การวิเคราะห์การบรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ นกั หอสมุด กลา สำ ง

โดย นายจารุ ลิมศิลา

การค้นคว้าอิสระนีเป็นส่วนหนึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2555 ลิขสิทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร การวิเคราะห์การบรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์

กั หอสมุด กล สำน าง

โดย นายจารุ ลิมศิลา

การค้นคว้าอิสระนีเป็นส่วนหนึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2555 ลิขสิทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร THE ANALYSIS OF IMPROVISE BY CHRIS POTTER

กั หอสมุด กลา สำน By ง Mr. Jaru Limsila

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Music Program in MUSIC RESEARCH AND DEVELOPMENT Program of music research and development Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2012 Copyright of Graduate School, Silpakorn University บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติให้การค้นคว้าอิสระเรือง “ การวิเคราะห์การ บรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ ” เสนอโดย นายจารุ ลิมศิลา เป็นส่วนหนึงของการศึกษาตาม หลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา

...... (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันที...... เดือน...... พ.ศ...... หอสมุดกล สำนกั าง อาจารย์ทีปรึกษาการค้นคว้าอิสระ อาจารย์วุฒิชัย เลิศสถากิจ

คณะกรรมการตรวจสอบการค้นคว้าอิสระ

...... ประธานกรรมการ (อาจารย์ ดร.ยศ วณีสอน) ...... /...... /......

...... กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรัณย์ นักรบ) ...... /...... /......

...... กรรมการ (อาจารย์วุฒิชัย เลิศสถากิจ) ...... /...... /...... 52701301 : สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา คําสําคัญ : การวิเคราะห์คีตปฏิภาณ/คีตปฏิภาณ/คริส พอตเตอร์ จารุ ลิมศิลา : การวิเคราะห์การบรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์. อาจารย์ทีปรึกษาการค้นคว้าอิสระ : อาจารย์วุฒิชัย เลิศสถากิจ. 56 หน้า.

รายงานสารนิพนธ์ฉบับนีมีวัตถุประสงค์เพือนําเสนอการศึกษาลักษณะเด่นในการบรร เลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ นักแซกโซโฟน ผู้ศึกษาได้เลือกบทเพลงสามบท เพลงใน ผลงานชุด Gratitude ได้แก่ Star Eyes, The Source และ Body and Soul ซึงทังสามบท เพลงเป็นบทเพลงแจ๊สมาตรฐานทีมีลักษณะการบรรเลงอสมุด และรูปแบบบทประพันธ์ทีแตกต่างกนออกั ไป โดยผู้ศึกษาได้ทําการศึกษาทัำนงด้านประวัติศาสตร์ของดนตรีแจ๊สกั ห กลาง ชีวประวัติของ คริส พอตเตอร์ และการวิเคราะห์บทเพลง ส ผู้ศึกษาได้แบ่งองค์ความรู้จากการวิเคราะห์ออกเป็นสามประเภทประเภทคือ เสียงประสาน ทํานอง และจังหวะ จากการวิเคราะห์การบรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์นันพบว่าเรือง เสียงประสานมีการใช้ไตรโทนส์ซับทิติวชัน คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์ ลองคอร์ดซับส์ทิติวชัน และไซด์สลิปปิง เรืองทํานองมีการใช้ขันคู่ บีบ๊อพไลน์ และอาร์เปโจ เรืองจังหวะมีการใช้ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ และริทึมมิครีพีททิชัน ซึงความรู้ทังหมดนีเป็นความรู้ พืนฐานทีสําคัญในการฝึกหัดดนตรีแจ๊สทีทุกคนควรทราบทังนีคริส พอตเตอร์สามารถนําความรู้ เหล่านีมาประยุกต์ใช้จนเกิดเป็นเอกลักษณ์และซุ่มเสียงของตนเองขึน

สังคีตวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือชือนักศึกษา...... ปีการศึกษา 2555 ลายมือชืออาจารย์ทีปรึกษาการค้นคว้าอิสระ......

ง 52701301 : MAJOR : MUSIC RESEARCH AND DEVELOPMENT KEY WORD : ANALYSIS OF IMPROVISE/IMPROVISE/CHRIS POTTER JARU LIMSILA : THE ANALYSIS OF IMPROVISE BY CHRIS POTTER. INDEPENDENT STUDY ADVISOR : MR.WOOTICHAI LERTSATAKIT. 56 pp.

