Leptolalax Bourreti Dubois, 1983
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
163 บัญชีรายชื่อสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกในประเทศไทย A CHECKLIST OF AMPHIBIANS IN THAILAND ยอดชาย ชวยเงิน1/,2/,* และ จันทรทิพย ชวยเงิน2/ Yodchaiy Chuaynkern1/,2/,* and Chantip Chuaynkern2/ ABSTRACT A species account summarizing all amphibians occurring in Thailand was conducted based on the published scientific literatures. The amphibian fauna of the country is comprised of 172 species from 9 families, including 13 species of Bufonidae, 31 species of Dicroglossidae, 1 species of Hylidae, 25 species of Megophryidae, 21 species of Microhylidae, 38 species of Ranidae, 36 species of Rhacophoridae, 1 species of Salamandridae and 6 species of Ichthyophiidae. The amphibian checklist for Thailand should be revised to reflect updates and our latest knowledge of this taxon which has been and still is expanding rapidly. บทคัดยอ การรวบรวมรายชื่อสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกในประเทศไทยโดยยึดตามเอกสารทาง วิชาการที่รับการตีพิมพ พบวา ประเทศไทยมีจํานวนสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 172 ชนิด จาก 9 วงศ แยกเปนสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกจากวงศคางคก 13 ชนิด วงศกบ 31 ชนิด วงศปาดเมืองจีน 1 ชนิด วงศอึ่งกราย 25 ชนิด วงศอึ่งอาง 21 ชนิด วงศเขียด 38 ชนิด วงศปาด 36 ชนิด วงศซาลามานเดอร 1 ชนิด และวงศเขียดงู 6 ชนิด บัญชีรายชื่อนี้ควรจะมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเรื่อยๆ เนื่องจาก การศึกษาวิจัยที่เพิ่มมากขึ้น Keyword: amphibian, checklist, distribution, Thailand. 1/ กองวิชาการธรรมชาติวิทยา พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ เทคโนธานี ต. คลองหา อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120 2/ ภาควิชาชีววทยาิ คณะวิทยาศาสตร มหาวทยาลิ ัยขอนแกน อําเภอเมือง จังหวดขอนแกั น 40002 * Coresponding author: [email protected] วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 164 บทนํา ประเทศไทยตั้งอยูตรงกลางของเขตสัตวภูมิศาสตร Oriental โดยดานตะวันตกของประเทศ มีชนิดพืชและสัตวคลายคลึงกับชนิดพันธุที่ปรากฏในอินเดียและพมา ขณะที่ดานตะวันออกและ เหนือก็มีชนิดพันธุที่คลายคลึงกับทางอินโดจีน สวนทางใตก็คลายคลึงกับทางมาเลเซียและ อินโดนีเซีย (ICEM, 2003; Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, 2006). นอกจากนี้แลว ดวยระบบนิเวศที่หลากหลาย กอใหเกิดถิ่นที่อยูอาศัยและสภาพภูมิอากาศที่ แตกตางกัน อันเปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกตางกัน ทําใหความหลากหลายทางชนิดพันธุของ สิ่งมีชีวิตในประเทศไทยมีสูงมาก โดยปจจุบันพบพืชประมาณ 15,000 ชนิด (8% ของทั้งโลก) สัตว มีกระดูกสันหลังประมาณ 4,500 ชนิด (ประกอบดวยสัตวเลี้ยงลูกดวยนมประมาณ 300 ชนิด นก 986 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน 350 ชนิด สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 137 ชนิด และปลา 2,820 ชนิด) และ สัตวไมมีกระดูกสันหลังอีกประมาณ 83,000 ชนิด การศึกษาสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกในประเทศไทยนั้น ไดศึกษากันมามากกวา 140 ปแลว โดยเริ่มจากนักอนุกรมวิธานจากตางประเทศ (Khonsue, 2005) จากนั้นก็จะมีนักวิจัยชาวไทยเขามา รวมงานเพื่อเรียนรูและซึมซับวิธีการและความรูตางๆ จากนักอนุกรมวิธานชาวตางประเทศ นับ เนื่องจากอดีตจนปจจุบัน นักอนุกรมวิธานชาวตางประเทศที่มีบทบาทอยางมากในการศึกษาดาน อนุกรมวิธานของสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกในประเทศไทยประกอบดวย ดร. เอดเวิรด เอช. เทเลอร (Dr. Edward H. Taylor) อองรี มูโอต (Henri Mouhot) มอลคอลม เอ. สมิธ (Malcolm A. Smith) จอรจ เอ บูลองแชร (George A. Boulenger) มาซาฟูมิ มัตซุย (Masafumi Matsui) ในสวนของ นักวิจัยชาวไทยที่เขามามีบทบาทตอการศึกษาสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกในประเทศไทยก็ ประกอบดวย ศ. โชติ สุวัตถิ, นายแพทยบุญสง เลขะกุล, คุณสุขุม พงษพิพัฒกุล, นาวาอากาศเอก วิโรจน นุตพันธุ, รศ.