษา แนวคิดองค์กรแห่ง ครอนบาค ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลส�ำเร็จรูป นวัตกรรม และการสร้างแบบสอบถาม SPSS for Windows version 22.0 ผลการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 258

ตรวจสอบแบบสอบถามได้ค่าความเชื่อมั่น ของความต้องการจ�ำเป็นเรียงค่าดัชนีจากมาก ทั้งฉบับเท่ากับ 0.997 จึงน�ำไปใช้เก็บรวบรวม ไปหาน้อย ข้อมูลต่อไป การเก็บรวบรวมข้อมูล สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย 1. ขอหนังสือน�ำเพื่อขอความอนุเคราะห์ สรุปผลการวิจัย ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยและเก็บรวบรวม 1. ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและ ข้อมูล สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารโรงเรียนวัด 2. ขออนุญาตผู้บริหารโรงเรียนเก็บข้อมูล ทรงธรรมตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรม ผู้วิจัย ด้วยตนเองจากผู้ให้ข้อมูล จ�ำนวน 88 คน ใช้เวลา เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จ�ำนวนทั้งหมด 10 วัน มีแบบสอบถามที่ตอบครบถ้วน จ�ำนวน 88 ฉบับ โดยสอบถามเกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน 88 ฉบับ อัตราการตอบกลับคิดเป็นร้อยละ 100 และสภาพที่พึงประสงค์ จ�ำแนกตามการบริหาร การวิเคราะห์ข้อมูล โรงเรียน 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) การวางแผน 1. วิเคราะห์แบบสอบถามโดยใช้สถิติ 2) การด�ำเนินงานตามแผน 3) การตรวจสอบ บรรยาย ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบน และ 4) การปรับปรุง น�ำค่าเฉลี่ยที่ได้มาวิเคราะห์ มาตรฐาน และค่าเฉลี่ยเลขคณิต โดยใช้เกณฑ์ หาดัชนีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น และจัดล�ำดับ แปลความหมายค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์เนื้อหา ความต้องการจ�ำเป็นของสภาพปัจจุบันและ 2. วิเคราะห์ค่าดัชนีความต้องการ สภาพที่พึงประสงค์ในการบริหารโรงเรียน จ�ำเป็นและการจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น วัดทรงธรรมตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรม โดยใช้เทคนิค Modified Priority Needs Index โดยใช้เทคนิค Modified Priority Needs Index

(PNImodified) (Wongwanich, 2015) โดยจัดล�ำดับ (PNImodified) แสดงดังตารางที่ 1 ความส�ำคัญจากค่าดัชนีล�ำดับความส�ำคัญ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 259

ตารางที่ 1 สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียน วัดทรงธรรมตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรมในภาพรวม

สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ PNImodified ล�ำดับ ข้อ การบริหารโรงเรียน ที่ S.D. แปล S.D. แปล ผล ผล 1 การวางแผน 3.49 0.734 ปานกลาง 4.64 0.585 มากที่สุด 0.330 3 2 การด�ำเนินงาน 3.51 0.789 ปานกลาง 4.68 0.568 มากที่สุด 0.333 2 3 การตรวจสอบ 3.42 0.832 ปานกลาง 4.59 0.630 มากที่สุด 0.342 1 4 การปรับปรุง 3.47 0.785 ปานกลาง 4.61 0.611 มากที่สุด 0.329 4

จากตารางที่ 1 สภาพปัจจุบัน สภาพที่ ที่ 2 การด�ำเนินงานตามแผน ( =4.68) และ พึงประสงค์ และล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น ด้านที่ 3 การตรวจสอบ ( =4.59) ตามล�ำดับ ของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรมตามแนวคิด ส�ำหรับผลการจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น องค์กรแห่งนวัตกรรมในภาพรวม พบว่า สภาพ ของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรมในภาพรวม

ปัจจุบันของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรมตาม (PNIModified=0.334) มีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น แนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรมในภาพรวมอยู่ใน สูงที่สุดและต�่ำที่สุด คือ ด้านที่ 3 การตรวจสอบ

ระดับปานกลาง ( =3.47) เมื่อพิจารณาการ (PNIModified=0.342) และด้านที่ 4 การปรับปรุง

บริหารโรงเรียนรายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (PNIModified=0.329) ตามล�ำดับ และต�่ำที่สุด คือ ด้านที่ 2 การด�ำเนินงานตามแผน 2. ผลการจัดล�ำดับความต้องการ ( =3.51) และด้านที่ 3 การตรวจสอบ ( =3.42) จ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรม ตามล�ำดับ ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวม ตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรม เมื่อเรียงล�ำดับ อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.63) เมื่อพิจารณา ความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียน การบริหารโรงเรียนรายด้านพบว่าอยู่ในระดับ 4 ด้าน จ�ำแนกตามองค์ประกอบขององค์กร มากที่สุดเช่นเดียวกัน โดยการบริหารโรงเรียน แห่งนวัตกรรม ผู้วิจัยจัดล�ำดับความต้องการ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดและต�่ำที่สุด คือ ด้าน จ�ำเป็น แสดงดังตารางที่ 2 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 260

ตารางที่ 2 สรุปการจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรมตามแนวคิด องค์กรแห่งนวัตกรรม โดยภาพรวม

องค์ประกอบขององค์กรแห่งนวัตกรรม

การบริหาร ประเด็น PNImodified ล�ำดับ เทคโนโลยี

โรงเรียน โครงสร้าง การบริหาร วัฒนธรรม องค์การ ำ ภาวะผู้น� เครือข่าย ความร่วมมือ ความต้องการ

1) 2) 3) 4) 5) จ�ำเป็น 1. การวางแผน D 3.65 3.42 3.53 3.53 3.53 I 4.67 4.61 4.64 4.64 4.63 0.330 3 PNImodified 0.279 0.348 0.314 0.314 0.390 (ล�ำดับ) (5) (2) (3) (3) (1) 2. การด�ำเนินงาน D 3.64 3.43 3.56 3.47 3.45 0.333 2 I 4.70 4.68 4.72 4.66 4.67

PNImodified 0.291 0.364 0.326 0.343 0.354 (ล�ำดับ) (5) (1) (4) (3) (2) 3. การตรวจสอบ D 3.52 3.34 3.48 3.41 3.33 I 4.63 4.60 4.61 4.56 4.53 0.342 1 PNImodified 0.315 0.377 0.325 0.337 0.360 (ล�ำดับ) (5) (1) (4) (3) (2) 4. การปรับปรุง D 3.51 3.40 3.55 3.48 I 4.63 4.62 4.62 4.55 3.40 PNI 0.319 0.359 0.301 0.307 4.61 modified 0.329 4 (ล�ำดับ) (3) (1) (5) (4) 0.356 (2)

หมายเหตุ : D: Degree of success (สภาพปัจจุบัน), I: Importance (สภาพที่พึงประสงค์) PNImodified: Modified Priority Needs Index (ค่าดัชนีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 261

จากตารางที่ 2 สรุปการจัดล�ำดับ จ�ำเป็น เท่ากับ 0.359, 0.356, 0.319, 0.307 และ ความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียน 0.301 ตามล�ำดับ วัดทรงธรรมตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรม จากสรุปผลการวิจัยข้างต้น ค่าดัชนี โดยภาพรวม พบว่า การบริหารโรงเรียน 4 ด้าน ความต้องการจ�ำเป็นและล�ำดับความต้องการ มีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นจากสูงที่สุดไปหา จ�ำเป็นของการบริหารโรงเรียนวัดทรงธรรม ต�่ำที่สุด คือ ด้านที่ 3 การตรวจสอบ เมื่อพิจารณาราย ตามแนวคิดองค์กรแห่งนวัตกรรมได้ผลการ องค์ประกอบสามารถสรุปล�ำดับความต้องการ วิเคราะห์ว่า การบริหารโรงเรียนด้านที่มีค่าดัชนี จ�ำเป็นสูงที่สุดไปหาต�่ำที่สุด คือ เทคโนโลยี ความต้องการจ�ำเป็นและล�ำดับความต้องการ เครือข่ายความร่วมมือ ภาวะผู้น�ำ วัฒนธรรม จ�ำเป็นเรียงจากสูงที่สุดไปหาต�่ำที่สุด คือ ด้านที่ 3 องค์การ และโครงสร้างการบริหาร ตามล�ำดับ การตรวจสอบ ด้านที่ 2 การด�ำเนินงานตามแผน ซึ่งมีค่าดัชนีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น เท่ากับ ด้านที่ 1 การวางแผน และด้านที่ 4 การปรับปรุง 0.377, 0.360, 0.337, 0.325 และ 0.315 ตามล�ำดับ ตามล�ำดับ ด้านที่ 2 การด�ำเนินงานตามแผน อภิปรายผลการวิจัย เมื่อพิจารณารายองค์ประกอบสามารถสรุป การศึกษาครั้งนี้ พบว่า ค่าดัชนีความ ล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นสูงที่สุดไปหาต�่ำที่สุด ต้องการจ�ำเป็น (PNI) ของการบริหารโรงเรียน คือ เทคโนโลยี เครือข่ายความร่วมมือ ภาวะผู้น�ำ มีค่าใกล้เคียงกันและใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยรวม วัฒนธรรมองค์การ และโครงสร้างการบริหาร แต่มีข้อค้นพบในแต่ละองค์ประกอบขององค์กร ตามล�ำดับ ซึ่งมีค่าดัชนีล�ำดับความต้องการ แห่งนวัตกรรมที่น่าสนใจ จึงขอน�ำเสนอการ จ�ำเป็น เท่ากับ 0.364, 0.354, 0.343, 0.326 อภิปรายผลในประเด็นส�ำคัญ เรียงล�ำดับความ และ 0.291 ตามล�ำดับ ด้านที่ 1 การวางแผน ต้องการจ�ำเป็นสูงสุดไปหาต�่ำสุด ดังนี้ เมื่อพิจารณารายองค์ประกอบสามารถสรุปล�ำดับ 1. ความต้องการจ�ำเป็นล�ำดับที่ 1 ด้าน ความต้องการจ�ำเป็นสูงที่สุดไปหาต�่ำที่สุดคือ ที่ 3 การตรวจสอบ พบว่าล�ำดับความต้องการ เครือข่ายความร่วมมือ เทคโนโลยี วัฒนธรรม จ�ำเป็นที่สูงที่สุดคือ องค์ประกอบที่ 2 เทคโนโลยี

องค์การ ภาวะผู้น�ำ และโครงสร้างการบริหาร (PNIModified= 0.377) โดยผู้บริหาร ครูและบุคลากร ตามล�ำดับ ซึ่งมีค่าดัชนีล�ำดับความต้องการ ของโรงเรียนเล็งเห็นว่าเป็นขั้นตอนที่ส�ำคัญและ จ�ำเป็น เท่ากับ 0.390, 0.348, 0.314, 0.314 จ�ำเป็นอย่างยิ่ง หากโรงเรียนมีความต้องการ และ 0.279 ตามล�ำดับ และด้านที่ 4 การปรับปรุง ที่จะบริหารจัดการและพัฒนาให้เป็นโรงเรียน เมื่อพิจารณารายองค์ประกอบสามารถสรุปล�ำดับ แห่งนวัตกรรมที่สมบูรณ์ และการปฏิบัติของผู้มี ความต้องการจ�ำเป็นสูงที่สุดไปหาต�่ำที่สุด คือ ส่วนเกี่ยวข้องที่ยังไม่มีความชัดเจน ซึ่งส่งผล เทคโนโลยี เครือข่ายความร่วมมือ โครงสร้าง กระทบต่อการเก็บข้อมูลและติดตามผลการ การบริหาร ภาวะผู้น�ำ และวัฒนธรรมองค์การ จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือและโปรแกรม ตามล�ำดับ ซึ่งมีค่าดัชนีล�ำดับความต้องการ ส�ำเร็จรูป และวิธีการท�ำงานที่สนับสนุนการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 262

จัดการสารสนเทศในการสร้างนวัตกรรมของ 2. ความต้องการจ�ำเป็นล�ำดับที่ 2 โรงเรียน ดังแนวคิดของสุกัญญา แช่มช้อย ด้านที่ 2 การด�ำเนินงานตามแผน พบว่าล�ำดับ (Chaemchoy, 2012) ที่ได้ระบุไว้ว่า การบริหาร ความต้องการจ�ำเป็นที่สูงที่สุดคือ องค์ประกอบ

องค์กรแห่งนวัตกรรมมีปัจจัยที่ส�ำคัญอย่างหนึ่ง ที่ 2 เทคโนโลยี (PNIModified = 0.364) ทั้งนี้ คือ เทคโนโลยี ซึ่งเป็นเครื่องมือพื้นฐานด�ำเนิน เนื่องจากผู้บริหาร ครู และบุคลากรของโรงเรียน กิจกรรมและอ�ำนวยความสะดวกด้านต่าง ๆ ใน ต้องการให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านเทคโนโลยี กระบวนการจัดการความรู้ โดยก�ำหนดให้มีความ ทั้งที่เป็นเครื่องมือ โปรแกรมส�ำเร็จรูป และวิธี เอื้อต่อการให้บุคลากรเข้าถึง เปิดโอกาสให้ผู้มี การท�ำงานที่สนับสนุนการจัดการสารสนเทศ ส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการสร้างนวัตกรรม โดยต้องการให้มีการจัดสรร ตลอดจนน�ำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ประเมิน เครื่องมือที่เกี่ยวข้อง การจัดการสารสนเทศและ ผลการจัดการสารสนเทศและนวัตกรรมโดยใช้ สร้างนวัตกรรมโดยใช้เครื่องมือและโปรแกรม เครื่องมือและโปรแกรมส�ำเร็จรูป และล�ำดับ ส�ำเร็จรูปอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อสนับสนุนให้ ความต้องการจ�ำเป็นที่ต�่ำที่สุดคือ องค์ประกอบ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้ด�ำเนินการสร้างนวัตกรรม

ที่ 1 โครงสร้างการบริหาร (PNIModified = 0.315) ตามแผนให้ไปสู่เป้าหมายและเป็นโรงเรียนแห่ง โดยโรงเรียนมีคณะกรรมการร่วมกันสังเกตและ นวัตกรรมได้ส�ำเร็จ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ บันทึกผลการด�ำเนินงาน การประเมินผลการ Vrakking (1990) ที่กล่าวถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติงานในหน้าที่ตามค�ำสั่งที่มอบหมายให้ ว่ามีความจ�ำเป็นต่อการผลิตหรือสร้างผลิตภัณฑ์ ปฏิบัติหน้าที่ อีกทั้งมีการน�ำผลการด�ำเนินงาน มีอิทธิพลมากในการสร้างความเปลี่ยนแปลง ในการสนับสนุนการบริหารจัดการนวัตกรรม โครงสร้างของอุตสาหกรรม เห็นได้ชัดเจนในการ มาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดท�ำเป็นรายงานประจ�ำปี บริษัทที่เกี่ยวข้องกับงานบริการ อีกทั้งยังมีผล หรือคลังสารสนเทศของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง ต่อการปฏิบัติการในองค์กรให้บรรลุตามเป้าหมาย แสดงให้เห็นถึงการสื่อสารภายในองค์กรที่ก่อให้เกิด และสอดคล้องกับงานวิจัยของแก้วตา พึ่งตนเอง ความร่วมมือและมีความยืดหยุ่นในการบริหาร (Phungtoneng, 2012) ที่ท�ำการศึกษาสภาพการ จัดการนวัตกรรมขององค์กรซึ่งด�ำเนินการดีอยู่แล้ว บริหารโรงเรียนคุณธรรมชั้นน�ำในภาคตะวันออก โดยไม่ส่งผลต่อโครงสร้างการบริหาร สอดคล้อง สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับงานวิจัยของ กุศล ทองวัน (Thongwan, 2010) โดยใช้กระบวนการของวงจรคุณภาพ PDCA ที่ศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดองค์กรแห่งการ ซึ่งพบว่าค่าเฉลี่ยสูงที่สุดไปยังต�่ำที่สุดตามล�ำดับ เรียนรู้และระดับองค์กรนวัตกรรม พบว่า ปัจจัย ได้แก่ ด้านการปฏิบัติตามแผน รองลงมา ที่ส่งเสริมให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และองค์กร ด้านการวางแผน และด้านการปรับปรุงให้ นวัตกรรมในส่วนของหน้าที่และความรับผิดชอบ เหมาะสมตามผลการประเมินซึ่งโรงเรียนมีความ งานนั้นไม่ถือเป็นประเด็นส�ำคัญที่จ�ำเป็นส�ำหรับ มุ่งเน้นให้บุคลากรในโรงเรียนสามารถด�ำเนินการ ระดับการเป็นองค์กรนวัตกรรม ปลูกฝังคุณธรรมเพื่อพัฒนาตน คุณธรรมเพื่อพัฒนา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 263

การท�ำงานและคุณธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกัน นวัตกรรมภายในองค์กร มีบุคลากรที่จะท�ำหน้าที่ ในสังคมอย่างเป็นรูปธรรม และล�ำดับความ ตามบทบาทต่าง ๆ ภายใต้กระบวนการนวัตกรรม ต้องการจ�ำเป็นที่ต�่ำที่สุดคือ องค์ประกอบที่ 1 ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่จะเป็นเจ้าภาพในโครงการหรือ

โครงสร้างการบริหาร (PNIModified = 0.291) ผู้สนับสนุน โดยผู้บริหาร ครูและบุคลากรของโรงเรียน 3. ความต้องการจ�ำเป็นล�ำดับที่ 3 ด้าน มีความคิดเห็นตรงกัน ทั้งนี้เนื่องจากในการจัดสรร ที่ 1 การวางแผน พบว่า ล�ำดับความต้องการ ทรัพยากรตามสายงานบังคับบัญชาที่ชัดเจน จ�ำเป็นที่สูงที่สุดคือ องค์ประกอบที่ 5 เครือข่าย

อยู่แล้ว และการมอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ความร่วมมือ (PNIModified= 0.390) ทั้งนี้เนื่องจาก ตรงกับบุคคล ปฏิบัติได้ตามความสามารถ เป็นไป โรงเรียนมีการวางแผนด้านอื่น ๆ ที่ชัดเจน ในทิศทางเดียวกันก่อให้เกิดความร่วมมือและ แต่ส�ำหรับการสร้างเครือข่ายเพื่อการศึกษา มีความยืดหยุ่นในการบริหารเป็นโรงเรียนแห่ง ยังไม่มีแผนที่ครอบคลุมและแสดงช่องทาง นวัตกรรม ดังแนวคิดของเอกชัย กี่สุขพันธุ์ หรือวิธีการสื่อสารให้ทราบชัดเจน ส่งผลให้การ (Keesookpun, 2011) ที่ระบุไว้ว่าการปฏิบัติ ก�ำหนดข้อตกลงและตัวชี้วัดความส�ำเร็จของการ ตามแผนจะต้องน�ำแผนที่ได้สร้างขึ้นไปปฏิบัติ ด�ำเนินกิจกรรมภายใต้ความร่วมมือกับสถาน เช่น ก�ำหนดโครงสร้างในการบริหารงาน ก�ำหนดตัว ประกอบการที่ต้องการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบและการควบคุมงานในแต่ละส่วนงาน ให้เกิดนวัตกรรมและพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ มีการประชุมสร้างความเข้าใจกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สู่การเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม ยังไม่บรรลุ กับการปฏิบัติงาน ก่อนที่จะมีการมอบหมายงาน เป้าหมายหรือแผนงานที่วางไว้ได้ ดังแนวคิด ให้ไปปฏิบัติจริง ก�ำหนดรูปแบบความร่วมมือ ของ Tidd, Bessant & Pavitt (2001) ที่เสนอว่า และการประสานงานกับหน่วยงานหรือบุคคล องค์ประกอบของการสร้างองค์การแห่งนวัตกรรม อื่นที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ต้องจัดสรรทรัพยากร ที่ว่า ปัจจัยภายนอกมีส่วนในการพัฒนาและเป็น เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดความส�ำเร็จในการด�ำเนินงานขององค์การ และให้มีความเพียงพอ ซึ่งยังสอดคล้องกับ นวัตกรรมให้ประสบความส�ำเร็จ จ�ำเป็นอย่างยิ่ง แนวคิดขององค์อร ประจันเขตต์ (Prajankett, ที่จะต้องมีวิธีที่จะรับรู้และสื่อสารทั้งในลักษณะ 2557) ที่ระบุว่า องค์กรนวัตกรรมที่น�ำไปสู่องค์กร ของลูกค้าและตลาด รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์ นวัตกรรมทางการศึกษาจะเกิดขึ้นได้จ�ำเป็น กับลูกค้าที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร โดยใช้ อย่างยิ่งต้องอาศัยการกระท�ำใหม่ที่มีรูปแบบการ การสื่อสารหรือมีช่องทางที่ท�ำให้เกิดความเข้าใจ บริหารและโครงสร้างการท�ำงานที่เป็นระบบ และ ชัดเจนน�ำไปสู่การปฏิบัติต่อไปได้ และสอดคล้อง ดังแนวคิดของพสุ เดชะรินทร์ (Dacharin, 2003) กับงานวิจัยของสุนีย์ บันโนะ และวลัยพร ศิริภิรมย์ ที่อธิบายหลักการพื้นฐานแสดงถึงการเป็นองค์กร (Banno & Siriphirom, 2018) ที่วิเคราะห์ แห่งนวัตกรรมว่าต้องมีโครงสร้างองค์กรที่มีความ ความต้องการจ�ำเป็นพบว่าการมีส่วนร่วมของ ยืดหยุ่นในระดับที่เหมาะสมที่จะกระตุ้นให้เกิด ภายนอก คือ พ่อแม่และผู้ปกครอง เป็นปัจจัย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 264

ภายนอกโรงเรียนที่มีส่วนส�ำคัญในการส่งเสริม (PNIModified = 0.359) เทคโนโลยีในที่นี้หมายรวม และสนับสนุนความรู้ความสามารถของผู้เรียน ถึงเครื่องมือและโปรแกรมส�ำเร็จรูป และวิธีการ ให้ความร่วมมือกับโรงเรียนในการขับเคลื่อน ท�ำงานที่สนับสนุนการจัดการสารสนเทศในการ ภารกิจการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ สร้างนวัตกรรมของโรงเรียน ทั้งนี้เนื่องมาจาก ยังจัดเป็นอีกหนึ่งรูปแบบของสิ่งแวดล้อมที่จะ โรงเรียนยังไม่มีการรายงานผลการวิเคราะห์ พัฒนาผู้เรียนให้มีความสมบูรณ์เป็นพลเมืองโลก ข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ชัดเจน อีกทั้งไม่สามารถ ที่ดี และล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นที่ต�่ำที่สุด น�ำผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบมาปรับปรุงแผน คือ องค์ประกอบที่ 1 โครงสร้างการบริหาร วิธีด�ำเนินงาน และปรับปรุงตัวชี้วัดเกี่ยวกับ

(PNIModified= 0.279) พบว่า โรงเรียนมีการร่วมมือ การใช้เครื่องมือและโปรแกรมส�ำเร็จรูปในการ กันในการก�ำหนดสายงาน ขอบข่ายและหน้าที่ จัดการสารสนเทศ รวมทั้งการสร้างนวัตกรรม รับผิดชอบตามสายงานที่ชัดเจนอยู่แล้วเป็นปกติ ของโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนแห่งนวัตกรรมอย่าง จึงส่งผลให้เกิดความส�ำเร็จในการสื่อสารและ ต่อเนื่องได้ และล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นที่ น�ำไปสู่การวางแผนให้ส�ำเร็จ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ต�่ำที่สุดคือ องค์ประกอบที่ 3 วัฒนธรรมองค์การ

รับทราบและร่วมมือท�ำด้วยความเต็มใจเพื่อการ (PNIModified= 0.301) พบว่า โรงเรียนมีการรายงาน บริหารให้เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม ซึ่งผู้บริหาร สรุปผลการปฏิบัติงานและน�ำผลเปรียบเทียบ ครูและบุคลากรของโรงเรียนส่วนใหญ่มีความ การจัดกิจกรรมมาใช้ปรับปรุงแผนการเสริมสร้าง มั่นใจว่าการวางแผนด้านโครงสร้างการบริหาร ความคิดสร้างสรรค์ แสดงถึงการท�ำงานเป็นทีม เป็นเรื่องที่ดีอยู่แล้ว ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ การรับฟังซึ่งกันและกัน การมีเครือข่ายแลกเปลี่ยน Higgins (1995) ที่กล่าวว่า องค์การแห่งนวัตกรรม เรียนรู้ และการมีบรรยากาศที่ส่งเสริมความคิด จ�ำเป็นต้องมีการวางแผนแนวทางการด�ำเนินงาน สร้างสรรค์ภายในองค์กรที่สนับสนุนการบริหาร ขององค์การให้ไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ให้ชัดเจน จัดการให้เป็นโรงเรียนแห่งนวัตกรรมอย่าง โดยเริ่มจากลักษณะของงาน อ�ำนาจในการสั่งการ ต่อเนื่องเป็นปกติ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ตามขอบเขตรับผิดชอบ ขอบเขตการท�ำงาน Von Stamm (2008) ที่ว่าวัฒนธรรมองค์การ ช่วงการบัญชาหรือขอบเขตการควบคุมงาน ส�ำคัญต่อการผลักดันพฤติกรรมผู้น�ำ ซึ่งได้รับ ขอบข่ายความร่วมมือในการปฏิบัติงาน การสนับสนุนจากเครื่องมือและการท�ำงานของ โครงสร้างองค์การที่เอื้อต่อการสร้างองค์การ บุคลากร ความท้าทายจากสถานการณ์ ปัจจุบัน นวัตกรรม ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล การร่วมมือและการเรียนรู้จากความล้มเหลว ในการสร้างสรรค์นวัตกรรม รวมทั้งมีการสื่อสาร เป็นสัญญาณของวัฒนธรรมนวัตกรรม และ ในองค์การที่มีประสิทธิภาพ แนวคิดของ Tidd, Bessant & Pavitt (2001) 4. ความต้องการจ�ำเป็นล�ำดับที่ 4 ที่กล่าวว่าการสร้างบรรยากาศในการท�ำงานให้เกิด ด้านที่ 4 การปรับปรุง พบว่า ล�ำดับความต้องการ ความคิดสร้างสรรค์ จะเป็นตัวกระตุ้นพฤติกรรม จ�ำเป็นที่สูงที่สุดคือ องค์ประกอบที่ 2 เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ให้กับพนักงานกลายเป็น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 265

วัฒนธรรมหรือค่านิยมที่เข้าใจและปฏิบัติร่วมกัน การด�ำเนินงานตามแผน พบว่าองค์ประกอบ กระทั่งสร้างนวัตกรรมใหม่ให้เกิดขึ้นในองค์การ ที่มีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นสูงที่สุดคือ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุภาวดี ลาภเจริญ, องค์ประกอบที่ 2 เทคโนโลยี ดังนั้น ผู้บริหาร วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ และอัจฉรา นิยมาภา ควรประสานความร่วมมือกับครูและบุคลากร (Lapcharoen, Wichitputcharaporn & ของโรงเรียนให้เกิดการมีส่วนร่วมด้านเทคโนโลยี Niyamapa, 2018) ที่ศึกษาปัจจัยการบริหาร ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือ โปรแกรมส�ำเร็จรูป และวิธี ที่มีผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ซึ่งพบว่า การท�ำงานที่สนับสนุนการจัดการสารสนเทศ วัฒนธรรมองค์การจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ในการสร้างนวัตกรรมให้เป็นรูปธรรม เพื่อสนับสนุน ภายในองค์กรให้มีความเข้มแข็งและปฏิบัติงาน ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้ด�ำเนินการสร้างนวัตกรรม ร่วมกันไปสู่เป้าหมายโดยอาศัยความคิดเชิง ให้ไปสู่เป้าหมายและเป็นโรงเรียนแห่งนวัตกรรม สร้างสรรค์ในการท�ำงาน ได้ส�ำเร็จ 3. ผลการวิจัยความต้องการจ�ำเป็น ข้อเสนอแนะ ของการบริหารโรงเรียนล�ำดับที่ 3 คือด้านที่ 1 ข้อเสนอแนะการน�ำผลการวิจัยไปใช้ การวางแผน พบว่าองค์ประกอบที่มีล�ำดับความ จากการศึกษา พบว่า ค่าดัชนีความ ต้องการจ�ำเป็นสูงที่สุดคือ องค์ประกอบที่ 5 ต้องการจ�ำเป็น (PNI) ของด้านการบริหารและ เครือข่ายความร่วมมือ ดังนั้น ผู้บริหารต้อง องค์ประกอบขององค์กรแห่งนวัตกรรมที่ศึกษา ประสานความร่วมมือกับครูและบุคลากรของ มีค่าใกล้เคียงกันและใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยรวม โรงเรียนในการวางแผนก�ำหนดข้อตกลงและ จึงขอเสนอแนะ ดังนี้ ตัวชี้วัดความส�ำเร็จของผลการด�ำเนินกิจกรรม 1. ผลการวิจัยความต้องการจ�ำเป็น ภายใต้ความร่วมมือกับสถานประกอบการ ทั้งยัง ของการบริหารโรงเรียนล�ำดับที่ 1 คือด้านที่ 3 ต้องด�ำเนินการตามแผนให้เกิดความร่วมมือกับ การตรวจสอบ พบว่าองค์ประกอบที่มีล�ำดับ เครือข่ายอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมการจัดการ ความต้องการจ�ำเป็นสูงที่สุดคือ องค์ประกอบที่ 2 เรียนรู้ให้เกิดนวัตกรรมและพัฒนาเครือข่าย เทคโนโลยี ดังนั้นผู้บริหาร ครูและบุคลากรของ การเรียนรู้สู่การเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม โรงเรียนควรให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินการ 4. ผลการวิจัยความต้องการจ�ำเป็น เก็บข้อมูลและติดตามผลการจัดกิจกรรมที่ ของการบริหารโรงเรียนล�ำดับที่ 4 คือด้านที่ 4 เกี่ยวข้องกับเครื่องมือและโปรแกรมส�ำเร็จรูป การปรับปรุง พบว่าองค์ประกอบที่มีล�ำดับความ และวิธีการท�ำงานที่สนับสนุนการจัดการ ต้องการจ�ำเป็นสูงที่สุดคือ องค์ประกอบที่ 2 สารสนเทศ เพื่อการบริหารโรงเรียนให้เกิดการ เทคโนโลยี ดังนั้น ผู้บริหารซึ่งเป็นผู้น�ำองค์กร สร้างนวัตกรรมเป็นโรงเรียนแห่งนวัตกรรมได้ ต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยน 2. ผลการวิจัยความต้องการจ�ำเป็น ความคิดเห็นจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อรายงาน ของการบริหารโรงเรียนล�ำดับที่ 2 คือด้านที่ 2 ข้อมูลตามตัวชี้วัด ก่อนจะน�ำผลเปรียบเทียบ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 266

มาปรับปรุงแผน วิธีด�าเนินงาน และตัวชี้วัด ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ งานวิชาการ งานงบประมาณ เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือและโปรแกรมส�าเร็จรูป งานบุคคล งานทั่วไป และด�าเนินการทดลอง ในการจัดการสารสนเทศ รวมทั้งการสร้าง รูปแบบที่พัฒนาขึ้น โดยอาจเปรียบเทียบระหว่าง นวัตกรรมของโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนแห่ง โรงเรียนในสังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา นวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง เดียวกัน หรือโรงเรียนในสังกัดส�านักงานคณะ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับโรงเรียน 1. ควรน�าผลล�าดับความต้องการจ�าเป็น ในสังกัดกรุงเทพมหานคร ไปศึกษาวิธีด�าเนินการและพัฒนาเป็นแนวทาง 3. ควรมีการศึกษาองค์ประกอบของ การบริหารโรงเรียนตามแนวคิดองค์กรแห่ง องค์กรแห่งนวัตกรรมที่มีผลต่อการพัฒนาความ นวัตกรรม โดยให้มีกระบวนการท�างานตามหลัก รู้ ทักษะ และกระบวนการตามมาตรฐาน ให้เกิด วงจรบริหารคุณภาพ PDCA และองค์ประกอบ ขึ้นในครูผู้สอนและผู้เรียน เพื่อหาและก�าหนด ขององค์กรแห่งนวัตกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถของครู เพื่อเปลี่ยนเป็นโรงเรียนแห่งนวัตกรรม และผู้เรียนให้มีทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม 2. ควรพัฒนาเป็นรูปแบบหรือกลยุทธ์ โดยเชื่อมโยงกับภาวะผู้น�าในยุคดิจิทัลและภาวะ การบริหารโรงเรียนตามขอบข่ายการบริหารงาน ผู้น�าเชิงเทคโนโลยี

REFERENCES

Banno, S. & Siriphirom, W. (2018). The Priority Needs of School Management to Enhance Students’ Global Consciousness by Whole School Approach in Bangkok Metropolitan. Educational Management and Innovation Journal (EMI Journal). 1(1), 1-22. (in Thai) Chaemchoy, S. (2012). Concept of Innovation for School Management in the 21st Century. Journal of Education Naresuan University. 14(2), 117-128. (in Thai) Chaemchoy, S. (2018). School Management in Digital Era. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai) Dacharin, P. (2003). Balanced Scorecard: Implementing balanced scorecard. 2nd Edition. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai) Deming, W.E. (1993). PDCA cycle a quality approach. Cambridge: MA MIT. Higgins, James M. (1995). Innovate or Evaporate: Test & Improve Your Organization’s IQ–Its Innovation Quotient. New York: New Management Publishing Company. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 267

Keesookpun, E. (2011). Management skills and Practices. 4th Edition. Bangkok: Sukkapabjai Group. (in Thai) Lapcharoen, S., Wichitputcharaporn, W. & Niyamapa, A. (2018). Administrative Factors that Affecting Learning Organization of The Demonstration School of Ramkhamhaeng University. Educational Management and Innovation Journal (EMI Journal). 1(1), 81-98. (in Thai) Ministry of Education. (2010. National Education Act B.E. 2542 (1999) and Amendments (Second National Education Act B.E. 2545 (2002)). Bangkok: Kurusapa Printing Ladphrao. Phungtoneng, K. (2012). A Study of the State of School Administration of the Leading Moral Schools Under the Office of the Basic Education Commission in the Eastern Region. Degree of Master of Education Program in Educational Administration. Faculty of Education, Chulalongkorn University. (in Thai) Prajankett, O. (2014). An educational innovative organization: A new choice of educational administration. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 15(1), 45-51. (in Thai) Srisa-ard, B. (2013). Introduction to Research. 9th Edition. Bangkok: Suweeriyasan. (in Thai) Thongwan, K. (2010). The Relationship of Influencing Factors which Created the Learning Organization and an Innovative Organization: Case Study at the National Science and Technology Development Agency. Journal of Business Administration (Thammasat Business Journal). 33(128), 34-48. (in Thai) Tidd, J., Bessant, J. & Pavitt, K. (2001). Managing Innovation Integrating Technological And Organization Change. Chichester: John Wiley & Sons. Von Stamm, B. (2008). Managing Innovation, Design and Creativity. Chichester: John Willey & Sons. Vrakking, W.J. (1990). The Innovative Organization. Long Range Planning, 23(2), 94-102. Watsongtham School. (2016). Self Assessment Report of Watsongtham School. Samut Prakarn Province: Under the Office of Secondary Education Service Area 6. (in Thai) Wongwanich, S. (2015). A Needs Assessment Research. 3rd Edition. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai) Yossyingyong, K. (2018). Innovative Organization: Concept & Process. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 268

บทความวิจัย

การเพิ่มศักยภาพของ Conjoint Analysis โดยใช้หลักการแบ่งกลุ่ม ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยแบบสายล�ำดับ ENHANCING CONJOINT ANALYSIS WITH HIERARCHICAL FACTOR ANALYSIS AS CLUSTERING TECHNIQUE อินทกะ พิริยะกุล1* และ จริยาภรณ์ ศรีสังวาลย์2 Intraka Piriyakul1* and Chariyaporn Srisangwarn2

ภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1* คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย2 Department of Business Administration Faculty of Social Science Srinakharinwirot University Bangkok, Thailand1* Faculty of Business Administration, Thai-Nichi Institute of Technology Bangkok, Thailand2

Email: [email protected]*

Received: 2019-06-11 Revised: 2019-08-13 Accepted: 2019-08-15

บทคัดย่อ การท�ำธุรกิจภายใต้การแข่งขันต้องอาศัยกลยุทธ์ทางการตลาดที่ไวต่อการตอบสนอง ความต้องการรูปแบบของผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป จึงส่งผลให้ธุรกิจต้องมีการปรับปรุง ผลิตภัณฑ์หรือบริการอย่างต่อเนื่อง ในทางการตลาดนั้นก่อนที่จะมีการปรับปรุงหรือผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่ จ�ำเป็นต้องอาศัยข้อมูลความต้องการของผู้บริโภคต่อคุณลักษณะในตัวสินค้า ซึ่งเรียกว่าการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ซึ่งในปฏิบัติมักใช้เทคนิคเชิงปริมาณที่มีความสามารถวิเคราะห์และตรวจสอบได้ในเชิง มูลค่า ทั้งนี้เทคนิคที่นิยมใช้คือการออกแบบด้วย “คอนจ้อนท์” แต่การใช้เทคนิคดังกล่าวมักประสบ ปัญหากับปริมาณคุณลักษณะข้อมูลของผลิตภัณฑ์ที่มีมากที่เรียกว่า “ข้อมูลล้น” จนเกินกว่า ความสามารถที่ผู้บริโภคจะตัดสินใจเลือกและเปรียบเทียบคุณลักษณะต่าง ๆ ในตัวผลิตภัณฑ์ได้ จึงเป็นที่มาของการวิจัยในการน�ำเสนอวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการเพิ่มขั้นตอนการวิเคราะห์ ปัจจัยสายล�ำดับเข้าช่วย ก่อนที่จะไปด�ำเนินการออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วย “คอนจ้อนท์” ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ผลการทดลองเทคนิคดังกล่าวกับกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคจ�ำนวน 30 ราย ในการออกแบบ คุณลักษณะของอุปกรณ์ปั๊มน�้ำที่มี 7 คุณลักษณะพบว่าเทคนิคใช้การวิเคราะห์ปัจจัยแบบสายล�ำดับ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 269

สามารถแบ่งคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ได้เป็น 5 กลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มเป็นอิสระกันและมีขนาด เหมาะสมกับการตัดสินใจของกลุ่มทดลองในขั้นตอนของการออกแบบผลิตภัณฑ์

ค�ำส�ำคัญ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์ปัจจัยแบบสายล�ำดับ การวิเคราะห์คอนจ๊อนท์

ABSTRACT Competitive advantage is achieved by those firms which able to develop their product or service to fulfill a consumer’s need. The market preferences following adequate evaluation of how people measure different features of an individual product. The product or service design using Conjoint analysis, a quantitative research tool widely employed in product management and marketing struggled the over information load for decision-making in the ranking preference value. Our proposed method, the integration of Hierarchical Factor analysis and conjoint analysis, can improve the product design more efficiently. The experiment on electric pump design has found that the seven attributes were segmented into five clusters, and each cluster consisted of a full factorial design with suitable product concepts for man-kind decision-making.

Keywords: Product Design, Factor Analysis, Conjoint Analysis

บทน�ำ การแข่งขันในทางการตลาดเพื่อเพิ่ม ผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงตลอด ส่วนแบ่งการตลาดส่งผลให้ ผู้ประกอบการมักใช้ เวลาตามปัจจัยภายในและภายนอกในตัว กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างในตัวสินค้าหรือ ผู้บริโภค เช่น อารมณ์ ทัศนคติ การใช้ชีวิต และ บริการ (differentiate) การแปลงกลยุทธ์ รายได้ ดังกล่าวมาสู่ภาคด�ำเนินการเป็นปัจจัยเร่งต่อการ การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ออกแบบผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง กระบวนการ เป็นกระบวนการที่ต้องมีการรวบรวมความต้องการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ (product design) และ ของผู้บริโภคในการก�ำหนดระดับความชอบ ตามมาด้วยการผลิตผลิตภัณฑ์ (process design) (preference value) ในแต่ละอัตลักษณ์ของ นั้นจ�ำเป็นต้องอาศัยการศึกษาความต้องการของ ผลิตภัณฑ์ซึ่งมีทั้งอัตลักษณ์ และรองที่มีการ ผู้บริโภคในส่วนของคุณลักษณะความต้องการ แบ่งย่อยในระดับรายละเอียดอีก หลังจากนั้น อัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ (Product Attribute) จึงน�ำข้อมูลจากการก�ำหนดระดับความชอบ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าความต้องการคุณลักษณะ โดยกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคไปท�ำการวิเคราะห์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 270

องค์ประกอบของอัตลักษณ์สินค้า ด้วยเทคนิค แตกต่างสินค้า (product differentiation) ก็ท�ำให้ ทางสถิติให้เป็นสารสนเทศ แล้วจึงน�ำไปท�ำการ แนวทางการลดอัตลักษณ์ดังกล่าวไม่สามารถท�ำได้ ผลิตสินค้าต่อไป ด้วยเหตุผลที่พบว่าผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้ถ้าหากผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่มีกลุ่มผู้บริโภค ส่วนใหญ่มักมีอัตลักษณ์หลักและย่อยจ�ำนวนมาก มีจ�ำนวนมากก็จะมีพฤติกรรมและทัศนคติต่อ เช่น อัตลักษณ์หลักคือ ขนาด สี วัตถุดิบ ราคา ผลิตภัณฑ์แตกต่างกันมาก ส่งผลต่อความ รูปแบบ และยังแบ่งเป็นระดับย่อย ๆ อีก เช่น ต้องการรูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่เป็นชนิดเดียวกัน ขนาดของสินค้าแบ่งเป็น 3 ขนาด สีของสินค้า แต่มีความแตกต่างกันเช่นผงซักฟอกตรา “A” มีถึง 5 สี และราคามีถึง 4 ระดับ จากมูลเหตุนี้ กลิ่นกุหลาบ ขนาดบรรจุ 60 กรัม ด้วยภาชนะ ส่งผลให้ขนาดของข้อมูลที่จะน�ำไปใช้การทดลอง ขวดแก้ว เป็นต้น การศึกษาครั้งนี้ จึงทดลอง ในกลุ่มผู้บริโภคมีขนาดใหญ่ เช่น ถ้าสินค้ามี ประยุกต์วิธีการทางคณิตศาสตร์ในการจัดการ 3 ขนาด มี 5 สี และ ราคา มี 4 ระดับ ส่งผลให้ กลุ่มข้อมูลให้เหมาะสมกับมนุษย์ในการตัดสินใจ ทางเลือกเต็มรูปแบบองค์ประกอบอัตลักษณ์ของ ในการก�ำหนดระดับคะแนนความชอบใน สินค้า (full profile) มีขนาด 3 x 5 x 4 = 60 องค์ประกอบของสินค้าในแต่ละรูปแบบ หลักการ ทางเลือก (แบบ) ซึ่งท�ำให้การก�ำหนดระดับ ที่น�ำเข้าใช้เพิ่ม เรียกว่า “การวิเคราะห์ปัจจัยแบบ ความชอบโดยการให้คะแนนเปรียบเทียบใน สายล�ำดับ” (Hierarchical Factor Analysis) ทางเลือก ทั้ง 60 แบบท�ำได้ยากและส่งผลต่อ ซึ่งจะท�ำให้ข้อมูลที่น�ำไปวิเคราะห์ด้วย “conjoint ความถูกต้องในการน�ำชุดข้อมูลดังกล่าวไปสู่ analysis” ท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Green & การใช้ในการออกแบบ Krieger, 2001) ปัญหาในการตัดสินการก�ำหนดระดับ การแก้ปัญหา “Overloading คะแนนความชอบ (preference value) ที่เกิดจาก Information” ด้วยวิธีการตัดอัตลักษณ์ที่ การมีทางเลือกมากเกินกว่าความสามารถในการ ไม่ส�ำคัญบางตัวทิ้งไปดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมี ตัดสินของมนุษย์ซึ่งอาจจะเรียกว่า “สารสนเทศล้น” งานวิจัยบางงานท�ำการแบ่งกลุ่มของอัตลักษณ์ (Over Loading Information) จึงน�ำมาสู่การ โดยใช้สามัญส�ำนึกของมนุษย์ในการแบ่งกลุ่ม หาทางออกเพื่อเลี่ยงการใช้วิธีก�ำหนดทางเลือก ในการท�ำเช่นใช้ ราคา กับขนาด อยู่ในกลุ่มเดียวกัน แบบเต็มรูปแบบ ด้วยการเพิ่มขั้นตอนการสร้าง หรือใช้สี กับรูปแบบอยู่กลุ่มเดียวกัน ดังนั้น แบ่งกลุ่มข้อมูลที่มีขนาดเหมาะสมต่อมนุษย์ ถ้าราคามี 3 ระดับ และ ขนาด มี 4 ระดับ ต่อการก�ำหนดระดับความชอบ งานวิจัยในอดีต ก็จะมีทางเลือกเพียง 12 ทางเลือกในการ ของ Balakrishnan and Jacob (1996) และ ให้คะแนนล�ำดับความนิยม ปัญหาที่เกิดขึ้นกับ Green and Krieger (1996) เสนอทางแก้ วิธีการแบ่งกลุ่มตามวิธีนี้ก็คือการแบ่งกลุ่มผิด ปัญหา โดยการเลือกเฉพาะแต่อัตลักษณ์ที่ส�ำคัญ อันเกิดจากกรณีที่อัตลักษณ์บางลักษณะของ ซึ่งแนวทางนี้สามารถท�ำได้ในผลิตภัณฑ์บางประเภท ผลิตภัณฑ์มีความเชื่อมโยงกัน (interaction) เท่านั้น นอกจากนี้ การใช้กลยุทธ์ในการสร้างความ แต่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งความผิดพลาดใน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 271

การแบ่งกลุ่มจะน�ำไปสู่ท�ำการออกแบบผลิตภัณฑ์ วัตถุประสงค์ของการวิจัย (product design) ด้วยการใช้ conjoint analysis 1. เพื่อสร้างระบบอัตโนมัติในการ ในขั้นต่อไปผิดพลาดไปด้วย ทั้งนี้งานวิจัยของ แบ่งกลุ่มอัตลักษณ์สินค้าที่ไม่มีปฎิสัมพันธ์ Anderson (1981) และ Louviere et al. (2004) และมีทางเลือกขนาดเหมาะสมกับการให้เรียง เสนอแนวทางการใช้เทคนิค latent-segment คะแนนนิยมโดยมนุษย์ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ attribute framework เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ปัจจัยแบบสายล�ำดับ แต่ก็ยังพบว่าการแก้ปัญหาดังกล่าวก็ยังไม่เบ็ดเสร็จ 2. เพื่อทดลองระบบดังกล่าวกับการ เนื่องจากในบางกลุ่มของอัตลักษณ์ที่แบ่งแล้ว ออกแบบสินค้าเครื่องปั๊มน�้ำ ยังมีทางเลือกมากเกินกว่าความสามารถของ กลุ่มทดลองในการเรียงค่าเปรียบเทียบ ดัง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ นั้นการพัฒนาเทคนิค“Hierarchical Factor ได้แนวทางการสร้างสารสนเทศที่ Analysis” มาใช้จะช่วยแก้ปัญหาการแบ่งกลุ่ม เหมาะสม กับกลุ่มทดลองที่ใช้ในการหาข้อมูล อัตลักษณ์ของสินค้าให้ ภายในกลุ่มเดียวกัน เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ใช้ conjoint มีความเกี่ยวข้องกันและต่างกลุ่มจะเป็นอิสระกัน analysis ทั้งนี้การแบ่งกลุ่มโดยใช้เทคนิควิเคราะห์ปัจจัย มีการขยายเป็นสายล�ำดับ ซึ่งจะท�ำให้ได้สารสนเทศ ขอบเขตของการวิจัย ในขนาดที่เหมาะสมกับ ผู้บริโภคในการก�ำหนด 1. สินค้าที่ใช้ในการออกแบบคือ ปั๊มน�้ำ เรียงล�ำดับค่านิยมเปรียบเทียบ ในขั้นตอนการ 2. หน่วยตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองคือ ออกแบบสินค้า ผู้บริโภคที่ใช้ ปั๊มน�้ำ ในระดับครัวเรือน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 272