The main purpose of this research was to present the study of distinctive improvisation style by Chris Potter, a saxophonist. Three songs from Gratitude collection were chosen, which are “Star Eyes”, “The Source”, and “Body and Soul”. These three songs are standard jazz that have difference playing technique andหอ compositionสมุดก style.ล The researcher studied Jazz history, Chris Potter’s history, andส musicalำนกั analysis. าง The researcher divided knowledge analysis into 3 subjects which are Harmonic, Melodic, and Rhythmic. After analyzed Chris Potter’s improvisation, the researcher found that Potter used Tritone substitution, Chordquality substitution, Harmonic displacement, Longchord substitution, and Sideslipping for Harmonic technique. Interval, Bebop lines, and Arpeggio were used in Melodic. For Rhythmic, Rhythmic displacement and Rhythmic repetition were applied. This knowledge is an important basiclearning for Jazz exercise, which all jazz players should know. However, Chris Potter can apply all this knowledge to outstanding style and his own sound.

Program of MUSIC RESEARCH AND DEVELOPMENT Graduate School, Silpakorn University Student's signature ...... Academic Year 2012 Independent Study Advisor's signature ......

จ กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธ์ฉบับนีสําเร็จลุล่วงไปด้วยดีตามวัตถุประสงค์เพราะได้รับการสนับสนุนจาก อาจารย์ทีปรึกษา อาจารย์วุฒิชัย เลิศสถากิจ ทีให้ความรู้ ข้อมูล คําแนะนํา ตรวจทานแก้ไขและ คําปรึกษาอันเป็นประโยชน์ในการทําสารนิพนธ์ อาจารย์พิสุทธิ ประทีประเสน (พีอ้น) และอาจารย์อนันต์ ลือประดิษฐ์ ทีให้ความรู้ และ ข้อมูลในการทําสารนิพนธ์ อาจารย์แดน ฟิลิปส์ (Dan Phillips) ตลอดจนอาจารย์ทุกท่านทีได้ความรู้ ในเรืองดนตรีเป็นอยางดี่ อรรัมภา นาคศิริ ทีให้คําปรึกษาเรืองการใช้ภาษาไทยอยกั หอสมุดกล างถูกต้อง่ ศศิธร เครือคช ทีช่วย ในการแปลสารนิพนธ์เป็นภาษาอังกฤษสำน ขวัญดาว ศรีมันคง ทีชาง่วยพิมพ์สารนิพนธ์ เป็นกาลังใจและํ ผลักดันให้ผู้ศึกษาจบการศึกษา ตลอดจนเพือนๆของผู้ศึกษาทีให้ความช่วยเหลือในเรืองต่างๆ ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา น้องสาว และญาติพีน้องทีสนับสนุนมาโดยตลอด และเป็นกาลังใจให้ผู้ศึกษาเสมอมาํ

จารุ ลิมศิลา

ฉ สารบัญ หน้า บทคัดยอภาษาไทย่ ...... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ่ ...... จ กิตติกรรมประกาศ ...... ฉ สารบัญภาพ ...... ฎ

บทที 1 บทนํา ...... กั หอสมุดกล 1 ความสําคัญของปัญหาสำน ...... าง 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา ...... 2 ขอบเขตของการศึกษา ...... 2 ประโยชน์ทีคาดวาจะได้รับ่ ...... 2 2 วรรณกรรมทีเกียวข้องและประวัติศิลปิน ...... 3 ยุคสมัยของดนตรีแจ๊สและนักดนตรีทีสําคัญ ...... 3 ยุคนิวออร์ลีนส์ ...... 3 ยุคสวิง ...... 4 ยุคบีบ็อพ ...... 6 คูลแจ๊ส ...... 7 ฮาร์ดบ็อพ ...... 8 ดนตรีแจ๊สหลัง ค.ศ.1959 ...... 10 ชีวประวัติและผลงานของ คริส พอตเตอร์ ...... 11 3 บทวิเคราะห์คีตปฏิภาณ ...... 17 ลักษณะการบรรเลงและรูปแบบบทประพันธ์ ...... 17 เพลง Star Eyes ...... 17 เพลง Body and Soul ...... 17 เพลง The Source ...... 18 บทวิเคราะห์คีตปฏิภาณ ...... 18 เสียงประสาน ...... 19