ดร. วีรยุทธ เลาหจินดา, ดร. จารุจินต นภีตะภัฏ, ผศ.ดร. กําธร ธีรคุปต เปนตน การศึกษาดังกลาวทําใหมีการคนพบสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกในประเทศไทยมากขึ้นเรื่อยๆ และเริ่มทําการรวบรวมรายชื่อสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกในประเทศไทยขึ้นมา นับเนื่องจาก Suvatti (1950), Chan-ard et al. (1999), Khonsue & Thirakhupt (2001), Chan-ard (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005) และลาสุดเปน Chan-ard et al. (2011a) แตก็ ยังไมสมบูรณและมีจํานวนชนิดและชนิดไมตรงกันบาง แลวแตความเห็นและวิธีการรวบรวมขอมูล ของผูเขียนแตละทาน ดังนั้นการจัดทําบัญชีรายชื่อจึงควรมีการปรับปรุงอยูเรื่อยๆ เพื่อใหทันกับ การศึกษาทางอนุกรมวิธานที่มีความกาวหนาขึ้นตลอดเวลา และเพื่อใหไดบัญชีรายชื่อสัตวสะเทิน น้ําสะเทินบกที่พรอมใชงานไดทันที (Chuaynkern, 2009) วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 165 วิธีการรวบรวมรายชื่อสัตวสะเท ินน้ําสะเทินบกในประเทศไทย รายชื่อชนิดสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกดังที่ปรากฏในบทความชิ้นนี้ คณะผูเขียนไดทําการ เรียบเรียงขึ้นจากเอกสารทางดานอนุกรมวิธานของสัตวในกลุมดังกลาว ทั้งนี้ไดทําการปรับปรุงจาก บัญชีรายชื่อซึ่งมีผูรวบรวมและตีพิมพไวกอนหนานี้ เชน Suvatti (1950), Chan-ard et al. (1999), Khonsue & Thirakhupt (2001), Chan-ard (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005) และ Chan-ard et al. (2011a) เปนตน พรอมทั้งประกอบกับเอกสารทางวิชาการ อื่นๆ ที่เกี่ยวของ รูปแบบของรายชื่อสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกที่ปรากฏในบทความนี้จะเรียงลําดับจากอันดับ กบและเขียด (Order Anura) อันดับกะทาง (Order Caudata) และอันดับเขียดงู (Order Gymnophiona) ในสวนการเรียงลําดับของวงศ (family) สกุล (genus) และชนิด (species) จะ เรียงลําดับตามตัวอักษรของชื่อทางวิทยาศาสตรเปนหลัก โดยเรียงจากอักษร A ไปยัง Z การจัดหมวดหมูทางอนุกรมวิธาน (Classification) ของสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกนั้นมีการ โตเถียงกันมาอยางยาวนาน และมีผูเสนอการจัดหมวดหมูทางอนุกรมไวมากมาย (ดู Boulenger, 1920; Dubois, 1980, 1992; Scott, 2005; Frost et al. 2006; Stuart, 2008) ดังนั้นในบทความนี้ไดใช ตาม Frost (2011) เพียงเพื่อวัตถุประสงคของความสะดวก รายละเอียดขอมูลของสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกแตละชนิดจะประกอบดวยรูปแบบ ดังตอไปนี้ 1. ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) ประกอบไปดวยชื่อสกุล (Generic name) ชื่อชนิด (Specific epithet) และชื่อผูตั้งชนิด (Author) พรอมป ค.ศ. ที่ตั้งชนิด 2. ชื่อไทย (Thai name) เปนชื่อภาษาไทยที่ใชเปนทางการในงานทางวิชาการ ทั้งนี้อาจจะมี ความแตกตางกันบางในบางชนิด เมื่อเทียบกับเอกสารกอนหนานี้ นั่นก็เนื่องมาจากในเอกสารกอน หนานี้มีการใชชื่อไทยในการเรียกสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกชนิดเดียวกันแตกตางกัน อีกทั้งยังไมได มีการทบทวน (Review) ชื่อภาษาไทยทั้งหมด ในบทความฉบับนี้ คณะผูเขียนขออนุญาตใชชื่อไทย ที่มีกันใชอยางแพรหลายไปกอนเพื่อความสะดวก ทั้งที่ความจริงแลวผูเขียนเองมีความคิดวา ชื่อไทย ที่ควรใชอยางเปนทางการ ควรยึดหลักกอนหลัง (Priority) เพื่อใหเกียรติแกคนที่ใชชื่อไทยแกสัตว สะเทินน้ําสะเทินบกชนิดนั้นและตีพิมพเผยแพรเปนครั้งแรก แตแนวคิดการยึดหลักกอนหลังนี้ก็ยัง มีชองโหวอยูบาง ซึ่งคงเอาไวในบทความฉบับตอๆ ไปที่จะไดมีการตรวจทานชื่อภาษาไทยที่ใช เรียกสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกทั้งหมด 3. แหลงตัวอยางตนแบบ (Type locality) เปนแหลงที่ตัวอยางตนแบบของสัตวสะเทินน้ํา สะเทินบกแตละชนิดที่ถูกจับมา 4. การแพรกระจาย (Distribution) เปนการแพรกระจายในประเทศไทย โดยจะระบุเพียง ระดับจังหวัด