กรอบแนวคิดของการวิจัย

Segment Optimum Attribute using Factor Analysis Preference Optimum Ranking

Over Loading Conjoint Information Analysis

Segment Optimum Product Attribute using Design Factor Analysis Optimum

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย

ทบทวนวรรณกรรม สถิติเข้าวิเคราะห์ เพื่อให้ได้ความรู้ในส่วนของ การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product ผลิตภัณฑ์ และน�ำไปสู่การผลิตต่อไปซึ่งอาจ Design) (รวมถึงการออกแบบบริการ) มีผลต่อ จะต้องมีการปรับรายละเอียดบางอย่าง เพื่อลด การผลิตผลิตภัณฑ์ (Process design) ที่ตรงกับ ต้นทุน หรือเพื่อให้เหมาะสมกับวัตถุดิบ และ ความต้องการของผู้บริโภคในทุกมิติที่ต้องการ เครื่องจักร กระบวนที่กล่าวมานี้ครอบคลุมสินค้า ในขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์ จ�ำเป็นที่จะ ทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็น พิซซ่าจนถึงรถยนต์ ต้องรวบรวมข้อมูลความต้องการของผู้บริโภค การออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นกระบวนการ แต่ด้วยข้อจ�ำกัดมีผู้บริโภคจ�ำนวนมากจึงจ�ำเป็น ในการจ�ำแนกอัตลักษณ์และคุณลักษณะใน ต้องเลือกกลุ่มผู้บริโภคมาเป็นตัวอย่างในการ ระดับย่อย ตัวอย่างเช่น การซื้อ พัดลม ผู้บริโภค เก็บข้อมูลความต้องการในแต่ระดับของอัตลักษณ์ จะนึกถึงขนาดความสูง ขนาดใบพัด สี การใช้ ของผลิตภัณฑ์ แล้วประเมินให้คะแนนความนิยม พลังงาน ตราสินค้า และราคา ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ หลังจากนั้นจึงน�ำข้อมูลชุดดังกล่าวไปท�ำการ หลักที่นึกได้ และตามมาด้วยรายละเอียดย่อย วิเคราะห์เพื่อเลือก องค์ประกอบของอัตลักษณ์ ในแต่ละอัตลักษณ์ เช่นสี มี ด�ำ ฟ้า ขาว ตราสินค้า ผลิตภัณฑ์ ที่มีน�้ำหนักสูงสุด โดยใช้เทคนิคทาง มี ซัมซุง ฮิตาชิ ฟิลลิป เป็นต้น โดยองค์ประกอบรวม วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 273

ที่ส�ำคัญเหล่านี้จะถูกน�ำไปออกแบบผลิตภัณฑ์ image) โดยภาพลักษณ์ทางสัญลักษณ์คือ ในสินค้าบางประเภทจะมีอัตลักษณ์จ�ำนวนมาก สิ่งที่ปรากฏให้รับรู้และจับต้องได้ เช่นตราสินค้า รวมทั้งมีระดับย่อยในแต่ละอัตลักษณ์มากด้วย บรรจุภัณฑ์ ข้อความ สี เป็นต้น ส่วนภาพลักษณ์ จึงมักสร้างปัญหาในการออกแบบผลิตภัณฑ์ ด้านหน้าที่ เกิดต่อเมื่อมีการใช้งานเช่น รสชาติ สินค้าชั้นน�ำที่อยู่ในกระแสนิยมเช่น เครื่องดื่ม กลิ่นน�้ำหอม (Ginsberg, & Bloom, IPhone มักจะออกแบบผลิตภัณฑ์ของตนตาม 2004) ในขณะที่ภาพลักษณ์ด้านอารมณ์ จะเกิด มาตรฐานของตนเองที่เรียกว่า “Standardization ในความคิดของผู้บริโภคเช่นมีความมั่นใจเมื่อใช้ is Globalization”: Apple’s One-Size-Fits-All สินค้าที่มีระดับ หรือมีความสุขเมื่อซื้อสินค้าที่มี ด้วยแนวคิดนี้ผู้บริโภคต้องปรับพฤติกรรมการใช้ ฉลากเขียว(Myers and Mullet, 2003) จาก ให้เข้ามาตรฐานสินค้า แต่สินค้าบางประเภทเช่น รายงานของสมาคมการตลาดในอเมริกาในปี กาแฟไทยหลายตราสินค้าจะมีลักษณะของ ค.ศ. 1976 ในกลุ่มสินค้าที่จ�ำหน่ายในห้างชั้นน�ำ รสชาติกาแฟเป็นตามรสนิยมของผู้บริโภคใน ทั่วไปพบว่ามีจ�ำนวน 9,000 รายการและ ภายหลัง แต่ละท้องถิ่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ตามท้องถิ่น อีก 15 ปีมีการเพิ่มมากกว่า 30,000 รายการ (localization) ก็ถือเป็นกลยุทธ์ทางการตลาด (Waldman, 1992) การมีสินค้าจ�ำนวนมากส่งผล ลักษณะหนึ่ง (Hise & Young-Tae, 2011) เห็นได้ ต่อการเลือกของผู้บริโภคที่ต้องใช้เวลาในการ ว่าในการประกอบธุรกิจสินค้าในประเทศไทย เปรียบเทียบสินค้าประเภทเดียวกันในด้าน ส่วนใหญ่ยังอยู่ในรูปแบบการยึดถือการบริโภค อัตลักษณ์เพื่อเลือกสินค้าที่ตนจะรับประโยชน์ ตามท้องถิ่นโดยเฉพาะอย่างสินค้าประเภทอาหาร คุ้มกับต้นทุนที่จะจ่าย ปัญหาที่เกิดกับผู้บริโภค และเครื่องดื่มหลายประเภท ซึ่งนอกจากออกแบบ ในการพิจารณาการเลือกสินค้าจากมุมมองต่าง ๆ ตามท้องถิ่นแล้วยังมีการออกแบบโดยยึดตาม ก็เป็นปัญหาเดียวกันที่เกิดกับผู้ผลิตสินค้าที่ ความแตกต่างของผู้บริโภคเช่น อายุ เพศและ ต้องการจะผลิตสินค้าที่ให้อัตลักษณ์ตรงใจกับ รายได้ ซึ่งสาเหตุดังกล่าวยิ่งส่งผลต่อความ ผู้บริโภคให้มากที่สุด ดังนั้นก่อนที่จะมีการผลิต ยากล�ำบากในการออกแบบผลิตภัณฑ์มากขึ้น สินค้าจึงมีกระบวนการวิจัยในทางการตลาด ขนาดความเหมาะสมของข้อมูลที่ใช้ ที่เรียกว่า การออกแบบสินค้า ด้วยการทดลอง ในการตัดสินใจ (Optimum Information for สร้างรูปแบบสินค้าแบบต่าง ๆ ที่มีอัตลักษณ์ Decision-Making) (Attribute) ด้านต่าง ๆ ประกอบขึ้นมาแล้ว รูปแบบสินค้าในทางการตลาดตาม น�ำมาให้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริโภคเปรียบเทียบ แนวคิดของ Kotler and Keller (2006) ได้การ และให้น�้ำหนักในการเลือกที่เรียกว่าค่านิยม แบ่งมิติภาพลักษณ์ของสินค้าออกเป็น 3 แบบคือ (preference value) การออกแบบสินค้าแบบต่าง ๆ (1) ภาพลักษณ์ทางสัญลักษณ์ (symbolic image) หรือที่เรียกว่าทางเลือกดังที่กล่าวมาในบทน�ำ (2) ภาพลักษณ์ด้านหน้าที่ (functional image) เพื่อน�ำมาใช้ในการออกแบบนั้นมักประสบปัญหา และ (3) ภาพลักษณ์ด้านอารมณ์ (emotional การมีทางเลือกมากไปโดยงานศึกษาของ Iyengar วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 274

และ Lepper (2000) พบว่าถ้าผู้บริโภคต้องเผชิญ การใช้วิธีการนี้ช่วยในการแบ่งกลุ่มตัวแปร กับการตัดสินใจโดยทางเลือกมากเกินไปในการ (Friedman & Sinuany-Stern, 1997) เพื่อลด เลือกซื้อสินค้าประเภทเดียวกัน ท้ายสุดผู้บริโภค ขนาดข้อมูลในการวิเคราะห์ การท�ำ factor analysis อาจจะไม่ตัดสินใจซื้ออะไรเลยก็ได้ เหตุการณ์ (FA) แบ่งเป็นสองประเภทคือ exploratory and ดังกล่าวแสดงถึงปัญหาการมีสารสนเทศ confirmatory โดย confirmatory factor analysis ล้นเกินไปกว่าการใช้ในการตัดสินใจของผู้บริโภค น�ำไปใช้ในการศึกษาการทดสอบทฤษฎีในสมการ (Overloading Information) อาจเรียกว่าเป็น โครงสร้างในกระบวนการวิเคราะห์ปัจจัยนามธรรม สถานการณ์ “ข้อมูลท่วม“ การมีทางเลือกเป็นสิ่ง (latent processes) ส่วน exploratory factor ที่ดีแต่ถ้ามากไปก็ก่อให้เกิดผลเสียเช่นกัน (Mick, analysis น�ำไปใช้ในการแบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาการ 2005) ดังนั้นการที่จะแก้ปัญหาการจัดเก็บข้อมูล แบ่งปัจจัยจากตัวแปรย่อย ๆ ขั้นตอนในการ จากผู้บริโภคเพื่อไปสู่การท�ำ conjoint analysis ด�ำเนินการของ factor analysis (FA) มีดังนี้ โดย Louviere (1984) และ Hair et al. (1999) (Easton et al., 2002): ได้เสนอการใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัยเข้าช่วย 1. Initial solution: รวบรวมข้อมูลการ ในการแบ่งกลุ่มอัตลักษณ์สินค้า ส่วน Iyengar & ให้คะแนนตัวแปร (อัตลักษณ์สินค้า) โดยผู้บริโภค Lepper (2000) ใช้เทคนิค orthogonal design จ�ำนวนหนึ่งในระดับความชอบซึ่งวัดด้วยข้อมูล เพื่อแบ่งกลุ่มอัตลักษณ์สินค้า เพื่อสนับสนุนขั้นตอน เชิงปริมาณ เช่น 1 - 10 หรือ 1 - 5 ดังนั้นถ้ามี การตัดสินใจของผู้บริโภคในการเรียงล�ำดับคะแนน ตัวแปร p ตัวและจ�ำนวนผู้บริโภคที่ให้คะแนน นิยม โดยอาศัยทฤษฎีความสามารถการรับรู้ k คน จะได้ข้อมูลการวิเคราะห์เริ่มต้นคือ matrix X ของมนุษย์ (human perception information ขนาด (n × p) น�ำ X ไปค�ำนวณหาค่าสหสัมพันธ์ theory) เข้าสนับสนุน (Johnson, 1988) การแก้ จะได้ matrix ขนาด (p × p) ปัญหานี้ด้วยการแบ่งข้อมูลเป็นส่วน ๆ ก่อนที่ 2. Extracting the factors ท�ำการ จะน�ำไปให้ผู้ตัดสินใจพิจารณาโดย Molin & ตรวจสอบว่า ตัวแปรใดที่มีความสัมพันธ์สูง Timmermans (2009) ใช้เทคนิคหลายประเภท โดยพิจารณาจากการท�ำ standardization เข้าช่วยในการแบ่งกลุ่ม เช่น การแบ่งตาม 3. Rotating the factors การวิเคราะห์ ภาพลักษณ์สินค้าในมิติต่าง ๆ ตามหลักการของ ในขั้นที่สองอาจจะมีการหมุนแกนตัวแปรเพื่อ Kotler and Keller (2006) หรือใช้ทางคณิตศาสตร์ สกัดหาตัวแปรที่มีความเกี่ยวข้องกันในต่างมิติ การวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) แล้วจัดกลุ่มตัวแปรเป็นปัจจัย การวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) การวิเคราะห์ปัจจัยด้วยวิธี FA มีข้อ เป็นวิธีทางสถิติ โดยใช้หลักการการวิเคราะห์ ได้เปรียบเหนือวิธีการแบ่งกลุ่มวิธีอื่นในการไป สหสัมพันธ์เชิงพหุ การใช้วิธีนี้มีวัตถุประสงค์คือ สนับสนุนการวิเคราะห์ ด้วยเหตุผลว่าตัวแปร (1) เพื่อลดจ�ำนวนตัวแปร และ (2) เพื่อตรวจจับ แต่ละตัวนั้นมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในระดับต่าง ๆ กัน หาตัวแปรที่มีลักษณะมีความสัมพันธ์ร่วมกัน ดังนั้นถ้าการแบ่งกลุ่มผิดพลาด ผลที่ตามก็คือ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 275

ท�ำให้ภายในปัจจัยเดียวกันตัวแปรไม่มีความ et al. (2006) ที่พบว่าข้อมูลที่เหมาะสมในการ สัมพันธ์กัน แต่ตัวแปรต่างกลุ่มกันมีความ ผู้บริโภคเรียงล�ำดับคะแนนความสินค้า มีค่าที่ สัมพันธ์กัน ดังอธิบายด้วยตัวอย่างต่อไปนี้ เหมาะสมคือ 6 - 12 ทางเลือก ดังนั้น ถ้าผล 1. สมมติว่าผลิตภัณฑ์ประเภทหนึ่งมี การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย FA พบว่า ปัจจัยที่ 1 อัตลักษณ์ดังนี้ = { A, B, C, D } ดังนั้น อิทธิพลหลัก ประกอบด้วย {A, C, D, F} โดย A มี 4 ระดับ C ของอัตลักษณ์ (main effect) มี 4 ส่วนคือมาจาก มี 3 ระดับ D มี 3 ระดับ และ F มี 3 ระดับ ก็ส่งผล A, B, C, และ D ให้จ�ำนวนทางเลือกมีถึง 4 x 3 x 3 x 3 = 108 2. อิทธิพลปฏิสัมพันธ์ของอัตลักษณ์ ทางเลือก ซึ่งยังไม่แก้ปัญหาของการมีจ�ำนวน (interaction effects) ได้มาจาก ปฏิสัมพันธ์ ทางเลือกมากไป งานศึกษาครั้งนี้จึงเพิ่มขั้นตอน ระหว่าง AB, AC, AD, BC, BD, CD, และ ABCD การท�ำ FA ซ�้ำกับกลุ่มที่มีปัญหา โดยงานวิจัยนี้ จากตัวอย่างที่น�ำเสนอนี้เห็นได้ว่าถ้ามี ขอตั้งชื่อกระบวนการท�ำงานส่วนนี้ว่า การวิเคราะห์ การแบ่งกลุ่มไม่เหมาะสมเช่นแบ่งตามลักษณะ ปัจจัยแบบสายล�ำดับ (Heretical Factor อัตลักษณ์ทางกายภาพ (symbolic image) หน้าที่ Analysis: HFA) โดยจะเสนอแนวทางการท�ำงาน (function image) หรือ อารมณ์ (emotional ด้วย ในหัวข้อ HFA Algorithm image) ตามหลักทฤษฎี ก็จะก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ Conjoint analysis นับเป็นเทคนิคที่นิยม ระหว่างตัวแปรข้ามกลุ่ม และยังจะส่งผลถึง ใช้กันในงานออกแบบผลิตภัณฑ์/บริการ (Hair ระดับย่อย (level) ในแต่ละอัตลักษณ์ด้วย แต่ถ้า et al., 1999) โดยรูปแบบพื้นฐานคือการน�ำ ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ FA ร่วมกับการทดสอบ อัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์มาสร้าง คุณลักษณะรวม สมมติฐานความเหมาะสมการแบ่งด้วย KMO (full profile) โดยการน�ำระดับย่อยของอัตลักษณ์ (Kaiser-Meyer-Olkin) และ Bartlet’s Test สินค้ามาประสมกันที่เรียกว่า conjoint profiles จะได้ว่าตัวแปรภายในกลุ่มเดียวกันมีความ or factorial design แล้วจึงน�ำไปให้กลุ่มตัวอย่าง สัมพันธ์กัน และตัวแปรต่างกลุ่มจะไม่มีความ ผู้บริโภคแต่ละคนให้คะแนนล�ำดับความชอบจาก สัมพันธ์ตามหลักทางสถิติที่ KMO ค่าสูงกว่า 0.7 ทุก ๆ ทางเลือก จากนั้นจึงน�ำข้อมูลกดังกล่าว และ Bartlet’s Test มีนัยส�ำคัญ ไปวิเคราะห์เพื่อหารูปแบบของอัตลักษณ์ที่ผู้บริโภค การใช้ FA ในการแบ่งกลุ่มตัวแปร ส่วนใหญ่ชอบ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์สมการ อาจจะไม่สามารถแก้ปัญหา การมีข้อมูลมาก ถดถอยเพื่อดูน�้ำหนักของอิทธิพลของแต่ละระดับ จนท�ำให้ผู้ตัดสินใจด�ำเนินการให้ระดับความ ของแต่ละอัตลักษณ์ (Green & Krieger, 1993 ; พึงพอใจได้ทั้งนี้เพราะตัวแปรในกลุ่มปัจจัย Louviere & Timmernans, 1990) เดียวกันอาจจะมีจ�ำนวนระดับย่อยมาจนท�ำให้ ขั้นตอนการน�ำ HFA มาช่วยสนับสนุน Full profile ของข้อมูลมากเกินไป จากการศึกษา การท�ำ Conjoint (HFA and Conjoint Analysis ของ Iyengar & Lepper, (2000) และ Strack Algorithm) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 276

The steps in product design analysis than 12 choices, Fi must be repeated are as follows: segmentation again and then update set F) 1. หาขนาดสารสนเทศขนาดที่เหมาะ 4. เรียงล�ำดับปัจจัยที่แบ่งได้โดยใช้ค่า

ซึ่งควรจะอยู่ในช่วง (6 - 12 ทางเลือก) (Determine ไอเกน (Ascending sort set F = {F1, F2, F3… optimal optimum information from the FM} by eigenvalue) commonly used sample sizes. Choosing 5. ก�ำหนดคลังความรู้ให้ค่าเริ่มต้น the optimal range of 6-12 choices (Iyengar เป็นว่าง (Set Knowledge Set for process & Lepper, 2000; Strack et al., 2006) design: KM = NULL) 2. ทดลองกับกลุ่มผู้บริโภคสินค้าจ�ำนวน 6. ด�ำเนินการตามขั้นตอนที่ 1 – 6 N คน (Let the group of consumer consists จนกว่าสมาชิกในเซตหมด F (Do these step until of N persons. And then each person assign F is NULL) the score of ranking K attribute from number - ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงกระบวนการ

1-K. The data set is matrix size (N x K)) ในการด�ำเนินการกับปัจจัย Fi โดยการก�ำหนดให้

3. น�ำข้อมูลคืออัตลักษณ์ของสินค้า Fi ประกอบด้วยคุณลักษณะของสินค้า 2 ประเภท ไปแบ่งกลุ่มด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยแบบสายล�ำดับ คือ (A, B) และแต่ละลักษณะประกอบด้วย (Let the data set of product attribute to คุณลักษณะย่อย 2 ระดับ ดังนี้ (A1, A2, B1, be segmented with Factor Analysis (FA). B2) ซึ่งหมายความว่าจ�ำนวนหนทางที่เป็นไปได้ Suppose that the result of FA is M factors, ในการตัดสินใจของผู้บริโภคคือ 22 = 4 ทางเลือก where M < K and F = {F1, F2, … FM}. In case ดังนั้นข้อมูลที่ผู้บริโภคตัดสินใจที่เป็นไปได้ของ the number of factorial choices (combination แต่ละทางเลือก ปรากฏดังแมตริกซ์ PE ด้วยขนาด of the level of each attribute) in Fi is greater (4 x 5) ตามรูปแบบดังนี้

A1_B1 A1_B1 A1_B1 A1_B1 Preference 1 0 0 0 3 0 1 0 0 5 0 0 1 0 6 0 0 0 1 2 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 277

ด้วยการก�ำหนดคะแนนความชื่นชอบ ระดับที่ 2 ใช้ทดลองกับผู้บริโภคกลุ่ม ในการเลือกแต่ละหนทางในช่วง 0 - 10 หรือ ที่ 2 ในการเรียงคะแนนความชอบ (preference 0 - 100 ก็ได้ โดยขอก�ำหนดสัญลักษณ์ต่อไปนี้ value)จาก Conjoint Profile ที่ ได้จากระดับที่ 1 ในขั้นตอนการด�ำเนินงานด้วยคอมพิวเตอร์ โดยคะแนนที่ก�ำหนดคือ 1-100 แล้วน�ำข้อมูล ชุดนี้ไปท�ำ Conjoint Analysis ต่อไป ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณด้วยการทดลองกับ สรุปผลการวิจัย และอภิปรายผลการวิจัย ผลิตภัณฑ์คือปั๊มน�้ำ ที่มีอัตลักษณ์ 7 ลักษณะ สรุปผลการวิจัย (A –G) โดยใช้ทดลองกับผู้บริโภค 60 คน โดยแบ่ง ผลการทดลอง การออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็น 2 กลุ่ม มีการทดลอง 2 ระดับ ปั๊มน�้ำไฟฟ้า (electrical pump) ที่ประกอบด้วย ระดับที่ 1 ใช้ทดลองกับผู้บริโภคกลุ่มที่ 1 อัตลักษณ์ 7ลักษณะ (A – G) และแต่ละอัตลักษณ์ ในการให้คะแนนความชอบอัตลักษณ์สินค้า แบ่งระดับย่อย ๆ ดังตาราง 1 แล้วน�ำอัตลักษณ์ (A – G) โดยให้คะแนน 1- 7 คะแนน แล้วน�ำ แต่ละกลุ่มที่แบ่งได้ ไปให้ผู้บริโภค 30 ราย ข้อมูลนี้ไปวิเคราะห์ด้วย FHA ท�ำการให้คะแนนความชอบแต่ละอัตลักษณ์ โดยให้คะแนน 1 - 7

ตารางที่ 1 คุณลักษณะหลักและรายละเอียดแต่ละดับของสินค้าคือเครื่องปั๊มน�้ำ

Motor attribute Level (A) Brand HOYER Siemens ABB Brook (B) Price Low Medium High (C) Efficiency IE1 IE2 IE3 IE4 (D) After sale service Full Service Partial Service No Service (E) Warranty 1 Year 2 Years 3 Years (F) Durability 5 Years 10 Years 15 Years 20 Years (G) Stock for new unit Prompt delivery Waiting for Waiting for Waiting more 1 - 2 months 3 - 5 months than 5 months วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 278

ตารางที่ 2 ผลการทดลองกับผู้บริโภคจ�ำนวน 30 รายในแต่ละคุณลักษณะของสินค้า

Person A B C D E F G 1 3 5 4 5 2 1 4 2 2 6 3 5 5 1 4 3 : : : : : : : 4 : : : : : : : : : : : : : : : : : : : : : : : 30 7 4 3 2 5 1 6

ตารางที่ 3 ค่าที่ค�ำนวณได้จากการวิเคราะห์ปัจจัยโดยใช้เทคนิค Principal Component Analysis กับอัตลักษณ์สินค้า 7 ลักษณะ

Component Attribute 1 2 3 Efficiency -0.901 Price -0.900 Warranty 0.767 After sale service 0.767 Stock for new unit -0.938 Durability 0.905 Brand -0.997

การวิเคราะห์ในระดับที่ 1 HFA ปัจจัย 2 = {Stock for new unit, ข้อมูลในระดับที่ 1 เป็น matrix ขนาด Durability} 30 x 7 (ตารางที่ 2): ปัจจัย 3 = {Brand} ผลการวิเคราะห์ ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัย โดยขอตั้งชื่อแต่ละปัจจัยว่า ปัจจัย ปรากฏดัง ตารางที่ 3 Priced-Efficient ปัจจัย Maintenance และ จากตารางที่ 3 การวิเคราะห์ปัจจัย พบ ปัจจัย Brand ปัญหาที่ตามมาคือ ปัจจัยที่ 1 ยังคง ว่าสามารถแบ่งได้เป็น 3 ปัจจัย คือแบ่งตัวแปร มี overloading information ดังนั้นการวิเคราะห์ ได้เป็น 3 กลุ่มคือ จึงย้อยรอยกับไปท�ำการวิเคราะห์เฉพาะปัจจัย ปัจจัย 1= {Efficiency, Price, Warranty, 1 ใหม่ โดยได้ผลลัพธ์คือ ตารางที่ 4 After_ sale_ service} วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 279

ตารางที่ 4 ค่าที่ค�ำนวณได้จากการวิเคราะห์ปัจจัยโดยใช้เทคนิค Principal Component Analysis กับคุณลักษณะสินค้า 4 รายการ

Component variable 1 2 Efficiency -0.901 After sale service -0.900 Warranty 0.909 Price -0.705

ผลการวิเคราะห์พบว่า KMO ได้ค่า ล�ำดับถัดไปคือการน�ำแต่ละกลุ่ม (ปัจจัย) 0.802 and Bartlett’s Test มีระดับนัยส�ำคัญ ไปสร้าง Conjoint Profile ดังตาราง 5 ซึ่งจ�ำนวน จึงสรุปได้ว่า ปัจจัยที่ 1 แบ่งเป็น 2 ปัจจัยย่อย ข้อมูลในแต่ละกลุ่มเหมาะสมกับที่จะให้ผู้บริโภค สรุปผลการวิเคราะห์ได้การแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มดังนี้ เรียงคะแนนนิยมในแต่ละกลุ่ม แล้วน�ำมารวมกัน F1 = {Efficiency, After-sale-service}, F2 = ในท้ายสุดเพื่อไปท�ำ Conjoint Analysis ในขั้นตอน {Warranty, Price}, F3 = {Stock for new unit}, ที่ 2 ต่อไป F4= {Durability} และ F5 = {Brand}

ตารางที่ 5 ค่าที่ได้ในขั้นตอนสุดท้ายจากการใช้เทคนิค HFA (Hierarchical Factor Analysis)

F1 F2 F3 F4 F5 Efficiency: Warranty: Stock for new unit: Durability: Brand: IE1 1 Year Prompt delivery 5 Years HOYER IE2 2 Year Waiting for 1 - 2 months 10 Years Siemens IE3 3 Year Waiting for 3 - 5 months 15 Years ABB IE4 Waiting more than 5 months 20 Years Brook After sale service: Price: Full Service Low Partial Service Medium No Service High 12 9 4 4 4 Alternatives Alternatives Alternatives Alternatives Alternatives วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 280

การวิเคราะห์ในระดับที่ 2 การท�ำ จากตารางที่ 7 พบว่า IE4 และ Partial Conjoint Analysis Service เป็นอัตลักษณ์ที่ดีที่สุดในกลุ่มของ ข้อมูลในตารางที่ 6 เป็นของผู้บริโภค Efficiency และ After-sale-service โดยมี 1 ราย ในการให้คะแนนความชอบ (0 - 10) น�้ำหนัก 0.375 and 0.526 ตามล�ำดับ (IE1 and ในการให้คะแนน ทางเลือก Conjoint Profile ของ Full-Service จัดเป็นฐานเปรียบเทียบ) ภายหลัง การประสมของระดับย่อยในตัวแปรในกลุ่ม F1. การวิเคราะห์ F1 ก็จะด�ำเนินการกับ F2 - F5 จากข้อมูลตัวอย่างผู้บริโภค 1 ราย เช่นกัน โดยคลังความรู้ (KM) คือน�้ำหนักที่ได้ ดังตาราง 6 เมื่อน�ำไปวิเคราะห์ด้วยเทคนิค จากการวิเคราะห์ จาก F1 - F5 ดังกล่าว คือ Conjoint ได้ผลลัพธ์ดังตาราง 7 โดยการ KM = {E4, No Service, 3 years, Medium, ทดลองจริงใช้จ�ำนวนผู้บริโภค 30 ราย Waiting for 3 - 5 months, 15 years, ABB}

ตารางที่ 6 The preference value ranking of one consumer as a decision maker

IE1 IE2 IE3 IE4 Ful-Ser Par-Ser No-Ser Preference 1 0 0 0 1 0 0 6 0 1 0 0 1 0 0 1 0 0 1 0 1 0 0 7 0 0 0 1 1 0 0 3 1 0 0 0 0 1 0 6 0 1 0 0 0 1 0 4 0 0 1 0 0 1 0 8 0 0 0 1 0 1 0 10 1 0 0 0 0 0 1 6 0 1 0 0 0 0 1 4 0 0 1 0 0 0 1 7 0 0 0 1 0 1 0 9

ตารางที่ 7 ค่าสัมประสิทธิ์มาตรฐานของค่าแต่ละระดับในแต่ละตัวแปรที่เป็นอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ ในกลุ่ม F1

Efficiency: Standardize Beta After sale service: Standardize Beta IE1 0.000 Full Service 0.000 IE2 -0.527 Partial Service 0.526 IE3 0.234 No Service 0.430 IE4 0.375 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 281

ซึ่งหมายความว่า การประกอบสินค้าปั๊มน�้าเพื่อน�า จะน�าสู่การสร้างระบบการออกแบบผลิตภัณฑ์ สู่ตลาดคือ (1) ประสิทธิภาพของมอเตอร์ใช้ รุ่น E4 แบบอัตโนมัติท�าให้ลดต้นทุน กับผู้ประกอบการ (2) บริการหลังการขาย คือ No Service (3) อายุ ขนาดย่อมและกลาง และเหมาะกับผลิตภัณฑ์/ การรับประกันสินค้าคือ 3 ปี (4) ราคาจ�าหน่ายคือ บริการที่มีคุณลักษณะจ�านวนมาก อันยากแก่การ ราคาปานกลาง (Medium) (5) ขนาดการส�ารอง รับรู้และตัดสินใจของกลุ่มทดลอง นอกจากนี้ สินค้า คือ 3 - 5 เดือน (6) อายุใช้งาน 15 ปี และ ในกรณีของการออกแบบบริการ (Service (7) ตราสินค้าคือ ABB Design) ที่มีคุณลักษณะเพิ่มจากสินค้าปกติที่ อภิปรายผลการวิจัย พิจารณาปัจจัยพื้นฐาน 4 P คือ สินค้า (Product) ผลการวิจัยนี้เป็นการน�าเทคนิคทาง ราคา (Price) ช่องทางการจัดจ�าหน่าย (Place) คณิตศาสตร์มาประยุกต์ให้เข้ากับการออกแบบ และการส่งเสริมการขาย (Promotion) มาเป็น 7P สินค้าในทางการตลาด ซึ่งเป็นสิ่งที่ส�าคัญในยุค โดยการเพิ่ม ผู้ให้บริการ (People) สภาพแวดล้อม ปัจจุบันที่พฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภค (Physical Evidence) และกระบวนการ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว กอปรกับลักษณะ (Process) เข้าไปด้วยยิ่งท�าให้การออกแบบ ของสินค้าซึ่งมี 3 ด้านตามหลักทฤษฎีในทาง บริการยุ่งยากมากขึ้น ดังนั้นแนวทาง HFA ที่ได้ การตลาด (Kotler and Keller, 2006) มีการ จากการศึกษาครั้งนี้จะส่งเสริมให้งานออกแบบ แบ่งมิติภาพลักษณ์ของสินค้าออกเป็น 3 แบบ มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น คือ (1) ภาพลักษณ์ทางสัญลักษณ์ (symbolic image) (2) ภาพลักษณ์ด้านหน้าที่ (functional ข้อเสนอแนะ image) และ (3) ภาพลักษณ์ด้านอารมณ์ งานศึกษาครั้งนี้ศึกษาเฉพาะการ (emotional image) โดยแต่ละลักษณะก็มี ออกแบบอัตลักษณ์สินค้าที่จับต้องได้ ซึ่งใน รายละเอียดที่เรียกว่าระดับ (level) จ�านวนมาก การตลาดปัจจุบันอัตลักษณ์ที่จับต้องไม่ได้ ส่งผลให้การออกแบบสินค้าตามใจผู้บริโภค ของสินค้าที่มีความเกี่ยวข้องกับผู้บริโภคในเชิง แต่ละคนที่เรียกว่า การท�า customization เป็น อารมณ์ การใช้ชีวิต รูปแบบการคิดมีผลอย่างมาก สิ่งที่นักการตลาดจะด�าเนินการออกแบบสินค้า ต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า แต่อัตลักษณ์สินค้า/ แบบดั้งเดิม (traditional style) ไม่ได้อีกแล้ว บริการในลักษณะดังกล่าวยากและซับซ้อน งานวิจัยนี้จึงน�าเสนอวิธีการแบบอัตโนมัติ โดย ในการออกแบบแต่ผลประโยชน์ทางการค้ามีค่า การบูรณาการเทคนิคทางสถิติการวิเคราะห์ปัจจัย สูงมาก เช่น ธุรกิจบริการความงาม ธุรกิจเพื่อ (Factor Analysis) โดยขยายให้เป็นสายล�าดับ สุขภาพ การศึกษาในหัวข้อดังกล่าวน่าจะส่งเสริม (Hierarchical Factor Analysis: HFA) และน�าไป ประโยชน์ในแง่ของความรู้และการน�าไปใช้ ใช้กับ Conjoint Analysis ด้วยผลงานศึกษานี้ ประโยชน์ในการออกแบบในทางการตลาด วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 282

REFERENCES

Addelman, S. (1962). Orthogonal Main-Effect Plans for Asymmetrical Factorial Experiment., Technometrics, 4, 21-46. Anderson, N.H. (1981). Foundations of Information Integration Theory. New York: Academic Press. Anderson, N.H. (1982). Methods of Information Integration Theory. New York: Academic Press. Balakrishnan P. V. (Sundar), & Jacob, V. S. (1996). Genetic algorithms for product design. Management Science, 42(8), 1105-1117. Easton L., D.J. Murphy, J.N. Pearson (2002). Purchasing performance evaluation: with data envelopment analysis, European Journal of Purchasing & Supply Management, 8, 123-134. Friedman L. & Sinuany-Stern Z. (1997). Scaling units via the canonical correlation analysis in the DEA context, European Journal of Operations Research, 100(3), 629-637. Green, P.E. and Krieger, A.M. (1993). Conjoint Analysis with Product-Positioning Applications, in Handbooks in OR&MS, Jehoshua Eliashberg and Gary L. Lilien, eds. Elsevier Science Publishers, 5, 467-513. Green, P. E., & Krieger, A. M. (1996). Individualized hybrid models for conjoint analysis. Management Science, 42(6), 850-867. Green, P.E.; Krieger, A.M. and Wind, Y. (2001). Thirty Years of Conjoint Analysis: Reflections and Prospects, Interfaces, 31, S56-S73. Hair, J.F.; Anderson, R.E. Tatham, R.L. and Black, W.C. (1999). Multivariate Analysis. 5th ed. Madrid, Prentice Hall. Hise, R. & Young-Tae, C. (2011). Are US companies employing standardization or adaptation strategies in their international markets?, Journal of International Business and cultural studies, 4, 1-29. Johnson, M. (1988). Comparability and hierarchical processing in multi attribute Choice. Journal of Consumer Research, 15, December, 303-314. Kotler, P. & Keller, K. (2006). Marketing Management. 12th Edi, Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Prentice Hall. Louviere, J.J. (1988). Analyzing Decision Making. Metric Conjoint Analysis, Newbury Park, Sage Publications Inc. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 283

Louviere, J.J. and Timmermans, H.J.P. (1990a). Hierarchical Information Integration applied to residential choice behavior. Geographical Analysis, 22, 127-145. Louviere, J.J. and Timmermans, H.J.P. (1990b). Using hierarchical information integration to model consumer responses to possible planning actions: recreation destination choice illustration. Environment and Planning A, 22, 291-309. Iyengar, S., & Lepper, M. (2000). When choice is demotivating: Can one desire too much of a good thing?. Journal of Personality and Social Psychology, 79, 995-1006. Louviere, J. J., Hensher, D. A., & Swait, J. D. (2004). Stated preference methods: Analysis and application. Cambridge. UK: Cambridge University Press. Mick, D. G. (2005). Choice writ larger. Newsletter of the Association for Consumer Research. Retrieved March 6, 2017, from http://www.acrwebsite.org/ Molin, E.J.E. and Timmermans, J.P. (2009). Hierarchical Information Integration Experiments and Integrated Choice Experiments. Transport Reviews, 1-21. Myers, J.H. and Mullet, G.M. (2003). Managerial Applications of Multivariate Analysis In Marketing. American Marketing Association, Chicago, Illinois. Oppewal, H. Virens, M. (2000). Measuring perceived service quality using integrated conjoint experiments. International Journal of Bank Marketing, 18(4), 154-169. Strack, F., Werth, L., & Deutsch, R. (2006). Reflective and impulsive determinants of Consumer behavior. Journal of Consumer Psychology, 16,205-216. Waldman, S. (1992). The tyranny of choice: Why the consumer revolution is ruining your life. New Republic, 22–25. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 284

บทความวิจัย

วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูง และวัฒนธรรมไทย ที่ส่งผลต่อการฝังลึกในงานวิชาชีพพยาบาล: โรงพยาบาลภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร THE EFFECT OF HIGH PERFORMANCE WORK PRACTICES AND THAI CULTURE ON JOB EMBEDDEDNESS OF NURSING PROFESSION: THE EVIDENCE OF GOVERNMENT HOSPITAL IN SAMUTSAKHON PROVINCE ชุติมา นิลเพ็ชร์1* และ ระพีพรรณ พิริยะกุล2 Chutima Nilphet1* and Rapepun Piriyakul2

หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยรามค�ำาแหง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1* ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย2 Doctor of Business Administration Program in Business Management, Ramkhamhaeng University Bangkok, Thailand1* Department of Computer Science, Faculty of Science, Ramkhamhaeng University Bangkok, Thailand2

Email: [email protected]*

Received: 2019-02-15 Revised: 2019-03-07 Accepted: 2019-06-14

บทคัดย่อ อาชีพพยาบาลเป็นอาชีพที่ค่อนข้างเสียสละเพราะงานหนัก แต่ก็เป็นอาชีพที่สังคมยกย่อง ในมุมมองงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนี้มักจะเป็นการศึกษาถึงสาเหตุการลาออก ในขณะที่พยาบาล วิชาชีพกลุ่มใหญ่ก็ยังรักและท�ำงานในอาชีพนี้จนปลดเกษียณในสังคมไทย ในกรณีนี้มักเรียกว่า เป็นความฝังลึกในงานที่ท�ำ ประเด็นนี้จึงน�ำมาสู่การวิจัยในบริบทสังคมที่มีวัฒนธรรมไทย ผนวกกับการ น�ำหลักบริหารทรัพยากรมนุษย์แนวใหม่ที่เรียกว่า วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูงมาเป็น ปัจจัยอิสระศึกษาร่วมกับปัจจัย การควบคุมตนเอง การมีสติ ที่ส่งผลต่อการฝังลึกในงาน โดย ศึกษา กับประชากรที่เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ท�ำงานในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างในอุตสาหกรรม วัตถุประสงค์งานวิจัยเพื่อศึกษาระดับของปัจจัย ในตัวแบบและ ศึกษา ปัจจัยวิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูง และวัฒนธรรมไทย ที่ส่งผลต่อการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 285

มีสติ และการควบคุมตนเอง และน�ำไปสู่การฝังลึกในงาน ในการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ การศึกษา ใช้ขนาดตัวอย่าง 400 หน่วยและใช้แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงชั้นภูมิอย่างง่าย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลรวมสูงสุด ที่ส่งผลต่อการฝังลึกในงาน คือปัจจัยวัฒนธรรมไทยซึ่งให้ค่า 0.72 ในส่วนของเส้นอิทธิพล วัฒนธรรมไทย ส่งผลเชิงบวกต่อการควบคุมตนเอง และ การมีสติ ด้วยระดับ นัยส�ำคัญยิ่ง

ค�ำส�ำคัญ: วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูง วัฒนธรรมไทย การฝังลึกในงาน

ABSTRACT The nursing career is a career of hard working sacrificed. But it is an admirable job in Thai society. The previous study focused on the cause of job burnout, while many professional nurses has still love and work in this profession until retirement. In this case, often referred to as the embedding of job issue. Therefore, it leads to this research in the context of Thai culture and new contemporary of HR Management: High Performance Work Practices as independent factors that effect to job embeddedness with two intermediate factors: mindfulness and self-control. The objectives of this study were to investigate the level of all factors in the conceptual model and the influence of High-performance Work Practices and Thai Culture on job embeddedness with intermediate factors, Mindfulness, and Self-control. There were 400 samples by stratified random sampling from professional nurse and works in a public hospital in Samutsakhon province. The study indicated that the highest factors effected to the job embeddedness was Thai culture at 0.72. Moreover, Thai culture has positive effects on self-control and mindfulness with highly significant.