บทที หน้า 3 ไตรโทนซับส์ทิติวชัน (Tritone Substitution) ...... 19 คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน (Chord Quality Substitution) ...... 20 ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์ (Harmonic Displacement)...... 21 ลองคอร์ดซับส์ทิติวชันไอเดีย (Long Chord Substitution) ...... 22 ไซด์สลิปปิง (SideSlipping) ...... 23 ทํานอง...... 24 ขันคู่ (Interval) ...... 24 บีบ๊อพไลน์กั ห(Bebopอส Line)มุด ...... กล 26 สอาร์เปโจำน (Arpeggio) ...... าง 28 จังหวะ ...... 32 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ (Rhythmic Displacement) ...... 32 ริทึมมิครีพีททิชัน (Rhythmic Repetition) ...... 34 4 สรุปผลการศึกษา ...... 36 เสียงประสาน ...... 36 ไตรโทนซับส์ทิติวชัน ...... 36 คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน ...... 36 ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์ ...... 36 ลองคอร์ดซับส์ทิติวชัน ...... 37 ไซด์สลิปปิง ...... 37 ทํานอง...... 38 ขันคู่ ...... 38 บีบ๊อพไลน์ ...... 39 อาร์เปโจ ...... 39 จังหวะ ...... 39 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ...... 39 ริทึมมิครีพีททิชัน ...... 39

บรรณานุกรม ...... 41 หน้า ญ

หน้า รายการอ้างอิง ...... 44 เพลง Body and Soul ...... 45 เพลง Star Eyes ...... 48 เพลง The Source ...... 52 ประวัติผู้วิจัย ...... 56

อสมุด ำนกั ห กลาง ส

ญ สารบัญภาพ หน้า ภาพที 1 บัดดี โบลเดน ...... 4 ภาพที 2 โคลแมน ฮอว์คินส์ ...... 5 ภาพที 3 ชาร์ลี พาร์คเกอร์ ...... 6 ภาพที 4 พอล เดสมอนด์...... 8 ภาพที 5 จอห์น โคลเทรน ...... 9 ภาพที 6 คริส พอตเตอร์ ...... 11 ภาพที 7 ผลงานทีมีชือวกั า่ หMovingอส Inม ของุด คริสกล พอตเตอร์ ...... 14 ภาพที 8 ผลงานทีมีชือวสำน า่ Two Against Nature ของา งสตีลลี แดน ...... 15

บทที 1 บทนํา

1. ความสําคัญของปัญหา กกกกกกกกดนตรีแจ๊สมีประวัติความเป็นมาตังแต่ประมาณปี ค.ศ. 1900 เนืองจากประวัติศาสตร์ ของ ดนตรีแจ๊สถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นผ่านทางงานบันทึกเสียง (Recording) และการเล่าสู่กนฟังั (Oral History) จึงทําให้ไม่ทราบช่วงเวลาการเริอสมุดมต้นและยุคสมัยของดนตรีแจ๊สในช่วงแรกที แน่นอน องค์ ประกอบพืนฐานทางดนตรีทีสําคัญในดนตรีแจ๊สยุคเริำนกั ห กลาง มต้นคือ ดนตรีบลูส์ (Blues) และดนตรีแรกไทม์ (Ragtime) ส จากนัน ดนตรีแจ๊สก็ได้ถูกพัฒนาโดยเหล่านักดนตรีผู้มี ความสามารถจนเกิดเป็นยุคสมัยต่างๆ อาทิเช่น นิวออร์ลีนส์ (New Orleans) สวิง (Swing Era) บีบ๊อพ (Bebop) คูลแจ๊ส (Cool Jazz) ฮาร์ดบ๊อพ (Hard Bop) โมดัลแจ๊ส (Modal Jazz) ฟรีแจ๊ส (Free Jazz) และฟิวชันแจ๊ส (Fusion Jazz) เป็นต้น กกกกกกกกเหล่านักดนตรีผู้ทีพัฒนายุคสมัยของดนตรีแจ๊สนัน ประกอบไปด้วยนักดนตรี หลากหลาย เครืองมือ นักแซกโซโฟนเป็นหนึงในบรรดานักดนตรีทีมีบทบาทต่อดนตรีแจ๊สเป็น อยางมาก่ อาทิเช่น ในยุคสวิงได้แก่ โคลแมน ฮอว์คินส์ (Coleman Hawkins) ในยุคบีบ๊อพได้แก่ ชาร์ ลี พาร์คเกอร์ (Charlie Parker) ในยุคฮาร์ดบ๊อพได้แก่ จอห์น โคลเทรน (John Coltrane) เป็นต้น นัก แซกโซโฟนเหล่านีได้สร้างเอกลักษณ์ในการบรรเลงของตน และได้สร้างแนวทางทีเป็นต้นแบบ ใน การศึกษาถึงการบรรเลงคีตปฏิภาณแก่นักดนตรีแจ๊สในยุคต่อมา กกกกกกกกส่วนหนึงของการศึกษาดนตรีแจ๊สคือ การศึกษาการบรรเลงคีตปฏิภาณ เนืองจากเป็น การ เรียนรู้ถึงลักษณะการใช้เทคนิคการบรรเลง และภาษาแจ๊ส (Jazz Language) ซึงการบรรเลง คีตปฏิภาณ นอกจากจะเป็นการแสดงอารมณ์ ความรู้สึกแล้ว ยังเป็นการส่งผานความรู้อีกด้วย่ ดังจะ เห็นได้จากการทีมีหนังสือ ทีถอดโน้ตคีตปฏิภาณของศิลปินแจ๊สทีมีชือเสียงหลายท่าน เพือทราบถึง แนวทางคีตปฏิภาณของศิลปิน กกกกกกกกคริส พอตเตอร์เป็นนักแซกโซโฟนในช่วงศตวรรษที 20 ซึงได้รับการยอมรับวาเป็น่ นัก แซกโซโฟนทีมีความสามารถ และสามารถบรรเลงแซกโซโฟนได้ทุกชนิด รวมทังเบสคลาริเนต (Bass Clarinet)ซึงจัดอยูตระกูลเดียวก่ นกั บแซกโซโฟนได้อยั างคล่ ่องแคล่ว พอตเตอร์ได้รับอิทธิพล