โดยรายชื่อจังหวัดนั้นจะทําการเรียงตามลําดับตัวอักษรจาก ก ถึง ฮ วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 166 5. หมายเหตุ (Comment) เปนขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกชนิดนั้นๆ ที่นาจะเปนประโยชนสําหรับผูอาน จึงไดมีการระบุเพิ่มเติมไว 6. อักษรยอ (Species code) เพื่อใหเปนไปตามรูปแบบของบัญชีรายชื่อสัตวปาเลี้ยงลูกดวย นมในประเทศไทย (Duengkae, 2011a) บัญชีรายชื่อคางคาวในประเทศไทย (Soisook, 2011) และ บัญชีรายชื่อนกในประเทศไทย (Pratumthong et al., 2011) ทางคณะผูเรียบเรียงไดใสอักษรยอของ แตละชนิด โดยใชหลักเกณฑเดียวกันกับบัญชีรายชื่อทั้ง 3 เรื่อง ดังกลาว 7. อางอิง (Reference) เปนที่มาของขอมูลเกี่ยวกับสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกชนิดนั้นๆ โดย ทําการอางอิงในระบบ ชื่อและ พ.ศ. โดยเรียงจากเอกสารอางอิงภาษาไทย และตอดวยภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นๆ การเรียงลําดับของเอกสารอางอิงในแตละภาษา จะเรียงลําดับจากตัวอักษร และจาก เอกสารที่ตีพิมพกอนไปสูเอกสารที่ตีพิมพทีหลัง ทั้งนี้การอางอิงฉบับเต็มจะปรากฏในสวนของ “เอกสารอางอิง” บัญชีรายชื่อสตวั สะเทินน้ําสะเทินบกในประเทศไทย Class AMPHIBIA Gray, 1825 Order ANURA Fischer von Waldheim, 1813 Family BUFONIDAE Gray, 1825 Ansonia inthanon Matsui, Nabhitabhata & Panha, 1998. คางคกหวยอินทนนท. Type locality: Siriphum waterfall, Doi Inthanon National Park, Chiang Mai Province, Thailand. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี เชียงใหม. อางอิง: Khonsue & Thirakhupt (2001), Chan-ard (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011a). อักษรยอ: ANSINT. Ansonia kraensis Matsui, Khonsue & Nabhitabhata, 2005. คางคกหวยกระ. Type locality: Punyaban waterfall, Ranong Province, Thailand. การแพรกระจาย: ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง. อางอิง: Matsui et al. (2005), Chan-ard et al. (2011a). อักษรยอ: ANSKRA. Ansonia malayana Inger, 1960. คางคกหวยมลายู. Type locality: Larut Hills, Perak, Malaysia. การแพรกระจาย: กาญจนบุรี ชุมพร นครศรีธรรมราช นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ ปตตานี พังงา ภูเก็ต ยะลา ระนอง สตูล สุราษฎรธานี. อางอิง: Pauwels et al. (2002), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Inthara et al. วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 19 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 Journal of Wildlife in Thailand Vol.19 No.1 2012 167 (2005), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Taksintum et al. (2006, 2009), Chan-ard et al. (2011a). อักษรยอ: ANSMAL. Ansonia penangensis Stoliczka, 1870. คางคกหวยปนัง. Type locality: Penang, Malaysia. การแพรกระจาย: ชุมพร นครศรีธรรมราช ปตตานี. อางอิง: Taylor (1962). อักษรยอ: ANSPEN. Ansonia siamensis Kiew, 1985. คางคกหวยไทย. Type locality: Khao Chong, Trang Province, Thailand. การแพรกระจาย: ตรัง. อางอิง: Matsui et al. (1998), Khonsue & Thirakhupt (2001), Chan-ard (2003), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005), Chan-ard et al. (2011a). อักษรยอ: ANSSIA. Duttaphrynus melanostictus (Schneider, 1799). คางคกบาน. Type locality: India orientali. การแพรกระจาย: กรุงเทพฯ กาญจนบุรี กาฬสินธุ ขอนแกน จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เชียงใหม ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นราธิวาส บึงกาฬ ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ แพร พังงา พัทลุง เพชรบุรี แมฮองสอน ระยอง ราชบุรี เลย ศรีสะเกษ สงขลา สตูล สระบุรี สุราษฎรธานี สุรินทร หนองคาย อุบลราชธานี. หมายเหตุ: Taylor (1962), Nabhitabhata et al. (2000 “2004”), Nabhitabhata & Chan-ard (2005) และ Chan-ard et al. (2011a) ระบุวาพบทุกจังหวัด. อางอิง: Matsui et al. (1996, 1998), Chan-ard et al.