Keyword: High Performance Work Practices, Thai culture, Job Embeddedness

บทน�ำ การพัฒนาทางอุตสาหกรรม ส่งผลให้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการดูแลสุขภาพและ ทั้งบวกและลบต่อประเทศ ในด้านบวกคือการ รักษาพยาบาลต้องมีภาระมากขึ้น ดังที่ปรากฏ มีรายได้เพิ่มขึ้น แต่ในด้านลบก็คือสุขภาพของ ในส่วนของภาครัฐต่อการก�ำหนด แผนพัฒนา ประชากรมีความเจ็บป่วยมากขึ้นจากมลภาวะ สุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ตลอดจนเกิดอุบัติเหตุมากขึ้นจากการท�ำงาน ในยุทธศาสตร์ที่ 3 เพื่อพัฒนาและสร้างกลไก และเดินทาง ส่งผลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการก�ำลังคน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 286

ด้านสุขภาพ (People Excellence) ทั้งนี้เพราะ ในงาน (job embeddedness) จากการตรวจสอบ ก�ำลังคนด้านสุขภาพเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญ โดยภาพรวมของพื้นฐานสังคมไทยและหลักการ ในการสร้างทุนมนุษย์ที่เป็นสินทรัพย์ทางปัญญา บริหารพบว่าสาเหตุอาจจะมาจากการมีศาสนาพุทธ ของประเทศและขององค์การ เป็นหลักยึดเหนี่ยวในค�ำสอนสู่การปฏิบัติ การพัฒนาสุขภาพ เพื่อให้ประสบความ (Buddhadassa Bhikkhu, 2006) และจาก ส�ำเร็จต้องอาศัยทรัพยากรหลายด้านเข้ามา หลักพรมวิหาร 4 ตามแนวคิดทางพุทธของ สนับสนุนเช่น เงิน เทคโนโลยีที่ทันสมัย นอกเหนือ พระพรหมคุณาภรณ์ (Phra Promkhunapon, จากนี้ที่ขาดไม่ได้คือ “พยาบาล” ซึ่งเป็นบุคลากร 2003) และในส่วนที่มาจากปัจจัยการบริหาร ทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่มีความ ของหน่วยพยาบาลที่ส่งเสริมการคงอยู่ของ ส�ำคัญมากในการดูแล ส่งเสริม ป้องกัน รักษา อาชีพพยาบาลคือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และฟื้นฟูสุขภาพของประชาชน ซึ่งเป็นที่ยอมรับ โดยการฝึกอบรมในลักษณะของการส่งเสริม โดยทั่วไปว่า “พยาบาล” เป็นก�ำลังที่มีความ สมรรถนะการท�ำงานที่เรียกว่า วิธีการปฏิบัติ ส�ำคัญและมีสัดส่วนมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบ เพื่อผลการปฏิบัติงานสูง (High Performance กับบุคลากรด้านสุขภาพในระบบบริการสุขภาพ Work Practices) เพื่อให้สามารถใช้เทคนิค ซึ่งปฏิบัติงานในทุกระดับการดูแลทั้งระดับปฐมภูมิ สมัยใหม่ทางการพยาบาล อันจะท�ำให้พยาบาล ทุติยภูมิและตติยภูมิ เนื่องจากงานพยาบาล มีความสุขมากขึ้น (Carlisle, Bhanugopan & Fish, เป็นงานหนักเพราะต้องดูแลคนไข้รวมทั้งญาติของ 2011; Gkorezis, Georgiou & Theodorou, 2018) คนไข้ในภาวะวิกฤติ ดังนั้นงานวิจัยในอดีตส่วนใหญ่ จากเหตุผลที่กล่าวมานี้จึงเป็นที่มาของ จึงศึกษาสาเหตุของการลาออก การย้ายงาน การสืบสวนปัจจัยสาเหตุในการธ�ำรงคงอยู่อาชีพ (American Mobile Nursing, 2017) และการ พยาบาลโดยใช้มิติของ การฝังลึกในอาชีพ ร่วมกับ บริหารเรื่องดุลยภาพงานกับชีวิต (Sousa , ปัจจัยคั่นกลางที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม Scheffler, Nyoni & Boerma, 2013) ในส่วน การฝังลึกในอาชีพ มาประกอบในการศึกษาครั้งนี้ ของประเทศไทยเองก็ประสบปัญหานี้เช่นกัน โดยความส�ำคัญที่จะได้จากการศึกษาครั้งนี้ (Sawangdee, 2007) แต่ในทางกลับกันก็พบว่า เพื่อน�ำไปสู่กระบวนการบริหารบุคลากรสายนี้ พยาบาลวิชาชีพในประเทศไทยจ�ำนวนมาก ให้มีอัตราการคงอยู่สูงขึ้นทั้งนี้เพื่อสนับสนุน ก็ยังคงอยู่ในอาชีพเดิมถึงแม้จะมีงานมากและเกิด มาตรฐานการดูแลสุขภาพของประเทศไทย ความเครียด (Sawangdee, 2007) จึงท�ำให้ เพื่อสร้างก�ำลังคนที่เข้มแข็ง (National Health เกิดค�ำถามว่า สาเหตุใดที่ยังเป็นแรงยึดให้บุคลากร Security Office, 2016) ซึ่งเป็นหัวใจของ กลุ่มนี้ยังอยู่ในอาชีพพยาบาลที่เรียกว่า การฝังลึก ยุทธศาสตร์ชาติ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 287

วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตการวิจัย 1. เพื่อศึกษาวิธีการปฏิบัติเพื่อผลการ ด้านเนื้อหา ศึกษาเฉพาะปัจจัยเหตุ ปฏิบัติงานสูง และวัฒนธรรมไทย ในการรับรู้ของ คือ วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูง และ พยาบาลวิชาชีพ วัฒนธรรมไทย ปัจจัยคั่นกลางคือ การมีสติ และ 2. เพื่อศึกษาการมีสติ และการควบคุม การควบคุมตนเอง ปัจจัยผลคือ การฝังลึกในงาน ตนเอง ในการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ของพยาบาลวิชาชีพ 3. เพื่อศึกษาวิธีการปฏิบัติเพื่อผลการ ด้านประชากร กลุ่มประชากรที่ศึกษา ปฏิบัติงานสูง และวัฒนธรรมไทย ที่ส่งผลต่อ ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ที่มีสถานภาพเป็นพยาบาล การมีสติ และการควบคุมตนเอง และน�ำไปสู่ วิชาชีพ และปฏิบัติงานในโรงพยาบาลภาครัฐ การฝังลึกในงาน ในการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีขนาด 250 เตียงขึ้นไป ด้านสถานที่และเวลาในการเก็บข้อมูล สมมติฐานของการวิจัย โรงพยาบาลภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร เก็บรวบรวม H1: วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงาน ข้อมูลภาคสนาม ในช่วงเดือน พฤศจิกายน สูงมีอิทธิพลต่อการมีสติ พ.ศ. 2561 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 H2: วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงาน สูงมีอิทธิพลต่อการควบคุมตนเอง กรอบแนวคิดของการวิจัย H3: วัฒนธรรมไทยมีอิทธิพลต่อการมีสติ กรอบแนวคิดการวิจัยในครั้งนี้ อยู่บน H4: วัฒนธรรมไทยมีอิทธิพลต่อการ พื้นฐานของการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎี ควบคุมตนเอง ที่น�ำเสนอมาเป็นล�ำดับโดยเชื่อมโยงอิทธิพลของ H5: การมีสติมีอิทธิพลต่อการฝังลึก ตัวแปร และจากการทบทวนวรรณกรรมดังที่ ในงานของพยาบาลวิชาชีพ กล่าวไว้ทั้งหมดแล้วในเบื้องต้น สามารถสรุปเป็น H6: การควบคุมตนเองมีอิทธิพลต่อ ภาพกรอบแนวคิดในการวิจัย ได้ดังนี้ การฝังลึกในงานของพยาบาลวิชาชีพ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 288

TRA

EMP HPWPs REW MF TW JE

COM SC

CAR TC

ART

ความหมาย 2.1 การสื่อสาร (Communication-- 1. วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงาน COM) สูง (High Performance Work Practices-- 2.2 การดูแลอย่างเอื้ออาทร (Caring-- HPWPs) CAR) 1.1 การฝึกอบรม (Training--TRA) 2.3 ศิลปะและสุนทรียศาสตร์ (Art 1.2 การเสริมพลัง (Empowerment- & Aesthetic--ART) -EMP) 3. การมีสติ (Mindfulness--MF) 1.3 การให้รางวัล (Rewards--REW) 4. การควบคุมตนเอง (Self-Control-- 1.4 การท�ำงานเป็นทีม (Teamwork- SC) -TW) 5. การฝังลึกในงาน (Job Embeddedness 2. วัฒนธรรมไทย (Thai Culture--TC) --JE) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 289

ระเบียบวิธีวิจัย r2 – 450r + 1100 จาก ตัวแปรเชิงประจักษ์ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ตัวชี้วัด (indicators variable) กับตัวแปรแฝง ที่ประกอบด้วย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง (latent variables) ซึ่งในงานวิจัยนี้ประกอบด้วย ยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) และการ indicators = 34 และ latent = 5 ดังนั้น r = 7 ทดสอบเพื่อยืนยันตัวแบบ (Model Confirmatory โดยค�ำนวณขนาดตัวอย่างขั้นต�่ำคือ 400 แผน Analysis) โดยในตัวแบบมีปัจจัยล�ำดับที่ 2 การสุ่มตัวอย่างใช้ แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงชั้นภูมิ ในส่วนของปัจจัยภายนอก (Exogenous factor) แบบง่าย (stratified simple random sampling) โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์แบบ Covariance โดยด�ำเนินการแบ่งชั้นภูมิตามโรงพยาบาล และ Based จัดสรรขนาดตัวอย่างแบบสัดส่วน (proportional ประชากร คือ พยาบาลวิชาชีพใน to size) หลังจากนั้นจึงใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง โรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ขนาด แบบง่ายกับพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลใน ตัวอย่างจ�ำนวน 400 ตัวอย่าง โดยค�ำนวณมาจาก แต่ละชั้นภูมิ (ตารางที่ 1) เกณฑ์ขั้นต�่ำของ Westland (2010) n>= 50

ตารางที่ 1 จ�ำนวนประชากรและขนาดตัวอย่างย่อย

ชื่อโรงพยาบาล จ�ำนวนประชากร ขนาดตัวอย่าง โรงพยาบาลสมุทรสาคร 360 270 โรงพยาบาลกระทุ่มแบน 195 130 รวมทั้งสิ้น 555 400 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 290

การตรวจสอบเครื่องมือ ข้อมูลที่ใช้ใน 20,001 - 30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 34 รองลงมา การวิเคราะห์ คือแบบสอบถามที่สร้างมาจากการ คือ 30,001 - 40,000 บาท มีจ�ำนวนร้อยละ 24 ทบทวนวรรณกรรมและใช้มาตรวัดแบบ 5 ระดับ อายุการท�ำงาน 20 ปีขึ้นไป มีมากที่สุดคือ ที่ผ่านการท�ำตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ร้อยละ 29 รองลงมาคือ ไม่เกิน 5 ปี จ�ำนวน (IOC) ตามเกณฑ์จากผู้เชี่ยวชาญ และการ ร้อยละประมาณ 27 สังเกตได้ว่า พยาบาล ทดสอบความเที่ยงตรงเชิงมาตรวัด (Reliability ในโรงพยาบาลที่สุ่มมาศึกษานี้มีความรักในอาชีพ Test) ด้วยการใช้ท�ำการทดสอบพบว่า ทุกปัจจัย เพราะมีจ�ำนวนการคงอยู่ในอาชีพสูงมาก มีค่า Cronbach’s Alpha มากกว่า 0.7 ทุกรายการ ต�ำแหน่งงานในกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาส่วนใหญ่ เป็นพยาบาลวิชาชีพ ระดับช�ำนาญการมีจ�ำนวน สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ร้อยละ 57 รองลงมาคือ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ สรุปผลการวิจัย ปฏิบัติการมีจ�ำนวนร้อยละ 41 ส่วนที่ (1) พื้นฐานทางประชากรศาสตร์ ส่วนที่ (2) ผลการวิเคราะห์ ระดับการ และการท�ำงาน พบว่า หน่วยตัวอย่างเป็นเพศหญิง ประเมินตนเองของหน่วยตัวอย่างใน ปัจจัย คิดเป็นร้อยละ 97 กลุ่มอายุระหว่าง 20 - 39 ปี วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูง มีจ�ำนวนร้อยละ 60 การศึกษาส่วนใหญ่คิดเป็น (HPWPs) และวัฒนธรรมไทย (TC) การมีสติ ร้อยละประมาณ 94 คือ ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (MF) การควบคุมตนเอง (SC) และ การฝังลึก มีรายได้มากที่สุดในช่วง รายได้ปานกลางคือ ในงาน (JE) เพื่อตอบวัตถุประสงค์ที่ 1 และ 2 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 291

ตารางที่ 2 ค่าสถิติของแต่ละปัจจัยโดยภาพรวม

ปัจจัย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน สัมประสิทธิ์ แปลผล มาตรฐาน แห่งความผันแปร วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูง (HPWPs) 3.762 0.886 0.236 มาก วัฒนธรรมไทย (TC) 4.193 0.622 0.148 มาก การมีสติ (MF) 4.110 0.601 0.146 มาก การควบคุมตนเอง (SC) 4.083 0.628 0.154 มาก การฝังลึกในงาน (JE) 4.105 0.695 0.169 มาก

จากตารางที่ 2 พบว่าปัจจัยอิสระ คือ ส่วนที่ (3) เพื่อศึกษาตัวแบบสมการ HPWPs และ TC นอกจากค่าเฉลี่ยของ TC โครงสร้าง วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงาน มีค่าสูงกว่าและยังมีการกระจายน้อยกว่าปัจจัย สูง (HPWPs) และวัฒนธรรมไทย (TC) ส่งผล HPWPs ในส่วนของปัจจัยคั่นกลาง คือ MF ต่อการมีสติ (MF) และการควบคุมตนเอง (SC) และ SC มีขนาดใกล้เคียงกันในด้านค่าเฉลี่ย และน�ำไปสู่การฝังลึกในงาน (JE) ในการรับรู้ แต่ปัจจัย MF มีคะแนนการเกาะกลุ่มมากกว่า ของพยาบาลวิชาชีพ เนื่องจากค่า สัมประสิทธิ์แห่งความผันแปร 0.146 ตอบวัตถุประสงค์ที่ 3 และสมมติฐาน ต�่ำกว่าของ SC ที่มีค่า 0.154 ส่วนปัจจัย JE ซึ่งประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ มีค่าเฉลี่ยในระดับมากและค่าสัมประสิทธิ์แห่ง (1) การท�ำ Confirmatory Factor ความผันแปรมีขนาดเพียงร้อยละ ประมาณ 20 Analysis เพื่อยื่นยันการจัดกลุ่มตัวแปรเชิง ซึ่งเกณฑ์ที่ตัดสินว่าสูง คือ ร้อยละ 25 ประจักษ์ในแต่ละปัจจัย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 292

ภาพที่ 1 การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยัน (CFA: Confirmatory Factor Analysis)

การวิเคราะห์ปัจจัยทั้งปัจจัยหลักและ CFI = 0.925 ซึ่งถือว่าการแบ่งตัวแปรในแต่ละ ปัจจัยล�ำดับที่สอง พบว่า ค่าน�้ำหนักตัวแปร ปัจจัยเหมาะสม ไม่ทับซ้อนกัน (Byrne, 1994 ; เชิงประจักษ์ในแต่ละตัวในแต่ละปัจจัยมีค่า Anderson and Gerbing, 1993 ; Hu and Bentler, 0.62 - 0.98 และมีดัชนีความกลมกลืน (Fit Index) 1995 ; Marsh, Balla, and McDonald , 1988) คือ Chi-Square/df = 2.569, RMR = 0.029, (2) การทดสอบตัวแบบตามกรอบ RMSEA = 0.063, GFI = 0.928, AGFI = 0.917, แนวคิดของการศึกษา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 293

ภาพที่ 2 ภาพการวิเคราะห์อิทธิพล ปัจจัยความฝังลึกในงานผ่านปัจจัยคั่นกลาง ตามกรอบแนวคิด

ตารางที่ 3 ค่าดัชนีความกลมกลืนเหมาะสมที่นิยมใช้จากการวิเคราะห์ตัวแบบตามกรอบแนวคิด

ดัชนี ค่า ค่ามาตรฐาน อ้างอิง Chi Square 1221.824 - - Degree of Freedom 500 - - χ2/dƒ 2.239 <= 3.00 Kline (1998), Ullman (2001)* RMSEA 0.060 < 0.08 Browne and Cudeck (1993) P value 0.000 > 0.05 P = 0.05 CFI 0.929 > 0.93 Byrne (1994) GFI 0.911 > 0.90 Byrne (1994); Schumacker and Lomax (2004) AGFI 0.903 > 0.90 Byrne (1994) RMR 0.040 < 0.08 Browne and Cudeck (1993)

หมายเหตุ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิเคราะห์โดยทั่วไปค่า ผลการทดสอบด้วยดัชนีมาตรฐานตาม p-value > 0.05 มักไม่ใช้กันในการตัดสิน หลักการของ SEM แบบ Covariance Based ได้ (Schlermelleh-Engel et al. 2003; Vandenberg ค่า 2006; Kenny, 2015) (1) P = 0.000 ทั้งนี้เนื่องจากการใช้ค่า (2) ดัชนีความกลมกลืนดังนี้ = p –value > 0.05 เป็นการตรวจสอบความ 2.439 (Relative Chi-Square [is considered เหมาะสม มักใช้ไม่ค่อยได้ด้วยเหตุผลที่ค่าดังกล่าว satisfactory when < 3 in large samples มักจะไม่เสถียรขึ้นกับ สาเหตุสองประการ คือ (N > 200), < 2.5 in medium-sized samples ความซับซ้อนของตัวแบบ (จ�ำนวนตัวแปรเชิง (100 < N < 200), and < 2 in small samples ประจักษ์ และตัวแปร Construct) และขนาด (N < 100) ) ดังนั้นค่า ผ่านเกณฑ์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 294

ตารางที่ 4 สัมประสิทธิ์ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสถิติ t ในการวิเคราะห์

ความสัมพันธ์ สัมประสิทธิ์มาตรฐาน ค่า t Stat สรุปผล HPWPs => SC -0.095 -1.853 ไม่มีอิทธิพล HPWPs => MF -0.053 -1.045 ไม่มีอิทธิพล TC => SC 0.928*** 11.662 มีอิทธิพลเชิงบวก TC => MF 0.929*** 12.232 มีอิทธิพลเชิงบวก SC => JE 0.321*** 4.089 มีอิทธิพลเชิงบวก MF => JE 0.321*** 4.151 มีอิทธิพลเชิงบวก หมายเหตุ: *** p < 0.001

สรุปการทดสอบสมมติฐานในตาราง 3 สมมติฐานพบว่า ปัจจัยวัฒนธรรมไทยมีอิทธิพล วัฒนธรรมไทย (TC) ส่งผลเชิงบวกต่อการควบคุม ต่อตัวแปรคั่นกลาง คือการมีสติ และการควบคุม ตนเอง (SC) และ การมีสติ (MF) ด้วยระดับ ตนเองในระดับนัยส�ำคัญยิ่ง และการมีสติ และ นัยส�ำคัญยิ่ง ส่วน ปัจจัย การควบคุมตนเอง (SC) การควบคุมตนเอง ก็มีอิทธิพลต่อการฝังลึกในงาน และการมีสติ (MF) ส่งผลเชิงบวกต่อการฝังลึกใน เช่นกันในระดับนัยส�ำคัญยิ่ง งานของพยาบาลวิชาชีพด้วยระดับนัยส�ำคัญยิ่ง อภิปรายผลการวิจัย เช่นกัน อาชีพพยาบาลส่วนใหญ่เป็นสตรี การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ร้อยละ 29 อายุงานมากกว่า 20 ปีขึ้นไป และ ฝังลึกในงาน (JE) คือ วัฒนธรรมไทย (TC) โดย มีรายได้เฉลี่ย 20,001 - 30,000 บาท ซึ่งจัดว่า มีค่าอิทธิพลรวมสูงถึง 0.702 โดยส่งผ่านปัจจัย เป็นรายได้ระดับปานกลางในสังคมเมือง โดย การควบคุมตนเอง (SC) และการมีสติ (MF) ส่วนใหญ่เป็นพยาบาลวิชาชีพ ระดับช�ำนาญการ วัตถุประสงค์ที่ (1) และ (2) พบว่า มีจ�ำนวนร้อยละ 57 รองลงมาคือ พยาบาลวิชาชีพ ระดับค่าปัจจัยในตัวแบบพบว่าทุกปัจจัยมีค่า ระดับปฏิบัติการมีจ�ำนวนร้อยละ 41 ในส่วน ในระดับมากโดยมีต�่ำสุดคือวิธีการปฏิบัติเพื่อ ของปัจจัย วิธีการปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูง ผลการปฏิบัติงานสูง ซึ่งมีค่า 3.762 และค่า มีประเด็นที่โดดเด่นคือการท�ำงานเป็นทีม สัมประสิทธิ์แห่งความผันแปรสูงถึงร้อยละ 24 ซึ่งลักษณะงานของอาชีพมีการสอนการท�ำงาน ส่วนปัจจัยที่มีค่าสูงสุดคือ ปัจจัยวัฒนธรรมไทย เป็นทีม มีการกระจายงานตามความรับผิดชอบ ที่มีค่าค่าสัมประสิทธิ์แห่งความผันแปรสูงเพียง ของแต่ละต�ำแหน่งตามบทบาทหน้าที่ พร้อมด้วย ร้อยละ 15 ซึ่งแสดงว่า ปัจจัยวัฒนธรรมไทย การท�ำงานร่วมกับสหวิชาชีพในการวางแผน มีระดับการรับรู้สูงกว่า ปัจจัยวิธีการปฏิบัติเพื่อ การดูแล ผลการปฏิบัติงานสูงที่องค์กรเป็นผู้สนับสนุน ปัจจัยวัฒนธรรมไทยมีความโดดเด่น ในส่วนของวัตถุประสงค์ที่ (3) เป็นทดสอบ ในสังคมไทยและถูกซึมซับในตัวคนไม่ว่าจะท�ำงาน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 295

อาชีพอะไร ก็มักมองเป็นครอบครัวเดียวกัน ของวัฒนธรรมไทย และการสร้างสมรรถนะสูง การสื่อสารที่ดีจะให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และ ในการท�ำงาน ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า ปัจจัย ความเอื้ออาทรต่อกัน ศิลปะและสุนทรียศาสตร์ ล�ำดับที่สองของปัจจัยหลักคือวิธีการปฏิบัติเพื่อ โดยคะแนนเฉลี่ยในข้อถามในแต่ละปัจจัยอยู่ใน ผลการปฏิบัติงานสูงที่มีค่าระดับต�่ำคือ การให้ ระดับมาก ซึ่งแสดงถึงจุดแข็งของ วัฒนธรรมไทย รางวัล ส่วนปัจจัยล�ำดับที่สองที่มีค่าสูงสุดคือ ที่มีต่อศาสตร์เรื่องการดูแล ส่วนปัจจัยการมีสติ การท�ำงานเป็นทีม ในส่วนนี้ ถ้าผู้บริหารสามารถ และการควบคุมตนเอง ในฐานะปัจจัยคั่นกลาง ใช้กลยุทธ์การให้รางวัลที่เป็นรับรู้ในเชิงอารมณ์ ทั้งสองปัจจัย ค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมทั้งในระดับ เช่น การยกย่อง การประกาศบุคลากรดีเด่นในการ ตัวแปรเชิงประจักษ์อยู่ในระดับมาก และปัจจัย ท�ำงานก็จะเป็นส่วนหนึ่งที่สามารถผลักดันให้ปัจจัย ผลในเรื่องการฝังลึกในงาน โดยภาพรวมอยู่ใน การจัดการการสร้างสมรรถนะสูงในการท�ำงาน ระดับมาก เข้มแข็งขึ้นและส่งผลต่อการเพิ่มระดับความ การทดสอบผลทางตรงของปัจจัยวิธี ฝังลึกในงาน การปฏิบัติเพื่อผลการปฏิบัติงานสูง และปัจจัย นอกจากนี้ถ้ามีการน�ำหลักการเชิงศาสนา วัฒนธรรมไทย ภาพรวมของการวิเคราะห์ทั้งสอง เข้าไปสนับสนุนการศึกษาในวิชาชีพนี้จะเป็นการ ปัจจัยมีผลทางตรงต่อการฝังลึกในงาน และเมื่อ ปลูกฝังในความเข้าใจในอาชีพตลอดจนสร้าง น�ำมาวิเคราะห์เส้นอิทธิพลผลทางตรงและอ้อม การฝังลึกในงาน นอกจากนี้องค์การก็ควรมีการ ต่อปัจจัยการฝังลึกในงานผ่านปัจจัยคั่นกลาง สร้างแรงจูงใจและมีการใช้ทรัพยากรเทคโนโลยี ผลการทดสอบสมมติฐาน ปัจจัยวิธีการปฏิบัติ เข้าช่วยสนับสนุน อันจะเป็นการส่งเสริมการ เพื่อผลการปฏิบัติงานสูง ด้านการฝึกอบรม ท�ำงาน และลดปริมาณงานเพื่อส่งเสริมดุลยภาพ การเสริมพลัง การให้รางวัลและการท�ำงาน ชีวิตและงานให้ดีขึ้น ลดความเครียด ซึ่งจะส่งผล เป็นทีม ไม่มีอิทธิพลต่อการควบคุมตนเองและ ต่อการคงอยู่ในงานอาชีพนี้ต่อไป นอกจากนี้ การมีสติ จึงไม่เพียงพอที่สร้างให้เกิดการฝังลึก ควรมีการสร้างต�ำแหน่งในสายงานนี้เพิ่มขึ้น ในงาน แต่ปัจจัยวัฒนธรรมไทย ด้านการสื่อสาร เพื่อให้พยาบาลเห็นความก้าวหน้าได้มากขึ้น การดูแลอย่างเอื้ออาทร ศิลปะและสุนทรียศาสตร์ เหมือนสายงานอื่น ๆ ในองค์การ การขาดการ ซึ่งเป็นวิถีปฏิบัติที่ไทยสืบทอดกันมาส่งผลเชิงบวก ส่งเสริมส่วนของการฝึกอบรมเพื่อผลการท�ำงานสูง ต่อการควบคุมตนเอง และ การมีสติด้วยระดับ เป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้การท�ำงานไม่มีประสิทธิภาพ นัยส�ำคัญยิ่ง เท่าที่ควรในยุคของเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการรักษาคนไข้ ข้อเสนอแนะ ในเชิงนโยบายและทฤษฎี ในเชิงบริหาร งานวิจัยแสดงตัวแบบในการสร้างการ ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นอัตราการ ฝังลึกในงานว่า โดยตัวแบบทั่วไปต้องอาศัยปัจจัย คงอยู่ของอาชีพพยาบาลซึ่งงานศึกษาในบริบท บริหารหลาย ๆ ปัจจัยจึงจะรักษาบุคลากรไว้ได้ แต่ใน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 296

งานนี้พบว่า ในวัฒนธรรมไทย เพียงปัจจัยเดียว คือการฝังลึกในงาน ถือว่าเป็นข้อค้นพบใหม่นี้ ก็สามารถสร้างพลังดึงดูดให้คนท�างานได้ ซึ่งได้ ที่ขยายผลการบริหารบุคลากรว่า ถ้ามีการสร้าง จากปรากฏการณ์ในสังคมไทยของหน่วยกู้ชีพ ปัจจัยทั้งสองนี้ให้เกิดในตัวพนักงานได้ การธ�ารง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอาสาสมัคร ไม่ได้รับผลตอบแทน คงอยู่ของบุคลากรก็จะสูงขึ้น ยังมีความรักในการท�างาน ดังนั้นในเชิงนโยบาย งานวิจัยในอนาคต ในการศึกษาจึงควรเสริมเนื้อหา วัฒนธรรมไทย ประเด็นที่ควรศึกษาต่อไปคือการ ในบริบทที่ตรงกับสังคมสมัยใหม่ เพื่อสร้างทรัพยากร ใช้ตัวแบบนี้ในการศึกษากับกลุ่มพยาบาล ที่มีคุณภาพในอนาคต บนวัฒนธรรมข้ามชาติในลักษณะ Multi Group นอกจากนี้การศึกษาในเชิงประจักษ์ใน เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยระดับการฝังลึกในงาน ข้อมูลชุดนี้ยังมีข้อค้นพบใหม่เพื่อขยายผลทาง เช่น ปัจจัยวัฒนธรรมพม่า หรือ ปัจจัยวัฒนธรรม ทฤษฎีโดยพบว่า “การควบคุมตนเอง (SC)” และ ศรีลังกาต่อการฝังลึกในอาชีพพยาบาล โดยการ “การมีสติ (MF)” เป็นปัจจัยส่งผ่านอย่างสมบูรณ์ น�าปัจจัยส่งผ่านทั้งสอง คือ การควบคุมตนเอง แบบพหุ (Multiple Complete Mediator) และการมีสติ ที่ได้จากงานนี้ ไปศึกษาในบริบท ระหว่างปัจจัย วัฒนธรรมไทย และปัจจัยผล ของวัฒนธรรมข้ามชาติ

REFERENCE

American Mobile Nursing (AMN). (2017). Nursing staff service. Retrieved February 23, 2018, from https://www.amnhealthcare.com/ Bauer, T.K. (2004). High Performance Workplace Practices and Job Satisfaction: Evidence from Europe’, IZA Discussion Paper, n° 1265. Forschungsinstitut Zur Zukunft der Arbeit : Bonn. Becker, B., Huselid, M., & Beatty, R. (2009). The differentiated workforce: Transforming talent into strategic impact. Boston: Harvard Business Press. Bishop, S. R., Lau, M., Shapiro, S., Carlson, L., Anderson, N. D., Carmody, J., & Devins, G. (2017). Mindfulness: A proposed operational definition. In B. A. Botha, E., Gwin, T., & Purpora, C. (2015). The effectiveness of mindfulness based programs in reducing stress experienced by nurses in adult hospital settings: A systematic review of quantitative evidence protocol. JBI Database of Systematic Reviews and Implementation Reports, 13(10), 21-29. doi:10.11124/jbisrir-2015-2380 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 297

Brown, K. W., & Ryan, R. M. (2017). Perils and promise in defining and measuring mindfulness: Observations from experience. In B. A. Gaudiano, B. A. Gaudiano (Eds.) , Mindfulness: The roots of mindfulness: History, philosophy, and definitions (pp. 536-546). New York: Routledge/Taylor & Francis Group. Browne, M. W., & Cudeck, R. (1989). Single sample cross-validation indices for covariance structures. Multivariate Behavioral Research, 24, 445-455. Buddhadassa Bhikkhu. (2006). Work for working. Bangkok: Sugkapapjai publishing. (in Thai). Byrne, B. M. (1994). Structural equation modeling with EQS and EQS/Windows. Thousand Oaks, CA: Sage Publications. Carlisle, J., Bhanugopan, R., & Fish, A. (2011). Training needs of nurses in public hospitals in Australia: Review of current practices and future research agenda. Journal of European Industrial Training, 35(7), 687-701. Cumming, T.&Worley, C.G. (2001). Organizational development and change. USA: South- Western College Publishing. David, E. G. (1997). Human resource management and performance: A review and research agenda. The International Journal of Human Resource Management, 8(3), 263-276. doi: 10.1080/095851997341630 Gaudiano, B. A. Gaudiano (Eds.). Mindfulness: The roots of mindfulness: History, philosophy, and definitions (pp.384-400). New York, NY, US: Gkorezis, P., Georgiou, L., & Theodorou, M. (2018). High-performance work practices and nurses’ intention to leave: The mediating role of organizational cynicism and the moderating role of human resource management-related educational background. The International Journal of Human Resource Management, 29(3), 465-484. doi:1 0.1080/09585192.2016.1255906 Greedumrongsak, S. & Piriyakul, R. (2018). The influence of organization justice management of organizational commitment: Emergency medicine units in Bangkok metropolis. Rajapark Journal. 12(27), 49-62. (in Thai). Hofstede, G. (1994). Uncommon sense about organizations: Cases, studies, and field observations. Thousand Oaks, CA: SAGE. Holton, B. C., & O’Neill, B. S. (2004). Job embeddedness: A theoretical foundation for developing a comprehensive nurse retention plan. The Journal of Nursing Administration, 34(5), 216-227 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 298

Hong, Y., Jiang, Y., Liao, H., & Sturman, M. C. (2017). High performance work systems for service quality: Boundary conditions and influence processes. Human Resource Management, 56(5), 747-767. doi:10.1002/hrm.21801 Horner, J. K., Piercy, B. S., Eure, L., & Woodard, E. K. (2014). A pilot study to evaluate mindfulness as a strategy to improve inpatient nurse and patient experiences. Applied Nursing Research, 27(3), 198-201. Huselid, M. A. (1995). The impact of human resource management practices on turnover, productivity, and corporate financial performance. Academy of Management Journal, 38(3), 635-672. doi:10.2307/256741 Kabat-Zinn, J. (2017). Mindfulness-based interventions in context: Past, present, and future. In B. A. Gaudiano, B. A. Gaudiano (Eds.). Mindfulness: Clinical applications of mindfulness and acceptance: Specific interventions for psychiatric, behavioural, and physical health conditions (pp. 363-382). New York, NY, US: Routledge/Taylor & Francis Group. Karatepe, O. M. (2016). Does job embeddedness mediate the effects of coworker and family support on creative performance? An empirical study in the hotel industry. Journal of Human Resources in Hospitality & Tourism, 15(2), 119-132. doi:10.1080/15332 845.2016.1084852 Karatepe, G. M. & Vatankhah, S. (2014). The effects of high performance work practices and job embeddedness on flight attendants’ performance outcomes.Journal of Air Transport Management, 27-35. National Health Security Office. (2016). Creation report Universal Health Coverage Annual budget for 2016 (1st ed.). Bangkok: Cabinet and Royal Gazette Publishing Office. (in Thai). Newstrom, J. W. (2007). Organizational behavior (12th Ed.). New Delhi: Tata McGraw. Nonaka, I., & Takeuchi, H. (1995). Managerial and theoretical implications. In, Knowledge-Creating Company (pp. 224-246). Phra Promkhunapon (P.A.Payutto). (2003). Dictionary of Buddhism (12th ed.). Bangkok: Sahathammik Press. (in Thai). Phra Promkhunapon (P.A.Payutto). (2010). A constitution for living. Bangkok: Buddhism publishing. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 299

Robbins, S. P., & Judge, T. A. (2007). Organizational behavior (12th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Routledge/Taylor & Francis Group. Birger, W. (1984). A resource-based view of the firm. Strategic Management Journal, 5, 171-180. doi.org/10.1002/smj.4250050207 Sawamgdee, K. (2007). Working life table and projection of registered nurses workforce supply in Thailand. Thai Population Journal, 1(1), 49-56 (in Thai) Schein, Edgar H. (2010). Organizational culture and leadership (4th ed.). San Francisco: Jossey-Bass. Sousa, A., Scheffler, R. M., Nyoni, J., & Boerma, T. (2013). A comprehensive health labour market framework for universal health coverage. Bulletin of The World Health Organization, 91(11), 892-894. doi:10.2471/BLT.13.118927 Tamkin, P. (2004). High performance work practices, IES research networks, institute for employment studies. Briton, UK: Institute for employment studies Mantell Building. Tang, T., & Tang, Y. (2012). Promoting service-oriented organizational citizenship behaviors in hotels: The role of high-performance human resource practices and organizational social climates. International Journal of Hospitality Management, 31(3), 885-895. doi:10.1016/j.ijhm.2011.10.007 Way, A. 2002. High performance work systems and intermediate indications of firm performance within the US small business sector. Journal of Management. 28(6), 765-785. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 300

บทความวิจัย

การศึกษาเพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ : กรณีศึกษาครูไพฑูรย์ อุณหะกะ A STUDY OF PLENG CHUD BUA LOI OF KRU JAMNIEN SRI-THAI-PAND : CASE STUDY OF KRU PAITOON UNHAKA วิศรุต ภู่นาค1* และ วีระ พันธุ์เสือ2 Visarut Punak1* and Veera Phansue2

หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลันศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Master of Fine Arts Degree Srinakharinwirot University Bangkok Thailand Bangkok, Thailand1*, 2

Email: [email protected]*

Received: 2019-03-13 Revised: 2019-07-08 Accepted: 2019-07-15

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประวัติของครูไพฑูรย์ อุณหกะ (2) เพื่อศึกษา เพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์:กรณีศึกษา ครูไพฑูรย์อุณหกะ การวิจัยนี้เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพโดยการวิจัยเอกสารประกอบด้วย ต�ำรา บทความวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์ งานวิจัย และผ่านการสัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์คือครูไพฑูรย์ อุณหกะ ผลการศึกษา พบว่า ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2508 เป็นบุตรของ นายทองใบ อุณหะกะ กับนางรันจวน อุณหะกะ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาทั้งหมด 6 คน ครูไพฑูรย์ อุณหะกะส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาดนตรีศึกษา จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยครูไพฑูรย์ อุณหะกะ มีผลงานด้านดนตรีมากมาย เช่น การบันทึกเสียงชุด “ลมไม่รู้โรย” (บรรเลงเดี่ยวปี่ใน 3 เพลง คือเพลงกล่อมนารี เพลงม้าย่องและเพลงม้าร�ำ) การบันทึกเสียงชุด “บันทึก ไว้ในประวัติศาสตร์ เสียงของแผ่นดิน” และชุด “เพลงเอกแห่งสยาม” ทั้งหมด 7 ชุด 27 เพลง จากการ เข้าศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท�ำให้ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ได้รับการถ่ายทอดเพลงจากครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์เป็นจ�ำนวนมาก เช่น เพลงม้าย่อง สามชั้น, เพลงม้าร�ำ สามชั้น, เพลงทยอยเดี่ยว และ เพลงชุดบัวลอย เป็นต้น ปัจจุบัน ครูไพฑูรย์ อุณหกะ ด�ำรงต�ำแหน่งครูช�ำนาญการพิเศษ โรงเรียน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 301

สตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ และเป็นอาจารย์พิเศษประจ�ำภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอยนี้ ครูไพฑูรย์ย์ อุณหะกะ ได้รับการถ่ายทอดโดยตรงจากครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ เพียงผู้เดียว โดยได้ปรับปรุงแนวทางในการบรรเลง ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะในเรื่องของ เทคนิคการบรรเลง กลเม็ด ส�ำเนียง การใช้ลม และนิ้วต่าง ๆ ผ่านการสังเกตและการจดจ�ำอีกทั้งยัง ได้รับค�ำแนะน�ำในเทคนิคต่าง ๆ เพิ่มเติมจากครูเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล ดังปรากฏอยู่ในทางปี่ชวา เพลงชุดบัวลอยนี้ โดยผู้วิจัยได้ศึกษาโครงสร้าง เทคนิค และวิธีการบรรเลงเพลงชุดบัวลอย ซึ่งพบ เทคนิคการวางนิ้วปี่ชวาทั้งหมด 22 แบบ พบเทคนิคการบรรเลงปี่ชวาทั้งหมด 5 เทคนิค อีกทั้งใช้ ตัวอักษรภาษาอังกฤษเพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนโครงสร้างของเพลง โดยเพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธ์ มีล�ำดับเพลงในการบรรเลงได้แก่ 1) เพลงรัวสามลา 2) เพลงบัวลอย 3) เพลงนางหน่าย 4) เพลงรัวคั่น 5) เพลงไฟชุม 6) เพลงเร็ว 7) เพลงรัวคั่น และ 8) เพลงนางหงส์

ค�ำส�ำคัญ: วงบัวลอย เพลงชุดบัวลอย ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ

ABSTRACT This study aimed for 1) studying the bibliography of Kru Paitoon Unhaka. 2) studying Pleng Chud Bua Loi of Kru Jamnien Sri-Thai-pand: a case study of Kru Paitoon Unhaka. This research was a qualitative research method. The data were collected through documentary research, followed by in-depth interviews. This study found that Kru Paitoon Unhaka was born on 1st January 1965. He was a child of Mr.Thongbai Unhaka and Mrs.Ranchuan Unhaka. He has six brothers and sisters. Kru Paitoon Unhaka graduated with a Bachelor of Education Degree in Music Education at the Faculty of Education, Chulalongkorn University. Kru Paitoon Unhaka has musical works such as Sound recording of Lom Mai Roo Rhoi (Pi Nai’s performance with Pleng Klom Naree Pleng Ma Yong and Pleng Ma Rum), Sound recording of Ban Tuk Wai Nai Pra-Wat-Sart Siang Kong Phan Din and Sound recording of Pleng Ek Hang Siam. Kru Paitoon Unhaka received the transmission of songs by Kru Jamnien Sri-Thai-pand, for example, Pleng Ma Yong Sam Chan, Pleng Ma Rum Sam Chan, Pleng Tayoi Diew and Pleng Chud Bua Loi. At present Kru Paitoon Unhaka is a Senior Professional Level Teachers at Mahaprutaram Girl School under the Royal Patronage of Her Majesty, the Queen. Moreover, He is a special lecturer at the Department of Art Music and Art education, Faculty of Education, Chulalongkorn University. Pleng Chud Bua Loi in Pi Chawa performance of Kru Jamnien Sri-Thai-pand was วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 302 arranged by Kru Paitoon Unhaka. The arrangement has a unique technique, melody regulation, the use of artistic devices, song accents, breathing, fingering, and other specific methods. The researcher studied the structure, techniques, and instrumental performance in Pleng Chud Bua Loi of Kru Jamnien Sri-Thai-pand and found that the twenty-two positions and patterns and five of techniques of Pi chawa’s. In addition, the use of letters to symbolize the structure of the song.Pleng Chud Bua Loi in Pi Chawa performance of Kru Jamnien Sri-thai-pand was arranged by Kru Paitoon Unhaka. The arranging has a unique technique, melody regulation, artistic devices, song accent, breathing, fingers using, and specific method. It shows that Tang Pi Chawa of Kru Jamnien Sri-Thai-pand has an identity; furthermore, Kru Jamnien Sri- Thai-pand received the transmission of techniques such as special fingers practices. Accent limitation from Kru Tewaprasit Pattayakosol through observation and memory. Pleng Chud Bua Loi of Kru Jamnien Sri-thai-pand has song procedures are arranged as follows: 1) Pleng Rua Sam La 2) Pleng Bua Loi 3) Pleng Nang Nhai 4) Pleng Rua Khan 5) Pleng Fhai Chum 6) Pleng Rua Khan and 7) Pleng Nang Hong.

Keywords: Wong Bua Loi, Pleng Chud Bua Loi , Kru Jamnien, Sri-thai-pand, Kru Paitoon Unhaka

บทน�ำ วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึงรูปแบบ ในวิถีการด�ำรงชีวิตของคนไทยตั้งแต่เกิดไปจนตาย กิจกรรมของมนุษย์ที่สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิต ดังเห็นได้จากการใช้ดนตรีเห่กล่อมเด็กแรกเกิด ความเป็นอยู่ที่มนุษย์ร่วมสร้างขึ้นจากการเรียนรู้ หรือแรกลงเปลเช่นเพลงกล่อมเด็กและดนตรี การอยู่ร่วมกันในสังคม สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ขับไม้ส�ำหรับเห่กล่อมเจ้านายเมื่อแรกขึ้นพระอู่ ตามยุคสมัยและความเหมาะสม อีกทั้งยังเป็น เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการน�ำดนตรีไปใช้ใน เครื่องสะท้อนให้เห็นถึงความเจริญของสังคม กิจกรรมต่าง ๆ เช่น โกนจุก ท�ำขวัญนาค บวช โดยหนึ่งในวัฒนธรรมทางจิตใจอีกอย่างหนึ่ง แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ จนกระทั่งวันตายก็ยังมี ที่ส�ำคัญคือวัฒนธรรมดนตรีซึ่งเป็นศิลปวัฒนธรรม ดนตรีประโคมงานศพ ดังนี้เป็นต้น ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์และมี ดนตรีส�ำหรับประกอบพิธีกรรมใน ความเกี่ยวข้องกับมนุษย์ทั่วโลกในทุกยุคทุกสมัย งานศพนั้น สืบเนื่องมาจากการใช้ดนตรีเพื่อ ซึ่งดนตรีไทย กับวิถีชีวิตของคนไทยนั้นผูกพันกัน ลดบรรยากาศความเศร้าหมอง และเพื่อให้เสียง อย่างเหนียวแน่น ตั้งแต่สมัยโบราณจนกระทั่ง เป็นเพื่อนเพื่อลดความเงียบเหงาซึ่งเป็นบรรยากาศ ปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่าดนตรีไทยได้เข้ามามีบทบาท โดยปกติของงานศพทั่วไป รวมทั้งยังมีการใช้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 303

ดนตรีเป็นเครื่องบอกเวลา เช่นการประโคมยาม การถ่ายทอดบทเพลง กลวิธี เทคนิคการเป่าปี่ ของปี่พาทย์นางหงส์และวงบัวลอยในสมัย ทั้งปี่ในและปี่ชวาจากครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ โบราณ ดนตรีส�ำหรับการประกอบพิธีกรรมใน หลากหลายบทเพลง รวมไปถึงเพลงชุดบัวลอย งานศพนี้ มีส่วนร่วมที่ส�ำคัญต่อบรรยากาศ ซึ่งเป็นเพลงที่ทรงคุณค่าเนื่องจากปัจจุบันวงบัวลอย ของงานและพิธีกรรมเป็นอันมาก ทั้งในส่วนที่ ที่ใช้ในพิธีอวมงคลนั้นนับวันยิ่งพบเห็นได้ยาก เป็นพิธีสงฆ์หรือในส่วนของฆราวาสเองก็ตาม จะมีก็แต่ในพระราชพิธี หรืองานพิธีฌาปนกิจศพ ซึ่งวงบัวลอยเป็นชื่อของวงดนตรีประเภทหนึ่ง ของนักดนตรีไทยเป็นส่วนใหญ่ และยังเป็น ใช้บรรเลงในงานอวมงคล มีลักษณะเป็นวงดนตรี บุคคลเดียว ที่ได้รับการถ่ายทอดเพลงชุดบัวลอย ขนาดเล็กที่มีเพียงปี่ชวาเลาเดียวเป็นเครื่อง ทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ขณะก�ำลังศึกษา ด�ำเนินท�ำนอง มีกลองมลายู 1 คู่ และฆ้องเหม่ง ระดับชั้นปีที่ 4 ณ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ 1 ใบเป็นเครื่องก�ำกับจังหวะ ยังคงรักษาระเบียบ แบบแผน และวิธีการบรรเลง วงบัวลอยเป็นวงดนตรีที่ดัดแปลงมาจาก จากครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ไว้อย่างครบถ้วน วงกลองสี่ปี่หนึ่ง ซึ่งเป็นวงดนตรีที่ใช้ประโคมศพ ในปัจจุบันเราจะหาดูหาฟังการบรรเลง เจ้านายมาแต่เดิม แล้วลดกลองลงคู่หนึ่งกลายเป็น บัวลอยได้ยากเต็มที ทั้งนี้เป็นเพราะมีผู้ได้รับการ วงบัวลอย ส�ำหรับใช้ประโคมศพสามัญอย่างเช่น สืบทอดไว้ไม่มากนัก ทั้งในด้านกระบวนการ ในปัจจุบันวงบัวลอยจัดได้ว่าเป็นดนตรีที่เลิศสุด เป่าปี่และตีกลอง ประกอบกับเหตุผลทางด้าน ของกระบวนวิชาปี่กลองทั้งหลาย คนที่เป่าปี่ ความเชื่อและข้อห้ามที่เคร่งครัดในการบรรเลง และตีกลองต้องเป็นผู้ที่มีฝีมือมาก จึงสามารถ บัวลอยอีกมากมาย ปัจจัยเหล่านี้เองที่เป็นสาเหตุ บรรเลงได้อย่างออกรส เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ส�ำคัญที่ท�ำให้วง บัวลอยเกือบจะสูญหายไปจาก (Pongpaibool, 1990) โดยครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ วงการดนตรีไทย อานันท์ นาคคง (Narkkong, เป็นผู้มีความช�ำนาญในการบรรเลงเครื่องเป่าไทย 1996) และในการบรรเลงวงบัวลอยนั้น ส่วนมาก ทุกชนิด รวมไปถึงการเป่าปี่ชวา และได้รับการ เป็นการบรรเลงในงานศพของครูบาอาจารย์ทาง ยอมรับจากวงการดนตรีไทยว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญ ดนตรีไทยเกือบทั้งสิ้น จึงเป็นที่น่าเป็นห่วงว่า ในการบรรเลงปี่ชวาในวงบัวลอยอีกด้วย ครูจ�ำเนียร หากไม่มีผู้ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับวงบัวลอย ศรีไทยพันธุ์ ยังถือเป็นผู้สืบทอดและอนุรักษ์ อาจท�ำให้วงดนตรีประเภทนี้สูญหายไปจาก รูปแบบการบรรเลงวงบัวลอยไว้อย่างครบถ้วน วงการดนตรีไทยก็เป็นได้ วงบัวลอยจึงเป็น สมบูรณ์ นอกจากการบรรเลงวงบัวลอยแล้ว วงดนตรีที่ควรค่าแก่การศึกษา ทั้งในด้านระเบียบ ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ยังเป็นผู้มีความสามารถ แบบแผนการบรรเลง การด�ำเนินท�ำนองของปี่ ในการบรรเลงดนตรีไทยทุกประเภท รวมทั้งการ และวิธีการบรรเลงหน้าทับของกลอง ขับร้องเพลงไทย จนได้รับการยกย่องให้เป็น ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยสนใจในการ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ศึกษาทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอย โดยได้เลือก พ.ศ. 2536 ซึ่งครูไพฑูรย์ อุณหะกะ เป็นผู้ที่ได้รับ ที่จะศึกษาทางเพลงของ ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 304

กรณีศึกษา ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ เพื่อเป็นการ ทักษะทางด้านการเป่าปี่และตีกลองขั้นสูง อีกทั้ง อนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนธรรมของชาติสืบไป ยังมีพิธีกรรมในการสืบทอดที่ซับซ้อน จึงเห็นการ บรรเลงวงบัวลอยได้ตามงานพระราชพิธี หรือ วัตถุประสงค์ของการวิจัย งานศพของนักดนตรีเท่านั้น 1. เพื่อศึกษาประวัติของครูไพฑูรย์ เพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ อุณหะกะ ถือเป็นเพลงที่ความส�ำคัญ เนื่องจาก ครูจ�ำเนียร 2. เพื่อศึกษาทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอย ศรีไทยพันธุ์ ถือเป็นเอตทัคคะทางด้านดนตรีไทย ทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ กรณีศึกษา ครูไพฑูรย์ และเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง อุณหะกะ (ดนตรีไทย) ประจ�ำปี พ.ศ. 2536 โดยทางปี่ชวา เพลงชุดบัวลอยนี้ ครูไพฑูรย์ อุณหะกะเป็นเพียง บทน�ำ บุคคลเดียวที่ได้รับการถ่ายทอดในขณะที่ครูไพฑูรย์ ดนตรีไทยกับวิถีชีวิตของคนไทยนั้น ก�ำลังศึกษาชั้นปีที่ 4 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผูกพันกันมาอย่างยาวนานมาจนถึงปัจจุบัน จากปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยสนใจศึกษา ดนตรีประกอบพิธีกรรมนั้นเกี่ยวข้องกับชีวิต เพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ประจ�ำวันของคนไทยตั้งแต่เกิดไปจนตายดังเห็น กรณีศึกษาครูไพฑุรย์อุณหะกะ โดยศึกษาประวัติ ได้จากพิธีโกนผมไฟ บวช แต่งงาน จนกระทั่ง ของครูไพฑูรย์ อุณหะกะ การสืบทอดทางปี่ชวา งานศพ ซึ่งใช้ดนตรีในการประโคมทั้งสิ้น เพลงชุดบัวลอยจากครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ วงดนตรีที่ใช้ในการประโคมศพนี้เกิดจาก รวมไปถึงการศึกษาโครงสร้าง เทคนิค และวิธีการ การใช้ดนตรีเพื่อลดความเงียบและความเศร้า บรรเลงปี่ชวาเพลงชุด บัวลอยทาง ครูจ�ำเนียร โดยวงดนตรีที่นิยมในการประโคมศพนั้นมีด้วยกัน ศรีไทยพันธุ์ เพื่ออนุรักษ์ไว้เป็นมรดกของชาติ หลายประเภท เช่น วงปี่พาทย์นางหงส์ วงปี่พาทย์ สืบไป มอญ ซึ่งได้รับความนิยมและดัดแปลงให้เข้ากับ ปัจจุบัน วงดนตรีพื้นเมืองเช่นวงกาหลอของภาคใต้ ขอบเขตของการวิจัย วงเต่งถิ้งของภาคเหนือ นอกจากนี้ยังมีวงบัวลอย 1. การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ก�ำหนด ซึ่งเป็นวงดนตรีขนาดเล็ก มีเครื่องดนตรีเพียง ขอบเขตการศึกษาค้นคว้าเฉพาะเพลงชุดบัวลอย ปี่ชวา กลองมลายูและเหม่ง ทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ กรณีศึกษา ครูไพฑูรย์ ปัจจุบันวงบัวลอยนับวันจะหาดูได้ยาก อุณหกะ เท่านั้น เต็มที เนื่องจากบทบาทของดนตรีไทยในปัจจุบัน 2. ศึกษารวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวกับ ลดลงไปและการสืบทอดเพลงบัวลอยต้องใช้ ประวัติของครูไพฑูรย์ อุณหกะ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 305