1 2

และแรงบันดาลใจมาจากนักดนตรีแจ๊สและนักแซกโซโฟนผู้สร้างยุคสมัยของแจ๊สต่างๆและ สามารถนําเสนอเป็นซุ่มเสียงลักษณะเฉพาะตัว การบรรเลงคีตปฏิภาณของพอตเตอร์มีความ โดด เด่นในเรืองเสียงประสาน ท่วงทํานอง และจังหวะ ซึงผู้ศึกษามีความสนใจทีจะศึกษา เทคนิคการ บรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ โดยเลือกศึกษาจากบทเพลงแจ๊สมาตรฐาน (Standard Jazz Tunes) ทีพอตเตอร์ได้ทําการบรรเลงไว้ เนืองจากบทเพลงแจ๊สมาตรฐานเป็นบทเพลงทีอยู่ ใน แบบเรียน จึงเหมาะสมทีจะนํามาศึกษาเพือให้ทราบถึงเทคนิคการบรรเลงคีตปฏิภาณ

2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.1 ศึกษาประวัติศาสตร์ดนตรีแจ๊สกั ห อสมุดกล 2.2 ศึกษาชีวประวัติของส คริสำน พอตเตอร์ าง 2.3 วิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์

3. ขอบเขตของการศึกษา กกกกกกกกผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตของบทเพลงทีนํามาวิเคราะห์ไว้จํานวนสามบทเพลงจากํ ผลงาน ชุด Gratitude : 314 549 4332 สังกดคั ่าย Verve ดังนี1 3.1 Star Eyes 3.2 Body and Soul 3.3 The Source กกกกกกกกในบทเพลงดังกล่าว ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ท่อนทีคริส พอตเตอร์บรรเลงคีตปฏิภาณเท่านัน

4. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ กกกกกกกกผู้ศึกษามีความประสงค์ทีจะเผยแพร่สารนิพนธ์ฉบับนี เพือให้ผู้ทีสนใจได้รับความรู้ เรืองการบรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ ซึงสามารถนําไปประยุกต์กบความรู้ของผู้ทีสนใจั ศึกษาและสามารถนําไปพัฒนาต่อไปเพือให้เกิดประโยชน์สูงสุด

กกกกกกกก1Chris Potter, Gratitude [CD], Verve,2001.

บทที 2 วรรณกรรมทีเกียวข้องและประวัติศิลปิน

กกกกกกกกการค้นคว้าอิสระในหัวข้อการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ ผู้ศึกษาได้ ทําการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ อาทิเช่น วารสาร ตําราต่างๆ สือจากอินเตอร์เน็ต ตลอดจน งานวิจัยทีเกียวข้อง โดยผู้ศึกษาได้กาหนดประเด็นของการศึกษาดังนีํ 1. ยุคสมัยของดนตรีแจ๊สและนักดนตรีทีสําคัญ . อสมุด 2 ชีวประวัติและผลงานของำคริสนกั พอตเตอร์ห กลาง ส 1. ยุคสมัยของดนตรีแจ๊สและนักดนตรีทีสําคัญ 1.1 ยุคนิวออร์ลีนส์ กกกกกกกกยุคนิวออร์ลีนส์ (ประมาณ ค.ศ. 1920) ถือเป็นยุคเริมต้นของดนตรีแจ๊ส มีจุดเริมต้นที เมืองนิวออร์ลีนส์ รัฐลุยเซียนา ประเทศสหรัฐอเมริกา การจัดรูปแบบวงดนตรีในยุคนีมีการกาหนดํ บทบาทของเครืองดนตรีทีค่อนข้างแน่นอน โดยประกอบไปด้วยทรัมเป็ต (Trumpet) หรือคอร์เน็ต (Cornet) ทําหน้าทีบรรเลงทํานองหลัก (Melody) คลาริเน็ต (Clarinet) ทําหน้าทีบรรเลงทํานองรอง (Counter Melody) ทรอมโบน (Trombone) ทําหน้าทีบรรเลงแนวประสานและเครืองให้จังหวะ ซึง ได้แก่ เปียโน (Piano) แบนโจ (Banjo) หรือกีตาร์ (Guitar) ทูบา (Tuba) หรือดับเบิลเบส (Double Bass) และกลอง การจัดวงดนตรีลักษณะนีได้รับอิทธิพลมาจากวงโยธวาทิต2

กกกกกกกก2อนันต์ ลือประดิษฐ์, นิว ออร์ลีนส์ แจ๊ส, เข้าถึงเมือวันที 5 มกราคม 2555, เข้าถึงได้จาก http://www. oknation.net/blog/rakmusic/2008/07/31/entry1

3

4

ภาพที 1 บัดดี โบลเดน3 กกกกกกกกวงดนตรีทีอยูในยุคนี่ ได้แก่วง The Original Dixieland Jazz Band วง The Neworleans Rhythm Kings วง King Oliver’s Creol Jazz Band เป็นต้น นักดนตรีคนสําคัญคือ บัดดี โบลเดน (Buddy Bolden) ซึงได้ชือวาเป็น่ “ราชาคอร์เน็ต คนแรกแห่งนิวออร์ลีนส์” เป็นนักดนตรีคนแรกๆ ที ผสมซาวด์ของดนตรีบลูส์และดนตรีแรกไทม์เข้าด้วยกนจนกลายเป็นดนตรีใหมั ่ขึนมา และยอมรับ กนวั าเป็นสุ้มเสียงของแจ๊สยุคแรกทีมีความ่ เด่นชัดทีสุด4 1.2 ยุคสวิง กกกกกกกกยุคสวิง (ค.ศ.19351945) เป็นยุคหนึงของดนตรีแจ๊สได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ทัง ในประเทศ อเมริกาและประเทศในทวีปยุโรป ยุคสวิงเป็นยุคแห่งดนตรีบิกแบนด์ (Bigband) มี ลักษณะเป็น วงขนาดใหญ่โดยมี ดอน เรดแมน (Don Redman) เป็นผู้ทีมีบทบาทในการวาง โครงสร้างสามส่วน ให้แก่วง ประกอบด้วยส่วนเครืองลมทองเหลือง (Brass Section) เครืองลมไม้ (Woodwind Section) และเครืองให้จังหวะ (Rhythm Section) รูปแบบของดนตรีบิกแบนด์มี ลักษณะทีตายตัว คือมีการ เรียบเรียงเสียงประสานสําหรับวง และมีท่อนทีเปิดโอกาสให้นักดนตรี ในวงได้แสดงคีตปฏิภาณ ประกอบกบจังหวะของเพลงทีเป็นเอกลักษณ์ทีเรียกวั าสวิง่ ซึงมีลักษณะ ให้ชวนเต้นรํา วงดนตรีทีมีชือเสียงในยุคนีได้แก่ วงของดุ๊ก เอลลิงตัน (Duke Ellington) เกลน มิล

กกกกก ก 3Charles Buddy Bolden, accessed Febuary 20, 2012, available from http://ebonyachievement. 4t.com /photo4.html กกกกกกกก4อนันต์ ลือประดิษฐ์, JAZZ อิสรภาพทางดนตรีของมนุษยชาติ (กรุงเทพฯ: เนชัน, 2545), 2324.

5

เลอร์ (Glenn Miller) เคาน์ท เบซี (Count Basie) จิมมี ลันซ์ฟอร์ด (Jimmie Lunceford) อาร์ตี ชอว์ (Artie Shaw) จิมมี ดอร์ซีย์ (Jimmy Dorsey) ทอมมี ดอร์ซีย์ (Tommy Dorsey) และเบนนี กู๊ดแมน (Benny Goodman)5