กรอบแนวคิดของการวิจัย

การศึกษาวงบัวลอย

ครูไพฑูรย์ อุณหกะ เพลงชุดบัวลอย

- ประวัติส่วนตัวของครูไพฑูรย์ อุณหกะ - ทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอย - ประวัติการท�ำงานของครูไพฑูรย์ อุณหกะ ทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ - ประวัติด้านดนตรีของครูไพฑูรย์ อุณหกะ กรณีศึกษา ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ - ผลงานด้านดนตรีของครูไพฑูรย์ อุณหกะ - วิธีการบรรเลงปี่ชวาเพลงชุดบัวลอย - การสืบทอดทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอย - วิธีการบรรเลงวงบัวลอย จากครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์

องค์ความรู้เพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์

ระเบียบวิธีวิจัย 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ การศึกษาวิจัยเรื่อง ศึกษาเพลงชุด เกี่ยวข้องกับวงบัวลอย บัวลอยทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์กรณีศึกษา 3. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับประวัติ ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการศึกษา ความเป็นมาของวงบัวลอยโดยมีแหล่งข้อมูล จากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ดังต่อไปนี้ ยังได้ท�ำการศึกษาค้าคว้าจากเอกสารต�ำราต่าง ๆ 3.1 ส�ำนักหอสมุดกลาง โดยวางแนวทางในการศึกษาไว้ดังนี้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1. ขั้นรวบรวมข้อมูล 3.2 ห้องสมุดคณะศิลปกรรม ข้อมูลจากเอกสาร ศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับประวัติของ 3.3 ส�ำนักหอสมุดกลาง ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 306

3.4 ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ 3. ขั้นศึกษาข้อมูล พระนคร 3.1 ศึกษาประวัติของครูไพฑูรย์ ข้อมูลภาคสนาม อุณหกะ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ติดต่อขอสัมภาษณ์ ครูไพฑูรย์ 3.1.1 ประวัติส่วนตัวของ อุณหะกะ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบไม่มี ครูไพฑูรย์ อุณหกะ โครงสร้าง 3.1.2 ประวัติการท�ำงานของ 2. จดบันทึกข้อมูลด้านประวัติของ ครูไพฑูรย์ อุณหกะ ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ 3.1.3 ประวัติด้านดนตรีของ 3. บันทึกเสียง ภาพนิ่ง และภาพ ครูไพฑูรย์ อุณหกะ เคลื่อนไหว เพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร 3.1.4 ผลงานด้านดนตรีของ ศรีไทยพันธุ์ โดยผู้บรรเลงปี่ในคือครูไพฑูรย์ ครูไพฑูรย์ อุณหกะ อุณหะกะ เพื่อบันทึกโน้ต และวิเคราะห์โครงสร้าง 3.2 ศึกษาทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอย ของบทเพลง ของครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ กรณีศึกษา ครูไพฑูรย์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล อุณหกะ โดยมีรายละเอียดของการรวบรวมข้อมูล 1. สมุดบันทึกข้อมูล ดังนี้ 2. เครื่องบันทึกเสียง 3.2.1 การสืบทอดทางปี่ชวา 3. กล้องบันทึกภาพนิ่ง เพลงชุดบัวลอยจากครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ 4. กล้องบันทึกภาพเคลื่อนไหว 3.2.2 ทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอย 2. ขั้นศึกษาข้อมูล ทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ 2.1 น�ำข้อมูลที่ได้จากเอกสารทาง 3.2.3 วิธีการบรรเลงปี่ชวาเพลง วิชาการ งานวิจัย บทความและเอกสารต่าง ๆ ชุดบัวลอย มาแยกประเภทจัดเป็นหมวดหมู่ เรียงล�ำดับ 3.2.4 วิธีการบรรเลงวง ตามความส�ำคัญของเนื้อหา บัวลอย 2.2 น�ำข้อมูลจากการสัมภาษณ์ 4. ขั้นสรุปข้อมูล บุคคลต่าง ๆ และข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์ตรง 4.1 น�ำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า มาเรียบเรียงให้มีความสัมพันธ์และมีความต่อเนื่อง ในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ กับเนื้อหาเพื่อน�ำเสนอข้อมูล การศึกษาทางปี่ชวา 4.2 เรียบเรียงจัดท�ำบทสรุปที่ได้ เพลงชุดบัวลอยของ ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูล กรณีศึกษาครูไพฑูรย์ อุณหกะ และบันทึกโน้ต 4.3 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ เป็นเอกสารตามหลักการบันทึกเพลงไทย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 307

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย 12 ปี ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ได้ฝึกปี่พาทย์อย่าง สรุปผลการวิจัย จริงจังที่คณะปี่พาทย์เนตรสีทอง ซึ่งครูอุทัย ผลจากการค้นคว้าวิจัยตามความมุ่ง แก้วละเอียด (ศิลปินแห่งชาติ) และครูฉลวย หมายที่ก�ำหนดไว้ได้สรุปผลดังนี้ บัวทั่ง เป็นครูผู้ฝึกหัดให้ หลังจากจบการศึกษา 1. ประวัติครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ระดับประถมศึกษา ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ได้เข้า ศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวัด เขมาภิรตาราม จึงได้มีโอกาสพบกับครูสุพัตร แย้มทับ ท�ำให้ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ มีโอกาส ได้เรียนเป่าปี่ และต่อนิ้วปี่ที่ถูกต้อง และได้เรียน ขับร้องเพลงไทยเดิมเพิ่มเติมด้วย หลังจากนั้น ครูสุพัตร แย้มทับ ได้พาครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ไปฝากตัวเป็นศิษย์และเรียนเป่าปี่เพิ่มเติมกับ ครูส�ำรวย ช้างชุ่ม จนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เมื่อส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ได้สอบเข้าศึกษาต่อ ในระดับ ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ เกิดเมื่อวันที่ 1 อุดมศึกษาที่ภาควิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มกราคม พ.ศ. 2508 เป็นบุตรของนายทองใบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงท�ำให้ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ กับนางรันจวน อุณหะกะ มีพี่น้อง อุณหะกะ มีโอกาสได้เรียนเป่าปี่กับครูจ�ำเนียร ร่วมบิดามารดาทั้งหมด 6 คน ประกอบด้วย ศรีไทยพันธ์อย่างจริงจัง ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธ์ นางปทิตา อ่อนเปรี้ยว, นายวันชัย อุณหะกะ, ได้ต่อเพลงให้กับครูไพฑูรย์ อุณหะกะ เป็น พันจ่าอากาศเอกวิเชียร อุณหะกะ, นางวันดี จ�ำนวนมาก เช่น เพลงม้าย่อง สามชั้น, เพลง จั่นเพชร, นายไพฑูรย์ อุณหะกะ และนายบัณฑิต ม้าร�ำ สามชั้น, เพลงทยอยเดี่ยว และเพลงชุด อุณหะกะ ส�ำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา บัวลอย เป็นต้น ครุศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 จากภาค หลังจากจบการศึกษาระดับอุดมศึกษา วิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ได้มีผลงานด้านดนตรี มหาวิทยาลัย มากมาย เช่น การบันทึกเสียงชุด “ลมไม่รู้โรย” ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ เริ่มฝึกหัดดนตรี บรรเลงเดี่ยวปี่ใน 3 เพลง คือเพลงกล่อมนารี เมื่ออายุ 9 ปี โดยเริ่มจากการฝึกหัดขลุ่ยเพียงออ เพลงม้าย่องและเพลงม้าร�ำ และการบันทึกเสียง กับครูเขียว เมืองคง ต่อมาในชั้นประถมศึกษา ชุด “บันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ เสียงของแผ่นดิน” ปีที่ 5 ได้ฝึกร้องเพลงไทยเดิม อังกะลุง และ ชุด “เพลงเอกแห่งสยาม” ทั้งหมด 7 ชุด 27 เพลง เครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ กับครูเฉลิม สุขโข ครูผู้สอน การอนุรักษ์และสืบทอดความรู้ด้าน ดนตรีที่โรงเรียนวัดเฉลิมพระเกียรติ เมื่ออายุได้ ดนตรีไทยของครูไพฑูรย์ อุณหะกะ คือการสอน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 308

และถ่ายทอดความรู้ด้านดนตรีให้กับนักเรียน ในการต่อเพลงชุดบัวลอยประมาณ 3 สัปดาห์ นักศึกษา ซึ่งในปัจจุบันครูไพฑูรย์ อุณหะกะ โดยครูไพฑูรย์ อุณหะกะ จะเจอกับครูจ�ำเนียร ประกอบอาชีพครู ต�ำแหน่งครูช�ำนาญการพิเศษ ศรีไทยพันธ์ เพียงสัปดาห์ละ 1 ครั้งเท่านั้น ดังนั้น โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรม ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ จึงใช้เวลาระหว่างนั้นฝึกซ้อม ราชินูปถัมภ์ และเป็นอาจารย์พิเศษ ประจ�ำภาค เพื่อให้เกิดความแม่นย�ำแลพร้อมในการต่อเพลง วิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ เพิ่มจนจบ มหาวิทยาลัย 2.2 ทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอย ของ 2. ศึกษาทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอยของ ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธ์ กรณีศึกษา ครูไพฑูรย์ ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธ์ อุณหะกะ 2.1 การสืบทอดทางปี่ชวาเพลงชุด ทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอยนี้ บัวลอยจากครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธ์ ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ได้รับการถ่ายทอดโดยตรง ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ได้ขออนุญาต จากครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ทางปี่ชวาเพลงชุด เพื่อต่อเพลงชุดบัวลอย ขณะก�ำลังศึกษาอยู่ชั้น บัวลอยนี้ ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ได้ปรับปรุง ปีที่ 4 ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธ์จึงให้ครูไพฑูรย์ แนวทางในการบรรเลง ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะ อุณหะกะ น�ำขันก�ำนลมาเพื่อท�ำพิธีรับมอบเพื่อ ในเรื่องของเทคนิคการบรรเลง กลเม็ด ส�ำเนียง ต่อเพลงชุดบัวลอย โดยในพิธีครั้งนั้นตรงกับ การใช้ลม และนิ้วต่าง ๆ สื่อให้เห็นถึงอัตลักษณ์ วันไหว้ครูดนตรีไทยที่คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ที่งดงามของทางปี่ชวาที่ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ มหาวิทยาลัย ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ จึงได้น�ำขัน ได้ศึกษาและเก็บเกี่ยวความรู้จากครูหลายท่าน ก�ำนลมาพร้อมทั้งส่งปี่ชวามอบให้ครูจ�ำเนียร รวมไปถึงประสบการณ์การเป่าปี่ที่ท่านได้สั่งสม ศรีไทยพันธ์ หลังจากนั้นครูจึงท่องคาถาต่าง ๆ มาไว้ในบทเพลง นอกจากนี้ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ เพื่อความเป็นสิริมงคล จากนั้นจึงมอบปี่กลับคืนให้ ยังได้ศึกษาเทคนิคต่าง ๆ กระบวนการใช้ การใช้ และให้ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ เป่าเพลงรัวในเพลง นิ้วพิเศษ เลียนส�ำเนียง จากครูเทวาประสิทธิ์ ชุดบัวลอย ตามที่ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธ์เป่าให้ฟัง พาทยโกศล ผ่านการสังเกตและการจดจ�ำอีกทั้ง ลักษณะการเป่าตามดังกล่าวคล้ายการต่อเพลง ยังได้รับค�ำแนะน�ำในเทคนิคต่าง ๆ เพิ่มเติมจาก ตามปกติ หลังจากนั้น ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธ์ ครูเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศลอีกเช่นกัน โดยการ จึงได้น�ำโน้ตเพลงพร้อมหน้าทับมาให้ครูไพฑูรย์ บรรเลงวงบัวลอยส�ำหรับการประชุมเพลิงใน อุณหะกะ ได้อ่านก่อนที่จะเริ่มเรียน และเมื่อถึง รูปแบบของครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ที่ได้ถ่ายทอด วิชาเรียนเครื่องมือเอกในแต่ละสัปดาห์ ครูจ�ำเนียร ให้กับครูไพฑูรย์ อุณหะกะ มีวิธีการวางนิ้ว ศรีไทยพันธ์ก็จะต่อเพลงในชุดบัวลอยให้ทีละเพลง ปี่ชวาที่พบทั้งหมด 21 แบบ แบ่งออกเป็นเสียง ซ จนจบ โดยเพลงแรกที่เริ่มเรียนคือเพลงรัวสามลา จ�ำนวน 2 ช่วงเสียง และ พบนิ้วควงจ�ำนวน 6 เสียง ต่อด้วยเพลงบัวลอย นางหน่าย รัวคั่น ไฟชุม ดังภาพ เพลงเร็ว รั่วคั่น และนางหงส์ ตามล�ำดับ ใช้เวลา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 309

2.3 หน้าทับ 3. หน้าทับนางหน่าย จ�ำนวน หน้าทับเพลงชุดบัวลอยประกอบ 13 ลูกเล่น ไปด้วยหน้าทับพิเศษเฉพาะบทเพลงดังต่อไปนี้ 4. หน้าทับรัวคั่นไฟชุม 1. หน้าทับรัวสามลา ประกอบ 5. หน้าทับไฟชุม ไปด้วย 6. หน้าทับเพลงเร็วจ�ำนวน - หน้าทับรัวสามลา ลาที่ 1 2 ท่อน - หน้าทับรัวสามลา ลาที่ 2 7. หน้าทับรัวคั่นนางหงส์ - หน้าทับรัวสามลา ลาที่ 3 8. หน้าทับนางหงส์ 2. หน้าทับบัวลอย 5 มือ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 310

2.4 วิธีการบรรเลงรวมวง ออกเป็น 3 ช่วง โดยในบรรทัดแรกของแต่ละ วงบัวลอยนิยมใช้บรรเลงในงาน ช่วงจะมีการบรรเลงเหมือนกัน จากโน้ตเพลง อวมงคล โดยจะนิยมบรรเลงใน 2 โอกาสด้วยกัน รัวสามลาข้างต้นสามารถเขียนรูปแบบของเพลง คือ 1. การประโคมย�่ำยาม เป็นการใช้วงบัวลอย แทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ ประโคมในขณะที่มีการตั้งศพเพื่อสวดพระ A(oa) B(ob) C(oc) อภิธรรมโดยจะบรรเลงหลังจากพระสวดอภิธรรม 2. เพลงบัวลอย จบแล้ว และยังได้บรรเลงเป็นระยะเวลาต่าง ๆ เพลงบัวลอยเป็นเพลงท่อนเดียว ประกอบด้วย ยามหนึ่ง เวลา 21.00 น. ยามสอง มีลักษณะการบรรเลง 5 ลักษณะ ซึ่งในบรรทัดที่ 6 เวลา 24.00 น. ยามสาม เวลา 03.00 น. และย�่ำรุ่ง และบรรทัดที่ 10 มีลักษณะการบรรเลงเหมือนกัน เวลา 06.00 น. ส�ำหรับการประโคมย�่ำยาม และ 4 ห้องแรกของบรรทัดที่ 7, 9 และ 11 สามารถ ในแต่ละครั้งจะเริ่มจากเพลงบัวลอยก่อนเสมอ เขียนรูปแบบของเพลงแทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ แล้วลงจบสุดท้ายด้วยเพลงนางหงส์ A(a b oc od b oe) 2. การประชุมเพลิง วงบัวลอยจะเริ่ม 3. เพลงนางหน่าย บรรเลงในขณะที่ประธานในพิธีใส่ไฟเพื่อ เพลงนางหน่ายเป็นเพลงท่อนเดียว ประชุมเพลิง โดยจะเริ่มด้วยการรัวสามลา มีลักษณะการบรรเลง 7 ลักษณะ ดังต่อไปนี้ แล้วจะบรรเลงเพลงเรื่องบัวลอยต่อไปนี้ คือ - บรรทัดที่ 1 และบรรทัดที่ 2 เพลงบัวลอย เพลงนางหน่าย รั่วคั่น เพลงไฟชุม มีลักษณะการบรรเลงเหมือนกัน เพลงเร็ว รัวคั่น และออกเพลงนางหงส์ ซึ่งการ - บรรทัดที่ 3 และบรรทัดที่ 4 บรรเลงวงบัวลอยส�ำหรับการประชุมเพลิงใน มีลักษณะการบรรเลงเหมือนกัน รูปแบบของครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ที่ท่านได้ - บรรทัดที่ 5 , บรรทัดที่ 7, บรรทัด ถ่ายทอดให้กับครูไพฑูรย์ อุณหะกะ มีลักษณะ ที่ 9 และบรรทัดที่11 มีลักษณะการบรรเลง และรูปแบบการบรรเลงดังปรากฏต่อไปนี้ เหมือนกัน 2.5 อัตลักษณ์ทางปี่ชวาเพลงชุด - บรรทัดที่ 13 - 4 ห้องแรกของ บัวลอยทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ กรณีศึกษา บรรทัดที่ 18 และ บรรทัดที่19 - 4 ห้องแรกของ ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ บรรทัดที่ 24 มีลักษณะการบรรเลงเหมือนกัน คีตลักษณ์ - บรรทัดที่ 25 - 30 และบรรทัด จากโน้ตทางปี่ชวาเพลงชุดบัวลอย ที่ 31 - 36 มีลักษณะการบรรเลงเหมือนกัน ทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ที่ผู้วิจัยได้รับการ สามารถเขียนรูปแบบของเพลงแทนด้วย ถ่ายทอดจากครูไพฑูรย์ อุณหะกะ พบคีตลักษณ์ สัญลักษณ์ ดังนี้ ของบทเพลงดังนี้ A(a a b b oc oc oc od ef eg h h) 1. เพลงรัวสามลา 4. เพลงรัวคั่น เพลงรัวสามลามีการบรรเลงแบ่ง เพลงรัวคั่นมีการลักษณะการบรรเลง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 311

1 ช่วง ซึ่งสามารถเลือกใช้รัวลาใดลาหนึ่งจาก รัวสามลามาบรรเลงเป็นเพลงรัวคั่น สามารถเขียน เพลงรัวสามลา โดยลักษณะการบรรเลงของ รูปแบบของเพลงแทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ ครูไพฑูรย์ อุณหะกะ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจาก A ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ใช้รัวลาที่ 2 จากเพลง 8. เพลงนางหงส์ รัวสามลามาบรรเลงเป็นเพลงรัวคั่นโดยสามารถ เพลงนางหงส์เป็นเพลงท่อนเดียว เขียนรูปแบบของเพลงแทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ มีลักษณะการบรรเลง 7 ลักษณะ ดังต่อไปนี้ A - บรรทัดที่ 1 ห้องที่ 5-8 และ 5. เพลงไฟชุม บรรทัดที่ 3 ห้องที่ 5 - 8 มีลักษณะการบรรเลง เพลงไฟชุมเป็นเพลง 2 ท่อน มี เหมือนกันสามารถเขียนรูปแบบของเพลงแทน ลักษณะการบรรเลงดังต่อไปนี้ ด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ - ท่อนที่ 1 มีลักษณะการบรรเลง A (ao bo c) เพียงลักษณะเดียวตั้งแต่ต้นจนจบ อภิปรายผลการวิจัย - ท่อนที่ 2 ลักษณะการบรรเลง ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ถือเป็นเอตทัคคะ 3 ลักษณะ โดยบรรทัดที่ 2 และ 3 บรรเลง ทางด้านดนตรีไทยและมีความช�ำนาญเป็นพิเศษ เหมือนกัน โดยสามารถเขียนรูปแบบของเพลง ในเรื่องเครื่องเป่าไทย โดยครูไพฑูรย์ อุณหะกะ แทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ เป็นผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดบทเพลง กลวิธี A + B(b o o c) เทคนิคการเป่าปี่ทั้งปี่ในและปี่ชวาจากครูจ�ำเนียร 6. เพลงไฟชุม ศรีไทยพันธุ์หลากหลายบทเพลง รวมไปถึงเพลง เพลงไฟชุมเป็นเพลงท่อนเดียว ชุดบัวลอยซึ่งเป็นเพลง ที่ทรงคุณค่าเนื่องจาก มีลักษณะการบรรเลง 4 ลักษณะดังต่อไปนี้ ปัจจุบันวงบัวลอยที่ใช้ในพิธีอวมงคลนั้นนับวัน - บรรทัดที่ 1 และ 2 มีการบรรเลง ยิ่งพบเห็นได้ยาก จะมีก็แต่ในพระราชพิธี หรือ ห้องที่ 5 - 8 เหมือนกัน งานพิธีฌาปนกิจศพของนักดนตรีไทยเป็นส่วนใหญ่ - บรรทัดที่ 3 และ 4 มีการบรรเลง โดยวงบัวลอยประกอบไปด้วย ปี่ชวา 1 เลา กลอง เหมือนกัน สามารถเขียนรูปแบบของเพลงแทน มลายู เดิมมี 2 คู่ ปัจจุบันมักใช้เพียง 1 คู่ และเหม่ง ด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ โดยสอดคล้องกับงานวิจัยของอุทิศ นาคสวัสดิ์ A(ao bo c c) (Naksawat, 1971) ที่ได้กล่าวไว้ว่า การผสมวง 7. เพลงรัวคั่น เครื่องกลองมลายูแต่เดิมนั้นท่านใช้ปี่ชวา 1 เลา เพลงรัวคั่นมีการลักษณะการ กลองมลายู 4 ลูกกับเหม่งอีก 1 ใบ ... ต่อมาที บรรเลง 1 ช่วง ซึ่งสามารถเลือกใช้รัวลาใดลาหนึ่ง จะเห็นว่ากลอง 4 ลูกมันมากไป จึงได้ลดลงเหลือ จากเพลงรัวสามลาโดยลักษณะการบรรเลงของ 2 ลูก ชุดกลองมลายูที่ท�ำเพลงบัวลอย (หรือที่ ครูไพฑูรย์ย์ อุณหะกะ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจาก เรียกกันว่าตีบัวลอย)อยู่ทุกวันนี้ก็มีปี่ชวา 1 เลา ครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ใช้รัวลาที่ 3 จากเพลง เหม่ง 1 ใบ และกลองมลายูเพียง 2 ลูกเท่านั้น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 312

นอกจากนี้ บทเพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร อย่างไรก็ตาม เพลงชุดบัวลอยนับวัน ศรีไทยพันธุ์ยังสอดคล้องกับโครงสร้างเพลงชุด ยิ่งใกล้ที่จะสูญหายไปในสังคมไทย เนื่องจาก บัวลอยในงานวิจัยของไชยวุธ โกศล (Kosol, ปัจจุบันค่านิยมในการรับฟังบทเพลงต่าง ๆ 2002) ที่ได้กล่าวถึงวงบัวลอยไว้ว่า วงบัวลอย เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ดนตรีประกอบพิธีกรรม เป็นวงดนตรีแบบหนึ่งที่ใช้ประโคมในงานศพ ถูกลดบทบาทลง อีกทั้งการสืบทอดเพลงชุด เดิมเอาแบบอย่างมาจากวงกลองชนะที่ใช้ประโคม บัวลอยยังมีพิธีกรรม ระเบียบ แบบแผนโบราณ พระบรมศพและพระศพ ประกอบด้วยปี่ชวา 1 เลา ในการสืบทอด เนื่องจากเป็นบทเพลงที่ต้องใช้ กลองมลายู 4 ลูกกับเหม่งอีก 1 ใบ เรียกว่า กลวิธี เทคนิคการบรรเลงที่ซับซ้อน ผู้เรียน “วงกลองสี่ปี่หนึ่ง” ซึ่งหมายถึงปี่ชวา 1 เลา จะต้องเป็นผู้มีความสามารถและแตกฉาน เป่าเข้าจังหวะกับกลองมลายู 4 ใบ ภายหลัง ทางด้านปี่ชวาเป็นอย่างดี ครูผู้ถ่ายทอดจึงต้อง ได้ลดจ�ำนวนกลองลงเหลือเพียง 2 ใบและเรียก คัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติพร้อมที่จะรับการ วงลักษณะนี้ว่า “วงบัวลอย” เพราะใช้เพลง ถ่ายทอดดังกล่าว ท�ำให้เพลงชุดบัวลอย เป็นเพลง บัวลอยเป็นหลักในการบรรเลง ปัจจุบันวงบัวลอย ที่มีความส�ำคัญในวงการดนตรีไทย ที่ใช้ประโคมในงานศพ ใช้ในเวลาประชุมเพลิง แม้ว่าการถ่ายทอดเพลงชุดบัวลอย โดยปกตินักดนตรีจะเริ่มบรรเลงเมื่อผู้เป็น จะมีความซับซ้อนเนื่องจากพิธีกรรมการถ่ายทอด ประธานขึ้นจุดไปเผาเป็นคนแรก โดนเริ่มจาก และถูกลดบทบาทลงจากค่านิยมของสังคม เพลงรัวสามลา เพลงบัวลอย และเพลงอื่น ๆ แต่เพลงชุดบัวลอยยังเป็นที่รู้จักและเป็นที่สนใจ ตามล�ำดับ ท�ำนองของปี่ชวาและหน้าทับกลอง ของนักดนตรีไทยเป็นอย่างมาก วงบัวลอยจึงมี มลายูที่ตีประกอบฟังแล้วให้อารมณ์เยือกเย็น เศร้า ความส�ำคัญและรับยังใช้สังคมมาจนถึงปัจจุบัน บางตอนก็เร่งเร้าน่าฟังยิ่ง โดยเพลงชุดบัวลอย ทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ กรณีศึกษาครูไพฑูรย์ ข้อเสนอแนะ อุณหะกะ ประกอบไปด้วย 1. เพลงรัวสามลา การศึกษาเพลงชุดบัวลอยทางครูจ�ำเนียร 2. เพลงบัวลอย 3. เพลงนางหน่าย 4. เพลงรัวคั่น ศรีไทยพันธุ์ กรณีศึกษาครูไพฑูรย์ อุณหกะ ในครั้งนี้ 5. เพลงไฟชุม 6.เพลงเร็ว 7.เพลงรัวคั่น และ เป็นการศึกษาการสืบทอดทางปี่ชวาในเพลงชุด 8. เพลงนางหงส์ โดยในเพลงชุดบัวลอย พบการ บัวลอย ประวัติครูไพฑูรย์ อุณหกะ เทคนิคต่าง ๆ วางนิ้วปี่ชวาทั้งหมด 22 แบบ โดยครูไพฑูรย์ ในการเป่าปี่ชวา ซึ่งมีบทบาทในด้านพิธีกรรม เป็นบุคคลเดียวซึ่งได้รับการถ่ายทอดเพลง ความเชื่อ การรับใช้สังคมมาอย่างยาวนาน เป็นการ ชุดบัวลอย ทางครูจ�ำเนียร ศรีไทยพันธุ์ ขณะ สืบทอดภูมิปัญญา และเป็นการอนุรักษ์มรดกทาง ก�ำลังศึกษาระดับชั้นปีที่ 4 ณ จุฬาลงกรณ์ วัฒนธรรมที่ส�ำคัญของชาติ มหาวิทยาลัย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 313

อย่างไรก็ดีในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ 2. ควรจัดตั้งกลุ่มนักวิชาการหรือ เป็นข้อมูลพื้นฐานที่เป็นแนวทางให้ผู้สนใจศึกษา นักดนตรีที่มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับเพลง เพลงชุดบัวลอย ได้ค้นคว้า เจาะลึกในประเด็นต่าง ๆ ชุดบัวลอย ออกให้ความรู้แก่สังคม สร้างความ ซึ่งผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ เข้าใจบทบาทของวงและเพลงชุดบัวลอย 1. หน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องทาง 3. ควรมีการรวบรวมข้อมูลและจัดพิมพ์ ศิลปวัฒนธรรมและหน่วยด้านการศึกษา เอกสาร เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวกับเพลง ควรส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้ ชุดบัวลอย เพื่อเป็นประโยชน์ในการศึกษาทาง และรับทราบถึงความส�าคัญของเพลงชุดบัวลอย ด้านวิชาการ อย่างจริงจังและกว้างขวางมากขึ้น

REFERENCES

Kosol, C. (2002). FUNERAL MUSIC OF THAILAND : BUALOY. (in Thai) Ketthet, B. (1993). Culture of the human race. Ubon Ratchathani: Yong Sawat Printing. (in Thai) Narkkong, A. (1996). Karma after death. Commemorative books in the annual Thai Music Teacher Festival Education 1996 Department of Music Education, Faculty of Education, Chulalongkorn University Thursday 18 July 1996. (in Thai) Naksawat, U. (1971). Theory and practice of Thai music. Bangkok: Khurusaphan. Photocopying. (in Thai) Pongpaibool, N. (1990). Waukesha, screaming, screaming, accent. In the Institute of Language and Culture Research For rural development Mahidol University. (1990). History and development of Thai pi (page 59 - 66). Bangkok: Primary relations(in Thai) Rungruang, P. (1999). Guidelines for preparation for becoming an anthropologist: at the 3rd Music Symposium, College of Music. Mahidol University. Bangkok: Pikanet Prince Center. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 314

บทความวิชาการ

การวิเคราะห์และการน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ANALYSIS AND PRESENTATION OF QUALITATIVE DATA ANALYSIS วัชรินทร์ อินทพรหม* Watcharin Intaprom*

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย* Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand*

Email: [email protected]*

Received: 2019-01-02 Revised: 2019-03-01 Accepted: 2019-07-15

บทคัดย่อ บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำเสนอกระบวนการการวิเคราะห์และการน�ำเสนอ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและน�ำประสบการณ์ของ ผู้เขียนมาพัฒนาค�ำตอบตามวัตถุประสงค์ พบว่า วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิเคราะห์ เนื้อหา (Content analysis) กรอบการวิเคราะห์ (Framework analysis) ทฤษฎีฐานราก (Grounded theory) การวิเคราะห์และการน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพให้ได้ผลการวิจัยที่มีคุณภาพ ถูกต้อง และน่าเชื่อถือนั้น ต้องอาศัยองค์ประกอบ 3 ส่วนหลัก คือ 1) ความถูกต้องและน่าเชื่อถือของ ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่เหมาะสม ด้วยการตรวจสอบข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการตรวจสอบสามเส้า (triangulation) 2) องค์ความรู้ของผู้วิจัย เนื่องจาการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพต้องอาศัยหลักของ การตีความโดยนักวิจัย ดังนั้นนักวิจัยต้องมีความรู้และรอบรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยจึงจะสามารถ ท�ำความเข้าใจและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบค�ำถามของการวิจัยได้ และ 3) ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลที่ดี โดยขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลัก คือ (1) การจัดเตรียมข้อมูล (2) การก�ำหนดประเด็นวิเคราะห์ (3) การเข้ารหัสและจัดหมวดหมู่ และ (4) การวิเคราะห์และน�ำเสนอ ผลการวิจัย

ค�ำส�ำคัญ: การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล การน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 315

ABSTRACT The objective of this paper is to present the process of analysis and presentation of the qualitative data analysis by reviewing relevant literature and applying the author’s experience to develop the answers according to the objective. It was founded that the methodology of the qualitative analysis is, namely, content analysis, framework analysis, and grounded theory. In order to achieve quality, accuracy, and reliability, the analysis and presentation of qualitative data require 3 main components: 1) Accuracy and reliability of data from appropriate sources by qualitative validation by triangulation.2) Knowledge of the researcher because qualitative data analysis is based on the principle of interpretation by researchers. Therefore, researchers must be knowledgeable about the subject matter of the research so that they can understand and analyze the data to answer the research questions; and 3) Effective data analysis process. The process of qualitative data analysis consists of 4 main steps: (1) Data preparation (2) Setting the analytical issues(3) Encoding and classification; and (4) Analysis and presentation of research results.

Keywords: Qualitative Research, Data Analysis, Presentation of Data Analysis

บทน�ำ การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาทาง ส่งผลท�ำให้นักศึกษาขาดทักษะการเก็บรวบรวม ด้านสังคมศาสตร์นอกจากการเรียนในรายวิชา ข้อมูลที่มีความหลากหลายตามแบบของการ ให้ครบตามโครงสร้างของหลักสูตรแล้ว การท�ำ วิจัยเชิงคุณภาพ และไม่สามารถจัดการข้อมูล ดุษฎีนิพนธ์ (Dissertation) วิทยานิพนธ์ (Thesis) สังเคราะห์ข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ (Independent ที่เก็บรวบรวมมาอย่างเป็นระบบได้ Study) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการส�ำเร็จการศึกษา ปัจจุบันมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ของไทย ด้วยซึ่งการเรียนการสอนวิชาวิจัยของมหาวิทยาลัย ให้ความส�ำคัญกับการวิจัยเชิงคุณภาพมากขึ้น ในประเทศไทยในอดีตส่วนใหญ่จะออกแบบวิธี เนื่องจากนโยบายรัฐต้องการให้งานวิจัยสามารถ จัดการเรียนการสอนวิชาวิจัยที่ให้น�้ำหนักความ น�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับสังคมมากขึ้น ส�ำคัญด้านกระบวนการวิจัยเชิงปริมาณมากกว่า ด้วยลักษณะและจุดมุ่งหมายของการวิจัยเชิง การวิจัยเชิงคุณภาพ และเป็นการเรียนภาคทฤษฎี คุณภาพที่มีความแตกต่างจากการวิจัยเชิง ในห้องเรียนเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลท�ำให้นักศึกษา ปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพจึงสามารถตอบโจทย์ มีความรู้ในเชิงทฤษฎีโดยเฉพาะทฤษฎีด้านการ การน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับสังคมได้ เช่น การ วิจัยเชิงปริมาณมากกว่าการปฏิบัติในภาคสนาม แก้ไขปัญหาชุมชนแบบมีส่วนร่วมของประชาชน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 316

ได้ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กระบวนการและขั้นตอนส�ำคัญ ที่เป็นการน�ำ (Participatory Action Research: PAR) ข้อมูลเชิงคุณภาพที่เก็บรวบรวมได้จากแหล่ง โดยการค้นหาค�ำตอบของโจทย์วิจัยด้วยเครื่องมือ ข้อมูลและเครื่องมือต่าง ๆ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่หลากหลายชนิดเครื่องมือ จากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ การสัมภาษณ์ วิจัยเชิงคุณภาพที่ได้รับความนิยมมี 3 ชนิด คือ การสนทนากลุ่ม และการสังเกต เป็นต้น และ (1) การสัมภาษณ์ แบ่งเป็น 3 แบบ คือ แบบ ข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ ได้แก่ เอกสารต่าง ๆ สัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured ที่เกี่ยวข้อง ทั้งที่เป็นเอกสารหรือเป็นข้อมูลที่อยู่ Interview) แบบกึ่งมีโครงสร้าง (Semi-structured ในระบบสารสนเทศทั้งที่เป็นออนไลน์และออฟไลน์ Interview) และแบบมีโครงสร้าง (Structured ข้อมูลที่ได้จึงเป็นรูปแบบของการอธิบายในรูป Interview) โดยแบบสัมภาษณ์นี้สามารถใช้กับ ของการแสดงความคิด ความเห็น ความเข้าใจ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล (In-depth การให้ความหมายหรือสัญลักษณ์ของบุคคล interview) การสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม (Group และสถานการณ์ที่เราก�ำลังศึกษาข้อมูลเชิง Interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) คุณภาพดังกล่าวจึงมีลักษณะที่เป็นตัวเลข (2) การสังเกต มี 2 แบบ คือการสังเกตแบบมี น้อยมากหรืออาจจะไม่มีตัวเลขเลยจึงไม่สามารถ ส่วนร่วม (Participant Observation) และการ ใช้สถิติวิเคราะห์ได้ ดังนั้นการวิเคราะห์ข้อมูล สังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant เชิงคุณภาพจึงต้องอาศัยหลักของการตีความ Observation) และ (3) การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยนักวิจัยซึ่งในการตีความต้องอาศัยความน่า จากเอกสารที่เกี่ยวข้อง (Documentary) เชื่อถือของข้อมูล แหล่งข้อมูลและองค์ความรู้ ด้วยข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือส�ำหรับเก็บรวบรวม ของผู้วิจัยประกอบกันจึงจะท�ำให้งานวิจัยนั้น ข้อมูลของการวิจัยเชิงคุณภาพที่ได้รับจึงไม่ใช่ มีคุณภาพ ถูกต้อง และน่าเชื่อถือ และเนื่องจาก ตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจึงใช้ ลักษณะของข้อมูลและวิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิง วิธีการตีความเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ทางสังคม คุณภาพกับเชิงปริมาณมีความแตกต่างกัน ด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในระดับจุลภาคหรือ การน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เฉพาะที่หรือเฉพาะเรื่อง ในขณะที่การวิจัยเชิง จึงมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกับเชิงปริมาณ ปริมาณมักมุ่งเน้นไปที่การอธิบายแนวโน้มและ เช่นเดียวกัน ดังนั้นบทความวิชาการนี้ผู้เขียน ปรากฏการณ์ในระดับมหภาค ใช้ข้อมูลเชิงตัวเลข จึงมีจุดมุ่งหมายน�ำเสนอกระบวนการวิเคราะห์ และสถิติในการวิเคราะห์เพื่อพยากรณ์หรือ และการน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คาดการณ์อนาคตหรือทดสอบทฤษฎี คุณภาพ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ใช้เป็นแนวทางในการ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็น ท�ำวิจัยเชิงคุณภาพ ต่อไป วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 317

กรอบในการวิเคราะห์

ข้อมูลจากเอกสาร ข้อมูลจากการ ข้อมูลจากการ ที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สังเกต

ค�ำถาม การจัดการข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลจากเอกสาร ของการวิจัย (การเข้ารหัสหรือแผนความสัมพันธ์) ที่เกี่ยวข้อง

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ (การตีความ/วิเคราะห์เนื้อหา)

การน�ำเสนอ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

เนื้อหา ครอสเจนส์ (Moser & Korstjens, 2017) น�ำ การวิเคราะห์ข้อมูลและการน�ำเสนอ เสนอไว้ดังนี้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพประกอบด้วย จอนน์ ดูดอฟสกี้ (Dudovskiy, 2018) 3 ส่วนหลัก คือ วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ กล่าวว่า ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่ไม่ใช่ ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ และ ตัวเลขเช่นการถอดเสียงสัมภาษณ์ การบันทึก กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์และการน�ำเสนอผลการ วิดีโอภาพและเอกสารต่าง ๆ ดังนั้นวิธีการวิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพมีรายละเอียดดังนี้ ข้อมูลเชิงคุณภาพสามารถแบ่งได้ 5 ประเภท วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ดังต่อไปนี้ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจอนน์ 1. การวิเคราะห์เนื้อหา (Content ดูดอฟสกี้ (Dudovskiy, 2018) โมเซอร์ และ analysis) เป็นกระบวนการจัดหมวดหมู่ของ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 318

ข้อมูล เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสื่อสาร กรณีอื่น ๆ นั้นสามารถยืนยันหรือสอดคล้องกัน ของมนุษย์เช่น เอกสาร การพูดหรือการสื่อสาร จนน�ำไปสู่การสร้างทฤษฎีใหม่ได้ ภาพถ่ายหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ภาษาพูด โมเซอร์ และครอสเจนส์ (Moser & 2. การวิเคราะห์เชิงบรรยาย (Narrative Korstjens, 2017) ได้น�ำเสนอวิธีการวิเคราะห์ analysis) วิธีการนี้เกี่ยวข้องกับการก�ำหนด ข้อมูลเชิงคุณภาพไว้ 4รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบในการน�ำเสนอเรื่องราวใหม่ที่ค�ำนึงถึง 1. รูปแบบการน�ำเสนอวัฒนธรรม บริบทในแต่ละกรณีและประสบการณ์ของผู้ให้ และสังคมของมนุษย์ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ข้อมูลส�ำคัญแต่ละรายที่แตกต่างกัน หรือโดย (Ethnography) ผลของการศึกษาจะเกี่ยวข้อง กล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการวิเคราะห์เนื้อหาแล้วน�ำมา กับชาติพันธุ์วิทยาคือการบรรยายลักษณะ เรียบเรียงบรรยายเพื่อน�ำเสนอหรือเล่าเรื่องใหม่ วัฒนธรรมของสังคม อีกครั้งจากข้อมูลปฐมภูมิโดยนักวิจัย 2. รูปแบบการน�ำเสนอปรากฏการณ์ 3. การวิเคราะห์ข้อคิดเห็น (Discourse ในสังคม (Phenomenology) ผลของการศึกษา analysis) เป็นวิธีการวิเคราะห์การพูดคุยและ คือการอธิบายรายละเอียดของประสบการณ์ชีวิต ข้อความที่เป็นลายลักษณ์อักษรทุกประเภทที่ ของมนุษย์ เจตคติ และจิตส�ำนึกของมนุษย์ เกิดขึ้นตามธรรมชาติ 3. รูปแบบการสร้างทฤษฎีฐานราก 4. กรอบการวิเคราะห์ (Framework (Grounded theory) เป็นวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล analysis) เป็นแนวคิดของวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล อย่างเป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับการสร้างทฤษฎี เชิงคุณภาพขั้นสูงที่ประกอบด้วยหลายขั้นตอน พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ อาทิเช่นการท�ำความคุ้นเคยสร้างความเข้าใจ 4. รูปแบบการวิเคราะห์เนื้อหา (Content ปรากฏการณ์ของนักวิจัย การระบุกรอบแนวคิด analysis) เป็นวิธีการที่ใช้การวิเคราะห์เอกสาร และขั้นตอนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ การ และการสื่อสารของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นข้อความ เข้ารหัส การสร้างแผนภูมิการสร้างแผนภาพ และ รูปแบบต่าง ๆ รูปภาพเสียงหรือวิดีโอ การตีความ ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง 5. ทฤษฎีฐานราก (Grounded theory) คุณภาพ เป็นวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่เริ่มจาก ข้อมูลเชิงคุณภาพส่วนใหญ่มีลักษณะ การวิเคราะห์กรณีเดียวเพื่อสร้างทฤษฎีหลังจากนั้น ที่ไม่ได้เป็นตัวเลข ดังนั้นการวิเคราะห์ข้อมูล ได้มีการวิจัยในกรณีอื่น ๆ ที่คล้ายคลึงกันเพิ่มเติม เชิงคุณภาพจึงมีขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ เพื่อทดสอบทฤษฎีหรือองค์ความรู้ที่ได้นั้นมีความ ข้อมูลที่มีลักษณะหรือรูปแบบที่แตกต่างและ ถูกต้องหรือไม่ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ สามารถ หลากหลายอย่างเป็นระบบ มีนักวิชาการหลายท่าน สนับสนุนการสร้างทฤษฎีข้างต้นได้หรือไม่ซึ่งผล ที่น�ำเสนอขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลจากการวิจัยที่สอดคล้องกับ ไว้ดังนี้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 319

ฮับบาร์ดและพาวเวอร์ (Hubbard & สัมพันธ์ ด้วยการอ่านเอกสารที่พิมพ์บันทึกไว้ Power, 1999) น�ำเสนอขั้นตอนการวิเคราะห์ บนกระดาษ A4 ในขั้นตอนที่ 1 หลาย ๆ ครั้ง และ ข้อมูลเชิงคุณภาพไว้ 4 ขั้นตอน คือ จดบันทึกย่อที่พบเห็นในเอกสาร ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมข้อมูล จาก 1. การเข้ารหัส (Coding) การเข้ารหัส ข้อมูล 3 ประเภท ดังนี้ เป็นกระบวนการจัดหมวดหมู่ข้อมูลดิบที่ส�ำคัญ 1. ข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์ ให้ด�ำเนิน เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล การเข้ารหัสเป็นวิธีการเดียว การจัดเตรียมข้อมูล ดังนี้ ที่นักวิจัยสามารถจัดท�ำรูปแบบหรือแผนภาพ 1.1 บันทึกหรือถอดค�ำพูดหรือค�ำ ความสัมพันธ์ เพื่อใช้ตอบค�ำถามของการวิจัย ให้สัมภาษณ์จากการบันทึกเสียงเป็นไฟล์ word หลังจากการอ่านเอกสารข้อมูลหลาย ๆ ครั้ง 1.2 แยกไฟล์ที่พิมพ์ค�ำพูดหรือค�ำ 2. จัดท�ำรูปแบบหรือแผนภาพความ ให้สัมภาษณ์ของผู้ให้สัมภาษณ์ไฟล์ละ 1 คน สัมพันธ์ โดยขณะที่อ่านเอกสารควรจดบันทึก 1.3 พิมพ์ไฟล์การสัมภาษณ์ทุกไฟล์ สิ่งที่ค้นพบ ด้วยการสร้างรูปแบบหรือแผนภาพ เป็นเอกสาร เช่น กระดาษ A4 ความสัมพันธ์ที่พบและสนใจค�ำพิเศษหรือ 2. ข้อมูลจากการบันทึกวิดีโอและการ ค�ำเฉพาะที่ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญใช้เพราะมักจะเป็น ถ่ายภาพนิ่งให้ด�ำเนินการจัดเตรียมข้อมูล ดังนี้ ประเด็นที่ส�ำคัญในการวิเคราะห์แม้ว่ารูปแบบหรือ 2.1 จัดท�ำภาพนิ่งและพิมพ์ถอดเสียง แผนภาพความสัมพันธ์ส่วนใหญ่ควรสอดคล้อง จากวิดีโอเป็นไฟล์ภาพและไฟล์word กับค�ำถามการวิจัย แต่บางครั้งอาจมีรูปแบบที่น่า 2.2 พิมพ์ไฟล์ภาพนิ่งและพิมพ์ สนใจและไม่คาดคิดที่อาจพบได้ในข้อมูลที่ไม่ได้ ไฟล์ word ที่ถอดเสียงจากวิดีโอเช่น กระดาษ A4 คาดหวังหรือไม่ได้ตั้งเป็นค�ำถามวิจัยไว้ 3. ข้อมูลจากสิ่งประดิษฐ์และเอกสาร 3. การจัดการข้อมูล โดยการตัดข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง ให้ด�ำเนินการจัดเตรียมข้อมูล ดังนี้ ส่วนที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ทิ้ง จัดรวมหมวดหมู่ 3.1 ถ่ายภาพประดิษฐ์และเอกสาร รหัสเดียวกันหรือแบ่งย่อยหมวดหมู่ตามรหัส ที่เกี่ยวข้อง ด้วยค้นหาแนวคิดหรือประเด็นซ�้ำ ๆ เพื่อใช้เป็น 3.2 พิมพ์ไฟล์ส�ำเนาหรือถ่ายเอกสาร ประเด็นหลักที่จะเชื่อมต่อหรือจัดรวมหมวดหมู่ ภาพสิ่งประดิษฐ์และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลที่เข้ารหัสที่เป็นประเด็นหลักและประเด็นรอง ขั้นตอนที่ 2 ทบทวนค�ำถามการวิจัย ซึ่งเป็นการจัดการข้อมูลให้ประเด็นหลักและ เนื่องจากการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพนั้น ประเด็นรองไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่กับค�ำถามของการวิจัยดังนั้นการทบทวน ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการ ค�ำถามวิจัยจึงควรน�ำมาเป็นประเด็นหลักใน น�ำข้อมูลที่ได้จัดการในขั้นตอนที่ 3 มาตอบค�ำถาม ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย ของการวิจัย โดยการก�ำหนดประเด็นหลักและ ขั้นตอนที่ 3 การจัดการข้อมูล โดยการ ประเด็นรองที่ใช้วิเคราะห์ทั้งหมด และให้ค�ำจ�ำกัด เข้ารหัสและจัดท�ำรูปแบบหรือแผนภาพความ ความหรือนิยามของแต่ละหมวดหมู่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 320

โปปและเมย์ (Pope & Mays, 2002) ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมข้อมูล ข้อมูล กล่าวว่า การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพที่จะน�ำมาวิเคราะห์เนื้อหามีความ ที่เลือกใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญโดยใช้ หลากหลายต้องมีการแปลงหรือถอดความข้อมูล รูปแบบการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบไม่มีโครงสร้าง ที่ไม่ใช่อักษรให้เป็นอักษรก่อนที่จะวิเคราะห์ ใช้ขั้นตอนพื้นฐานเพื่อบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 2 การก�ำหนดประเด็นวิเคราะห์ ดังต่อไปนี้ ด้วยการจ�ำแนกเนื้อหาหรือข้อมูลเป็นประเด็น ขั้นตอนที่ 1 ด�ำเนินการสัมภาษณ์และ ซึ่งอาจเป็นค�ำวลีหรือประโยค เพื่อใช้ในตัดสินใจ บันทึกเทปการสัมภาษณ์ ขณะที่ก�ำลังท�ำการ ในการก�ำหนดประเด็นหลักหรือหัวข้อที่จะน�ำเสนอ สัมภาษณ์ นักวิจัยอาจจดบันทึกบางประเด็น ผลการวิจัย ซึ่งควรอยู่บนพื้นฐานของวัตถุประสงค์ ที่เครื่องบันทึกเสียงไม่สามารถบันทึกได้ (เช่น ของการศึกษาและควรมีประเด็นวิเคราะห์ย่อย ๆ การแสดงออกทางสีหน้าหรือท่าทางหรือการ หรือประเด็นรองของประเด็นหลักด้วย ใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ) ขั้นตอนที่ 3 การเข้ารหัสและจัดหมวดหมู่ ขั้นตอนที่ 2 ถอดเสียง (บันทึกหรือพิมพ์ เป็นการจัดหมวดหมู่และการเข้ารหัสส�ำหรับ ค�ำพูดการให้สัมภาษณ์จากการบันทึกเสียงเป็น การวิเคราะห์ เนื่องจากการวิเคราะห์เนื้อหา ไฟล์เวิร์ดเพื่อแปลงข้อมูลเสียงเป็นอักษร เชิงคุณภาพสามารถใช้วิธีการทั้งแบบอุปนัย ขั้นตอนที่ 3 การเข้ารหัสข้อมูล หมายถึง และนิรนัยได้ การจัดหมวดหมู่และการเข้ารหัส ด้วยการค้นหาค�ำหรือวลีที่คล้ายคลึงกันที่พูด ต้องใช้แนวทางการนิรนัยเป็นหลัก เพื่อเชื่อมโยง หรือผู้ให้สัมภาษณ์ แล้วเข้ารหัสข้อมูลและจัด ตีความกับทฤษฎีที่มีอยู่ที่น�ำไปสู่การหาข้อสรุป หมวดหมู่ข้อมูลตามรหัส อย่างไรก็ตามในกรณีของแนวทางอุปนัยที่มี ขั้นตอนที่ 4 ท�ำความเข้าใจกับแนวคิด วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทฤษฎีใหม่ต้องประเมิน ที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์และที่เกี่ยวข้อง แหล่งข้อมูลทุติยภูมิเพิ่มเติมหรือการวิจัยซ�้ำ กับค�ำถามของการวิจัย ที่สามารถน�ำข้อมูล ในกรณีหรือพื้นที่อื่น ๆ เพื่อทดสอบหรือยืนยัน มาวิเคราะห์ด้วยการตีความได้ ผลการวิจัยครั้งแรกหรือทฤษฎีที่พัฒนาขึ้นมา เฮชเซ่และแชนนอน (Hsieh & Shannon, ขั้นตอนที่ 4 การทดสอบการเข้ารหัสกับ 2005) กล่าวว่า การวิเคราะห์เนื้อหาในงาน กลุ่มตัวอย่าง เช่นเดียวกับการวิเคราะห์ข้อมูล วิจัยเชิงคุณภาพ สามารถใช้ข้อมูลต่าง ๆ เช่น เชิงปริมาณเป็นการทดสอบข้อมูลเชิงคุณภาพ บทสัมภาษณ์หรือวาทกรรมของบุคคลส�ำคัญ เป็นส�ำคัญ เพื่อให้เกิดความสม�่ำเสมอทีมนักวิจัย การสังเกต และเอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร จ�ำเป็นต้องทดลองเข้ารหัสตัวอย่างข้อมูลที่มีอยู่ วิธีการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ประกอบด้วยขั้นตอน ถ้าระดับความสอดคล้องต�่ำ จ�ำเป็นต้องก�ำหนด 8 ขั้นตอนดังนี้ รหัสใหม่จนกว่าการเข้ารหัสจะมีความสอดคล้อง กันมากที่สุด วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 321

ขั้นตอนที่ 5 การเข้ารหัสข้อมูลทั้งหมด มาสังเคราะห์หรือภาพถ่าย โดยน�ำเอาเฉพาะส่วน หลังจากมีการทดสอบความสอดคล้องของการ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ (2) การก�ำหนดประเด็น เข้ารหัสในขั้นตอนก่อนหน้า สิ่งส�ำคัญล�ำดับ วิเคราะห์ โดยการน�ำค�ำถามของการวิจัยหรือ ต่อมาคือต้องใช้กระบวนการเข้ารหัสกับข้อมูล กรอบการวิเคราะห์มาก�ำหนด (3) การเข้ารหัสและ ทั้งหมด จัดหมวดหมู่ เช่น การน�ำเอกสาร ภาพ และอักษร ขั้นตอนที่ 6 การประเมินความสอดคล้อง ข้อความมาให้รหัสตามประเด็นวิเคราะห์มาจัด ของการใช้รหัสข้อมูล หลังการเข้ารหัสควร หมวดหมู่ และ (4) การวิเคราะห์และน�ำเสนอผล ตรวจสอบความถูกต้องและความเชื่อถือของการ การวิจัย เข้ารหัส กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์และการ ขั้นตอนที่ 7 เขียนร่างข้อสรุปบนพื้นฐาน น�ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ของการเข้ารหัสหรือประเด็นส�ำคัญในขั้นตอนนี้ จากที่ได้กล่าวในข้างต้นการวิเคราะห์และ ต้องเขียนร่างข้อสรุปบนพื้นฐานของรหัสที่ การน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ก�ำหนดไว้ และประเด็นส�ำคัญที่ก�ำหนด ให้ได้ผลการวิจัยที่มีคุณภาพ ถูกต้อง และน่าเชื่อถือ ขั้นตอนที่ 8 การน�ำเสนอผลการวิจัย ต้องอาศัยหลักของการตีความโดยนักวิจัย ซึ่งต้อง เพื่อน�ำเสนอผลการวิจัยภายใต้หัวข้อแต่ละหัวข้อ อาศัยความน่าเชื่อถือของข้อมูล แหล่งข้อมูล และ การน�ำเสนอผลการวิจัยควรมีการสนับสนุน องค์ความรู้ของผู้วิจัย รวมถึงใช้ขั้นตอนการวิเคราะห์ จากข้อมูลทุติยภูมิและการโค้ดค�ำพูดของผู้ให้ ข้อมูลที่ดีด้วย ดังนั้นในส่วนนี้ผู้เขียนจึงขอยก ข้อมูลส�ำคัญนอกจากนี้จากการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่างการวิเคราะห์และการน�ำเสนอผลการ ผู้วิจัยยังสามารถน�ำเสนอผลการศึกษาในรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ดังนี้ กราฟเมทริกหรือกรอบความคิดเพื่อให้ผู้อ่าน กรณีตัวอย่างที่น�ำมาใช้ในครั้งนี้คือ สามารถเข้าใจได้ง่าย งานวิจัยทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ เรื่อง กล่าวโดยสรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ การบูรณาการการจัดการมลพิษทางน�้ำของ ข้อมูลเชิงคุณภาพประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลัก กรุงเทพมหานครและองค์กรปกครองท้องถิ่น คือ (1) การจัดเตรียมข้อมูล โดยการน�ำข้อมูล โดยรอบของ วัชรินทร์ อินทพรหม (Intaprom, ที่ได้จากเก็บรวบรวมข้อมูลมาจัดการ เช่น 2018) มีรายละเอียดดังนี้ การถอดเสียงเป็นอักษรข้อความ การน�ำเอกสาร วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 322

ค�ำถามของการวิจัย (Research Question) ปัญหามลพิษทางน�้ำที่เกิดขึ้นบริเวณที่มีความคาบเกี่ยวระหว่างกรุงเทพมหานครกับองค์กรปกครอง ท้องถิ่นที่อยู่โดยรอบมีลักษณะเป็นอย่างไร มีความรุนแรงระดับใด และในแต่ละพื้นที่โดยรอบกรุงเทพฯ มีปัญหา แตกต่างกันอย่างไร และในพื้นที่ใดมีปัญหารุนแรงมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ และยุ่งยากซับซ้อนจนไม่สามารถแก้ไข ได้ด้วยองค์การใดองค์การหนึ่ง เครื่องมือในการวิจัย (Research Measurement) มีดังนี้ 1. การส�ำรวจเอกสารที่เกี่ยวข้อง (Documentary Analysis) ได้แก่ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เอกสารวิชาการ และเอกสารทางราชการต่าง ๆ 2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Observation) ดังนี้ 2.1 ลักษณะทางกายภาพของแหล่งน�้ำในพื้นที่ (ห้วย หนอง คลอง บึง และแม่น�้ำ) โดยเฉพาะ แหล่งน�้ำในบริเวณพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างเทศบาลหรือ อบต. กับ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ สี กลิ่น และสิ่งปนเปื้อน ที่สามารถประจักษ์ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า 2.2 การวางผังเมือง เช่น ถนน ท่อระบายน�้ำ อาคาร บ้านเรือน ทั้งของประชาชนหน่วยงานเอกชน และหน่วยงานราชการ ที่ส่งผลหรืออาจจะส่งผลต่อคุณภาพน�้ำในแหล่งน�้ำ 2.3 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เช่น การเพิ่มปริมาณอากาศในน�้ำ บ่อบ�ำบัดหมู่บ้านหรือชุมชน บ่อบ�ำบัด น�้ำเสียในคลอง ระบบการบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงงาน เป็นต้น(ยกเว้นระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม ที่อาจจะส่งผลต่อคุณภาพน�้ำ ที่มีการจัดการที่ดีอยู่แล้ว) 2.4 การจัดการภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ แหล่งน�้ำสาธารณะ 2.5 พฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่ในการอนุรักษ์แหล่งน�้ำสาธารณะการสร้างมลภาวะให้กับ แหล่งน�้ำสาธารณะ 2.6 การด�ำเนินกิจกรรมโครงการอนุรักษ์น�้ำ 3. การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview)และ การสนทนากลุ่ม (Focus group) ผู้ให้ ข้อมูลหลัก (Key Informants) การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collections) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยท�ำการจดบันทึกข้อมูล จากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การจดบันทึกและหรือการบันทึกเสียงข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์แบบ เจาะลึก และหรือการสนทนากลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมพร้อมกับการถ่ายภาพ สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ที่ท�ำการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) ด้วยการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อให้สามารถน�ำไปวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น เช่น การจ�ำแนกหมวดหมู่ของ ข้อมูลให้เป็นระบบการตรวจสอบข้อมูลที่ได้มาจากการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ คือจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลปฐมภูมิคือจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ให้ข้อมูลหลัก การสนทนากลุ่ม และ การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ด้วยการจัดท�ำกรอบ การวิเคราะห์ (Framework Analysis) การแจงนับ “แนวคิด” ที่เป็นประเด็นของการศึกษาและการตีความ ตามที่ระบุไว้ในค�ำถามและวัตถุประสงค์ของการวิจัย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 323

1. ตัวอย่างการจัดเตรียมข้อมูล คุณภาพน�้ำ ส�ำนักการระบายน�้ำ กรุงเทพมหานคร ตัวอย่างการจัดเตรียมข้อมูล ส�ำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 6 และกรมควบคุม การจัดเตรียมข้อมูลโดยการน�ำข้อมูล มลพิษกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เชิงคุณภาพที่เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือ ที่ตรวจวัดคุณภาพแม่น�้ำเจ้าพระยาและคลองต่าง ๆ วิจัยมาจัดพิมพ์เป็นไฟล์ word ไฟล์ภาพ และ ที่อยู่ในบริเวณพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างกรุงเทพ- พิมพ์ไฟล์การสัมภาษณ์ทุกไฟล์เป็นเอกสาร เช่น มหานครกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยู่ กระดาษ A4 ก่อนที่จะวิเคราะห์มีดังนี้ โดยรอบ ในปี พ.ศ. 2550 ดังตารางที่ 1 1. การส�ำรวจเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2. การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth (Documentary Analysis) คือเอกสารข้อมูล Interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) การตรวจวัดคุณภาพน�้ำของส�ำนักงานจัดการ ผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants)

ตารางที่ 1 ผลการตรวจวัดคุณภาพน�้ำ

ปริมาณ ปริมาณความ ปริมาณ ออกซิเจน ต้องการ แบคทีเรีย ชื่อคลอง สถานที่เก็บน�้ำ ละลาย ออกซิเจน (ซีโอแอล/ (DO) (มก./ล) (BOD) (มก./ล) 100 มล.) แม่น�้ำเจ้าพระยา สะพานพระราม 7 2.8 2.8 6.5E+04 แม่น�้ำเจ้าพระยา สะพานพระพุทธยอดฟ้า 2.6 3.0 6.5E+04 แม่น�้ำเจ้าพระยา พระราม 9 2.8 3.7 1.0E+05 แม่น�้ำเจ้าพระยา ช่องนนทรี 3.1 4.0 1.1E+05 แม่น�้ำเจ้าพระยา ปิ่นเกล้า 2.7 2.8 4.7E+04 แม่น�้ำเจ้าพระยา สะพานกรุงเทพ 2.2 4.0 2.0E+05 คลองคูเมืองเดิม หน้ากรมที่ดิน 1.5 5.8 2.44E+09 คลองหลอดวัดราชนัดดา หลังกทม. 1 0.4 10.8 3.21E+10 คลองหลอดวัดราชบพิธ ถนนตีทอง 0.3 13.5 2.83E+10 คลองรอบกรุง สะพานผ่านฟ้า 0.6 7.6 1.16E+11 คลองรอบกรุง สะพานด�ำรงสถิต 0.7 14.6 2.45E+11 คลองมหานาค เจริญผล 0.7 17.3 3.54E+11 คลองผดุงกรุงเกษม สถานีสูบน�้ำกรุงเกษม 0.5 15.9 5.61E+10 คลองผดุงกรุงเกษม สถานีรถไฟกรุงเทพ 0.5 14.3 6.06E+11 คลองสามเสน ปตร. สามเสน 1.4 9.8 6.59E+09 คลองสามเสน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 0.3 26.8 6.63E+11 คลองแสนแสบ ตลาดหนองจอก 3.1 3.4 1.74E+04

ที่มา: วัชรินทร์ อินทพรหม (Intaprom, 2018) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 324

“… ตอนนี้น�้ำเสียในชุมชนเราจะไม่เสียมาก จะเน่าเสียบ้างเฉพาะที่ แต่จะเป็นตอนที่น�้ำขึ้นน�้ำลงมากกว่า ถ้าถามว่าน�้ำดีไหมน�้ำก็บอกว่ายังใส สะอาดดี ถ้าน�้ำหนุนถ้าน�้ำจากแม่น�้ำเจ้าพระยาขึ้นจะท�ำให้น�้ำดี แต่จะเน่าเสีย บริเวณปลายคลอง เพราะน�้ำจะดันขยะและน�้ำเสียไปรวมบริเวณนั้น แต่โดยรวม ยังถือว่าดีอยู่ น�้ำจะยังใช้ประโยชน์ได้ เพราะน�้ำในส่วนนี้ยังมีการสูบไปใช้ได้อยู่ ชาวบ้านที่อยู่ฝั่งคลองแถวริมคลองที่ใช้น�้ำเหล่านี้อยู่เขาจะรู้ว่าเวลาไหน คลองไหนใช้ได้หรือไม่ควรใช้ ถ้าตอนไหนน�้ำในคลองไหนที่น�้ำสีไม่ดีเขาก็จะ ไม่อาบอีกครับ ส่วนมากเขาจะอาบแถวคลองบางกอกน้อยและคลองบางกรวย เป็นส่วนใหญ่ นอกจากน�้ำเสียส่วนใหญ่จะถูกปล่อยมาจากครัวเรือนแล้ว จะมีผู้ประกอบการปล่อยของเสียลงสู่แม่น�้ำล�ำคลองบ้าง ส่วนมากเป็นพวก อู่ซ่อมรถและโรงพ่นสีรถยนต์ ...” (กรรมการชุมชนเทศบาลเมืองบางกรวย นนทบุรี, การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, 2 เมษายน 2551)

ที่มา: วัชรินทร์ อินทพรหม (Intaprom, 2018)

3. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non- อนุรักษ์แหล่งน�้ำสาธารณะ การสร้างมลภาวะ Participant Observation) ลักษณะทางกายภาพ ให้กับแหล่งน�้ำสาธารณะ และการด�ำเนินกิจกรรม ของแหล่งน�้ำในพื้นที่ การวางผังเมือง ระบบบ�ำบัด โครงการอนุรักษ์น�้ำ น�้ำเสีย พฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่ในการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 325

ตัวอย่างการก�ำหนดประเด็นวิเคราะห์ 3.4 รูปแบบการให้ความช่วยเหลือ วิธีการก�ำหนดประเด็นวิเคราะห์ โดยการ สนับสนุน ให้รหัสเป็น C4 น�ำค�ำถามของการวิจัยมาแตกประเด็นค�ำส�ำคัญ 4. การจัดการมลพิษทางน�้ำบริเวณ แล้วให้รหัสแทนค�ำแต่ละค�ำ ยกตัวอย่างเช่น ที่มีความคาบเกี่ยวระหว่างกรุงเทพมหานครกับ 1. ระดับปัญหามลพิษทางน�้ำที่เกิดขึ้น องค์การปกครองท้องถิ่นที่อยู่โดยรอบ ให้รหัส บริเวณที่มีความคาบเกี่ยวระหว่างกรุงเทพ- เป็น D โดยพิจารณาเป็น 3 ส่วน คือ มหานครกับองค์กรปกครองท้องถิ่นที่อยู่โดยรอบ 4.1 กิจกรรมหรือโครงการการจัดการ ให้รหัสเป็น A โดยพิจารณาจาก 2 ส่วน คือ มลพิษทางน�้ำให้รหัสเป็น D1โดยก�ำหนดประเด็น 1.1 คุณภาพน�้ำ ปริมาณออกซิเจน ย่อยของกิจกรรมหรือโครงการ ให้รหัสเป็น D1.1, ที่ละลายในน�้ำ (DO) และปริมาณออกซิเจนที่ถูกใช้ D1.2, D1.3,………………………D1..? ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ชนิดที่ย่อยสลายได้ 4.2 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส�ำเร็จ (BOD) ให้รหัสเป็น A1 ของการจัดการมลพิษทางน�้ำ ให้รหัสเป็น D2 1.2 การใช้ประโยชน์จากแม่น�้ำ โดยก�ำหนดประเด็นย่อยของปัจจัยที่ส่งผลต่อ ล�ำคลองในพื้นที่ ให้รหัสเป็น A2 โดยก�ำหนด ความส�ำเร็จให้รหัสเป็น D2.1, D2.2, D2.3, ประเด็นย่อยลักษณะการใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ให้ ……………………D2..? รหัสเป็น A2.1, A2.2, A2.3,……………………… 4.3 ปัญหาและอุปสรรคในการ A2..? จัดการมลพิษทางน�้ำ ให้รหัสเป็น D3 โดยก�ำหนด 2. สาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางน�้ำ ประเด็นย่อยของกิจกรรมหรือโครงการ ให้รหัสเป็น ที่เกิดขึ้นบริเวณที่มีความคาบเกี่ยวระหว่าง D3.1, D3.2, D3.3,………………………D3..? กรุงเทพมหานครกับองค์กรปกครองท้องถิ่นที่อยู่ การเข้ารหัสและจัดหมวดหมู่เป็นการ โดยรอบ ให้รหัสเป็น B โดยก�ำหนดประเด็นย่อย น�ำข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการเก็บรวบรวม สาเหตุต่าง ๆ แต่ละสาเหตุ ให้รหัสเป็น B1, B2, ข้อมูลทั้ง 3 ประเภท คือ เอกสารที่เกี่ยวข้องไฟล์ B3,………………………B..? ถอดเสียงจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการ 3. รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่าง สนทนากลุ่ม และภาพถ่ายที่ได้จากการสังเกต กรุงเทพมหานครกับองค์กรปกครองท้องถิ่นที่อยู่ แบบไม่มีส่วนร่วม เข้ารหัสและจัดหมวดหมู่ตาม โดยรอบ ให้รหัสเป็น C ดังนี้ ที่ได้ให้รหัสตามที่ได้ก�ำหนดประเด็นวิเคราะห์ 3.1 รูปแบบความขัดแย้ง ให้รหัส ผู้เขียนขอยกตัวอย่างการเข้ารหัสข้อมูลในแต่ละ เป็น C1 ประเภทบางส่วน ดังนี้ 3.2 รูปแบบการร่วมมือ ให้รหัส การแทนค่าสัญลักษณ์ เป็น C2 A1 คุณภาพน�้ำ 3.3 รูปแบบการประนีประนอม ให้รหัส A2 การใช้ประโยชน์จากแม่น�้ำล�ำคลอง เป็น C3 ในพื้นที่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 326

B1 สาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษ โดยรอบ โดยการวิเคราะห์คุณภาพน�้ำในบริเวณ ทางน�้ำ พื้นที่ส�ำนักงานเขตต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร B2 สาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษ ทั้ง 20 เขต กับพื้นที่เชื่อมต่อกับองค์การบริหาร ทางน�้ำ ส่วนท้องถิ่นต่าง ๆ ที่มีพื้นที่เชื่อมต่อกับกรุงเทพ- D การจัดการมลพิษทางน�้ำ มหานคร ในเขตจังหวัด ทั้ง 6 จังหวัด ด้วยการ 1. การเข้ารหัสข้อมูลจากเอกสาร วิเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้อง (Documentary 2. การเข้ารหัสข้อมูลจากการสัมภาษณ์ Analysis) คือ เอกสารข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพน�้ำ แบบเจาะลึกและการสนทนากลุ่ม ของสานักระบายน�้ํ ำกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2550 3. การเข้ารหัสข้อมูลจากการสังเกต ที่วัดคุณภาพแม่น�้ำเจ้าพระยาและคลองต่าง ๆ แบบไม่มีส่วนร่วม (ภาพถ่าย) ที่อยู่ในบริเวณพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่าง กรุงเทพ- ตัวอย่างการวิเคราะห์และน�ำเสนอ มหานครกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่อยู่ ผลการวิจัย โดยรอบ โดยจะนําเสนอตัวชี้วัดคุณภาพน�้ำ 2 ชนิด การวิเคราะห์ข้อมูลและน�ำเสนอผลการ คือ (1) ดีโอ หรือปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน�้ำ วิจัยเชิงคุณภาพ ความถูกต้องและน่าเชื่อถือนั้น (Dissolved Oxygen-DO) และ (2) บีโอดี หรือ ต้องอาศัยความน่าเชื่อถือของข้อมูล ด้วยการ ปริมาณของออกซิเจนที่ถูกใช้ในการย่อยสลาย ตรวจสอบข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการตรวจสอบ อินทรีย์ชนิดที่ย่อยสลายได้ (Biochanical สามเส้า (Triangulation) ซึ่งการยกตัวอย่าง Oxygen Demand -BOD) ข้อมูลจากการ บางส่วนของการวิจัยเพื่อน�ำเสนอการวิเคราะห์ สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลักในพื้นที่นั้น ๆ และน�ำเสนอผลการวิจัยในครั้งนี้ผู้เขียนใช้การ และข้อมูลจากการสังเกตลักษณะทางกายภาพ ตรวจสอบสามเส้า 2 แบบ คือ การตรวจสอบ ของแหล่งน�้ำ เช่น กลิ่น สีและสิ่งเจือปนในน�้ำ สามเส้าตามแหล่งข้อมูลเช่นข้อมูลที่รวบรวม ที่สามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า จากบุคคลเวลาหรือจากที่อื่น ๆ ที่ต่างกันและ คุณภาพน�้ำบริเวณพื้นที่กลุ่มอนุรักษ์ การตรวจสอบสามเส้าตามวิธีการเก็บรวบรวม ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ข้อมูล คือ เอกสาร การสัมภาษณ์ และการสังเกต คุณภาพ น�้ำในบริเวณพื้นที่ส�ำนักเขต ดังนี้ กลุ่มอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว คุณภาพน�้ำในบริเวณพื้นที่กรุงเทพ- คือ พื้นที่ของ ส�ำนักงานเขตบางพลัด และมี มหานครกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่อยู่ พื้นที่เชื่อมต่อกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่อยู่ โดยรอบ โดยรอบ คือ เทศบาลเมืองบางกรวย ผลการ ในส่วนนี้เป็นการน�ำเสนอสถานการณ์ วิเคราะห์คุณภาพน�้ำในบริเวณพื้นที่นี้ดังในภาพ คุณภาพน�้ำของกรุงเทพมหานครบริเวณ พื้นที่ และตาราง คาบเกี่ยวกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 327

A1

ปริมาณ ปริมาณ ปริมาณ ชื่อคลอง สถานที่เก็บน�้ำ ออกซิเจน ความต้องการ แบคทีเรีย ละลาย (DO) ออกซิเจน (ซีโอแอล/ (มก./ล) (BOD) (มก./ล) 100 มล.) แม่น�้ำเจ้าพระยา สะพานพระราม 7 2.8 2.8 6.5E+04 แม่น�้ำเจ้าพระยา สะพานกรุงเทพ 2.2 4.0 2.0E+05 คลองคูเมืองเดิม หน้ากรมที่ดิน 1.5 5.8 2.44E+09 คลองสามเสน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 0.3 26.8 6.63E+11 คลองแสนแสบ ตลาดหนองจอก 3.1 3.4 1.74E+04

ภาพที่ 1 การเข้ารหัสข้อมูลจากเอกสาร ที่มา: วัชรินทร์ อินทพรหม (Intaprom, 2018)

“… ตอนนี้น�้ำเสียในชุมชนเราจะไม่เสียมาก จะเน่าเสียบ้างเฉพาะที่ แต่จะเป็นตอนที่น�้ำขึ้นน�้ำลงมากกว่า ถ้าถามว่าน�้ำดีไหมน�้ำก็บอกว่ายังใส A1 สะอาดดี ถ้าน�้ำหนุนถ้าน�้ำจากแม่น�้ำเจ้าพระยาขึ้นจะท�ำให้น�้ำดี แต่จะเน่าเสีย บริเวณปลายคลอง เพราะน�้ำจะดันขยะและน�้ำเสียไปรวมบริเวณนั้น แต่โดยรวม ยังถือว่าดีอยู่ น�้ำจะยังใช้ประโยชน์ได้ เพราะน�้ำในส่วนนี้ยังมีการสูบไปใช้ได้อยู่ A2 ชาวบ้านที่อยู่ฝั่งคลองแถวริมคลองที่ใช้น�้ำเหล่านี้อยู่เขาจะรู้ว่าเวลาไหน คลองไหนใช้ได้หรือไม่ควรใช้ ถ้าตอนไหนน�้ำในคลองไหนที่น�้ำสีไม่ดีเขาก็จะ ไม่อาบอีกครับ ส่วนมากเขาจะอาบแถวคลองบางกอกน้อยและคลองบางกรวย B1 เป็นส่วนใหญ่ นอกจากน�้ำเสียส่วนใหญ่จะถูกปล่อยมาจากครัวเรือนแล้ว จะมีผู้ประกอบการปล่อยของเสียลงสู่แม่น�้ำล�ำคลองบ้าง ส่วนมากเป็นพวก B2 อู่ซ่อมรถและโรงพ่นสีรถยนต์ ...” (กรรมการชุมชนเทศบาลเมืองบางกรวย นนทบุรี, การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, 2 เมษายน 2551)

ภาพที่ 2 การเข้ารหัสข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสนทนากลุ่ม

ที่มา: วัชรินทร์ อินทพรหม (Intaprom, 2018) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 328

B1 A1

A2

D

ภาพที่ 3 การเข้ารหัสข้อมูลจากการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (ภาพถ่าย) ที่มา: วัชรินทร์ อินทพรหม (Intaprom, 2018) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 329

ภาพที่ 4 การแบ่งเขตการพัฒนาตามบทบาทการพัฒนาเมือง

ภาพที่ 5 คุณภาพน�้ำบริเวณพื้นที่กลุ่มอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 330

ตารางที่ 2 คุณภาพน�้ำในบริเวณพื้นที่กลุ่มอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวปี พ.ศ. 2550

คุณภาพน�้ำเฉลี่ย ปี พ.ศ.2550 แม่น�้ำ/คลอง พื้นที่คาบเกี่ยว DO BOD (mg/I) (mg/I) 1. แม่น�้ำเจ้าพระยา 3.00 3.70 (สะพานพระราม 6) เขตบางพลัด, 2. คลองบางกรวย เทศบาลเมือง 2.90 5.50 3. คลองบางยี่ขัน บางกรวย 1.25 11.40 4. คลองบางพลู 1.00 11.80 5. คลองบางพลัด 2.00 10.50 6. คลองพระครู 2.40 11.80

ที่มา: วัชรินทร์ อินทพรหม (Intaprom, 2018)

จากการสังเกตลักษณะของแม่น�้ำ มากนัก มีกลิ่นเหม็นตอนน�้ำลดและสีของน�้ำ เจ้าพระยาและคลองต่าง ๆ ในบริเวณพื้นที่ เป็นสีน�้ำตาลตอนน�้ำลดและมีสีธรรมชาติตอนน�้ำขึ้น ส�ำนักเขตกลุ่มอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและการ โดยเฉพาะช่วงเวลาที่น�้ำขึ้นสูง ท่องเที่ยวที่มีพื้นที่ของกรุงเทพมหานครเพียง เนื่องจากน�้ำทะเลหนุน น�้ำในคลองจะมี เขตเดียวที่เชื่อมต่อกับจังหวัดนนทบุรี คือ พื้นที่ คุณภาพดีขึ้นมาก เนื่องจากคลองต่าง ๆ ในบริเวณนี้ ของส�ำนักงานเขตบางพลัด ซึ่งมีพื้นที่เชื่อมต่อ เชื่อมต่อกับแม่น�้ำเจ้าพระยาที่มีระยะใกล้ ท�ำให้น�้ำ กับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่อยู่โดยรอบ คือ จากแม่น�้ำเจ้าพระยาที่เข้ามาในคลองตอนน�้ำขึ้น เทศบาลเมืองบางกรวย เมื่อพิจารณาลักษณะการ ท�ำให้คุณภาพน�้ำในคลองคุณภาพดีขึ้น โดยเฉพาะ ไหลเวียนของน�้ำในคลองจะพบว่าคลองต่าง ๆ ในฤดูน�้ำหลาก หรือในช่วงเดือนมิถุนายน ถึงเดือน ในเขตพื้นที่นี้จะตั้งอยู่ใกล้กับแม่น�้ำเจ้าพระยา ธันวาคม ซึ่งจากการสังเกตจะพบว่ายังมีท่าน�้ำ โดยทิศทางการไหลของน�้ำในคลองจะไหลลงสู่ ของบ้านเรือนประชาชนที่อยู่ริมคลองใช้น�้ำคลอง แม่น�้ำ เจ้าพระยาทั้งหมด และเมื่อพิจารณา ในการอุปโภคจ�ำนวนมาก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณ คุณภาพน�้ำคลองในพื้นที่มีคุณภาพไม่ค่อยดี น�้ำฝนและฤดูฝนที่อาจเริ่มต้นฤดูและหมดฤดูช้าเร็ว เนื่องจากเวลาน�้ำลงจะมีกลิ่นเหม็นและมีสี หรือไม่ด้วย น�้ำตาลด�ำ แต่จะมีความสะอาดพอใช้ตอนน�้ำขึ้น เมื่อพิจารณาคุณภาพน�้ำในการตรวจวัด และมีผักตบชวาและขยะลอยในผิวน�้ำบ้างแต่ไม่ DO หรือปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน�้ำและ BOD วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 331

หรือปริมาณออกซิเจนที่ถูกใช้ในการย่อยสลาย ลงแหล่งน�้ำสาธารณะโดยไม่ได้บ�ำบัดก่อน และ สารอินทรีย์ชนิดที่ย่อยสลายได้ มีความสอดคล้อง ด้วยคุณภาพน�้ำในบริเวณ พื้นที่กลุ่มนี้ยังพอใช้ได้ กับการสังเกตข้างต้น กล่าวคือ น�้ำในแหล่งน�้ำ จึงมีกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับแหล่งน�้ำ ได้แก่ มีคุณภาพในบริเวณพื้นที่ส�ำนักเขตกลุ่มอนุรักษ์ การเกษตร เช่น เลี้ยงปลา ปลูกผักบุ้ง ผักกะเฉด ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวนี้ไม่ค่อยดีหรือ การน�ำไปใช้อุปโภค เช่น ใช้อาบ ซักผ้า และ ก�ำลังจะเน่าเสีย ค่า D0 ประมาณ 2 มิลลิกรัม ล้างถ้วย ล้างชาม การใช้ในการสัญจรและค้าขาย ต่อลิตร ซึ่งจัดอยู่ในแหล่งน�้ำ ประเภท 4 (ค่า และกิจของสงฆ์ โดยผู้ให้ข้อมูลหลักดังกล่าวได้…” มาตรฐานแหล่งน�้ำประเภท 4 มีค่า D0 อยู่ระหว่าง (เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาล 24 มิลลิกรัมต่อลิตร) เป็นแหล่งน�้ำที่ได้รับน�้ำทิ้ง เมืองบางกรวย นนทบุรี, การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, จากกิจกรรมบางประเภท ซึ่งส่วนใหญ่คือจาก 2 เมษายน 2551) น�้ำทิ้งจากการบริโภคและอุปโภคในครัวเรือน ผู้ให้ข้อมูลหลักอีกท่านหนึ่งที่เป็น ซึ่งยังคงสามารถใช้เป็นประโยชน์เพื่อการอุปโภค กรรมการชุมชนอีก 2 ท่าน ในพื้นที่ของเทศบาล และบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติ เมืองบางกรวย นนทบุรี ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ และผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน�้ำเป็น คุณภาพน�้ำของแหล่งน�้ำในพื้นที่ที่เชื่อมต่อกับ พิเศษก่อน กลุ่มอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ข้อมูลคุณภาพน�้ำในบริเวณพื้นที่กลุ่ม ของกรุงเทพมหานคร ไว้คล้าย ๆ กันว่า อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว “…ตอนนี้น�้ำเสียในชุมชนเราจะไม่เสียมาก ดังกล่าว สอดคล้องกับการให้ข้อมูลของผู้ให้ จะเน่าเสียบ้างเฉพาะที่ แต่จะเป็นตอนที่น�้ำขึ้น ข้อมูลหลักที่ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข น�้ำลงมากกว่า ถ้าถามว่าน�้ำดีไหมน�้ำก็บอกว่า และสิ่งแวดล้อมของเทศบาลเมืองบางกรวย ยังใสสะอาดดี ถ้าน�้ำหนุนถ้าน�้ำจากแม่น�้ำ นนทบุรี ที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่บริเวณกลุ่ม เจ้าพระยาขึ้นจะท�ำให้น�้ำดี แต่จะเน่าเสียบริเวณ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ซึ่งเป็น ปลายคลอง เพราะน�้ำจะดันขยะและน�้ำเสียไปรวม พื้นที่ที่มีคุณภาพน�้ำไม่ค่อยดีแต่ยังสามารถใช้ บริเวณนั้น แต่จะดีในที่อื่น ๆ แต่ถ้าน�้ำลงน�้ำที่ ประโยชน์ได้บ้าง ให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพน�้ำ ปลายคลองก็จะใส แต่ที่อื่น ๆ รวมถึงต้นน�้ำ ของแหล่งน�้ำในพื้นที่ที่เชื่อมต่อกับกลุ่มอนุรักษ์ (ใกล้แม่น�้ำเจ้าพระยา) ก็จะไม่ค่อยดี ก็จะหมุน ศิลปวัฒนธรรม และการท่องเที่ยวของกรุงเทพ- อยู่อย่างนี้ แต่โดยรวมยังถือว่าดี อยู่น�้ำจะยัง มหานครไว้ว่า ใช้ประโยชน์ได้ เพราะน�้ำในส่วนนี้ยังมีการสูบ “…สาเหตุที่ท�ำให้น�้ำเน่าเสียมีหลายแหล่ง ไปใช้ได้อยู่ และส่วนมากจะเป็นสวนมะพร้าว แต่ที่สร้างปัญหามากที่สุดยังเป็นที่อยู่อาศัย สวนผลไม้อะไรประมาณนี้ ชาวบ้านที่อยู่ฝั่งคลอง ต้นเหตุที่ท�ำให้น�้ำเน่าเสียรองลงมาเป็นสถาน แถวริมคลองที่ใช้น�้ำเหล่านี้อยู่เขาจะรู้ว่าเวลาไหน ประกอบการต่าง ๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม คลองไหนใช้ได้หรือไม่ควรใช้ ถ้าตอนไหนน�้ำ ขนาดเล็กและอู่ซ่อมรถยนต์ที่แอบปล่อยน�้ำเสีย ในคลองไหนที่น�้ำสีไม่ดีเขาก็จะไม่อาบอีกครับ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 332

ส่วนมากเขาจะอาบแถวคลองบางกอกน้อยและ ด้วย 4 ขั้นตอนหลัก คือ 1) การจัดเตรียมข้อมูล คลองบางกรวยเป็นส่วนใหญ่ นอกจากน�้าเสีย 2) การก�าหนดประเด็นวิเคราะห์ 3) การเข้ารหัส ส่วนใหญ่จะถูกปล่อยมาจากครัวเรือนแล้ว จะมี และจัดหมวดหมู่ และ 4) การวิเคราะห์และน�าเสนอ ผู้ประกอบการปล่อยของเสียลงสู่แม่น�้าล�าคลองบ้าง ผลการวิจัย ส่วนมากเป็นพวกอู่ซ่อมรถ และโรงพ่นสีรถยนต์...” การวิเคราะห์และการน�าเสนอผลการ (กรรมการชุมชนเทศบาลเมืองบางกรวย นนทบุรี, วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพให้ได้ผลการวิจัย การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, 2 เมษายน 2551) ที่มีคุณภาพถูกต้อง และน่าเชื่อถือนั้นต้องอาศัย “…น�้าในคลองถ้าน�้าขึ้นก็ค่อย องค์ประกอบ 3 ส่วนหลัก คือ 1) ความถูกต้องและ ยังชั่วหน่อย ถ้าน�้าลงก็จะไม่ค่อยดี เพราะ น่าเชื่อถือของข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่เหมาะสม มันมีหมู่บ้านริมคลองปล่อยน�้าเสียออกมา คือ เนื่องจากข้อมูลเชิงคุณภาพมีความหลากหลาย หมู่บ้านหนึ่งแถวนี้น�้ามันเน่าค่ะ เขาไม่มีบ่อ ที่ได้จากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ การสัมภาษณ์ บ�าบัด ถ้าน�้าขึ้นก็จะดีเพราะว่าเราอยู่ปากคลอง การสนทนากลุ่ม และการสังเกต และข้อมูลจาก วัดสนาม แต่ถ้าอยู่กันคลองก็จะแย่หน่อย แหล่งทุติยภูมิที่เกี่ยวข้อง ทั้งที่เป็นเอกสารหรือ เพราะว่าน�้าจะดันเข้าไป มันจะอยู่ปากคลอง เป็นข้อมูลที่อยู่ในระบบสารสนเทศ ข้อมูลเชิง วัดสนามด้วยและก็ปากคลองใหญ่ด้วย ตอนน�้าดี คุณภาพดังกล่าวต้องอาศัยความน่าเชื่อถือของ ก็พอใช้ได้ อาบได้ ซักผ้าได้ ล้างชามได้แต่เวลา ข้อมูลด้วยการตรวจสอบข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการ เลิกอาบแล้วก็จะเอาน�้าประปาราดอีกที่กลัวคัน ตรวจสอบสามเส้า (Triangulation) 2) องค์ความรู้ ส่วนการสัญจรในคลองนอกจากจะมีเรือหางยาว ของผู้วิจัย เนื่องจาการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยสารแล้ว ยังมีเรือพายอยู่บ้างที่ขายของ ต้องอาศัยหลักของการตีความโดยนักวิจัย ดังนั้น มีเรือกวยเตี๋ยว มีเรือลูกชิ้น เรือไอศกรีม นักวิจัยต้องมีความรู้และรอบรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง เรือผลไม้ และมีพระสงฆ์พายเรือบิณฑบาต กับการวิจัยจึงจะสามารถท�าความเข้าใจและ ในตอนเช้า…” (กรรมการชุมชนเทศบาลเมือง วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบค�าถามของการวิจัยได้ บางกรวย นนทบุรี, การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, และ 3) ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลที่ดี โดยขั้นตอน 2 เมษายน 2551) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลัก คือ (1) การจัดเตรียมข้อมูล (2) การ สรุป ก�าหนดประเด็นวิเคราะห์ (3) การเข้ารหัสและ กล่าวโดยสรุปในทัศนะของผู้เขียน จัดหมวดหมู่ และ (4) การวิเคราะห์และน�าเสนอ ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพประกอบ ผลการวิจัย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 333

REFERENCES

วัชรินทร์ อินทพรหม. (2561). การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ : เมคมีเดีย คอร์ปอเรชัน. Dudovskiy, J. (2018). Apple Value Chain Analysis. Research Methodology. Hsieh, H. F. and Shannon, S. E. (2005). Three Approaches to Qualitative Content Analysis. Qualitative Health Research. 15, 1277-1288. Moser, A. & Korstjens, I. (2017). Series: practical guidance to qualitative research. Part 1: Introduction. European Journal of General Practice. 23(1), 271-273. Pope, C. & Mays, N. (2002). Qualitative methods in research on healthcare quality. Qual Saf Health Care. 11(2), 148–152. Power, B. & Hubbard, R. (1999). Becoming teacher researchers one moment at a time. Language Arts. 77(1), 34-39. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 334

บทความวิชาการ

ความเหมาะสมในการน�ำระบบการเข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้พิพากษาศาลยุติธรรม ในสหรัฐอเมริกามาใช้ในประเทศไทย THE APPROPRIATENESS OF APPLYING THE ENTRY POSITION SYSTEM TO THE JUDGES OF JUSTICE IN THE UNITED STATES OF AMERICAIN THAILAND พรเพชร ชลศักดิ์ตระกูล1* และ ณัฐดนัย สุภัทรากุล2 Pornphet Cholsaktrakul1* and Nutdanai Supatrakul2

สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Laws Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand1*, 2

Email: [email protected]*

Received: 2019-04-04 Revised: 2019-04-29 Accepted: 2019-05-03

บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความเหมาะสมในการน�ำระบบการเข้าสู่ต�ำแหน่ง ของผู้พิพากษาศาลยุติธรรมในสหรัฐอเมริกามาใช้ในประเทศไทย โดยปกติแล้วการเข้าสู่ต�ำแหน่งของ ผู้พิพากษาศาลยุติธรรมจะเป็นระบบการแต่งตั้งและระบบการสอบแข่งขัน ส�ำหรับประเทศไทยใช้ระบบ สอบแข่งขันและต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม จากนั้นจึงมีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง แต่ในการคัดเลือกผู้พิพากษาศาลยุติธรรมของสหรัฐอเมริกาอาจแบ่งได้ เป็น 3 ระบบ คือ ระบบการแต่งตั้ง ระบบการเลือกตั้ง และระบบผสม การคัดเลือกดังกล่าวมีการ ให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการคัดเลือก ถือเป็นการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในอ�ำนาจตุลาการ ตามหลักประเทศที่ปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ต้องให้ความส�ำคัญในการมีส่วนร่วมของประชาชน ในอ�ำนาจอธิปไตย ซึ่งประเทศไทยยังขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการใช้อ�ำนาจตุลาการอยู่ แต่หากจะน�ำระบบการคัดเลือกผู้พิพากษาของสหรัฐอเมริกามาใช้ในประเทศไทย ยังคงไม่มีความ เหมาะสม เพราะระบบการพิจารณาพิพากษาคดีของไทยเป็นการตัดสินคดีโดยผู้พิพากษาไม่ใช่เป็น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 335

ระบบลูกขุนเหมือนเช่นในสหรัฐอเมริกา และประเทศไทยยังเป็นประเทศที่มีระบบอุปถัมภ์ เห็นแก่ พวกพ้อง และยังพบปัญญาทุจริตในการเลือกตั้งอยู่เป็นประจ�ำ เห็นได้จากการเลือกตั้งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรประเทศไทยในปัจจุบันก็ยังมีความไม่โปร่งใสปรากฏให้เห็นอยู่ การน�ำระบบการคัดเลือก ผู้พิพากษาของสหรัฐอเมริกามาใช้ในประเทศไทยเพื่อให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในอ�ำนาจตุลาการ คงยังไม่มีความเหมาะสมในตอนนี้

ค�ำส�ำคัญ: ผู้พิพากษาศาลยุติธรรม สหรัฐอเมริกา การเข้าสู่ต�ำแหน่ง

ABSTRACT The objective of this article is to study the appropriateness of applying the entry position system to the judges of justice in the United States of America in Thailand. Usually, entering to the position of judge is the appointed system and competitive examination system. For Thailand, the competitive examination system must be approved by the Judiciary Committee. Then there was The Royal command to officially endorse. The selection of Judges of the United States can be divided into 3 systems. The appointment system, election systems and mixed systems. The selection has allowed the public to participate in the selection process. Considered to allow people to participate in judicial power. According to the principles of a country that is democratic, which requires the importance of public participation in sovereignty. Which Thailand does not allow people to participate in the use of judicial power If applying to the United States judges selection system in Thailand still not appropriate because the Thai judicial system is a judgment by the judge, not a jury system, as in the United States and Thailand is also a country with a patronage system help or sake of the dissenters and still found corruption in the election system which can be seen from the election of members of the House of Representatives in Thailand which is still not transparent. The selection system for judges of the United States came in Thailand for the people to participate in the judicial power there is no appropriate now.