ภาพที 2 โคลแมน ฮอว์คินส์6 กกกกกกกกในยุคนีเครืองดนตรีเทเนอร์แซกโซโฟน (Tenor Saxophone) เริมได้รับความสนใจใน การนํามาใช้บรรเลงมากขึน นักดนตรีทีมีบทบาทสําคัญในการนําเครืองดนตรีชนิดนีมาบรรเลงคือ โคลแมน ฮอว์คินส์ (Coleman Hawkins) จนได้ชือว่าเป็นบิดาแห่งเทเนอร์แซกโซโฟน (Father of the Tenor Saxophone) ฮอว์คินส์ไม่ได้เป็นผู้ทีนําแซกโซโฟนมาบรรเลงในเพลงแจ๊สเป็นคนแรก ก่อน หน้านันมีซิดนีย์ บีเชดท์ (Sidney Bechet) และเอเดรียน โรลลินิ (Adrian Rollini) ได้สร้าง แนวคิด ทีวา่ แซกโซโฟนสามารถนํามาใช้ในการบรรเลงเพลงแจ๊สได้ ซึงฮอว์คินส์ได้นํามาพัฒนา ต่อภายใต้ อิทธิพลของนักทรัมเป็ตทีมีชือว่าหลุยส์ อาร์มสตรอง (Louis Armstrong) จนเกิดเป็น ลักษณะ ซุ่มเสียงของตัวเอง7

กกกกกกกก5อนันต์ ลือประดิษฐ์, JAZZ อิสรภาพทางดนตรีของมนุษยชาติ, 47. กกกก่กกก 6Coleman Hawkins, accessed Febuary 20, 2012, available from http://jazzinphoto.wordpress.com /category/colemanhawkins/ กกกกกกกก7Dave Gelly, Masters of Jazz Saxophone (London: A Balafon Book, 2000), 12.

6

1.3 ยุคบีบ็อพ กกกกกกกกยุคบีบ็อพ (ค.ศ.19401955) มีศูนย์กลางอยูทีเม่ ืองนิวยอร์ค การจัดรูปแบบวงดนตรีเป็น ขนาดเล็ก ยกตัวอยาง่ เช่น วงดนตรีทีบรรเลงด้วยเครืองดนตรีห้าชิน (Quintet) เป็นต้น บทเพลงทีถูก ประพันธ์ขึนใหม่มี การใช้ ทางเดินคอร์ดจากอีกเพลง (Contrafact) ทังนีเพือเปิดโอกาสให้นักดนตรี ได้บรรเลง คีตปฏิภาณบนทางเดินคอร์ดเดียวกนั และเพือหลีกเลียงการจ่ายค่าลิขสิทธิเพลง ลักษณะ ของดนตรี ในยุคบีบ็อพมีการเล่นทํานองหลักพร้อมกนั (Unison)8 อีกทังยังมีการใช้คอร์ดแทน (Chord Substitution) และให้ ความสําคัญกับการบรรเลงคีตปฏิภาณ กล่าวได้ว่าในยุคนีมีการ แสดงออก ถึงแนวความคิดของผู้บรรเลงเป็นหลัก ส่งผลทําให้ดนตรีบีบ็อพไม่เป็นทีนิยมของคน ส่วนใหญ่

ภาพที 3 ชาร์ลี พาร์คเกอร์9 กกกกกกกกนักดนตรีทีสําคัญใน ยุคนี ได้แก่ บัด พาวล์ (Bud Powell) ธีโลเนียส มังค์ (Thelonious Monk) เคนนี คลาร์ก (Kenny Clarke) และแมกซ์ โรช (Max Roach) เป็นต้น โดยนักดนตรี ทีมี บทบาทสําคัญทีทํา ให้เกิดการเปลียนแปลง คือ ดิซซี กิลเลสปี (Dizzy Gillespie) นักทรัมเป็ต และ

กกกกกกกก8David Baker, Style Sheet Bebop, accessed Febuary 3, 2012, available from http://www.jazzin america.org/JazzResources/StyleSheets/10 กกกกกกกก9Charlie Parker, accessed Febuary 20, 2012, available from http://jazzinphoto.wordpress.com/ category/charlieparker/