Keywords: Judge of the Court of Justice, United States, entry to the position. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 336

บทน�ำ ความส�ำคัญ โดยเฉพาะในศาลยุติธรรมที่เป็น โดยเหตุที่อ�ำนาจอธิปไตย (Sovereignty) การพิจารณาคดีอาญาและคดีแพ่งซึ่งเป็นคดี เป็นของประชาชน ประเทศที่ปกครองระบอบ ที่เกี่ยวข้องกับประชาชนเป็นหลัก ในการเข้าสู่ ประชาธิปไตยจึงต้องให้ความส�ำคัญกับการ ต�ำแหน่งของผู้พิพากษาศาลยุติธรรมโดยส่วนใหญ่ รับรอง คุ้มครอง และปกป้องสิทธิ เสรีภาพของ ในหลาย ๆ ประเทศจะเป็นระบบแต่งตั้ง และ ปัจเจกชนแต่ละคนเป็นส�ำคัญ โดยเฉพาะเรื่อง ระบบการสอบแข่งขัน ส�ำหรับประเทศไทยใช้ การมีส่วนร่วมของประชน (Public participation) ระบบสอบแข่งขันและต้องผ่านการคัดเลือก เป็นกระบวนการที่ส�ำคัญอย่างยิ่งในการปกครอง โดยคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม จากนั้น ระบอบประชาธิปไตยเพราะจะเป็นเครื่องบ่งชี้ จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ถึงระดับการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศนั้น ๆ แต่ในสหรัฐอเมริกาการเข้าสู่ต�ำแหน่งของ ประเทศไทยเองซึ่งมีการปกครองระบอบ ผู้พิพากษาศาลยุติธรรมจะมีระบบที่แตกต่างจาก ประชาธิปไตยจึงต้องให้ความส�ำคัญกับการมี ประเทศอื่น ๆ คือ มีระบบการเลือกตั้งผู้พิพากษา ส่วนร่วมของประชาชนเช่นกัน โดยเฉพาะการ เป็นการให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการ มีส่วนร่วมในอ�ำนาจอธิปไตยทั้ง 3 อ�ำนาจ ส�ำหรับ คัดเลือกตุลาการเข้าไปท�ำหน้าที่ เพื่อแสดงถึง อ�ำนาจนิติบัญญัติและอ�ำนาจบริหารมีการให้ การที่ประชาชนเป็นเจ้าของอ�ำนาจอธิปไตย ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมหลายรูปแบบ เช่น การ โดยแท้จริง บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ เลือกตั้งผู้แทนราษฎร การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ศึกษาความเหมาะสมในการน�ำระบบการ เป็นต้น แต่ส�ำหรับอ�ำนาจตุลาการนั้นยังขาดการ เข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้พิพากษาศาลยุติธรรมใน ให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในอ�ำนาจตุลาการ สหรัฐอเมริกามาใช้ในประเทศไทย โดยจะมีการ อยู่มาก ทั้ง ๆ ที่อ�ำนาจตุลาการเป็นอ�ำนาจที่มี ศึกษาถึงระบบการคัดเลือกผู้พิพากษาในศาล ความส�ำคัญเพราะเป็นอ�ำนาจในการวินิจฉัย ยุติธรรมในสหรัฐอเมริกา และประเทศไทย โดยมี อรรถคดี ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพ กรอบในการวิเคราะห์ ดังนี้ ของประชาชน ผู้ที่ท�ำหน้าที่เป็นผู้พิพากษาจึงมี

กรอบในการวิเคราะห์

- สภาพสังคมวัฒนธรรม ความเหมาะสม การเข้าสู่ต�ำแหน่ง ประเพณีของสังคมไทย ในการน�ำระบบการเข้าสู่ ผู้พิพากษาศาลยุติธรรม - การมีส่วนร่วมของ ต�ำแหน่งผู้พิพากษา ในสหรัฐอเมริกา ประชาชนในอ�ำนาจ ศาลยุติธรรม ตุลาการ ในสหรัฐอเมริกามาใช้ใน ประเทศไทย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 337

1. การคัดเลือกผู้พิพากษาศาล ที่ต้องมีความรู้ทางกฎหมาย แต่ในทางปฏิบัติ ยุติธรรมในสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา มักจะแต่งตั้งบุคคล สหรัฐอเมริกา มีการปกครองแบ่งออก ที่มีความรู้และมีประสบการณ์ทางกฎหมาย เป็น 2 ระดับ คือรัฐบาลแห่งชาติ (National ให้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษา โดยเฉพาะต�ำแหน่ง government) หรือรัฐบาลกลาง (Federal ผู้พิพากษาศาลสูง (Judges of the supreme government) และรัฐบาลระดับมลรัฐ (States court) ในศาลฎีกาของสหรัฐอเมริกา (U.S. government) ระบบศาลจึงเป็นแบ่งเป็น 2 ระดับ supreme court) เป็นต�ำแหน่งที่มีความส�ำคัญต่อ คือ ศาลรัฐบาลกลาง (Federal court) และศาล นโยบาย การบริหารประเทศของประธานาธิบดี มลรัฐ (State court) การคัดเลือกผู้พิพากษาศาล อีกทั้งมีอ�ำนาจพิพากษาว่ากฎหมายใดของฝ่าย ยุติธรรมในสหรัฐอเมริกาจึงแบ่งเป็น 2 ระดับ บริหารขัดต่อกฎหมายรัฐธรรมนูญด้วย ในการ คือ การคัดเลือกผู้พิพากษาของรัฐบาลกลาง เสนอชื่อผู้พิพากษาศาลสูงนี้ประธานาธิบดี (Federal judges) และการคัดเลือกผู้พิพากษา จะพิจารณาร่วมกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ของมลรัฐ (State judges) ยุติธรรมหรือผู้น�ำคนส�ำคัญของพรรค แต่ท้ายที่สุด 1.1 การคัดเลือกผู้พิพากษาของ อ�ำนาจตัดสินใจเด็ดขาดอยู่ที่ประธานาธิบดี รัฐบาลกลาง (Federal judges) ส่วนผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ (U.S. courts of การคัดเลือกผู้พิพากษาของ appeals ) ประธานาธิบดีจะเป็นผู้พิจารณาหารือ รัฐบาลกลาง (Federal judges) ตามรัฐธรรมนูญ ร่วมกับสมาชิกสภาสูงหรือองค์กรพรรคการเมือง แห่งสหรัฐอเมริกา (The Constitution of the ในระดับมลรัฐหรือสมาชิกสภาสูงที่มาจาก United States of America) มาตรา 2 อนุมาตรา มลรัฐนั้น ๆ โดยผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อมักเป็น 2 ได้บัญญัติให้ประธานาธิบดีแต่งตั้งผู้พิพากษา ผู้มีประสบการณ์ทางด้านกฎหมายหรือมีหน้าที่ ศาลสูง (Judges of the supreme court) และ การงานในวงการรัฐบาลมาก่อน ส่วนการแต่งตั้ง ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งอื่น ๆ โดยค�ำแนะน�ำและยินยอม ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น (U.S. district court) ของวุฒิสภา (Senate) โดยกระบวนการคัดเลือก ส่วนใหญ่จะได้รับการเสนอแนะจากพรรคการเมือง ผู้พิพากษา (The judicial nomination process) ในระดับมลรัฐหรือสมาชิกสภาสูงที่มาจากมลรัฐ จะเริ่มต้นจากต�ำแหน่งผู้พิพากษาว่างลงเนื่องจาก นั้น ๆ และสังกัดพรรคเดียวกับประธานาธิบดี การตาย (The death) เกษียณอายุ (Retirement) ดังนั้นโดยสรุปแล้วประธานาธิบดีมีอ�ำนาจ การลาออกของผู้พิพากษา (Resignation) รวมถึง เสนอบุคคลที่ตนเห็นว่ามีความเหมาะสม การถูกฟ้องขับไล่ (Impeachment) รัฐธรรมนูญ ประธานาธิบดีสามารถฟังค�ำแนะน�ำจากที่อื่นได้ ของสหรัฐอเมริกา มิได้ก�ำหนดคุณสมบัติของ นอกจากสภาสูง เช่น ที่ปรึกษาระดับสูง สมาชิก บุคคลที่จะด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษาไว้ ผู้ที่จะมา พรรค รวมถึงสื่อมวลชน ประธานาธิบดีเป็นอิสระ เป็นผู้พิพากษา ไม่จ�ำเป็นต้องมีสัญชาติอเมริกัน ที่จะรับฟังความเห็นดังกล่าว (Rutkus, 2015) หรือมีถิ่นที่พักในประเทศสหรัฐอเมริกา ไม่จ�ำเป็น เมื่อประธานาธิบดี ได้รายชื่อแล้วก็จะส่งให้สภาสูง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 338

เมื่อสภาสูงได้รับรายชื่อจากประธานาธิบดีแล้ว ไว้ในอดีต โดยปกติภายใน 1 อาทิตย์นับแต่ขั้นตอน ก็จะส่งรายชื่อดังกล่าวไปให้คณะกรรมาธิการ Senate confirmation hearings จบลง คณะ ตุลาการ (Senate judiciary committee) กรรมาธิการตุลาการ (Senate judiciary เพื่อพิจารณา ผู้พิพากษาที่ได้รับการเสนอชื่อ committee) จะท�ำรายงานส่งไปให้สภาสูง จะมีเวลาประมาณ 2 อาทิตย์ในการพิจารณาว่า ทั้งหมดพิจารณาเพื่อลงมติ ซึ่งในรายงานจะแสดง จะยินดีรับการเสนอชื่อหรือต้องการถอนตัว ความเห็นว่าเห็นด้วยไม่เห็นด้วย หรือไม่มีความ ออกไป เนื่องจากมีผลประโยชน์ทับซ้อนหรือ คิดเห็นก็ได้ หลังจากนั้นสภาสูงทั้งหมดก็จะ มีเรื่องราวที่มาไม่เหมาะสม คณะกรรมาธิการ ประชุมกันเพื่อลงคะแนนเสียง ในการโหวต ตุลาการ (Senate judiciary committee) ผู้พิพากษาที่ได้รับการเสนอชื่อจะได้รับความ ประกอบด้วย วุฒิสมาชิกจากพรรคการเมือง เห็นชอบจากสภาสูง (Senate) เมื่อได้รับความ ของประธานาธิบดี และฝ่ายตรงข้าม (United เห็นชอบจากเสียงส่วนใหญ่ ซึ่งก็คือ 51 เสียง states senate committee on the judiciary, ขึ้นไป (Rutkus, 2015) 2017) จะใช้เวลาประมาณหนึ่งเดือนในการ เหตุผลที่ให้ประธานาธิบดีซึ่งเป็นฝ่าย ตรวจสอบภูมิหลังของผู้ได้รับการเสนอชื่อ บริหาร และสภาสูงซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติเข้ามา โดยตรวจสอบจากประวัติที่ผู้ได้รับการเสนอชื่อ เกี่ยวข้องด�ำเนินการแต่งตั้งผู้พิพากษาซึ่งฝ่าย ได้ให้ข้อมูลไว้ โดยเฉพาะข้อมูลด้านการเงิน ตุลาการนั้นก็เพื่อเป็นการตรวจสอบและคาน รวมถึงการถูกตรวจสอบจากหน่วยงานต่าง ๆ เช่น อ�ำนาจกันระหว่างอ�ำนาจทั้งสาม อย่างไรก็ตาม รายงานลับที่ได้จากส�ำนักงานสืบสวนกลางแห่ง เมื่อได้รับแต่งตั้งแล้ว ผู้พิพากษาย่อมมีอิสระ สหรัฐอเมริกาหรือเอฟบีไอ ( Federal Bureau ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีและข้อพิพาท of Investigation: FBI) รวมทั้งจากเนติบัณฑิต ต่าง ๆ โดยฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติ (American Bar Association) ซึ่งจะประเมิน จะเข้ามายุ่งเกี่ยวแทรกแซงไม่ได้เพื่อเป็นประกัน จากความซื่อสัตย์และความเหมาะสมที่จะเป็น ความเป็นอิสระดังกล่าวนี้ รัฐธรรมนูญแห่ง ตุลาการ การคัดเลือกผู้พิพากษานี้เป็นเรื่อง สหรัฐอเมริกา (Constitution of United States) ส�ำคัญระดับชาติ สื่อมวลชนจะให้ความสนใจ มาตรา 3 อนุมาตรา 1 วรรคหนึ่ง ยังก�ำหนดให้ เป็นอย่างมาก โดยสื่อมวลชนจะน�ำประวัติผู้ได้รับ ผู้พิพากษาศาลสหรัฐแต่ละนาย มีระยะเวลาการ การเสนอชื่อมาเผยแพร่ให้ประชาชนได้ทราบ ด�ำรงต�ำแหน่งตลอดชีวิต (Life tenure) ตราบเท่า หลังจากนั้นก็จะมีการเรียกผู้ได้รับการเสนอชื่อ ที่มีความประพฤติดี (Good behavior) ดังนั้น มาสัมภาษณ์และถามค�ำถามโดยจะกระท�ำผ่าน การด�ำรงต�ำแหน่งของผู้พิพากษาสหรัฐจึงสิ้นสุดลง โทรทัศน์โดยการถ่ายทอดสด เรียกขั้นตอนนี้ว่า เมื่อตายหรือลาออกหรือเกษียณอายุโดยสมัครใจ Senate confirmation hearings ซึ่งค�ำถามที่ หรือถูกถอดถอน (Impeachment) มาตรการ ถูกถามจะเกี่ยวกับจะเป็นเรื่องของค�ำพิพากษา ดังกล่าวก�ำหนดขึ้นเพื่อคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ และค�ำตัดสินที่ผู้พิพากษาท่านนั้นได้เคยกระท�ำ ของศาล ให้เป็นไปโดยอิสระและยุติธรรม เกิดความ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 339

มั่นคงในการปฏิบัติหน้าที่ (Suphantharida, มลรัฐแต่ละแห่งใช้วิธีการคัดเลือกผู้พิพากษา 2016) ส่วนเรื่องเงินเดือนนั้นเงินเดือนผู้พิพากษา ด้วยวิธีการที่เหมาะสมและดีที่สุด นอกจากนี้ ในศาลนั้น ๆ ไม่มีการขึ้นเงินเดือน จะได้รับเท่ากัน เหตุการณ์ทางการเมือง แนวความคิดทางการเมือง ตลอดไปตั้งแต่เข้ารับราชการออกจากราชการ ที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย ก็มีส่วนท�ำให้ระบบการ และระหว่างอยู่ในต�ำแหน่งจะมีการลดเงินเดือน คัดเลือกผู้พิพากษาในแต่ละมลรัฐแตกต่างกัน ไม่ได้ นอกจากนั้นสหรัฐอเมริกายังมีระบบอาวุโส และการที่ผู้ว่าการมลรัฐเคยมีอิทธิพลในการ ของผู้พิพากษาศาลสหรัฐ (Senior judge ) กล่าวคือ แต่งตั้งผู้พิพากษาในสมัยอาณานิคม หรือการที่ ผู้พิพากษาที่มีอายุรวม 65 ปี และท�ำงานเป็น ประชาชนสนับสนุนสภานิติบัญญัติให้มีอ�ำนาจ ผู้พิพากษามาแล้วอย่างน้อย 15 ปี หรืออายุครบ ในการแต่งตั้งผู้พิพากษา หลังการปฏิวัติในอเมริกา 70 ปี และท�ำงานเป็นผู้พิพากษามาแล้วอย่างน้อย รวมถึงการที่ประชาชนเปลี่ยนไปนิยมระบบการ 10 ปี มีสิทธิ์ลาออกโดยได้รับเงินเดือนเต็ม แต่คง เลือกตั้งผู้พิพากษา ตลอดจนแนวความคิดที่จะ กลับมาช่วยท�ำงานเป็นผู้พิพากษาเป็นครั้งคราว ป้องกันไม่ให้การเลือกตั้งผู้พิพากษาเกี่ยวข้อง โดยถือว่าประสบการณ์ ความรู้ และความ กับการเมืองและระบบพรรคการเมือง สิ่งเหล่านี้ สามารถของผู้พิพากษาอาวุโสเป็นประโยชน์ต่อ ล้วนมีอิทธิพลในการก�ำหนดวิธีการคัดเลือก ราชการศาล แต่สุขภาพและอายุอาจเป็นอุปสรรค ผู้พิพากษาในระดับมลรัฐ (State judges) ของ ต่อการปฏิบัติงานเป็นประจ�ำ จึงให้มาท�ำงานได้ ประเทศสหรัฐอเมริกา ตามสบาย (Chuangchuen, ,1996) วิธีการคัดเลือกผู้พิพากษาของ 1.2 การคัดเลือกผู้พิพากษาของ สหรัฐอเมริการะดับมลรัฐนั้น แบ่งออกได้เป็น มลรัฐ (States judges) หลายวิธี คือ (American judicature society, การคัดเลือกผู้พิพากษาของมลรัฐ 2010) (States judges) นั้นในแต่ละมลรัฐมีลักษณะที่ 1. การแต่งตั้งโดยผู้ว่าการรัฐ แตกต่างกันออกไป เนื่องมาจากสหรัฐอเมริกา (Gubernatorial appointment) เคยเป็นอาณานิคมของประเทศอังกฤษ ดังนั้น 2. การแต่งตั้งหรือหรือการเลือกตั้ง ในการแต่งตั้งผู้พิพากษาจึงเป็นอ�ำนาจของ โดยฝ่ายสภานิติบัญญัติ (Legislative/election ผู้ว่าการมลรัฐ ซึ่งถือได้ว่าเป็นตัวแทนของกษัตริย์ appointment) อังกฤษ ต่อมาภายหลังการปฏิวัติสหรัฐอเมริกา 3. การเลือกตั้งแบบมีพรรค (Partisan ระบบการแต่งตั้งผู้พิพากษาได้เปลี่ยนแปลงไป election) ท�ำให้ระบบการคัดเลือกผู้พิพากษาในแต่ละมลรัฐ 4. การเลือกตั้งแบบไม่มีพรรค (Non- เริ่มมีวิวัฒนาการและรูปแบบที่แตกต่างกัน เพราะ partisan election) มลรัฐแต่ละมลรัฐ มีอ�ำนาจปกครองหรือด�ำเนิน 5. การเลือกตั้งผสมการแต่งตั้ง (Merit นโยบายของตนได้โดยอิสระ เว้นแต่รัฐธรรมนูญ selection) จะจ�ำกัดอ�ำนาจไว้เท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้ 6. การรวมกันของวิธีการแบบผสมกับวิธี วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 340

การอื่น (Combine merit selection and other C., Eamthongchai, S. & Chirasirisophon, A., methods) 2007) โดยสามารถแยกออกเป็นวิธีการใหญ่ ๆ 2.1 การเลือกตั้งแบบมีพรรคการเมือง ได้ 3 วิธี คือ (Thamrongthanyawong, S., 2004 (Partisan election) เป็นวิธีการพรรคการเมือง 1. วิธีการแต่งตั้ง (Appointment) จะเข้าไปเกี่ยวข้องในการก�ำหนดตัวบุคคลเข้าสมัคร วิธีการแต่งตั้งผู้พิพากษานี้เป็นการ รับเลือกตั้งในนามของพรรค โดยอาจก�ำหนดตัว แต่งตั้งโดยผู้ว่าการมลรัฐ (Gubernatorial ผู้สมัครโดยการประชุมใหญ่พรรคการเมือง (Party appointment) หรือการแต่งตั้งโดยสภา convention) หรือก�ำหนดตัวบุคคลโดยวิธีการ นิติบัญญัติของมลรัฐ (Legislative appointment) หยั่งเสียงก่อนการเลือกตั้งภายในพรรคการเมือง เป็นผู้มีอ�ำนาจในการแต่งตั้งบุคคลเพื่อด�ำรง (Primary) ดังนั้น ผู้สมัครโดยวิธีการดังกล่าว ต�ำแหน่งผู้พิพากษา โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้ใน จะต้องระบุชื่อพรรคการเมืองไว้ในบัตรเลือกตั้ง มลรัฐเดิมที่มีมาตั้งแต่สมัยอาณานิคม 13 แห่ง ของผู้สมัครว่าเป็นสมาชิกของพรรคใด ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากสมัยเป็นอาณานิคมของ 2.2 การเลือกตั้งผู้พิพากษาที่ไม่ ประเทศอังกฤษ โดยรัฐบางแห่งให้ผู้ว่าการรัฐ เกี่ยวกับพรรคการเมือง (Non partisan election) แต่งตั้งโดยได้รับความเห็นชอบจากสภาสูงของ เป็นวิธีการก�ำหนดให้บุคคลลงสมัครรับเลือกตั้ง มลรัฐ บางมลรัฐอาจใช้วุฒิสภาเท่านั้นที่มีอ�ำนาจ เพื่อด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษา โดยการก�ำหนด แต่งตั้ง บางมลรัฐให้สภานิติบัญญัติแต่งตั้งโดยฝ่าย วิธีการในการเลือกตั้ง มิให้พรรคการเมืองเข้ามา นิติบัญญัติแต่งตั้งจากรายชื่อที่ผู้ว่าการรัฐเสนอ เกี่ยวข้องในการหาเสียง หรือในการก�ำหนดตัว บางมลรัฐให้ผู้ว่าการรัฐแต่งตั้งได้โดยไม่ต้อง ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ซึ่งวิธีการดังกล่าวนี้มีมลรัฐ ได้รับความเห็นชอบจากฝ่ายนิติบัญญัติ (Shepherd, ในสหรัฐอเมริกาที่ใช้วิธีการเลือกตั้งประมาณ J, M., 2009) 18 มลรัฐ ก�ำหนดห้ามมิให้พรรคการเมืองเข้ามา 2. วิธีการเลือกตั้ง (Election) เกี่ยวข้องในการเลือกตั้ง การก�ำหนดห้ามมิให้ การคัดเลือกผู้พิพากษาโดยวิธีการนี้ พรรคการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องกับการคัดเลือก มีรากฐานความคิดมาจากการปกครองระบอบ ผู้พิพากษาโดยวิธีการเลือกตั้งนี้ มีสาเหตุ ประชาธิปไตย โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ เนื่องมาจากความต้องการที่จะขจัดการทุจริต ประชาชนมีส่วนร่วมหรือมีบทบาทโดยตรงในการ อันเกิดจากพรรคการเมืองในศตวรรษที่ 20 คัดเลือกผู้พิพากษา ซึ่งวิธีการดังกล่าวนี้จะเป็น แต่อย่างไรก็ตาม มลรัฐส่วนใหญ่ในสหรัฐอเมริกา การก�ำหนดให้บุคคลที่ต้องการด�ำรงต�ำแหน่ง ก็ยังใช้วิธีการนี้ แม้จะมีอิทธิพลการเมือง ผู้พิพากษาเข้ารับสมัครเลือกตั้ง เช่นเดียวกับการ มาเกี่ยวข้อง โดยผู้พิพากษาในศาลสหรัฐอเมริกา เลือกตั้งสมาชิกนิติบัญญัติ ซึ่งแบ่งได้เป็น ยังคงความเป็นอิสระไว้ได้เนื่องจากธรรมเนียม 2 ประเภท คือ (Charusuksawat, W., Pattanasin, ปฏิบัติ ทัศนคติ คุณค่าของวิชาชีพ ระยะเวลา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 341

การด�ำรงต�ำแหน่ง ตลอดจนมีการให้ความคุ้มครอง (3) หลังจากได้รับแต่งตั้ง และได้เข้า ผู้พิพากษาจากอิทธิพลการเมือง ปฏิบัติหน้าที่เป็นระยะเวลาหนึ่ง โดยทั่วไปจะ 3. การคัดเลือกผู้พิพากษาโดยวิธีการ ก�ำหนด 1 ปี เมื่อครบก�ำหนดดังกล่าวแล้วต้องให้ ผสมการแต่งตั้งและการเลือกตั้ง (Nuchanat T., ผู้มีสิทธิ์ออกเสียงลงคะแนนของมลรัฐซึ่งก็คือ 2004) ประชาชนตรวจสอบทบทวนเพื่อให้การเห็นชอบ การคัดเลือกผู้พิพากษาโดยวิธีการนี้ ในการตรวจสอบจะระบุให้ออกเสียงลงคะแนน เริ่มใช้ครั้งแรกในรัฐมิสซูรี (Missouri state) มีชื่อ เฉพาะผู้พิพากษาที่ได้รับการเลือกตั้งแล้วว่า เรียกแตกต่างกันไป บางทีเรียกว่าวิธีการมิสซูรี เหมาะสมที่จะด�ำรงต�ำแหน่งนั้นหรือไม่เท่านั้น (Missouri plan) วิธีการแบบเมอริท (Merrit (4) เมื่อครบก�ำหนดระยะเวลาด�ำรง plan) หรือวิธีการแบบเมอริทผสมกับวิธีการอื่น ต�ำแหน่งตามวาระแล้ว จะต้องให้ประชาชน (Combine merit selection and other methods) ออกเสียงลงคะแนนว่าผู้พิพากษานั้นมีความ ซึ่งในแต่ละวิธีจะมีข้อแตกต่างกันเล็กน้อย เหมาะสมที่จะด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปอีกวาระหรือไม่ แต่โดยรวมแล้วเป็นวิธีการแต่งตั้งและเลือกตั้ง ในแต่ละมลรัฐ อาจใช้วิธีคัดเลือก ประกอบกัน เพื่อมุ่งแก้ไขมิให้ผู้พิพากษาต้อง ผู้พิพากษาไม่เหมือนกันทุกชั้นศาล เช่น มลรัฐ ตกอยู่ใต้อิทธิพลทางการเมืองและสรรหาบุคคล แคลิฟอร์เนีย (California) ในศาลสูงสุด ที่มีความสามารถเข้าด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษา (Supreme court) และศาลอุทธรณ์ (Court โดยให้ทุกฝ่ายเข้ามามีบทบาทในการคัดเลือก of appeal) ใช้วิธีการคัดเลือกผู้พิพากษาโดย โดยให้ฝ่ายบริหารแต่งตั้งผู้พิพากษา ฝ่ายตุลาการ การแต่งตั้งจากผู้ว่าการรัฐ (Gubernatorial และฝ่ายนิติบัญญัติเป็นผู้คัดเลือกตัวบุคคล appointment) แต่ในศาลชั้นต้น (Superior court) ในรูปแบบคณะกรรมการ เมื่อแต่งตั้งแล้วจะมี ใช้วิธีการเลือกตั้งแบบไม่มีพรรคการเมือง แต่โดย วิธีการให้ประชาชนออกเสียงลงคะแนนรับรอง ส่วนใหญ่แล้วในหลาย ๆ มลรัฐจะใช้วิธีการเดียวกัน โดยประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 4 ประการ ในทุกชั้นศาล ส่วนคุณสมบัติบุคคลที่จะมาด�ำรง (1) การตั้งคณะกรรมการประกอบด้วย ต�ำแหน่งผู้พิพากษาตามสามวิธีการที่กล่าวมา บุคคลผู้ทรงคุณวุฒิและนักกฎหมายที่มีชื่อเสียง ข้างต้น โดยปกติต้องเป็นผู้ส�ำเร็จวิชากฎหมาย จ�ำนวนหนึ่ง โดยคณะกรรมการต้องไม่ฝักใฝ่ และเป็นสมาชิกเนติบัณฑิตยสภาของมลรัฐนั้น ๆ พรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่ง การตั้งกรรมการนี้ โดยมลรัฐแต่ละมลรัฐจะก�ำหนดระยะเวลาการ เพื่อให้กรรมการมาคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมกับ ประกอบอาชีพหรือการเป็นสมาชิกเนติบัณฑิยสภา ต�ำแหน่งผู้พิพากษา แตกต่างกันออกไป โดยผู้พิพากษาในระดับมลรัฐ (2) คณะกรรมการจะเสนอรายชื่อมายัง จะมีระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่งแตกต่างกัน ฝ่ายบริหารของมลรัฐ และผู้ว่าการรัฐจะเป็น ออกไปแล้วแต่ที่มลรัฐแต่ละมลรัฐก�ำหนด ผู้แต่งตั้งจากรายชื่อที่เสนอมา ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ซึ่งต่างกับผู้พิพากษาระดับสหพันธรัฐซึ่งมีระยะ ผู้พิพากษาในมลรัฐ เวลาการด�ำรงต�ำแหน่งตลอดชีพ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 342

4. การเข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้พิพากษาศาล ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการคัดเลือก ยุติธรรมในประเทศไทย ผู้พิพากษา ซึ่งถือเป็นการใช้อ�ำนาจตุลาการของ การเข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้พิพากษา ประชาชนอีกวิธีการหนึ่ง แต่ส�ำหรับประเทศไทย ในประเทศไทยจะต้องผ่านการคัดเลือกโดยคณะ การเข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้พิพากษาศาลยุติธรรม กรรมการตุลาการศาลยุติธรรม และมีพระบรม เป็นระบบการสอบแข่งขัน เมื่อได้รับความเห็นชอบ ราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง นอกจากนั้น จากคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมจะได้รับ จะต้องมีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนดไว้ เช่น พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ซึ่งหาก มีสัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไม่ต�่ำกว่า 25 ปี มองในเรื่องของการมีส่วนร่วมของประชาชน บริบูรณ์ เป็นเนติบัณฑิตไทย มีประสบการณ์ ในการใช้อ�ำนาจตุลาการ เพื่อให้เป็นไปตามหลัก ท�ำงานด้านกฎหมายไม่ต�่ำกว่า 2 ปี ผู้สมัครจะต้อง อ�ำนาจอธิปไตยนั้น จะเห็นได้ว่าการคัดเลือก ผ่านการสอบข้อเขียนและการสอบปากเปล่า ผู้พิพากษาในประเทศไทยยังขาดการมีส่วนร่วม ตามระเบียบที่คณะกรรมการตุลาการศาล ของประชาชนอยู่ โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบ ยุติธรรมก�ำหนด เมื่อผ่านการสอบคัดเลือกแล้ว กับในสหรัฐอเมริกา หากจะน�ำระบบของ จะได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา เข้ารับ สหรัฐอเมริกามาใช้ในประเทศไทยเพื่อให้เป็นไป การอบรมเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษาอย่างน้อย 1 ปี ตามหลักอ�ำนาจอธิปไตย ผู้เขียนเห็นว่ายังไม่มี ผู้ที่ผ่านการอบรมตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ และได้รับ ความเหมาะสมในตอนนี้ เพราะในสหรัฐอเมริกา ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตุลาการศาล นอกจากจะมีการให้ประชาชนเข้าไปเลือกตั้ง ยุติธรรมจะได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ผู้พิพากษาแล้ว ผู้พิพากษายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับ แต่งตั้งเป็นผู้พิพากษาประจ�ำศาลเป็นเวลา พรรคการเมือง สาเหตุที่สหรัฐอเมริกาสามารถใช้ ไม่น้อยกว่า 3 ปี แล้วจึงได้รับการพิจารณาแต่งตั้ง ระบบการคัดเลือกผู้พิพากษาแบบนี้ได้น่าจะเป็น ให้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษาศาลชั้นต้น โดยก่อน เพราะการพิจารณาคดีของสหรัฐอเมริกาใช้ เข้ารับหน้าที่ ผู้พิพากษาทุกคนต้องถวายสัตย์ ระบบลูกขุน ซึ่งประชาชนเป็นผู้ตัดสินข้อเท็จจริง ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ (Court of Justice, ผู้พิพากษาเพียงพิจารณาข้อกฎหมาย ฉะนั้น 2019) ความเห็นของผู้พิพากษาจึงไม่ได้มีส่วนในการ 5. ความเหมาะสมในการน�ำระบบ ตัดสินคดี ฉะนั้นแม้ผู้พิพากษาจะมีส่วนเกี่ยวข้อง การเข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้พิพากษาศาลยุติธรรม กับพรรคการเมืองก็ไม่น่าส่งผลต่อค�ำพิพากษา ในสหรัฐอเมริกามาใช้ในประเทศไทย สหรัฐอเมริกาจึงสามารถใช้ระบบการการคัดเลือก การเข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้พิพากษาศาล ผู้พิพากษาแบบนี้ได้ หากประเทศไทยคิดจะน�ำ ยุติธรรมในสหรัฐอเมริกาในระดับสหพันธรัฐนั้น ระบบนี้มาใช้ในการคัดเลือกผู้พิพากษาน่าจะ มาจากการแต่งตั้ง แต่การคัดเลือกผู้พิพากษา เป็นไปได้ยาก เนื่องจากประเทศไทยผู้พิพากษา ในระดับมลรัฐนั้นมีทั้งการแต่งตั้ง การเลือกตั้ง เป็นผู้ตัดสินคดี ไม่ได้มีระบบลูกขุนเหมือนดังเช่น และวิธีการแบบผสม ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีการให้ สหรัฐอเมริกา ผู้พิพากษาจึงควรต้องมีความ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 343

เป็นกลางสูง หากให้ผู้พิพากษาต้องมาจากการ สรุป เลือกตั้งหรือเกี่ยวข้องกับพรรคการเมือง คงจะ ถึงแม้ว่าระบบการคัดเลือกผู้พิพากษา มีผลกระทบต่อการพิจารณาพิพากษาคดีเพราะ ของสหรัฐอเมริกาจะมีการให้ประชาชนเข้าไป ประเทศไทยยังเป็นประเทศที่มีระบบอุปถัมภ์ มีส่วนร่วมในอ�านาจตุลาการ แต่การจะน�ามาใช้ เห็นแก่พวกพ้อง และยังพบปัญหาทุจริตในการ ในประเทศไทยยังคงเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก เลือกตั้งอยู่เป็นประจ�า สังเกตได้จากการเลือกตั้ง เพราะระบบการด�าเนินคดีในประเทศไทย รวมไปถึง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทยในปัจจุบัน สภาพสังคม วัฒนธรรม ประเพณีของสหรัฐอเมริกา ก็ยังมีความไม่โปร่งใสปรากฏให้เห็นอยู่ การให้ และประเทศไทยยังมีความแตกต่างกันเป็น ประชาชนเข้าไปเลือกตั้งผู้พิพากษาคงจะเป็นการ อย่างมาก ฉะนั้นการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม สร้างปัญหาในกระบวนการยุติธรรมมากกว่า ในอ�านาจตุลาการส�าหรับประเทศไทยจึงควร จะเป็นการพัฒนากระบวนการการยุติธรรม ต้องหาแนวทางอื่นที่มีความเหมาะสมต่อไป

REFERENCES

American judicature society. (2010). Judicial selection in the states appellate and general jurisdiction courts. Iowa: American judicature society. Charusuksawat, W., Pattanasin, C., Eamthongchai, S. & Chirasirisophon, A. (2007). The complete report on the development of the capacity of judges in education, comparing laws and practices of the Common law and Civil law countries. Proposing to the Courts of Justice. (in Thai) Chuangchuen, S. (1996). Access to the position of the judges of the primary court. Master Program in Laws. Faculty of Law, Ramkhamhaeng University. (in Thai) Court of Justice. (2019). Judge of the Court of Justice. Retrieved May 14, 2019 from: https:// www.coj.go.th/th/content/page/index/id/12. (in Thai) Nuchanat T. (2004). Admission to the judiciary’s judicial position in accordance with the Judiciary Regulations Act, BE 2543 (2000). Master Program in Laws. Faculty of Law, Ramkhamhaeng University. (in Thai) Rutkus, D.S. (2015). Supreme Court Appointment Process: Roles of the President, Judiciary Committee, and Senate. CRS Report for Congress. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 344

Shepherd, J.M. (2009). Are appointed judges strategic too. Duke law journal, Vol 58:1589. Suphantharida, W. (2016). The United States Supreme Court and the preparation of the Constitutional Court ruling. Retrieved July 27, 2016 from: http://www.pub-law.net/ publaw/view.aspx?id=1835. (in Thai) Thamrongthanyawong, S. (2004). America Politics (Type 1). Bangkok: Sema Tham Publishing House. (in Thai) United states senate committee on the judiciary. (2017). Judicial Nominations and Confirmations. Retrieved June 7, 2016 from http://www.judiciary.senate.gov/ nominations/judicial.cfm. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 345

บทความวิชาการ

คุณลักษณะของหัวหน้าทีมกีฬา THE CHARACTERISTICS OF SPORT TEAM CAPTAINS เกษม ช่วยพนัง Kasem Chuaypanang

สาขาวิชาพลศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย Physical Education Program, College of Teacher Education, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand

Email: [email protected]

Received: 2019-01-23 Revised: 2019-03-11 Accepted: 2019-05-22

บทคัดย่อ บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะของหัวหน้าทีมกีฬา และแนวทาง ในการคัดเลือกหัวหน้าทีมกีฬา ซึ่งผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะของหัวหน้าทีมกีฬา ประกอบด้วย ภาวะผู้น�ำ บุคลิกภาพ การสื่อสาร การจูงใจ มนุษยสัมพันธ์ และน�้ำใจนักกีฬา ส่วนแนวทางในการ คัดเลือกหัวหน้าทีมกีฬา ให้พิจารณาจากผู้เล่นที่มีคุณลักษณะของหัวหน้าทีมกีฬาดังกล่าว ควรใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมในการคัดเลือกหัวหน้าทีมกีฬา ถ้าเป็นการแข่งขันระดับนานาชาติควรเพิ่มเกณฑ์ ด้านความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ควรมีการประเมินหัวหน้าทีมเพื่อน�ำไปสู่การพัฒนา และปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ และควรมีการส่งเสริมให้หัวหน้าทีมได้รับการฝึกอบรมหรือให้ความรู้ เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่ส�ำคัญของหัวหน้าทีมกีฬา

ค�ำส�ำคัญ: คุณลักษณะ หัวหน้าทีมกีฬา กีฬาประเภททีม

ABSTRACT This article is intended to study the characteristics of sport team captains and the policy selecting the sport team captains. The results found that the characteristics of sports team captains consisted of the leadership; personality; communication; motivation; human วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 346 relationship; and sportsmanship. The players who have the characteristics of such sports team leaders were considered; the participation on the selection process should be used are the policy selecting the sport team captains. If the competition was an international game, some abilities in English communication is necessary. The team captains also should be evaluated for developing some weaken points, promoting the sports team captains by training some main characteristics of the sport team captains.

Keywords: Characteristics, Sport team captains, Team sports

บทน�ำ การแข่งขันกีฬามีลักษณะเฉพาะพิเศษ ในสนามที่สามารถขอค�ำชี้แจงหรือค�ำอธิบายกับ กล่าวคือ มีความสุขเมื่อได้เล่น มีความสนุกสนาน ผู้ตัดสินได้ รวมทั้งปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ แทนผู้ มีสีสัน และมีเสน่ห์แห่งความท้าทาย สามารถ ฝึกสอนด้วย หรืออาจกล่าวได้ว่า “หัวหน้าทีมกีฬา ดึงดูดผู้ชมและสื่อต่าง ๆ รวมทั้งผู้สนับสนุนที่ก่อ คือ ผู้ฝึกสอนคนที่สองของทีมกีฬา” เนื่องจาก ให้เกิดรายได้ ท�ำให้มีอาชีพหรือเป็นธุรกิจกีฬา นักกีฬาที่เป็นหัวหน้าทีมจะต้องมีคุณลักษณะ ในทุกระดับ ทั้งการแข่งขันกีฬาดับท้องถิ่น ระดับชาติ เฉพาะพิเศษที่นอกเหนือจากนักกีฬาคนอื่น ๆ ระดับภูมิภาค ระดับทวีป และระดับโลกที่มีมูลค่า ในทีม ดังนั้น การคัดเลือกผู้เล่นที่จะมาเป็น มหาศาล จึงเป็นสิ่งดึงดูดใจของคนทั้งโลก สามารถ หัวหน้าทีมกีฬาจึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง จึงเป็น แทรกซึมเข้าไปในชีวิตประจ�ำวัน โดยไม่มีการแบ่ง หน้าที่ของผู้ฝึกสอนหรือผู้เกี่ยวข้องกับกีฬา เชื้อชาติ ศาสนา เพศ วัย และสีผิว เป็นเครื่องมือ ประเภททีมชนิดนั้น ๆ ว่า ถ้าต้องการให้ทีมกีฬา เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ และ ประสบความส�ำเร็จจะต้องพิจารณาคัดเลือก เป็นรากฐานที่ดีของสังคมและพลเมืองโลก ผู้เล่นมาเป็นหัวหน้าทีมกีฬาที่มีคุณลักษณะ การแข่งขันกีฬาแต่ละชนิดให้ประสบ อย่างไร และต้องมีแนวทางในการพิจารณา ความส�ำเร็จนั้น โดยเฉพาะกีฬาประเภททีม คัดเลือกผู้เล่นที่จะมาเป็นหัวหน้าทีมกีฬาด้วย นอกจากจะมีผู้จัดการทีม ผู้ฝึกสอน และผู้ช่วย ผู้ฝึกสอนแล้ว “หัวหน้าทีมกีฬา” ถือว่าเป็นผู้มี กรอบในการวิเคราะห์ บทบาทส�ำคัญยิ่งที่ได้รับมอบหมายจากผู้ฝึกสอน การวิเคราะห์คุณลักษณะของหัวหน้า เพื่อท�ำหน้าที่เป็นตัวแทนของทีมในการสื่อสาร ทีมกีฬา มีกรอบในการวิเคราะห์ดังนี้ ระหว่างผู้ฝึกสอนกับผู้เล่นในทีมตามที่ผู้ฝึกสอน แนวคิดเกี่ยวกับทีม มอบหมายทั้งในสนามและนอกสนามแข่งขัน มนุษย์ไม่อาจอยู่คนเดียวและท�ำงาน และการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ เป็นผู้แทนทีม คนเดียวให้ประสบความส�ำเร็จได้ ต้องมีปฏิสัมพันธ์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 347

และเกี่ยวข้องกับเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน จึงจ�ำเป็น ทีมปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิผล มีขวัญและ ต้องเข้ากลุ่มและท�ำงานเป็นทีม ค�ำว่า “ทีม” ก�ำลังใจสูง เป็นค�ำในภาษาอังกฤษ คือ “team” ที่น�ำมาใช้ ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ (Khejaranant, ทับศัพท์ มีนักการศึกษาหลายคนได้ให้แนวคิด 2002) ได้อธิบายความหมายของทีมไว้ว่า ทีม เกี่ยวกับทีม ไว้ดังนี้ หรือทีมงาน (teamwork) หมายถึง กลุ่มคนที่ Francis & Young (1979) กล่าวว่า ทีม ต้องมาท�ำงานร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์เดียวกัน หมายถึง กลุ่มบุคคลและผู้มีพลัง มีความผูกพัน และเป็นการรวมตัวที่จะต้องอาศัยความเข้าใจ รับผิดชอบที่จะท�ำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ความผูกพัน และความร่วมมือซึ่งกันและกัน ร่วมกัน สมาชิกในทีมเป็นผู้ที่ท�ำงานร่วมกันได้ดี ของสมาชิกในกลุ่ม เพื่อที่สมาชิก แต่ละคน และรู้สึกเพลิดเพลินที่จะท�ำงานนั้น สามารถผลิต จะสามารถท�ำงานร่วมกัน จนประสบความส�ำเร็จ ผลงานที่มีคุณภาพสูง ในเป้าหมายสูงสุดของทีมได้ ในทางปฏิบัติ Kezsbom (1990) อธิบายว่า ทีม ทีมงานอาจมีขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กก็ได้ หมายถึง การมอบหมายพิเศษให้กับกลุ่มบุคคล แต่ส่วนมากแล้วจะต้องประกอบด้วยหัวหน้าทีม ซึ่งมีเป้าหมายร่วมกันและตระหนักถึงบทบาท (team leader) และสมาชิกของทีม (team ที่ต้องพึ่งพากันในการปฏิบัติงาน และทราบว่า members) ที่อาจจะมาจากหน่วยงานต่าง ๆ กัน จะใช้ความสามารถที่มีอยู่ของแต่ละคนให้สัมพันธ์ แต่ทุกคนจะต้องพยายามปฏิบัติงานให้สอดคล้อง กันอย่างไร เพื่อรวมพลังกันในอันที่จะน�ำความ และประสานกันอย่างเป็นเอกภาพ โดยมีเป้าหมาย ส�ำเร็จมาสู่งานที่ได้รับมอบหมาย สูงสุดของทีมเป็นเครื่องก�ำหนด เจิมจันทน์ ทองวิวัฒน์ และปัณรส สุนันทา เลาหนันท์ (Laohanantha, มาลากุล ณ อยุธยา (Thongwiwatana & 2006) กล่าวว่า ทีม หมายถึง กลุ่มของบุคคล Malakul Na Ayudhaya, 1998) อธิบายว่า ที่ท�ำงานร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างสมาชิก ทีมประกอบไปด้วยบุคคลซึ่งมีความสัมพันธ์ ในกลุ่ม ช่วยกันท�ำงานเพื่อบรรลุเป้าหมาย เกี่ยวข้องซึ่งกันและกันโดยตรง เพื่อปฏิบัติงาน เดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ และผู้ร่วมทีม ให้ส�ำเร็จอย่างมีคุณภาพ ทีมกีฬาเป็นตัวอย่าง ต่างมีความพอใจในการท�ำงานนั้น องค์ประกอบ ที่เห็นได้ชัด เพราะสมาชิกในทีมมีเป้าหมาย พื้นฐานที่ส�ำคัญของทีม ได้แก่ 1) ต้องประกอบ ร่วมกัน คือ ต้องโยนลูกบาสเกตบอลให้ลงห่วง ไปด้วยบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป 2) บุคคลในกลุ่ม ของฝ่ายตรงกันข้ามเพื่อเอาชนะคู่ต่อสู้ สมาชิก ต้องมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน 3) บุคคลในกลุ่มต้อง แต่ละคนมีหน้าที่ตามต�ำแหน่งที่ได้รับมอบหมาย สัมพันธ์ต่อกันอย่างมีแบบแผน 4) บุคคล และจะต้องประสานเข้ากับเพื่อนร่วมทีมท�ำคะแนน ในกลุ่มต้องพึ่งพากันในการปฏิบัติงาน 5) บุคคล ให้เป็นที่น่าพอใจ ผู้เล่นมีความห่วงใยกับการ ในกลุ่มถือว่าตนเองเป็นสมาชิกของทีมงาน ท�ำคะแนนของทีมมากกว่าของตนเอง ทุกคนรับรู้ 6) บุคคลในกลุ่มมีวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ว่าการสนับสนุนซึ่งกันและกันในการเล่น จะช่วยให้ เดียวกัน 7) บุคคลในกลุ่มคิดว่าการท�ำงานร่วมกัน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 348

ช่วยให้งานส�ำเร็จ 8) บุคคลในกลุ่มมีความสมัครใจ พรพิมล เขาสมบูรณ์ (Khaosomboon, ที่จะท�ำงานร่วมกัน 9) บุคคลในกลุ่มมีความ 2000) กล่าวว่า หัวใจของทีม คือ การมีข้อผูกมัด เพลิดเพลินที่จะท�ำงานและผลิตผลงานคุณภาพสูง ร่วมกัน ท�ำให้กลายเป็นพลังในการท�ำงานแบบ และ 10) บุคคลในกลุ่มพร้อมที่จะเผชิญปัญหา ร่วมมือกัน ไม่ใช่การท�ำงานแบบต่างคนต่างท�ำ ร่วมกัน เพื่อประโยชน์ของตนเท่านั้น แต่เป็นการร่วมแรง จากแนวคิดของนักการศึกษาดังกล่าว ร่วมใจกันท�ำในงานที่คนเดียวท�ำไม่ได้ หรือบรรลุ จึงสรุปได้ว่า “ทีม” หมายถึง กลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติ ความส�ำเร็จได้ยาก ผลงานของทีมจึงให้คุณค่า งานร่วมกัน ทุกคนมีจิตส�ำนึก มีความรับผิดชอบ มากกว่าผลรวมของงานที่ทุกคนท�ำแล้วน�ำมา และมีเป้าหมายเพื่อความส�ำเร็จในการปฏิบัติงาน บวกรวมกัน เพราะความร่วมมือร่วมใจกัน ร่วมกัน การเล่นกีฬาก็เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะ จึงท�ำงานด้วยความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กีฬาประเภททีม เช่น เซปักตะกร้อ บาสเกตบอล ตัวอย่างของการท�ำงานเป็นทีมที่ชัดเจนได้แก่ วอลเลย์บอล แฮนด์บอล ฟุตบอล ฮอกกี้ รักบี้ การเล่นกีฬา เช่น ทีมฟุตบอล ทีมบาสเกตบอล ฟุตบอล เป็นต้น ผู้เล่นในทีมทุกคนต้องมุ่งมั่น ทีมเชียร์ลีดเดอร์ เป็นต้น ดังนั้นสิ่งที่ท�ำให้ทีม ในการแข่งขันเพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายแห่งชัยชนะ แตกต่างจากกลุ่ม คือ ความสามารถที่จะท�ำงาน ร่วมกัน ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีผู้เล่นที่ท�ำหน้าที่เป็น ไปสู่ความส�ำเร็จได้มากกว่า โดยการน�ำความรู้ หัวหน้าทีมของกีฬาชนิดนั้น ๆ เนื่องจากหัวหน้า และทักษะมาบูรณาการเข้าด้วยกัน ทีมกีฬาต้องปฏิบัติหน้าที่ทั้งในสนามและนอก ยงยุทธ เกษสาคร (Ketsakhon, 2001) สนามแข่งขัน ซึ่งนอกจากจะคอยดูแลสมาชิก ได้กล่าวว่า ผู้น�ำที่ฉลาดต้องรู้จักหาแนวทาง ในทีมแล้วยังต้องรักษาสิทธิ์ของทีมด้วยโดยเป็น ให้บุคคลในทีมท�ำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวแทนของทีมในการติดต่อสื่อสารกับกรรมการ โดยใช้หลักมนุษยสัมพันธ์เพื่อโน้มน้าวจิตใจ ผู้ตัดสิน ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทและหน้าที่ที่ส�ำคัญ ให้สมาชิกทุ่มเทก�ำลังกายและใจ และสร้างพลัง ส�ำหรับการเป็นหัวหน้าทีมกีฬา ให้เกิดการรวมกลุ่มกันท�ำงานเพื่อความส�ำเร็จ บทบาทของผู้น�ำและผู้ตามในทีม ตามเป้าหมายร่วมกัน ดังนี้ ผู้น�ำและผู้ตามในทีมจะต้องให้ความ 1. สมาชิกของทีมต้องมีวัตถุประสงค์ ส�ำคัญกับบทบาทหน้าที่ของตนเอง และมีการ ร่วมกัน โดยที่ทุกคนรู้สึกว่าต่างมีภาระผูกพัน แสดงออกที่เหมาะสมเพื่อความส�ำเร็จของทีม ที่จะต้องปฏิบัติหรือด�ำเนินการ ให้เป็นไป ร่วมกัน การเล่นกีฬาเป็นทีมต้องมีผู้น�ำที่เป็น ตามวัตถุประสงค์ขององค์การอย่างจริงจัง ศูนย์รวมของทีมเพื่อให้ทุกคนปฏิบัติตาม วัตถุประสงค์ดังกล่าวจะต้องชัดเจนและเป็น นอกสนาม คือ ผู้ฝึกสอน ส่วนในสนาม คือ ที่ยอมรับของสมาชิกทุกคนในทีม เพื่อให้สมาชิก หัวหน้าทีม ที่เป็นศูนย์รวมของทีม ซึ่งมีนักการ มีแรงจูงใจที่จะปฏิบัติงาน ศึกษาได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของผู้น�ำและ 2. สามารถวิเคราะห์จุดอ่อนและจุดแข็ง ผู้ตามในทีมไว้ดังนี้ ของตนและสมาชิก โดยที่สมาชิกของทีมจะต้อง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 349