7

ชาร์ลี พาร์คเกอร์ นักอัลโตแซกโซโฟน (Alto Saxophone) ชาร์ลี พาร์คเกอร์เริมต้นอาชีพ นักดนตรี กบวงของจอร์จอีั ลี (George E. Lee) และต่อมาเป็นสมาชิกของวงเจย์ แม็คแชนน์ (Jay McShann) ระหว่างทีร่วมงานกบแม็คแชนน์ั พาร์คเกอร์ได้ใช้เวลาหลังเลิกงานร่วมบรรเลงดนตรีอยู่ ทีคลับ กลางคืนอยางมอนโรส์อัพทาวน์่ (Monroe’s Uptown) และมินตันส์เพลย์เฮาส์ (Minton’s Playhouse) ทีซึงเป็นจุดเริมต้นของดนตรี บีบ็อพ พาร์คเกอร์ยังเคยเป็นสมาชิกของวงเอิร์ล ไฮน์ส (Earl Hines) คูที วิลเลียมส์ (Cootie Williams) แอนดี เคิร์ค (Andy Kirk) และบิลลี เอ็คสไตน์ (Billy Eckstine)10 การประพันธ์เพลงของ พาร์คเกอร์เป็นลักษณะการใช้ทางเดินคอร์ดของเพลงอืน แล้วแต่งทํานอง หลักขึนใหม่ บทเพลงที นิยมนําทางเดินคอร์ดมาใช้ได้แก่ I Got Rhythm, Embraceable You, Back Home From Indiana และเพลงประเภทบลูส์เป็นต้น11 1.4 คูลแจ๊ส กกกกกกกกคูลแจ๊ส (ค.ศ.19501955) เป็นยุคหนึงทีแตกแขนงออกมาจากยุคสมัยของยุคบีบ็อพ มีการจัดรูปแบบวงดนตรี ทีหลากหลาย โดยมีตังแต่วงทีบรรเลงด้วยเครืองดนตรีสามชิน (Trio) จนถึงสิบชิน (Tentet) เครืองดนตรีทีใช้บรรเลงก็มีความหลากหลายด้วย อาทิเช่น ฟลุต (Flute) โอโบ (Oboe) คลาริเน็ต (Clarinet) เฟรนช์ฮอร์น (French Horn) ฟลูเกิลฮอร์น (Fluegal Horn) ทูบา (Tuba) กีตาร์ (Guitar) เป็นต้น ดนตรีในยุคนีให้ความสําคัญกบการกั าหนดแนวเสียงประสานํ ซึงมีลักษณะคล้ายคลึงกบั ยุคบีบ็อพ และยังมีลักษณะการใช้แนวเสียงประสานของดนตรีคลาสสิค อีกด้วย โดยเฉพาะ สตราวินสกี (Stravinsky) และเดอบูซซี (Debussy)

กกกกกกกก10อนันต์ ลือประดิษฐ์, JAZZ อิสรภาพทางดนตรีของมนุษยชาติ, 7778. กกกกกกกก11 David Baker, Musicians Charlie Parker, accessed Febuary 3, 2012, available from http://www. jazzinamerica.org/JazzResources/MusiciansDetail/479/True

8

ภาพที 4 พอล เดสมอนด์12 กกกกกกกกนักดนตรียุคนีมีสองกลุ่ม คือกลุ่มทางฝัง ตะวันออก (East Coast) มีนักดนตรีทีสําคัญ ได้แก่ ไมล์ส เดวิส (Miles Davis) จอห์น ลูว์อีส (John Lewis) กิล อีแวนส์ (Gil Evans) เลนนี ทริส ทาโน (Lennie Tristano) ลี โคนิทซ์ (Lee Konitz) เป็นต้น และกลุ่มทางฝังตะวันตก (West Coast) มี นักดนตรีทีสําคัญได้แก่ เจอร์รี มัลลิแกน (Gerry Mulligan) เช็ท เบเกอร์ (Chet Baker) บ็อบบี บรูค เมเยอร์ (Bobby Brookmeyer) เดฟ บรูเบ็ค (Dave Brubreck) พอล เดสมอนด์ (Paul Desmond) เป็น ต้น13 พอล เดสมอนด์ นักอัลโตแซกโซโฟน เป็นสมาชิกของวง Dave Brubeck Quartet และเป็นคน ประพันธ์เพลง Take Five เดสมอนด์มีลักษณะการบรรเลงคีตปฏิภาณทีราบรืน นุ่มนวล ซุ่มเสียงที ชัดจน และสามารถบรรเลงอัลโตแซกโซโฟนในช่วงเสียงสูง ได้เป็นอยางดี่ 14 1.5 ฮาร์ดบ็อพ กกกกกกกกนอกจากยุคคูลแจ๊สแล้ว ยุคฮาร์ดบ็อพ (ค.ศ.19511958) ก็เป็นอีกยุคหนึงทีแตกแขนง ออกมาจากยุคบีบ็อพด้วย ลักษณะของดนตรีในยุคนีมีความคล้ายคลึงกบยุคบีบ็อพั และมีส่วนผสม ของดนตรีอาร์แอนด์บี (R&B) กบดนตรีกอสเพลั (Gospel)15 แนวเสียงประสานและจังหวะมีความ

กกกกกกกก12 Poul Desmond, accessed Febuary 20, 2012, available from http://jazzinphoto.wordpress.com/ category/pouldesmond/ กกกกกกกก13 David Baker, Style Sheet Cool, accessed Febuary 3, 2012, available from http://www.jazzin america.org/JazzResources/StyleSheets/11 กกกกกกกก14Dave Gelly, Masters of Jazz Saxophone, 68. กกกกกกกก15อนันต์ ลือประดิษฐ์, JAZZ อิสรภาพทางดนตรีของมนุษยชาติ, 95.