มีความสามารถในการเข้าใจในพฤติกรรมของ ต้องเข้าใจเหตุผลที่ต้องท�ำการตัดสินใจ วิเคราะห์ ตนเองและเพื่อนร่วมทีม โดยต้องเข้าใจว่ามนุษย์ ปัญหา ก�ำหนดแนวทางแก้ปัญหา เลือกแนวทาง มีความแตกต่างกันทั้งร่างกาย จิตใจ ทักษะ ความรู้ แก้ปัญหา ที่เหมาะสมที่สุด และด�ำเนินการ ความสามารถและประสบการณ์ ตามแนวทางที่ได้ตัดสินใจ โดยมีการประเมินผล 3. สมาชิกในทีมต้องแสดงบทบาทหน้าที่ อย่างเป็นระบบ ของตนอย่างเหมาะสม โดยมีทั้งบทบาทที่มุ่ง 10. สร้างบรรยากาศการท�ำงานที่ดี สนองความต้องการเฉพาะตนและบทบาทตาม ทั้งสภาพแวดล้อมในที่ท�ำงานและสัมพันธภาพ ต�ำแหน่ง ระหว่างบุคคล 4. ต้องมีบทบาท กฎเกณฑ์ หรือมาตรฐาน สงวน สุทธิเลิศอรุณ (Sutthilerdarun, ต่าง ๆ ที่เป็นเครื่องช่วยในการควบคุมให้สมาชิก 2002) กล่าวว่า ความส�ำคัญของทีมจะเน้นไป ของทีมประพฤติและปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐาน ที่การท�ำงานเป็นหลัก โดยการท�ำงานเป็นทีม นั้น ๆ เหมือนกัน ซึ่งเปรียบเสมือนการเล่นกีฬา เช่น ทีมฟุตบอล 5. มีระบบการติดต่อสื่อสารที่ดีระหว่าง ทีมบาสเกตบอล และทีมวอลเลย์บอล เป็นต้น สมาชิกของทีม เมื่อพิจารณาตัวอย่างทีมฟุตบอลซึ่งประกอบด้วย 6. มีวิธีการขจัดข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นอย่าง หัวหน้าทีมและสมาชิกในทีม ได้แก่ ผู้รักษาประตู มีประสิทธิภาพ โดยการออมชอมประนีประนอม ผู้เล่นกองหลัง ผู้เล่นกองกลาง และผู้เล่นกองหน้า พูดด้วยเหตุผลหรือการลงมติจากที่ประชุม เปรียบเทียบได้กับในองค์การหรือหน่วยงานที่มี ด้วยกระบวนการกลุ่ม ผู้จัดการหรืออธิบดี ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก หัวหน้า 7. สร้างความร่วมมือระหว่างสมาชิก กอง หัวหน้าฝ่าย และผู้ปฏิบัติงาน ในทีมฟุตบอล ในการท�ำงาน โดยการแสดงออกทางสีหน้ากิริยา ถ้าผู้เล่นกองหลังและผู้เล่นกองกลางประสานงาน ท่าทาง ความกระตือรือร้นในการพุดคุยเปิดเผย หรือเล่นได้ดีหรือแสดงบทบาทดี จะส่งลูกบอล ไว้วางใจซึ่งกันและกัน และขอความเห็นตลอดจน ไปยังกองหน้า เพื่อให้กองหน้าน�ำลูกบอลไปยิง ค�ำปรึกษาพร้อมที่จะแสดงน�้ำใจ และให้ความ เข้าประตูของคู่แข่งขัน และมีผู้เล่นกองกลาง ช่วยเหลือสมาชิกในกลุ่มเท่าที่โอกาสจะอ�ำนวย เป็นผู้สนับสนุนอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะหัวหน้าทีม 8. ทีมสามารถท�ำให้สภาพการท�ำงาน โอกาสที่ทีมฟุตบอลจะได้รับชัยชนะก็มีมาก ในทาง เป็นที่น่าพอใจ ที่กระตุ้นให้เกิดความสนุกสนาน ตรงกันข้าม ถ้าทีมฟุตบอลขาดการประสานงานที่ดี และเกิดความสนใจรักในการท�ำงาน ท�ำให้ นักฟุตบอลขาดความเต็มใจในการเล่น และขาด สมาชิกในกลุ่มรู้สึกเป็นกลุ่มเดียวกันหรือพวก ทักษะเฉพาะตัว ก็มีโอกาสน้อยที่จะได้รับชัยชนะ เดียวกัน หรือมีโอกาสจะแพ้ได้ 9. มีวิธีการท�ำงานที่ดีในกลุ่ม เพื่อให้ สมคิด บางโม (Bangmo, 2015) กล่าวถึง บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ สมาชิกของทีมว่า สมาชิกทุกคนของทีมมีความ โดยเฉพาะในการตัดสินใจ โดยทุกคนในกลุ่ม ส�ำคัญ ความส�ำเร็จของทีมขึ้นอยู่กับบทบาทของ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 350

สมาชิกทุกคน บทบาท (role) คือ ความคาดหวัง จะต้องมีหัวหน้าทีมกีฬา (sport team captains) ของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ในสิ่งที่ ที่จะต้องแสดงบทบาทของผู้น�ำ (leader) เพราะ ต้องการให้บุคคลนั้นประพฤติปฏิบัติทั้งเรื่อง หัวหน้าทีมกีฬานอกจากจะมีบทบาทเป็นผู้เล่น ส่วนตัวและการท�ำงาน ส่วนหัวหน้าทีมมีความ คนหนึ่งในทีมแล้ว ยังมีบทบาทส�ำคัญหลายประการ ส�ำคัญยิ่งต่อความส�ำเร็จของทีม ซึ่งบทบาทของ และต้องมีคุณลักษณะที่เหมาะสมอย่างยิ่งในการ หัวหน้าทีม มีดังนี้ ท�ำหน้าที่เป็นผู้น�ำของทีม 1. รู้เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของทีม การเป็นหัวหน้าทีม อย่างชัดเจน และแจ้งให้สมาชิกในทีมงานได้ หัวหน้าทีม เป็นผู้ชี้น�ำหรือผู้ประสานงาน รับรู้ตรงกัน ในกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้กิจกรรมนั้นส�ำเร็จ 2. ยอมรับความสามารถและให้เกียรติ ลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ถ้าหัวหน้าทีมไม่มีความ สมาชิกทุกคน เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการ สามารถ หรือมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอในการ ท�ำงาน ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ไม่เพียงแต่จะท�ำให้สมาชิก 3. จัดสรรหน้าที่ความรับผิดชอบและ ภายในทีมไม่ปฏิบัติตามเท่านั้น แต่อาจส่งผล ทรัพยากรให้แก่สมาชิกทุกคนอย่างเหมาะสม ให้เกิดความล้มเหลวของการท�ำกิจกรรมนั้นได้ 4. ติดตามและอ�ำนวยความสะดวก ซึ่งมีผู้ให้กรอบความคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะ ในการท�ำงานของสมาชิกอย่างสม�่ำเสมอ ที่ส�ำคัญของการเป็นผู้น�ำหรือหัวหน้าทีม ไว้ดังนี้ 5. เป็นผู้น�ำที่ดีและเป็นตัวอย่างที่ดี Barnard (1969) กล่าวถึงลักษณะที่ดี แก่สมาชิก เช่น ท�ำงานหนัก ขยันขันแข็ง มีความ ของหัวหน้าทีม ได้แก่ 1) ความมีชีวิตชีวาและ รับผิดชอบ เสียสละ และมีการพัฒนาตนเอง อดทน (vitality and endurance) 2) ความ 6. เอาใจใส่สมาชิกอย่างทั่วถึง สร้างขวัญ สามารถในการตัดสินใจ (decisiveness) และก�ำลังใจในการท�ำงาน 3) ความสามารถในการจูงใจ (persuasiveness) 7. เป็นผู้ขจัดความขัดแย้งภายในทีม 4) ความรับผิดชอบ (responsibility) และ เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้นต้องรีบขจัดความ 5) ความฉลาดมีไหวพริบ (intellectual) ขัดแย้งทันที Quible (1980) กล่าวถึงลักษณะที่ดี 8. ประเมินผลงานของสมาชิกด้วยความ ของหัวหน้าทีมว่า ประกอบด้วย 1) มีศิลปะ เป็นธรรม สามารถเป็นกระจกสะท้อนภาพ ในการท�ำงาน 2) ฉลาด รอบรู้ และกล้าตัดสินใจ การท�ำงานของสมาชิกได้ 3) ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมและใส่ใจปรับปรุงงาน 9. พัฒนาทีมอย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง 4) มีความซื่อสัตย์ ขยัน และมีความคิดริเริ่ม จากแนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของผู้น�ำ 5) มีความยุติธรรม 6) สุขภาพแข็งแรง และ และผู้ตามของทีมดังกล่าว การแข่งขันกีฬา 7) ท�ำงานร่วมกับผู้ร่วมงานได้ ประเภททีมทุกชนิดก็เช่นเดียวกัน นอกจากจะ Sachs (1996) กล่าวว่า ลักษณะของ มีสมาชิกที่เป็นผู้เล่นในทีมกีฬาชนิดนั้น ๆ แล้ว ผู้น�ำที่ดี ได้แก่ 1) มีความเข้าใจตนเอง 2) ยอม วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 351

รับฟังและเคารพในความคิดเห็นของผู้อื่น จึงสรุปได้ว่า หัวหน้าทีมกีฬาจะต้องเป็น 3) มีความเข้าใจในสถานการณ์ของผู้ร่วมงาน ผู้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และมีความสามารถ 4) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ 5) สามารถ ที่โดดเด่น มีความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ น�ำความคิดเห็นของผู้ร่วมงานไปใช้ให้เกิด เป็นแบบอย่างที่ดีทั้งในสนามและนอกสนาม ประโยชน์แก่หน่วยงาน แข่งขัน และสามารถน�ำพาทีมไปสู่ความส�ำเร็จได้ สุปราณี ขวัญบุญจันทร์ (Khwanboonchan, 1998) ได้กล่าวว่า ผู้น�ำ เนื้อหา ต้องสามารถสร้างทีมกีฬาได้อย่างแข็งแรงและ จากการศึกษาสังเคราะห์เอกสารและ มั่นคง ไม่ว่าจะเป็นการคัดเลือกนักกีฬา การให้ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สามารถสรุปคุณลักษณะของ แรงจูงใจ การให้รางวัล การวางแผนการฝึกซ้อม ผู้เล่นที่จะเป็นหัวหน้าทีมกีฬา และแนวทางในการ การจัดหางบประมาณ การสร้างความเป็น คัดเลือกหัวหน้าทีมกีฬา ได้ดังนี้ (Chuaypanang, อันหนึ่งอันเดียวกันของทีม เป็นผู้ที่สามารถ 2017) ในการตัดสินใจเพื่อน�ำทีมไปสู่ความส�ำเร็จดัง คุณลักษณะของหัวหน้าทีมกีฬา จุดประสงค์ คุณลักษณะของผู้เล่นที่จะเป็นหัวหน้า จากแนวคิดเกี่ยวกับผู้น�ำหรือหัวหน้าทีม ทีมกีฬามี 6 ด้าน ได้แก่ ภาวะผู้น�ำ บุคลิกภาพ ดังกล่าว สอดคล้องกับแนวคิดของ Terry (2016) การสื่อสาร การจูงใจ มนุษยสัมพันธ์ และน�้ำใจ หรือ “กัปตันเจที” อดีตหัวหน้าทีมกีฬาของสโมสร นักกีฬา ซึ่งคุณลักษณะของหัวหน้าทีมกีฬา ฟุตบอลเชลซีและทีมชาติอังกฤษ ที่กล่าวว่า ในแต่ละด้านนั้น มีความหมายและองค์ประกอบ สิ่งส�ำคัญที่สุดของหัวหน้าทีม คือ อย่าพยายาม ดังนี้ เรียกร้องให้คนอื่นมานับถือหัวหน้าทีม แต่จง 1. ภาวะผู้น�ำ หมายถึง ความสามารถ ท�ำให้ได้มาซึ่งความน่านับถือของการเป็น ในการน�ำผู้อื่นให้ท�ำงานมุ่งไปสู่เป้าหมายร่วมกันได้ หัวหน้าทีม ดังค�ำกล่าวที่ว่า “บางครั้งมันไม่ใช่ ซึ่งภาวะผู้น�ำของหัวหน้าทีมกีฬา มีองค์ประกอบ สิ่งที่คุณพูด แต่มันคือสิ่งที่คุณท�ำ” การท�ำให้ ดังนี้ ได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมทีมและเรียนรู้ 1.1 มีความรับผิดชอบ เพื่อนร่วมทีม จงให้ความสนิทสนมเป็นกันเองกับ 1.2 ยอมรับค�ำติชมจากผู้ฝึกสอน เพื่อนร่วมทีมทุกคน การฝึกซ้อมอย่างหนักทุกวัน และผู้เล่นในทีม กับเพื่อนร่วมทีม จะสร้างความประทับใจให้กับ 1.3 เป็นศูนย์รวมใจของทีมให้เป็น สมาชิกในทีม รวมทั้งจากการที่ได้ทุ่มเทการเล่น หนึ่งเดียว ในสนามทุก ๆ ครั้ง จะท�ำให้ได้รับการยอมรับ 1.4 รับฟังความคิดเห็นของผู้เล่น มากขึ้นเรื่อย ๆ ดังค�ำกล่าวที่ว่า “หากคุณก�ำลังท�ำ ในทีมและผู้อื่น ในสิ่งที่ถูกต้อง เมื่อถึงเวลาที่คุณขอร้องให้ใคร 1.5 สามารถแก้ไขปัญหา ท�ำอะไรเพิ่มขึ้น พวกเขาจะท�ำเพื่อคุณ” เฉพาะหน้าได้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 352

1.6 กล้าเสนอความคิดเห็นต่อ 3.1 สามารถถ่ายทอดค�ำสั่งหรือ ผู้ฝึกสอนและผู้เล่นในทีม ข้อแนะน�ำจากผู้ฝึกสอนให้กับผู้เล่นในทีมได้ 1.7 ให้ความเสมอภาคกับทุกคน 3.2 สามารถสั่งการในสนามด้วย 1.8 มีความกล้าหาญ ค�ำพูดที่สั้นและชัดเจนได้ 1.9 สามารถรักษาผลประโยชน์ของ 3.3 สามารถถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ ทีมได้ ระเบียบ กฎ และกติกาการแข่งขันให้กับผู้เล่น 1.10 ตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ในทีมได้ 1.11 สามารถท�ำหน้าที่แทนผู้ฝึกสอน 3.4 สามารถอธิบายหรือชี้แจง ทั้งในและนอกสนามแข่งขันได้ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสนามให้ผู้ตัดสินเข้าใจได้ 2. บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะ 3.5 มีวิธีการชมเชยและให้ก�ำลังใจ ประจ�ำตัวของบุคคลทั้งภายในและภายนอก ผู้เล่นในทีมได้ ของบุคคลนั้น ๆ ซึ่งบุคลิกภาพของหัวหน้าทีมกีฬา 3.6 สามารถแนะน�ำเกี่ยวกับวิธี มีองค์ประกอบดังนี้ การเล่นให้กับผู้เล่นในทีมได้ 2.1 มีระเบียบวินัยต่อตนเองและ 3.7 สามารถใช้ภาษากายกับทุกคนได้ ส่วนรวม 3.8 สามารถวางแผนการเล่นร่วมกับ 2.2 มีความภาคภูมิใจต่อทีมและ ผู้ฝึกสอนได้ องค์กรของตน 3.9 สามารถสอดแนม (scouting) 2.3 รักษาสุขภาพและสมรรถภาพ ร่วมกับผู้ฝึกสอนได้ ทางกายอยู่เสมอ 4. การจูงใจ หมายถึง ความสามารถ 2.4 แต่งกายเหมาะสมกับกาลเทศะ ในการชักน�ำหรือกระตุ้นให้ผู้อื่นท�ำงานมุ่งไปสู่ 2.5 เป็นแบบอย่างที่ดีแก่เยาวชน เป้าหมายได้ ซึ่งการจูงใจของหัวหน้าทีมกีฬา และบุคคลทั่วไป มีองค์ประกอบดังนี้ 2.6 มีความประพฤติดีทั้งในและ 4.1 มีความมุ่งมั่นและไม่ย่อท้อ นอกสนามแข่งขัน เมื่อทีมอยู่ในสถานการณ์ที่เป็นรองในการแข่งขัน 2.7 มีอารมณ์มั่นคง 4.2 สามารถกระตุ้นผู้เล่นในทีม 2.8 มีจิตใจแจ่มใสร่าเริง ให้เล่นอย่างเต็มที่ได้ 2.9 มีกิริยาวาจาสุภาพ 4.3 สามารถกระตุ้นผู้เล่นในทีม 2.10 มีบุคลิกเป็นที่น่านิยม ให้เล่นอย่างฮึกเหิมได้ 3. การสื่อสาร หมายถึง ความสามารถ 4.4 มีความพยายามในการฝึกซ้อม ในการสื่อความหมายที่ต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจ และแข่งขัน ตรงกันได้ ซึ่งการสื่อสารของหัวหน้าทีมกีฬา 4.5 มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการ มีองค์ประกอบดังนี้ แข่งขัน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 353

4.6 สามารถเป็นต้นแบบทั้งการ 6.2 เล่นกีฬาอย่างเต็มความสามารถ ฝึกซ้อมและแข่งขันให้ผู้เล่นในทีมคล้อยตามได้ ทุกครั้ง 4.7 สามารถใช้ค�ำพูดเชิงบวกกับ 6.3 แสดงน�้ำใจกับผู้เล่นในทีมและ ผู้เล่นในทีม คู่แข่งขัน 4.8 มีวิธีการจูงใจผู้เล่นในทีมให้เล่น 6.4 ปฏิบัติตามระเบียบ กฎ และ เพื่อชัยชนะได้ กติกาการแข่งขัน 4.9 สามารถใช้ค�ำพูดปลอบใจเชิง 6.5 เล่นกีฬาอย่างยุติธรรม กระตุ้นผู้เล่นในทีม 6.6 มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและ 5. มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง ความ คู่แข่งขัน สามารถในการปรับตัวอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้ 6.7 ไม่ดูดถูกเหยียดหยามทีมคู่ ซึ่งมนุษยสัมพันธ์ของหัวหน้าทีมกีฬา มีองค์ประกอบ แข่งขันและผู้อื่น ดังนี้ 6.8 เคารพผู้ตัดสิน กรรมการ และ 5.1 ได้รับความไว้วางใจจากผู้ฝึกสอน เจ้าหน้าที่ และผู้เล่นในทีม 6.9 ไม่เอาเปรียบหรือซ�้ำเติมคู่แข่งขัน 5.2 มีความเป็นมิตร 6.10 สามารถควบคุมอารมณ์เมื่อถูก 5.3 ให้ความส�ำคัญกับการเล่น ยั่วยุได้ เป็นทีมมากกว่าการใช้ความสามารถเฉพาะบุคคล อนึ่ง ผู้เล่นที่จะเป็นหัวหน้าทีมกีฬา 5.4 ไม่เห็นแก่ตัว นอกจากจะมีคุณลักษณะที่ส�ำคัญดังกล่าวแล้ว 5.5 สามารถปรับตัวเข้ากับคณะ อาจจะพิจารณาจากองค์ประกอบอื่น ๆ อีก เช่น ท�ำงานของทีมและผู้เล่นในทีมได้ เป็นผู้มีความสามารถในการเล่นสูง เป็นผู้มี 5.6 ให้ความร่วมมือกับทีมและผู้อื่น ประสบการณ์ในการแข่งขันสูง มีความสามารถ 5.7 ให้ความช่วยเหลือทีมและผู้อื่น ในการควบคุมดูแลผู้เล่นในทีมได้ มีอาวุโสในทีม 5.8 มีความสนิทสนมคุ้นเคยกับผู้เล่น เป็นต้น ในทีม แนวทางในการคัดเลือกหัวหน้าทีม 5.9 ยกย่องให้เกียรติผู้อื่นอย่างจริงใจ กีฬา 5.10 สามารถจ�ำชื่อและบุคลิกของ ในการคัดเลือกหัวหน้าทีมกีฬาเพื่อเป็น ผู้เล่นในทีมได้ กลไกขับเคลื่อนการแข่งขันไปสู่เป้าหมายแห่ง 6. น�้ำใจนักกีฬา หมายถึง การ ชัยชนะร่วมกันนั้น มีแนวทางดังนี้ ประพฤติตนที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับในการ 1. พิจารณาจากผู้เล่นที่มีคุณลักษณะ แข่งขันกีฬา ซึ่งน�้ำใจนักกีฬาของหัวหน้าทีมกีฬา ต่าง ๆ ดังกล่าว ครบถ้วนทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ภาวะผู้น�ำ มีองค์ประกอบดังนี้ บุคลิกภาพ การสื่อสาร การจูงใจ มนุษยสัมพันธ์ 6.1 รู้แพ้ รู้ชนะ และรู้อภัย และน�้ำใจนักกีฬา ซึ่งถือว่าเป็นผู้เล่นที่มีคุณสมบัติ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 354

พื้นฐานเหมาะสมที่จะเป็นหัวหน้าทีมกีฬาที่ดีได้ ขึ้นอยู่กับภาวะผู้น�ำของหัวหน้าทีมเป็นส�ำคัญ” แต่ทั้งนี้อาจจะพิจารณาจากองค์ประกอบอื่น ๆ ส่วนบุคลิกภาพนั้นท�ำให้คนมีความแตกต่างกัน เพิ่มเติมด้วยก็ได้ เช่น เป็นผู้มีความสามารถ เนื่องจากบุคลิกภาพของแต่ละคนจะเป็น ในการเล่นสูง หรือมีประสบการณ์สูง หรือมีความ เอกลักษณ์เฉพาะส�ำหรับคนนั้น ๆ โดยเฉพาะ อาวุโสในทีม เป็นต้น หัวหน้าทีมกีฬาจะต้องเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพ 2. พิจารณาจากสถานการณ์ในการ ที่ดีและโดดเด่นมากกว่านักกีฬาคนอื่น ๆ และ แข่งขันแต่ละครั้ง เพราะในบางสถานการณ์ สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ การสื่อสารของ การแข่งขันนั้นสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง หัวหน้าทีมกีฬาก็จัดเป็นคุณลักษณะที่ส�ำคัญ กับเกมการแข่งขัน หรือความกดดันอาจจะแตกต่าง และจ�ำเป็นอีกอย่างหนึ่ง เนื่องจากหัวหน้าทีม กันไป กีฬาเปรียบเสมือนคนกลางที่จะต้องติดต่อกับ 3. ควรใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของ ผู้ฝึกสอน เพื่อนร่วมทีม เจ้าหน้าที่ กรรมการ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการคัดเลือกหัวหน้าทีม ผู้ตัดสินทั้งในและนอกสนามแข่งขัน รวมทั้ง ทั้งจากคณะ ผู้ฝึกสอนและนักกีฬา เพราะจะท�ำให้ สื่อมวลชน ถ้ามีการสื่อสารที่ผิดพลาดอาจท�ำให้ เป็นที่ยอมรับของทีม เกิดความเสียหายต่อทีมได้ เพราะการสื่อสาร 4. ถ้าเป็นการแข่งขันระดับนานาชาติ ท�ำให้เกิดการถ่ายทอดความหมายและการ ควรเพิ่มเกณฑ์การคัดเลือกหัวหน้าทีม คือ ท�ำความเข้าใจความหมาย หรือเป็นการแลกเปลี่ยน สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ เพราะหัวหน้าทีม ข้อมูลข่าวสารระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสาร ต้องท�ำหน้าที่สื่อสารกับผู้ตัดสิน รวมทั้งการติดต่อ ให้เข้าใจถูกต้องตรงกัน การจูงใจของหัวหน้า ประสานงานต่าง ๆ กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ทีมกีฬาก็จัดเป็นคุณลักษณะที่ส�ำคัญอีกอย่างหนึ่ง 5. ควรมีการประเมินหัวหน้าทีมระหว่าง เช่นกัน เพราะหัวหน้าทีมกีฬามีส่วนส�ำคัญ ปฏิบัติหน้าที่เป็นระยะ ๆ เพื่อน�ำข้อมูลไปสู่การ อย่างยิ่งต่อพฤติกรรมการแสดงออก และการ พัฒนาและปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ หรือเมื่อ ตอบสนองต่อความต้องการของสมาชิกในทีม ต้องการเปลี่ยนแปลงหัวหน้าทีม รวมทั้งมีการ การจูงใจเป็นการกระตุ้นหรือปลุกเร้าให้สมาชิก ประเมินเมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อน�ำไปใช้ ภายในทีมมีขวัญก�ำลังใจ มีความมุ่งมั่นตั้งใจ ประกอบการพิจารณาคัดเลือกหัวหน้าทีมในครั้ง และมีความเต็มใจที่จะฝึกซ้อมหรือแข่งขันอย่าง ต่อ ๆ ไป เต็มความสามารถ ส่วนด้านมนุษยสัมพันธ์ ของหัวหน้าทีมกีฬาก็ถือว่าจ�ำเป็นต้องมี เพราะ บทสรุป มนุษยสัมพันธ์เป็นเรื่องจ�ำเป็นส�ำหรับทุกคน คุณลักษณะของหัวหน้าทีมกีฬาทั้ง เนื่องจากการใช้ชีวิตประจ�ำวันของคนเรานั้น 6 ด้านนั้น ภาวะผู้น�ำของหัวหน้าทีมกีฬาถือว่า จะเกี่ยวข้องปฏิสัมพันธ์กันกับคนรอบข้าง มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับคนที่จะเป็นหัวหน้า ตลอดเวลา โดยเฉพาะนักกีฬาประเภททีมทุกชนิด ทีมกีฬา ดังค�ำกล่าวที่ว่า “ความส�ำเร็จของทีมนั้น ผู้เล่นจะต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ต้องรวมใจ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 355

เป็นหนึ่งเดียวจึงจะท�าให้การฝึกซ้อมและแข่งขัน ความส�าเร็จ ดังนั้น ในการคัดเลือกหัวหน้าทีม เป็นไปอย่างราบรื่นและบรรลุเป้าหมายแห่ง กีฬาควรพิจารณาจากผู้เล่นที่มีคุณลักษณะ ชัยชนะได้ ส�าหรับน�้าใจนักกีฬาจัดเป็นคุณสมบัติ ดังกล่าวข้างต้น ควรใช้กระบวนการมีส่วนร่วม พื้นฐานของนักกีฬาทุกคนและเป็นคุณธรรม ในการคัดเลือกหัวหน้าทีมกีฬาเพื่อให้เป็นที่ ประจ�าใจในการแข่งขันกีฬา แต่หัวหน้าทีมกีฬา ยอมรับของทุกคน ถ้าเป็นการแข่งขันระดับ จะต้องมีน�้าใจนักกีฬามากกว่าผู้เล่นคนอื่น ๆ นานาชาติควรเพิ่มเกณฑ์ด้านความสามารถ ซึ่งจะเห็นได้ว่าเมื่อใดที่นักกีฬาแสดงออก ในการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการติดต่อสื่อสาร ทางด้านน�้าใจนักกีฬา ก็จะได้รับความชื่นชม กับผู้ตัดสินและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ และมีข้อเสนอแนะ ทั้งจากคู่แข่งขันและผู้ดูกีฬาทุกครั้งเมื่อนั้น เพิ่มเติมว่าควรมีการประเมินหัวหน้าทีมเพื่อน�าไป นอกจากนี้ แนวทางในการคัดเลือก สู่การพัฒนาและปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ หัวหน้าทีมกีฬาก็มีส่วนส�าคัญส�าหรับผู้ฝึกสอน ตลอดทั้งมีการส่งเสริมให้หัวหน้าทีมกีฬาได้รับ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับทีมกีฬาที่จะท�าให้ทีมประสบ การพัฒนาในคุณลักษณะต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นด้วย

REFERENCES

Bangmo, S. (2015). Organization and Management. (7th edition). Bangkok: Wittayapat. Barnard, C. I. (1969). Organization and Management. Massachusetts: Harvard University Press. Chuaypanang, K. (2017). The Main Characteristics of Sport Team Captains: A Case Study of The University Sports of Thailand. Research report. Bangkok: Phranakhon Rajabhat University. Francis, D. and Young, D. (1979). Improving Work Group: A Practical Manual for Team Building. California: University Associates. Ketsakhon, Y. (2001). Leadership and Motivation. (3rd edition). Bangkok: SK Booknet. Kezsbom, D. (1990). Are You Really Ready to Build a Project Team. New York: John Wiley & Sons. Khejaranant, N. (2002). Team Building. Bangkok: Expernet. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 356

Khaosomboon, P. (2000). Team Building. In Kakhai, K. and others “Human Behavior and Self Development”. Bangkok: Suan Sunandha Institue. Khwanboonchan, S. (1998). Sports Psychology. Bangkok: Thai Wattana Panich. Laohanantha, S. (2006). Team Building. Bangkok: Handmade sticker and design. Quible, Z. K. (1980). The Administrative Office Management Function. (2nd edition). Connecticut: Greenwood. Sachs, B. M. (1996). Educational Administration: A Behavioral Approach. Massachusetts: Houghton Miffin. Sutthilerdarun, S. (2002). Human Behavior and Self Development. Bangkok: Aksara Pipat. Terry, J. (2016). The secret of being a team captain from JT. Retrieved September 13, 2016, from http://thai.chelseafc.com/news/blogs/boilerplate-allincfc/allincfc/jt-s-captaincy- tips1.html. Thongwiwat, J. and Malakul Na Ayudhya, P. (1988). Team Building. Bangkok: Excise Department Printing House. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 357

บทความวิชาการ

ความฉลาดทางสังคมกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 SOCIAL INTELLIGENCE WITH LEARNING MANAGEMENT IN THE 21ST CENTURY ธานี ชูก�ำเนิด1* และ สิรภพ สินธุประเสริฐ2 Thanee Chukamnerd1* and Sirapop Sintuprasard2

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย1* Faculty of Education, Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University, Phranakhon Si Ayutthaya, Thailand2

Email: [email protected]*

Received: 2019-03-22 Revised: 2019-06-17 Accepted: 2019-07-08

บทคัดย่อ กระบวนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ผ่านมา มีการสั่งสมและถ่ายทอดผ่านกระบวนการ เรียนการสอนที่มุ่งพัฒนาให้เป็นคนเก่ง เรียนรู้อย่างรอบด้าน แต่สิ่งแวดล้อมและสภาพของผู้เรียนนั้น เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วเมื่อเข้าสู่ช่วงต้นศตวรรษที่ 21 เนื่องด้วย บริบทของปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้ซึ่งเปลี่ยนแปลงสู่สังคมออนไลน์และโลกแห่งความรู้ที่ไร้พรมแดน ธรรมชาติการเรียนรู้ย่อมเปลี่ยนแปลงไปภายใต้เงื่อนไขของเวลาที่มีจ�ำกัดมากขึ้น ความฉลาดทาง สังคมจึงเป็นทักษะหนึ่งที่จ�ำเป็นต่อผู้เรียนในศตวรรษนี้ การจัดเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงต้องเน้น ความฉลาดทางสังคมของผู้เรียน ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มีระบบ จึงจะเป็นการพัฒนามิติ ด้านคุณภาพชีวิตของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง ท�ำให้ผู้เรียนรู้เท่าทันโลก และสามารถอยู่ในยุคปัจจุบัน ได้อย่างมีความสุข

ค�ำส�ำคัญ: ความฉลาดทางสังคม การจัดการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21

ABSTRACT The process of learning management in the previous era was accumulated and transferred via instruction process that needed students to be mastery learner. But the วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 358 environment and condition of the learner is constantly changing. And changed dramatically in the early 21st century due to learning infrastructure & ICT that allow students to have borderless of learning. Social intelligence is a necessary skill for learners of this century. Learning in the 21st century must emphasize the social intelligence of learners with a learning management system to make the students have knowledge and happiness.

Keywords: Social Intelligence, Learning Management, 21st Century

บทน�ำ การศึกษาเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการ โดยจะขึ้นอยู่กับการจัดการศึกษา โดยการจัดการ พัฒนาคนและสังคม โดยการศึกษาที่ดีจะช่วย ศึกษาจะไม่สามารถบรรลุผลส�ำเร็จได้หากขาด พัฒนาคนให้มีคุณภาพ เป็นปัจจัยส�ำคัญในการ การจัดการเรียนรู้ที่เป็นวิถีทางที่จะน�ำผู้เรียนไปสู่ พัฒนาสังคมต่อไป ดังนั้นการศึกษาจึงต้องแสดง เป้าหมายที่ต้องการ และหากขาดซึ่งการจัดการ บทบาทให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ เรียนรู้ก็จะคาดหวังความส�ำเร็จของการจัดการ สังคมโดยรวม ซึ่งในปัจจุบันสังคมก�ำลังก้าวเข้าสู่ ศึกษาไม่ได้ ดังนั้นแนวทางการพัฒนาท�ำให้ ศตวรรษที่ 21 อันเป็นยุคที่มีความสลับซับซ้อน บุคคลมีความฉลาดทางสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การจัดการ จึงเป็นเรื่องของการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ศึกษาของไทยจึงถึงเวลาปรับเปลี่ยนอีกครั้งหนึ่ง ยุคศตวรรษที่ 21 โดยในบทความนี้จะกล่าวถึง โดยโลกในศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลง การใช้ SQLM21 model (Social Quotient ที่ส�ำคัญในด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี and Learning Management for the 21 การผลิต และการสื่อสาร ดังนั้นสิ่งที่ส�ำคัญ century) ซึ่งเป็นกระบวนการ 6 ขั้นตอนในการ ในการจัดการศึกษานั้น ต้องให้ผู้เรียนมีทักษะ จัดการเรียนการสอน โดยมีการสร้างองค์ความรู้ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Constructivism) การมีส่วนร่วม (Participation) (Interpersonal Skills and Responsibility) การเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ (Learning by ซึ่งไวต่อความรู้สึกของผู้อื่นที่มีความสามารถ doing) และการมีครูเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวก ในการท�ำงานเป็นกลุ่ม โดยแสองถึงภาวะของที่มี ในการเรียน (Facilitator) ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้ ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (National จะเป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการ 6 ขั้นตอน ให้มี Research Council of Thailand, 2009) ความเป็นพลวัต และพัฒนาผู้เรียนให้เป็นกลุ่มคน ซึ่งลักษณะดังกล่าวเป็นความฉลาดทางสังคม ที่มีความฉลาดทางสังคมได้ ที่เด่นชัด ความฉลาดทางสังคมกับการศึกษา ฉะนั้นสิ่งที่จะท�ำให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ในศตวรรษที่ 21 ตามความมุ่งหมาย คือ ความฉลาดทางสังคม ความฉลาดทางสังคม (Social Quotient) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 359

เป็นความฉลาดด้านหนึ่งของบุคคลตามแนวคิด ในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น (Pon-anan & ของธอร์นไดค์ (Thorndike) ซึ่งเป็นนักจิตวิทยา Wisitthikulpanit, 2008) ชาวอเมริกัน ที่จ�ำแนกความฉลาดของมนุษย์ จากการศึกษาองค์ประกอบของความ ออกเป็น 3 ด้าน โดยด้านแรก คือ ความฉลาดด้าน ฉลาดทางสังคม พบว่า มีนักจิตวิทยาและนักการ การคิดเชิงนามธรรม (Abstract Intelligence) ศึกษาเสนอแนวคิดไว้หลากหลาย เช่น โกลแมน ซึ่งเป็นความสามารถของบุคคลในการคิดที่เป็น (Goleman, 2006) ก�ำหนดองค์ประกอบของ สัญลักษณ์และการวิเคราะห์สิ่งที่เป็นนามธรรม ความฉลาดทางสังคมออกเป็น 2 ด้าน โดย ตามธรรมชาติ เป็นลักษณะการใช้ความรู้ที่เป็น ด้านแรกเป็นการรับรู้ผู้อื่น หรือการตระหนักรู้ เหตุเป็นผล ด้านต่อมา คือความฉลาดด้านการ ทางสังคม (Social Awareness) ประกอบด้วย ปฏิบัติ (Mechanical Intelligence) เป็นความ การรับรู้อารมณ์ความรู้สึกของผู้อื่น (Primal สามารถของบุคคลในการเข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับ Empathy) การเชื่อมต่อความรู้สึกกับผู้อื่น เครื่องยนต์กลไกต่าง ๆ อย่างคล่องแคล่ว และ (Attunement) การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น (Empathic ด้านสุดท้าย คือความฉลาดทางสังคม (Social Accuracy) และการรู้คิดทางสังคม (Social Intelligence) ซึ่งหมายถึง ความสามารถของบุคคล Cognition) ในส่วนที่สองเป็นด้านการปฏิบัติ ในการเข้าใจและจัดการกับผู้อื่นทั้งเพศหญิง ต่อผู้อื่นหรือการเอื้ออ�ำนวยทางสังคม (Social เพศชาย เด็กผู้หญิง เด็กผู้ชายและสามารถ Facility) ประกอบด้วย การติดต่อสื่อสารที่ สร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างชาญฉลาด สอดคล้อง (Synchrony) การแสดงออก (Self- (Kihlstrom and Cantor, 2000) Presentation) การโน้มน้าว (Influence) และการ ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple ห่วงใยใส่ใจผู้อื่น (Concern) Intelligences) ของฮาวเวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard อัลเบรค (Albrecht, 2006) เสนอ Gardner) ได้อธิบายให้เห็นถึงความสามารถ องค์ประกอบของความฉลาดทางสังคมไว้ 5 ที่หลากหลายของมนุษย์ ไว้ว่าบุคคลมีความฉลาด องค์ประกอบ ได้แก่ การ ตระหนักรู้สภาพการณ์ 8 ด้าน โดยความฉลาดทางสังคมถือเป็นหนึ่งใน ทางสังคม (Situation Awareness), การ พหุปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal แสดงออก (Presence) การแสดงความจริงใจ Intelligence) ซึ่งแต่ละบุคคลจะมีความสามารถ ในการแสดงออก (Authenticity) ความชัดเจน แต่ละด้านไม่เท่ากัน อาจมีความสามารถด้านใด ในการแสดงออก (Clarity) และการเห็นอกเห็นใจ ด้านหนึ่งที่เด่นกว่าด้านอื่น แต่บุคคลต้องใช้ ผู้อื่น (Empathy) รวมทั้งโคสมิทซกี และคนอื่น ๆ ความสามารถทุกด้านในการด�ำรงชีวิต โดยความ (Kosmitzki et al., 1993) ได้กล่าวถึง องค์ประกอบ สามารถเหล่านั้นจะมีความเกี่ยวพันกัน ดังนั้น ของความฉลาดทางสังคม ได้แก่ การรับรู้อารมณ์ ความฉลาดทางสังคมจึงเป็นความฉลาดที่ส�ำคัญ ความรู้สึกของผู้อื่น ความสามารถทั่วไปในการ ที่สุด เพราะความฉลาดทางสังคมเป็นความ ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ความรู้ในกฎเกณฑ์ทางสังคม สามารถในการใช้ความฉลาดด้านอื่นทุกด้าน และชีวิตทางสังคม การหยั่งรู้และรู้สึกไวต่อ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 360

สภาพการณ์ทางสังคมที่ซับซ้อน การใช้เทคนิค ก็เปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ทางสังคมเพื่อการปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น มิติ ไปเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือให้นักเรียนสามารถ ในการรับรู้ผู้อื่น และการปรับตัวทางสังคม เปลี่ยนสารสนเทศเป็นความรู้ และน�ำความรู้ นักเรียนในยุคศตวรรษที่ 21 เป็นยุค เป็นเครื่องมือสู่การปฏิบัติและเป็นประโยชน์ แห่งการเปลี่ยนแปลง ผู้เรียนต้องมีความตื่นตัว ในการเรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ในศตวรรษที่ 21 ในการเรียนรู้ มีความสามารถในการแสวงหา การให้การศึกษาตามทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม ความรู้ และเรียนรู้ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมี (Bloom´s Taxonomy of Learning) จะเปลี่ยนไป ประสิทธิภาพ หากแต่ท่ามกลางความหลากหลาย เพื่อเน้นทักษะการเรียนรู้ขั้นที่สูงขึ้น (Higher ทางเทคโนโลยีที่ทันสมัย การแพร่กระจายทาง Order Learning Skills) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วัฒนธรรมต่างชาติ บรรยากาศของการแข่งขัน ทักษะการประเมินค่า (Evaluating Skills) จะถูก และความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในสังคมยุคปัจจุบัน แทนที่โดยทักษะการน�ำเอาความรู้ใหม่ไปใช้อย่าง ส่งผลให้พฤติกรรมทางสังคมของนักเรียน สร้างสรรค์ (Ability to Use New Knowledge in a เปลี่ยนแปลงไป เช่น ความก้าวร้าว การเก็บตัว Creative Way) ปัจจุบันจึงเห็นการเรียนการสอน การไม่ปรับตัวเข้ากับบุคคลอื่น ความสามารถ ที่ช่วยให้นักเรียนได้เตรียมตัวเพื่อใช้ชีวิตในโลก ในการสื่อสารที่ลดลง การขาดทักษะในการ ที่เป็นจริง (Life in the Real World) เน้นการศึกษา เข้าสังคม เป็นต้น ถ้าผู้เรียนขาดซึ่งความฉลาด ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ด้วยวิธีการสอน ทางสังคมแล้ว การเรียนรู้ย่อมไม่เป็นไปตาม ที่มีความยืดหยุ่น (Flexible in How We Teach) เจตนารมณ์ของการศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21 มีการกระตุ้นและจูงใจให้ผู้เรียนมีความเป็นคน ที่มุ่งให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ร่วมกันได้อย่างมี เจ้าความคิดเจ้าปัญญา (Resourceful) ที่ยังคง ความสุข แสวงหา การเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา โดยการ การจัดการศึกษาส�ำหรับศตวรรษที่ 21 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในสังคมตลอดชีวิต เน้นความยืดหยุ่น สร้างสรรค์ ท้าทาย และซับซ้อน จากแนวคิดดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า ความ เป็นการศึกษาที่จะท�ำให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง ฉลาดทางสังคม (Social Intelligence: SQ) อย่างรวดเร็ว เต็มไปด้วยสิ่งท้าทาย และปัญหา จึงเป็นความสามารถของบุคคลในการอยู่ร่วมกับ รวมทั้งโอกาสและสิ่งที่เป็นไปได้ใหม่ ๆ ที่น่า บุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถสร้าง ตื่นเต้น โรงเรียนในศตวรรษที่ 21 จึงเป็นโรงเรียน สัมพันธภาพที่ดี รวมทั้งสามารถท�ำงานร่วมกับ ที่มีหลักสูตรแบบยึดโครงงานเป็นฐาน (Project- ผู้อื่นในสังคมได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ based Curriculum) ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียน สามารถเข้าใจ สามารถปรับตัวและสร้าง เกี่ยวข้องกับปัญหาในโลกที่เป็นจริง ซึ่งเป็น สัมพันธภาพกันกับผู้อื่นทุกเพศทุกวัยได้อย่าง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความเป็นมนุษย์ กลุ่มคน ชาญฉลาด ทั้งนี้การที่บุคคลต้องด�ำเนินชีวิตอยู่ และสังคมที่จะเชื่อมโยงครู นักเรียน และชุมชน ในสังคมร่วมกับบุคคลอื่นที่มีความหลากหลาย ส�ำหรับการเข้าสู่ขุมคลังแห่งความรู้ทั่วโลก ครูเอง ทั้งเพศ วัย บุคลิกภาพ การประกอบอาชีพ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 361

การนับถือศาสนา ตลอดจนความต่างทาง การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น รวมทั้งองค์ประกอบ วัฒนธรรม จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยความ ด้านการรู้คิดทางสังคม ในลักษณะที่เป็นความ ร่วมมือ ความสมัครสมานสามัคคี และความ สามารถกระบวนการรู้คิด ทางพฤติกรรมและ คิดเห็นร่วมกัน เพื่อสร้างพฤติกรรมที่เหมาะสม ผลของความรู้ทางสังคม ได้แก่ การรู้คิดใน ทางสังคม อันก่อให้เกิดความสุข ความพึงพอใจ พฤติกรรม การมีข้อสนเทศทางสังคม และการ การประสบความส�ำเร็จในชีวิต และความเป็น ตัดสินสภาพการณ์ทางสังคม และองค์ประกอบ กัลยาณมิตรที่ดีต่อกันในสังคม นักเรียน ด้านการมีทักษะทางสังคม ในลักษณะที่เป็น ในศตวรรษที่ 21 จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมี ความสามารถในการมีทักษะการปฏิบัติต่อผู้อื่น องค์ประกอบของความฉลาดทางสังคม ได้แก่ การแสดงออกทางอารมณ์ การแสดงออก อันประกอบด้วย ความตระหนักรู้ทางสังคม ทางสังคม และการสร้างความสัมพันธ์ทาง ในลักษณะที่เป็นความสามารถในการรู้สึกไวต่อ สังคม เพื่อที่จะได้เรียนรู้ร่วมกันผู้อื่นได้อย่าง ผู้อื่น ได้แก่ การรับรู้ผู้อื่น การเข้าใจผู้อื่น และ มีประสิทธิภาพต่อไป

โมเดลการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ผู้เรียนมีความฉลาดทางสังคม (SQLM21)

ภาพที่ 1 โมเดลการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ผู้เรียนมีความฉลาดทางสังคม (SQLM21) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 362

โมเดลการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ 4. รอบคอบน�ำไปใช้ เป็นการน�ำแผนการ ที่ 21 เพื่อให้ผู้เรียนมีความฉลาดทางสังคม จัดการเรียนรู้มาใช้จริง โดยการจัดการเรียนรู้ (Social Quotient and Learning Management จะต้องเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ อาศัยกระบวนการ for the 21 Century Model) ดังภาพที่ 1 ประกอบ เรียนรู้ ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือที่จะน�ำ ไปด้วยกระบวนการส�ำคัญ 6 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ ผู้เรียนไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการ 1. พินิจทบทวน โดยการศึกษาทบทวน เรียนรู้ที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการ หลักสูตร จัดท�ำตารางการวิเคราะห์หลักสูตร เรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องสัมพันธ์กับหลักการ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการ จุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้ และค�ำอธิบาย เผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหากระบวนการ รายวิชา เพื่อจัดท�ำหน่วยการเรียนรู้ และออกแบบ เรียนรู้จากประสบการณ์จริงกระบวนการปฏิบัติ การจัดการเรียนรู้ โดยต้องค�ำนึงถึงกระบวนการ ลงมือท�ำจริง กระบวนการจัดการกระบวนการ ที่จะช่วยให้ความฉลาดทางสังคมของผู้เรียน วิจัย กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ของตนเอง พัฒนาขึ้นด้วย กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย ซึ่งกระบวนการ 2. ประมวลองค์ทัศน์ เป็นขั้นตอนที่ เหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียน ต้องมีการคิดวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและ ควรได้รับการฝึกฝนพัฒนาเพราะจะสามารถ เชิงคุณภาพขององค์ความรู้ที่มี เพื่อวางแผนการ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี และยังช่วย สื่อความหมายข้อมูลออกมาด้วยรูปแบบต่าง ๆ ส่งเสริมความฉลาดทางสังคมของผู้เรียนได้เป็น หรืออาจสร้างสรรค์มวลประสบการณ์ ข้อสรุป อย่างดี ดังนั้นผู้สอนจึงจ�ำเป็นต้องศึกษาท�ำความ หรือองค์ความรู้ใหม่ และตรวจสอบ ปรับเปลี่ยน เข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถ เพื่อให้เข้ากับสภาพของผู้เรียน โดยเน้นการ เลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี เพิ่มทักษะความฉลาดทางสังคมให้แก่ผู้เรียน ประสิทธิภาพ 3. แจงจัดองค์ประกอบ น�ำองค์ความรู้ 5. ใส่ใจ KM เป็นการรวบรวมความรู้ ที่ได้ และทรัพยากรที่มี มาวางแผนเพื่อจัด สู่การปฏิบัติ (Tacit Knowledge) ซึ่งเป็นความรู้ การเรียนการสอน โดยผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตร ที่เกิดจากการเรียนรู้ เจตคติในงาน ประสบการณ์ สถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ การท�ำงาน และพฤติกรรมการท�ำงานของผู้เรียน ตัวชี้วัด สมรรถนะส�ำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะ แต่ละบุคคล ซึ่งเมื่อปฏิบัติงานเรื่องเดียวกันหรือ อันพึงประสงค์ แล้วจึงพิจารณาออกแบบการ ต่างกัน แล้วน�ำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิค แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เมื่อรวบรวมแล้วก็มี การสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล การน�ำความรู้ที่ได้มาสังเคราะห์ วิเคราะห์ หรือ เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและ จัดระบบใหม่ เพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ และ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งเป็นเป้าหมาย มีการจัดเก็บข้อสรุปทั้งมวลอย่างเป็นระบบเพื่อ ที่ก�ำหนด น�ำไปสู่การเผยแพร่ความรู้ เพื่อให้เกิดการต่อยอด วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 363

ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะได้ใช้ทักษะความฉลาด ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียนได้ ทางสังคมของตนเองในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น แต่ผู้สอนสามารถช่วยผู้เรียนปรับเปลี่ยนโครงสร้าง 6. เติมเต็มการประเมิน หลังการจัดการ ทางปัญญาได้โดยจัดสภาพการณ์ที่ท�ำให้เกิด เรียนรู้ทุกครั้ง จะต้องมีการด�ำเนินงานเพื่อให้ได้ ภาวะไม่สมดุลขึ้น ข้อมูลซึ่งเกี่ยวกับผลงาน (Product) ที่เกิดจาก 2. การมีส่วนร่วม (Participation) การเรียนรู้และการปฏิบัติงาน (Performance) การมีส่วนร่วมของผู้เรียน จะก่อให้เกิดผลดีต่อ ของผู้เรียน โดยอาศัยเครื่องมือการรวบรวม การจัดการเรียนรู้ เพราะมีผลในทางจิตวิทยา ข้อมูล เช่น แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ ชิ้นงาน เป็นอย่างยิ่ง กล่าวคือ ผู้เรียนที่มีส่วนร่วมย่อมเกิด ของผู้เรียน แบบรายงานตนเอง เป็นต้น ซึ่งการ ความภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการจัด ประเมินผลหลังการจัดการเรียนรู้ จะให้ทั้งผู้สอน การเรียนการสอน และที่ส�ำคัญผู้เรียนที่มีส่วนร่วม และผู้เรียนทราบความสามารถของตนเอง มีการ จะมีความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกับการเรียนรู้ ซึ่งจะ วางแผนปรับปรุงพัฒนาตนเองได้อย่างมีคุณภาพ เป็นพลังในการขับเคลื่อนการเรียนรู้ได้ดี และมีความเป็นพลวัต 3. การเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ ปัจจัยส�ำคัญขับเคลื่อนการจัดการ (Learning by doing) เป็นการเรียนรู้จาก เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ผู้เรียนมีความ ประสบการณ์จริงในการท�ำงาน คือ การเรียนรู้ ฉลาดทางสังคม ที่มีการน�ำปัญหาในการท�ำงานมาเป็นโจทย์ นอกจากโมเดลการจัดการเรียนรู้ ในการเรียนรู้อีกทั้งต้อง มีการคิดหาวิธีในการ ในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ผู้เรียนมีความฉลาด แก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ทางสังคม 6 ขั้นตอนดังกล่าว การพัฒนาผู้เรียน ต่อทั้งผู้เรียน และเป็นประโยชน์ต่อผู้สอนในการ ให้มีความฉลาดทางสังคม จึงต้องอาศัยปัจจัย พัฒนาความฉลาดทางสังคมของผู้เรียนในขณะ ส�ำคัญเป็นการขับเคลื่อนขั้นตอนเหล่านั้น คือ จัดการเรียนรู้ ซึ่งกระบวนการเรียนรู้โดยการ 1. การสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ลงมือปฏิบัติ ได้รับการยอมรับว่าสามารถสร้าง โดยผู้เรียนเป็นผู้สร้าง (Construct) ความรู้จาก ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิผล ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ 4. การมีครูเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวก ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม โดยใช้กระบวนการทาง ในการเรียนรู้ (Facilitator) ในยุคศตวรรษที่ 21 ปัญญา (Cognitive apparatus) ของตน ได้ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล (digital era) อย่างเต็ม โดยประเด็นส�ำคัญของกระบวนการการสร้าง รูปแบบ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ความรู้ คือ การเรียนรู้ตามแนว การสร้าง ท�ำให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้และ องค์ความรู้ (Khammanee, 2011) คือ โครงสร้าง เรื่องราวต่าง ๆ ได้ด้วยตัวเอง ครูจึงไม่ใช่ผู้รู้ของ ทางปัญญา เป็นผลของความพยายามทาง ผู้เรียนอีกต่อไป ครูจึงต้องเปลี่ยนบทบาทจากครู ความคิด ผู้เรียนสร้างเสริมความรู้ผ่านกระบวนการ ผู้สอน (Teacher) มาเป็นผู้อ�ำนวยการเรียนรู้ ทางจิตวิทยาด้วยตนเอง ผู้สอนไม่สามารถ (Facilitator) ผู้อ�ำนวยการความสะดวก หรือ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 364

ให้ผู้สนับสนุนการเรียนรู้ ซึ่งท�าหน้าที่คอย สร้างองค์ความรู้ (Constructivism) การมี จัดเตรียมอุปกรณ์ และเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อให้ ส่วนร่วม (Participation) การเรียนรู้โดยการลงมือ การจัดกิจกรรมนั้น ๆ ด�าเนินไปได้ด้วยดี ปฏิบัติ (Learning by doing) และการมีครูเป็น ผู้อ�านวยความสะดวกในการเรียน (Facilitator) บทสรุป เป็นปัจจัยส�าคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการ ความฉลาดทางสังคมกับการจัดการ 6 ขั้นตอนดังกล่าว ให้มีความเป็นพลวัต พัฒนา เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นั้นเป็นสิ่งที่ต้องพัฒนาไป ผู้เรียนให้เป็นกลุ่มคนที่มีความฉลาดทางสังคม พร้อม ๆ กัน กล่าวคือ ผู้สอนจะต้องมีขั้นตอนการ ต่อไป กระบวนการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวข้างต้น จัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบที่มีคุณภาพ เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล โดยในที่นี้ใช้โมเดลการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ และความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and ที่ 21 เพื่อให้ผู้เรียนมีความฉลาดทางสังคม Responsibility) มีความสามารถในการไวต่อ (Social Quotient and Learning Management ความรู้สึกของผู้อื่น มีความ สามารถในการท�างาน for the 21 century Model) ซึ่งประกอบไปด้วย เป็นกลุ่ม แสดงถึงภาวะผู้น�า มีความรับผิดชอบ กระบวนการ 6 ขั้นตอน คือ พินิจทบทวนประมวล ต่อตนเองและสังคม ซึ่งลักษณะดังกล่าวเป็น องค์ทัศน์ แจงจัดองค์ประกอบ รอบคอบน�าไปใช้ ลักษณะของนักเรียนที่มีความฉลาดทางสังคม ใส่ใจ KM และเติมเต็มการประเมิน โดยมีการ ในศตวรรษที่ 21 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 365

REFERENCES

Albrecht Karl. (2006). Social intelligence: the new science of Success. San Francisco: Jossey-Bass A Wiley Imprint. Goleman, D. (2006). Social intelligence: the new science of human relationship. New York: Arrow bo139,237oks. Khammanee, T. (2011). Science of teaching. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing. (in Thai) Kihlstrom, J.F. & Cantor, N. (2000). Social intelligence. In: Sternberg, R.J. (Ed.). Handbook of intelligence. (2nd edition). Cambridge: Cambridge University Press. Kosmitzki, C. & John, O.P. (1993). The implicit use of explicit conceptions of social intelligence. Personality and individual differences. 15, 11-23. National Research Council of Thailand. (2009). National higher education qualifications framework 2009. Bangkok: National Research Council of Thailand. (in Thai) Pon-anan, T. & Wisitthikulpanit, J. (2008). Use the brian first. Bangkok: Kwan-khaw Publishing. (in Thai)

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 367

รายละเอียดการเตรียมบทความเสนอการตีพิมพ์ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) Academic Journal Phranakhon Rajabhat University (Humanities and Social Sciences)

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เป็นวารสารราย 6 เดือนเผยแพร่ ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน และฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย และผลงานวิชาการในลักษณะนิพนธ์ต้นฉบับ (Original Article) นิพนธ์ปริทัศน์ (Review Article) และบทวิจารณ์หนังสือ (Book Review) ในสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แก่นักวิจัย นักวิชาการ และบุคคลทั่วไปที่สนใจ

 ขั้นตอนการด�ำเนินงานจัดท�ำวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1. รับต้นฉบับจากผู้สนใจตีพิมพ์บทความผ่านระบบ ThaiJo (https://www.tci-thaijo.org/ index.php/AJPU/login) 2. กองบรรณาธิการตรวจสอบความสมบูรณ์ความถูกต้องและคุณภาพของบทความ ต้นฉบับ 3. กองบรรณาธิการเตรียมต้นฉบับจัดส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ที่มีความเชี่ยวชาญ ในสาขาที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่าสองท่านต่อหนึ่งบทความ ทั้งนี้ ผู้ประเมินบทความ (Peer Review) และผู้แต่ง (Author) จะไม่ทราบชื่อซึ่งกันและกัน (Double-blind Peer Review) โดยบทความที่ ลงตีพิมพ์ได้นั้นจะต้องผ่าน ความเห็นชอบจากผู้ประเมินบทความทั้งสองท่าน หรือสองในสามท่าน ทั้งนี้ ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความมีดังนี้ - Accept Submission = รับตีพิมพ์บทความโดยไม่ต้องแก้ไข - Revisions Required = แก้ไขบทความโดยให้บรรณาธิการพิจารณาอีกครั้ง - Resubmit for Review = ผู้แต่งต้องแก้ไขบทความส่งกลับมาให้ผู้ประเมินบทความ ตรวจสอบอีกครั้ง - Resubmit Elsewhere = ปฏิเสธรับตีพิมพ์บทความ กรณีที่ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ขอบเขตของวารสาร และการเตรียมบทความ ทั้งนี้ ให้ผู้แต่งส่งบทความตีพิมพ์ในวารสารอื่น - Decline Submission = ปฏิเสธการตีพิมพ์บทความ - See Comments = พิจารณาข้อเสนอแนะของผู้ประเมินบทความ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 368

4. กองบรรณาธิการส่งต้นฉบับที่ปรับแก้ไขแล้วพร้อมสรุปผลการประเมินคุณภาพต้นฉบับ และจัดส่งผู้แต่งเพื่อปรับแก้ไข พร้อมให้ชี้แจงการปรับแก้ไขกลับมายังกองบรรณาธิการ 5. กองบรรณาธิการตรวจสอบการปรับแก้ไขความถูกต้อง และรูปแบบการเขียนต้นฉบับ 6. บรรณาธิการตอบรับการตีพิมพ์และเผยแพร่ต้นฉบับดังกล่าวผ่านระบบฐานข้อมูล วารสารอิเล็กทรอนิกส์กลาง (https://www.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/) จากนั้น จะออกหนังสือ ตอบรับการตีพิมพ์บทความอย่างเป็นทางการจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อีกครั้ง 7. กองบรรณาธิการรวบรวมต้นฉบับและตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนจัดส่งโรงพิมพ์เพื่อจัดท�ำ วารสารฉบับร่าง 8. กองบรรณาธิการตรวจสอบความถูกต้องของวารสารฉบับร่างจากโรงพิมพ์อีกครั้ง จากนั้น จึงส่งตีพิมพ์และเผยแพร่ 9. กองบรรณาธิการเผยแพร่วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครผ่านระบบ ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลาง (https://www.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/) และ จัดส่งวารสารฉบับตีพิมพ์ให้กับผู้ประเมินบทความผู้แต่ง และหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ ทางวิชาการต่อไป

 หลักเกณฑ์ในการส่งบทความของวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1. บทความที่ผู้แต่งส่งมาเพื่อตีพิมพ์จะต้องเป็นบทความที่ยังไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ หรือ อยู่ระหว่างการเสนอขอตีพิมพ์จากวารสารอื่น ๆ 2. เนื้อหาในบทความต้องไม่คัดลอก ลอกเลียน หรือไม่ตัดทอนจากบทความอื่นโดย เด็ดขาด (การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้แต่งเท่านั้น) 3. ผู้แต่งต้องเขียนบทความตามรูปแบบที่ก�ำหนดไว้ในระเบียบการส่งบทความ วารสาร วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 4. การพิจารณาบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จะพิจารณาเฉพาะบทความที่ได้รับการประเมินให้ตีพิมพ์เผยแพร่จากผู้ประเมินบทความเท่านั้น 5. กรณีมีข้อเสนอแนะจากผู้ประเมินบทความ ผู้แต่งต้องปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ ผู้ประเมินบทความ และชี้แจงการแก้ไขต้นฉบับดังกล่าว มายังกองบรรณาธิการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 369

 ค�ำแนะน�ำการเตรียมบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กองบรรณาธิการได้ก�ำหนดรูปแบบการเตรียมบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดังนี้ บทความต้องพิมพ์ในกระดาษขนาด A4 โดยตั้งค่าหน้ากระดาษ ซ้าย 1 นิ้ว ขวา 1 นิ้ว บน 1 นิ้ว ล่าง 1 นิ้ว (1 นิ้ว = 2.5 ซม.) บทความภาษาไทยต้องพิมพ์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วยรูปแบบอักษร Cordia New บทความภาษาไทยที่มีศัพท์เทคนิคหรือ ศัพท์เฉพาะ ให้ใช้ค�ำทับศัพท์ และ/หรือ ศัพท์บัญญัติ พร้อมวงเล็บค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษนั้น ส�ำหรับการอ้างอิงเอกสารต้องมีรูปแบบเดียวกันทั้งบทความ ทั้งนี้ ให้ศึกษารายละเอียด เพิ่มเติมที่หัวข้อ รูปแบบการพิมพ์เอกสารอ้างอิง เอกสารต้องมีรูปแบบเดียวกันทั้งบทความ ทั้งนี้ บทความประเภทต่าง ๆ ในวารสารเล่มนี้ มีจ�ำนวนหน้าต่อหนึ่งบทความแตกต่างกันโดยประมาณ ดังนี้ 1. บทความทางวิชาการ (Academic article) ประมาณ 15 หน้า ต่อบทความ 2. บทความวิจัย (Research article) ประมาณ 15 หน้า ต่อบทความ 3. บทความปริทรรศน์ (Review article) ประมาณ 8 หน้า ต่อบทความ 4. บทวิจารณ์หนังสือ (Book review) ประมาณ 5 หน้า ต่อบทวิจารณ์ ให้พิมพ์ผลงานด้วยกระดาษ A4 พิมพ์หน้าเดียว โดยทุกบทความต้องมีบทคัดย่อเป็นภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ ยกเว้นบทวิจารณ์หนังสือ และมีส่วนประกอบดังนี้

บทความทางวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทรรศน์ บทวิจารณ์หนังสือ (Academic Article) (Research Article) (Review Article) (Book Review) 1. บทน�ำ 1. บทน�ำ 1. บทน�ำ บทความที่วิพากษ์วิจารณ์ 2. กรอบในการวิเคราะห์ 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2. บทสรุป เนื้อหาสาระ คุณค่า และ 3. เนื้อหา 3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย (ถ้ามี) 3. เอกสารอ้างอิง คุณูปการของหนังสือ 4. สรุป 4. ขอบเขตของการวิจัย บทความ หรือผลงานศิลปะ 5. เอกสารอ้างอิง 5. สมมติฐาน (ถ้ามี) อาทิ นิทรรศการทัศนศิลป์ 6. กรอบแนวคิดของการวิจัย และการแสดงละครหรือ 7. ระเบียบวิธีวิจัย ดนตรี โดยใช้หลักวิชา 8. สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย และดุลยพินิจอันเหมาะสม 8.1 สรุปผลการวิจัย 8.2 อภิปรายผลการวิจัย 9. ข้อเสนอแนะ 10. เอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 370

กรณีตีพิมพ์บทความเป็นภาษาอังกฤษต้องเรียงล�ำดับหัวข้อดังต่อไปนี้

Academic Article Research Article Review Article Research Article 1. Introduction 1. Introduction 1. Introduction The critique article should 2. Framework 2. Research Objectives 2. Conclusion critically evaluate the subject, Analysis 3. Expected Benefits (If any) 3. References whether a book, film, work of art, 3. Content 4. Research Scope dance, music performance or 4. Conclusion 5. Hypothesis (If any) even another article. This has 5. References 6. Conceptual Framework to be done looking at the content, 7. Methodology the main points, and the benefit 8. Research Results and proceeding from it and how it Discussion expresses its discipline. 8.1 Research Results 8.2 Discussion 9. Suggestions and Recommendations 10. References

ชื่อเรื่อง : ควรกะทัดรัด ไม่ยาวจนเกินไป ถ้าบทความเป็นภาษาไทย ชื่อเรื่องต้องมี ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ชื่อเรื่องภาษาไทย ขนาด 18 ชนิดตัวหนา ต�ำแหน่งกึ่งกลางหน้ากระดาษ ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ขนาด 18 ชนิดตัวหนา ต�ำแหน่งกึ่งกลางหน้ากระดาษ ชื่อผู้แต่ง : ชื่อเต็ม-นามสกุลเต็ม ของผู้แต่งครบทุกคน ทั้งบทความภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ ชื่อผู้แต่งภาษาไทย ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา กรณีเป็นภาษาอังกฤษ ขนาด 14 ชนิด ตัวธรรมดา ต�ำแหน่งกึ่งกลางหน้ากระดาษใต้ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่งภาษาอังกฤษ ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา ต�ำแหน่งกึ่งกลาง หน้ากระดาษใต้ชื่อเรื่อง ข้อความระวังในการจัดเตรียมบทความ (1) ชื่อผู้แต่ง ไม่ใส่ต�ำแหน่งทางวิชาการ ยศ ต�ำแหน่งทหาร สถานภาพ ทางการศึกษา หรือ ค�ำน�ำหน้าชื่อ หรือท้ายชื่อ เช่น นาย, นาง, นางสาว, ผศ.ดร., PhD, ร.ต.ต., พ.ต.ท. (2) ไม่ควรระบุสถานภาพผู้แต่ง เช่น นักศึกษาปริญญาเอก, อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร., ผู้อ�ำนวยการ..., คณบดีคณะ...., พยาบาลวิชาชีพ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 371

หน่วยงานที่ท�ำวิจัย : ผู้แต่งหลักต้องใส่ที่อยู่โดยละเอียด ประกอบด้วย หน่วยงานระดับต้น หน่วยงานหลัก จังหวัด ประเทศ และ E-mail Address ที่สามารถติดต่อได้ ให้ใส่เครื่องหมายดอกจัน (*) ก�ำหนดเป็นตัวยก ก�ำกับท้ายนามสกุลของ ผู้แต่งหลัก หน่วยงานหรือสังกัดที่ท�ำวิจัยภาษาไทย ใช้ค�ำว่า “หน่วยงานผู้แต่ง” ขนาด 12 ชนิด ตัวธรรมดา ต�ำแหน่ง กึ่งกลางหน้ากระดาษใต้ชื่อผู้แต่ง ให้ใส่ตัวเลขยก (1) ก�ำกับท้ายนามสกุลและด้านหน้าหน่วยงานหรือสังกัด ตัวอย่างเช่น หน่วยงานผู้แต่ง: สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย editor_academic @pnru.ac.th หน่วยงานหรือสังกัดที่ท�ำวิจัยภาษาอังกฤษ ใช่คาว่าํ “Affiliation” ขนาด 12 ชนิด ตัวธรรมดา ต�ำแหน่งกึ่งกลางหน้ากระดาษใต้ชื่อผู้แต่ง ตัวอย่างเช่น Affiliation: Department of Communication Arts, Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand บทคัดย่อ : บทคัดย่อภาษาไทย และบทคัดย่อภาษาอังกฤษ ต้องมีความยาวระหว่าง 200 ถึง 250 ค�ำ บทคัดย่อภาษาไทย หัวข้อบทคัดย่อขนาด 16 ชนิดตัวหนา ต�ำแหน่งชิดขอบกระดาษด้านซ้าย ใต้ที่อยู่/หน่วยงานสังกัดของผู้เขียน เนื้อหาบทคัดย่อไทย 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพ์เป็น 1 คอลัมน์ บรรทัดแรก เว้น 1 Tab จากขอบกระดาษด้านซ้าย และพิมพ์ให้ชิดขอบทั้งสองด้าน บทคัดย่อภาษาอังกฤษ หัวข้อบทคัดย่อขนาด 16 ชนิดตัวหนา ต�ำแหน่งชิดขอบกระดาษ ด้านซ้าย ใต้ที่อยู่/หน่วยงาน สังกัดของผู้เขียน เนื้อหาบทคัดย่อภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพ์เป็น 1 คอลัมน์ บรรทัดแรกเว้น 1 Tab จากขอบกระดาษด้านซ้าย และพิมพ์ให้ชิดขอบ ทั้งสองด้าน ***กรณีที่บทความเป็นภาษาอังกฤษไม่ต้องมีบทคัดย่อภาษาไทย ค�ำส�ำคัญ : ต้องมีมีค�ำส�ำคัญอย่างน้อย 3 ถึง 5 ค�ำ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ค�ำส�ำคัญภาษาไทย หัวข้อค�ำส�ำคัญภาษาไทยขนาด 16 ชนิดตัวหนา ต�ำแหน่งชิดขอบกระดาษ ด้านซ้าย ใต้บทคัดย่อภาษาไทย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 372

เนื้อหาภาษาไทยขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา เว้นระหว่างค�ำด้วยการเคาะ 1 ครั้ง ค�ำส�ำคัญภาษาอังกฤษ หัวข้อค�ำส�ำคัญภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวหนา ต�ำแหน่งชิดขอบ กระดาษด้านซ้ายใต้บทคัดย่อภาษาอังกฤษ เนื้อหาภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา เว้นระหว่างค�ำด้วย Comma (,) เนื้อหา : เนื้อหาภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพ์เป็น 1 คอลัมน์ บรรทัดแรกเว้น 1 Tab จากขอบกระดาษด้านซ้าย และพิมพ์ให้ชิดขอบ ทั้งสองด้าน หัวข้อเรื่อง ภาษาไทยและอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวหนา ต�ำแหน่งชิดขอบ กระดาษ ด้านซ้ายหัวข้อย่อย ภาษาไทยและภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา ระบุหมายเลขหน้าหัวข้อย่อยโดยเรียงตามล�ำดับหมายเลข ต�ำแหน่งให้ Tab 0.75 เซนติเมตรจากอักษรตัวแรกของหัวข้อเรื่อง รูปภาพ : ขึ้นหน้าใหม่ ให้มี 1 รูป ต่อ 1 หน้า และแยกบันทึกเป็นไฟล์ภาพที่มีนามสกุล TIFFs, หรือ JPEGs ถ้าเป็นภาพถ่ายกรุณาส่งภาพต้นฉบับ เพื่อคุณภาพ ในการพิมพ์ หมายเลขรูปภาพและกราฟ ให้เป็นเลขอารบิก ค�ำบรรยาย และรายละเอียดต่าง ๆ อยู่ด้านล่างของรูปภาพและกราฟ ตาราง : กรุณาขึ้นหน้าใหม่ ให้มี 1 ตาราง ต่อ 1 หน้า หมายเลขตารางให้เป็นเลขอารบิก ค�ำบรรยายและรายละเอียดต่าง ๆ อยู่ด้านบนของตาราง ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยด้านแรงจูงใจด้านปัจจัยแรงดึงดูด

Factor Commulative Communalities ปัจจัยต่าง ๆ Loading Varience (%) ปัจจัยที่ 1 : สถาปัตยกรรม และความส�ำคัญของวัด 25.530 เป็นวัดที่มีความสวยงาม 0.830 0.689 มีสถาปัตยกรรมเป็นเอกลักษณ์ 0.799 0.642 มีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ 0.675 0.491 มีความโดดเด่นแตกต่างจากวัดอื่น ๆ 0.451 0.346 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 373

เอกสารอ้างอิง: หัวข้อรายการอ้างอิงภาษาอังกฤษ (References) ขนาด 16 ชนิดตัวหนา รายการอ้างอิง ขนาด 12 ชนิดตัวธรรมดา ต�ำแหน่งชื่อผู้แต่งชิดขอบซ้าย หากยาวเกิน 1 บรรทัดให้ Tab 0.75 เซนติเมตร การอ้างอิงเอกสารให้เขียนตามแบบ APA (American Psychological Association)

รูปแบบการพิมพ์เอกสารอ้างอิงในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร การอ้างอิงเอกสารให้เขียนตามแบบ APA (American Psychological Association) หากรายการอ้างอิงเป็นหนังสือหรือบทความภาษาไทยที่มีบทแปลเป็นภาษาอังกฤษก�ำกับ อยู่ก่อนแล้ว ให้ใส่ บทแปลภาษาอังกฤษนั้นก่อน ตามด้วยรายการอ้างอิงภาษาไทยเดิม โดยวงเล็บท้ายรายการว่า in Thai) ส�ำหรับ รายการอ้างอิงภาษาไทยที่ไม่ได้มีบทแปลภาษาอังกฤษ ไว้ก่อนให้ยึดตามประกาศราชบัณฑิตยสถานเรื่อง หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน แบบถ่ายเสียง ทั้งนี้ ให้จัดเรียงล�ำดับตามล�ำดับตัวอักษรภาษาอังกฤษก่อน-หลัง ยกตัวอย่างเช่น Liochanmongkhon, N, Saengbunthai, S. & Kengwinit, T. (1994). KhumeuTuekthaeo. Bangkok: Rongphimaksonkanphim.

หลักเกณฑ์การอ้างอิงในเนื้อหา กรณีการอ้างอิงแทรกในเนื้อหา ให้ใส่ชื่อสกุลผู้แต่งและปีที่พิมพ์ไว้ในวงเล็บ เช่น ผู้แต่งเป็นคนไทย: กาญจนา แก้วเทพ พิมพ์เป็น กาญจนา แก้วเทพ (Kaewthep, 2011) ผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศ: Arthur Asa Berger พิมพ์เป็น Berger (2011) หากการอ้างอิงมิได้กล่าวถึงชื่อผู้แต่งไว้ก่อนให้ใส่นามสกุลและปีที่พิมพ์ไว้ในวงเล็บ เช่น ผู้แต่งคนไทย การท�ำวิจัยให้เสร็จ...(Kaewthep, 2011) ผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศ Research means … (Berger, 2011)

ทั้งนี้ กรณีที่ผู้แต่งเป็นคนไทย ให้ใส่ชื่อสกุลที่ผู้แต่งใช้จริงเป็นภาษาอังกฤษ หากไม่ ปรากฏว่าผู้แต่งคนดังกล่าวเคยเขียนชื่อสกุลเป็นภาษาอังกฤษมาก่อน อนุโลมให้ใช้หลักเกณฑ์ การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงตามประกาศราชบัณฑิตยสถานได้ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 374

หลักเกณฑ์การอ้างอิงท้ายบทความ ในการลงรายชื่อผู้แต่งค�ำน�ำหน้าชื่อตามปกติให้ตัดออก ได้แก่ นาย นาง นางสาว ต�ำแหน่ง ทางวิชาการ บรรดาศักดิ์ยศทางต�ำรวจ ยศทางทหาร และต�ำแหน่งนักบวช ยกเว้นผู้แต่งที่มีฐานันดร ศักดิ์น�ำหน้าชื่อให้คงไว้ตามปกติ โดยไม่ตัดทิ้งหรือย้ายที่ ผู้แต่ง 1 คน ให้ลงชื่อสกุล และใช้เครื่องหมาย Comma (,) คั่นชื่อสกุลตามด้วยอักษรย่อของชื่อต้น โดยต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษด้วย กรณีเป็นผู้แต่งคนไทยให้ลงท้ายรายการอ้างอิงด้วยวงเล็บว่า (in Thai) เช่น กาญจนา แก้วเทพ พิมพ์เป็น Kaewthep, K. กรณีเป็นผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศ: ให้ลงชื่อสกุล และใช้เครื่องหมาย Comma (,) คั่นชื่อสกุล ตามด้วยอักษรย่อของชื่อต้นและชื่อกลาง และใช้เครื่องหมาย Full stop (.) ตามหลัง อักษรย่อทั้ง 2 ตัวเช่น Christina F. Kreps ลงว่า Kreps, C.F. ผู้แต่งไม่เกิน 6 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งทุกคน โดยใช้ค�ำว่า “&” ก่อนชื่อผู้แต่งคนสุดท้าย ให้ลงชื่อทั้งหมด ระหว่างชื่อ ให้คั่นด้วย “&” แล้ว Comma (,) กรณีเป็นผู้แต่งคนไทยให้ลงท้ายรายการอ้างอิงด้วยวงเล็บว่า (in Thai) เช่น Kaewthep, K., Gunpai, K. & Sthapitanonda, P. ผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศ ให้ลงชื่อผู้แต่งทุกคน โดยใช้ค�ำว่า “&” ก่อนชื่อผู้แต่งคนสุดท้าย ให้ลงชื่อทั้งหมด ระหว่างชื่อให้คั่นด้วย “&” แล้ว Comma (,) เช่น Edson, G. & Dean, D. ผู้แต่ง 6 คนขึ้นไป ให้ลงชื่อผู้แต่งเฉพาะคนแรก และต่อด้วยค�ำว่า “& et al.” กรณีเป็นผู้แต่งคนไทยให้ลงท้ายรายการอ้างอิงด้วยวงเล็บว่า (in Thai) เช่น ผู้แต่งเป็นคนไทย ให้ใช้ค�ำว่า “และคณะ” เช่น ปาริชาต สถาปิตานนท์ และคณะ. กรณีผู้แต่งเป็นคนไทย ให้แปลเป็นภาษาอังกฤษด้วย เช่น Sthapitanonda, P. et al. Bailyn, B. et al. ผู้แต่งเป็นสถาบัน ให้เขียนกลับค�ำน�ำหน้า เช่น มหาดไทย, กระทรวง. กรมการปกครอง. โดยอย่างน้อยต้องอ้างถึงระดับกรม และอ้างหน่วยงานระดับสูงก่อน 1. อ้างอิงจากหนังสือ รูปแบบ : ผู้แต่ง.//(ปี พ.ศ.ที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ.//ครั้งที่พิมพ์.(ถ้ามี)//เมืองที่พิมพ์/: //ส�ำนักพิมพ์. ตัวอย่าง : Liochanmongkhon, Naruemit, Saenbunthai, Suphap & Kengwinit, Thawon. (2527). Khumue Tuekthaeo. Bangkok: Rongphim Nam-aksonkanphim. (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 375

Davis, C.V. (1980). Handbook of Applied Hydraulics. 3rd Edition. New York: McGraw – Hill. Gunpai, K. (2008). Psychology of communication. Bangkok: Faculty of Communication Arts, ChulalongkornUniveristy. (in Thai) 2. อ้างอิงจากวารสาร รูปแบบ : ผู้แต่ง.//(ปี พ.ศ.ที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร.//ปีที่(ฉบับที่),//เลขหน้า-เลขหน้า. ตัวอย่าง : Ozaki, M., Adachi, Y., Iwahori, Y. & Ishii, N. (1998). Application of Fuzzy Theory to Writer Recognition of Chinese Characters. International Journal of Modeling and Simulation. 18(2), 112-116. Korbkeeratipong, K. & Taiphapoon, T. (2016). Branded Content Marketing Communication in reality television program. PNRU Research Journal Humanities and Social Sciences. 11(2), 1-11. (in Thai) 3. อ้างอิงจากวิทยานิพนธ์ รูปแบบ : ผู้แต่ง.//(ปี พ.ศ.ที่พิมพ์).//ชื่อวิทยานิพนธ์.//ชื่อปริญญา (เต็ม)//หน่วยงาน ตัวอย่าง : Roonkaseam, Nitta. (2006). Communication and Practices of Representation Through the Museums as Texts in Thailand. Ph.D. Program in Communication Arts. Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn Univeristy. (in Thai) Choomchuay, S. (1993). Algorthm and Architecture for Reed-Solomon Decoding. Ph.D. Thesis, Imperial College, University of London, UK. 4. อ้างอิงจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ รูปแบบ : ผู้แต่ง.//(ปี พ.ศ.ที่พิมพ์).//ชื่อเรื่อง.//สืบค้นเมื่อ//,//สืบค้นจาก ตัวอย่าง : Wongmaneeroj, A. (2542). History of Soil Fertility Studies. Retrieved June 7, 2016, from http://web.sut.ac.th/farm/farm/index.php/th/2012-06-03-05-02-12/68-2012- 06-22-09-24-9 Noam, E.M. (1994). Telecommunication Policy Issue for the Next Century. Retrieved June 7, 2006, fromgopher://198.80.36...//global/telcom.txt Chuastapanasiri, T. (2009). Advertising Literacy. Retrieved March 2, 2012, from http:// resource.thaihealth.or.th/system/files/documents/ruuethaathanokhsnaaaefng1. pdf (in Thai) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 376

5. อ้างอิงจากการสัมภาษณ์ รูปแบบ : ผู้ให้สัมภาษณ์.//ต�ำแหน่ง (ถ้ามี).//สัมภาษณ์,//วันที่/เดือน/ปี. ตัวอย่าง : Sthapitanonda, Parichart. Dean, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University. Interviewed on March 2, 2016. (in Thai) Smith, Mary john. Interview onJanuary 31, 2008. Saengdoungkhae, Jarernnate. Lecturer, Hatyai University. Interview on August 20, 2010. (in Thai)

 การส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้แต่งต้องส่งบทความผ่านทางระบบออนไลน์เท่านั้น โดยการสมัครสมาชิก (Register) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครในระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ กลาง (https://www.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/user/register) เพื่อขอรับ Username และ Password แล้วคลิกที่ปุ่ม Log In เพื่อเข้าสู่ระบบ ในกรณีที่เป็นสมาชิกของวารสารแล้ว กรุณา เข้าสู่ระบบ log in และด�ำเนินการส่งบทความโดยดูตัวอย่างการส่งบทความได้ที่ ขั้นตอนการ SUBMISSION หมายเหตุ: 1. กองบรรณาธิการฯ ขอสงวนสิทธิ์ ในการแก้ไขข้อความบางส่วนโดยไม่กระทบต่อ เนื้อหาหลักของบทความ ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบการตีพิมพ์ของวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 2. บทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้แต่งเท่านั้น วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 377

ตัวอย่าง

ชื่อเรื่องภาษาไทย (Cordia New ขนาด 18 pt. ตัวหนา) English Title (Cordia New 18 pt. bold) กัญณภัทร นิธิศวราภากุล1* นาตยา ปิลันธนานนท์2 และนพวรรณ ฉิมลอยลาภ3 (Cordia New ขนาด 14 pt. ตัวธรรมดา) Kannaphat Nithitwaraphakun1*, Nataya Pilanthananond2 and Nopphawan Chimroylarp3 (Cordia New ขนาด 14 pt. ตัวธรรมดา)

หลักสูตรศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2, 3 (Cordia New ขนาด 12 pt. ตัวธรรมดา) Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Kasetsart University, Bangkok, Thailand1*, 2, 3 (Cordia New ขนาด 12 pt. ตัวธรรมดา)

[email protected]* (Cordia New ขนาด 12 pt. ตัวธรรมดา)

บทคัดย่อ (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหาบทคัดย่อภาษาไทย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ค�ำส�ำคัญ: ค�ำส�ำคัญ (1) ค�ำส�ำคัญ (2) ค�ำส�ำคัญ (3)

ABSTRACT (ขนาด 12 pt. ตัวหนา) เนื้อหาบทคัดย่อภาษาอังกฤษ (Cordia New 16 pt. Normal)

Keywords: Keyword (1), Keyword (2), Keyword (3)

บทน�ำ (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 378

วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ขอบเขตของการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) (Cordia New ขนาด 16pt. ตัวธรรมดา)

กรอบแนวคิดของการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ระเบียบวิธีวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) (Cordia New ขนาด 16pt. ตัวธรรมดา)

ข้อเสนอแนะ (Cordia New 16 pt. ตัวหนา) (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

REFERENCES (Cordia New 16 pt. bold) (Cordia New 16 pt. normal)

หมายเหตุ: กรณีอ้างอิงในเนื้อหาภาษาอังกฤษใช้รูปแบบอักษร Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 379

จริยธรรมในการตีพิมพ์ Publication Ethics

มาตรฐานทางจริยธรรมของวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เพื่อให้การด�ำเนินงานของวารสารเป็นไปอย่างมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ซึ่งให้ความ ส�ำคัญต่อการตีพิมพ์บทความที่มีความถูกต้อง มีความเชื่อถือได้ ด้วยกระบวนการที่ค�ำนึงถึงหลักการ ที่สากลยอมรับ นอกจากนั้นเพื่อให้การด�ำเนินงานสอดคล้องกับมาตรฐานทางจริยธรรมและแนวปฏิบัติ ที่ดีของการตีพิมพ์บทความวิชาการ วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จึงก�ำหนดมาตรฐาน จริยธรรมในการด�ำเนินงาน ดังนี้

หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ 1. บทความที่จะได้รับการลงพิมพ์ จะต้องเป็นบทความที่ผู้แต่งเป็นผู้พัฒนาขึ้นเอง และ ไม่ใช่ผลงานคัดลอกจากผู้อื่น และไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน หรือไม่ส่งต้นฉบับซ้อนกับ วารสารหรือแหล่งพิมพ์อื่น 2. บทความจะต้องจัดพิมพ์ให้มีรูปแบบถูกต้องตามที่วารสารก�ำหนด มีการอ้างอิงที่ครบถ้วน และถูกต้อง ในขณะที่ต้องไม่อ้างเอกสารหรือบทความวิชาการที่ไม่ได้อ่าน 3. ชื่อผู้แต่งรวมทุกคนจะต้องเป็นผู้ที่ด�ำเนินการวิจัยหรือได้ร่วมพัฒนาบทความนั้นจริง 4. การเสนอเนื้อหาและข้อค้นพบจะต้องเป็นไปตามที่ค้นพบ ไม่น�ำเสนอผลที่บิดเบือน หรือคลาดเคลื่อน ใช้ระเบียบวิธีและการได้มาซึ่งข้อมูลที่ถูกต้อง 5. การระบุชื่อหน่วยงานที่ให้ทุนสามารถท�ำได้โดยจะต้องขออนุญาตหน่วยงานนั้น ตลอดจน มีการแจ้งต่อบรรณาธิการก่อน 6. กรณีเป็นผลการวิจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อต่อศักดิ์ศรี สิทธิ ความปลอดภัย และสุขภาวะ ของคน ขอให้แนบหนังสือรับรองจริยธรรมจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ หรือสัตว์ทดลอง ทั้งนี้ การอนุมัติให้ลงตีพิมพ์ขึ้นอยู่กับการพิจารณาจากกองบรรณาธิการ วารสารฯ ถือเป็นที่สิ้นสุด

หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประเมินบทความ 1. ผู้ประเมินบทความพึงจะต้องไม่เปิดเผยข้อมูลในบทความที่อ่าน ต่อบุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง ในช่วงที่มีการประเมินบทความ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 380

2. ผู้ประเมินบทความควรแจ้งบรรณาธิการโดยเร็วหากพบว่าตนเองมีผลประโยชน์ทับซ้อนกับ ผู้เขียนหรือผู้ร่วมเขียนบทความนั้น 3. ประเมินบทความพึงต้องแจ้งให้บรรณาธิการทราบหากมีส่วนใดส่วนหนึ่งของบทความ ได้ท�ำการคัดลอกมาจากงานชิ้นอื่น 4. ผู้ประเมินบทความพึงตอบรับประเมินบทความเฉพาะเรื่องที่ตนเองมีความเชี่ยวชาญ

หน้าที่และความรับผิดชอบของบรรณาธิการ 1. บรรณาธิการพึงรับผิดชอบต่อทุกสิ่งที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ในความรับผิดชอบ ของตน กล่าวคือ บรรณาธิการพึงด�ำเนินการให้ตรงตามความประสงค์ของผู้อ่านและ ผู้นิพนธ์ ท�ำให้มีปรับปรุงวารสารอย่างสม�่ำเสมอ สนับสนุนให้บทความมีเสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็นทางวิชาการ และการคงไว้ซึ่งความถูกต้องของผลงานทางวิชาการ สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนมีความเต็มใจที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดการตีพิมพ์ 2. บรรณาธิการพึงด�ำเนินการเพื่อให้มั่นใจในคุณภาพของบทความที่ตีพิมพ์ เพื่อรับรอง คุณภาพของงานวิจัยที่ตีพิมพ์ และตระหนักว่าวารสาร และแต่ละส่วนของวารสาร มีวัตถุประสงค์และมาตรฐานที่ต่างกัน 3. บรรณาธิการพึงใช้ดุลยพินิจต่อการยอมรับหรือปฏิเสธบทความวิจัยขึ้นอยู่กับความส�ำคัญ การมีข้อค้นพบใหม่ มีระเบียบวิธีที่ถูกต้อง ตลอดจนมีจริยธรรมการวิจัย และความชัดเจน ของบทความวิจัย ตลอดจนความเกี่ยวข้องกับขอบเขตของวารสาร อย่างไรก็ตาม บรรณาธิการพึงระลึกว่าการพิจารณาอนุมัตินั้นไม่ได้เป็นการรับประกันว่างานวิจัยนั้น ถูกต้องตามหลักจริยธรรมเสมอไป ตลอดจนไม่พึงปฏิเสธบทความวิจัยที่อาจจะมีประเด็น มิชอบในทันทีทันใด บรรณาธิการมีหน้าที่ต้องติดตามบทความวิจัยที่ถูกกล่าวหาว่าประพฤติ มิชอบเพื่อหาข้อเท็จจริง 4. บรรณาธิการพึงชี้แจงหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการตรวจสอบประเมินบทความ (peer review) และพร้อมในการชี้แจงความเบี่ยงเบนต่าง ๆ จากกระบวนการตรวจสอบ ที่ได้ระบุไว้รวมถึงการเปิดโอกาสให้ผู้นิพนธ์อุทธรณ์ได้หากผู้นิพนธ์มีความคิดเห็นแตกต่าง จากการตัดสินใจของบรรณาธิการ 5. บรรณาธิการพึงจัดพิมพ์ค�ำแนะน�ำแก่ผู้นิพนธ์ ตลอดจนผู้ประเมินบทความในทุกประเด็น ที่บรรณาธิการคาดหวัง ในทุกเรื่องที่ผู้นิพนธ์ควรรับทราบ และควรมีการปรับปรุงค�ำแนะน�ำ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ พร้อมทั้งควรมีการอ้างอิงหรือการเชื่อมโยงกับระเบียบดังกล่าวนี้ ตลอดจนมีระบบที่ปกป้องข้อมูลส่วนตัวของผู้ประเมินบทความ ยกเว้นวารสารนั้นมีการ ประเมินบทความแบบเปิดที่ได้แจ้งให้ผู้นิพนธ์และผู้ประเมินรับทราบล่วงหน้าแล้วด้วย วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 381

6. บรรณาธิการพึงไม่กลับค�ำตัดสินใจมาตีพิมพ์บทความที่บรรณาธิการคนก่อนตอบปฏิเสธ ไปแล้ว ยกเว้นมีการพิสูจน์ถึงปัญหาร้ายแรงที่เกิดขึ้น และมีการชี้แจงข้อร้องเรียนโดยเร็ว ตลอดจนเปิดโอกาสให้ผู้นิพนธ์บทความที่มีคนอื่นวิจารณ์ให้สามารถชี้แจงตอบกลับได้ และหากปรากฎการประพฤติทุจริตภายหลังการด�ำเนินการตรวจสอบแล้ว บรรณาธิการ พึงต้องด�ำเนินการเพิกถอนบทความนั้นด้วยความชัดเจนที่จะสามารถพิสูจน์ได้ 7. บรรณาธิการพึงมีระบบในการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อน (การขัดกันด้านผลประโยชน์) ของบรรณาธิการเอง 8. การจัดการกับข้อร้องเรียน ตลอดจนกระบวนการรับและด�ำเนินการเรื่องการอุทธรณ์ ข้อร้องเรียน พึงปฏิบัติตามแนวทางของคณะกรรมการจริยธรรมการตีพิมพ์นานาชาติ Committee on Publication Ethics (COPE) วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 382