9

ซับซ้อนมากขึน นิยมจัด รูปแบบวงดนตรีทีบรรเลงด้วยเครืองดนตรีห้าชิน ได้แก่ แซกโซโฟน ทรัมเป็ต เปียโน ดับเบิลเบส และกลอง16 การบรรเลงคีตปฏิภาณส่วนใหญ่จะอิงกบโมดั (Mode)

ภาพที 5 จอห์น โคลเทรน17 กกกกกกกกนักดนตรีทีสําคัญใน ยุคนีได้แก่ โฮเรซ ซิลเวอร์ (Horace Silver) แคนนอนบอล แอด เดอร์ลีย์ (Cannonball Adderley) อาร์ต ฟาร์เมอร์ (Art Farmer) คลิฟฟอร์ด บราวน์ (Clifford Brown) เบนนี โกลสัน (Benny Goldson) ไมล์ส เดวิส ซันนี โรลลินส์ (Sonny Rollins) ชาร์ลส์ มิงกสั (Charles Mingus) ธีโลเนียส มังค์ และจอห์น โคลเทรน เป็นต้น18 จอห์น โคลเทรน นักเท เนอร์และ โซปราโนแซกโซโฟน (Soprano Saxophone) โคลเทรนเคยร่วมงานกบนักดนตรีมากมายั อาทิเช่น ดิซซี กิลเลสปี จอห์นนี ฮอดเจส (Johny Hodges) และไมล์ส เดวิส เป็นต้น ในช่วงทีโคลเท รนเป็น สมาชิกของวงไมล์ส เดวิส โคลเทรนได้ พัฒนาการบรรเลงแซกโซโฟนเป็นอยางมาก่ และ ภายหลัง ได้ออกมาก่อตังวงเป็นของตัวเอง โคลเทรนเป็นผู้ทีมีบทบาทอย่างมากต่อดนตรีแจ๊ส การ

กกกกกกกก16 David Baker,The Return to the Hot:Hard Bop and Funky Jazz, accessed Febuary 3, 2012, available from http://www.jazzinamerica.org/JazzResources/StyleSheets/12 กกกกกกกก17John Coltrane, accessed Febuary 20, 2012, available from http://jazzinphoto.wordpress.com/ category/johncoltrane/ 18 กกกกกกกก อนันต์ ลือประดิษฐ์, JAZZ อิสรภาพทางดนตรีของมนุษยชาติ, 101107.

10

บรรเลง คีตปฏิภาณของโคลเทรนไม่ได้บรรเลงตามการเปลียนแปลงของคอร์ดในบทเพลง แต่จะ บรรเลงอิง กบโมดั และมีการบรรเลง คีตปฏิภาณทีมีความยาวกวาปกติ่ 19 1.6 ดนตรีแจ๊สหลัง ค.ศ.1959 กกกกกกกก ตังแต่ค.ศ.1959 เป็นต้นมา ดนตรีแจ๊สได้ผสมผสานของดนตรีรูปแบบอืนๆจนแตก แขนง ออกมาหลายสาขามากมาย โดยเกิดจากการผสมผสานกบแนวแนวดนตรีอืนๆั อีกทังยังมีการ พัฒนา ถึงลักษณะการบรรเลง และรูปแบบของบทประพันธ์ อาทิเช่น ฟรีแจ๊ส (Free Jazz) โซลแจ๊ส (Soul Jazz) และโพสท์บ็อพ (Post Bop) เป็นต้น กกกกกกกกฟรีแจ๊ส เป็นดนตรีทีมีลักษณะกระด้างเป็นอย่างมาก เนืองจากการบรรเลงทีมีการ บรรเลง โดยไม่ได้อิงกบบันไดเสียงหรือทางเดินคอร์ดั (Atonality) นักดนตรีทีมีความสําคัญได้แก่ ออร์เน็ท โคลแมน (Ornette Coleman) และซีซิล เทย์เลอร์ (Cecil Taylor) เป็นต้น กกกกกกกกโซลแจ๊ส มีรูปแบบบทประพันธ์ทีไม่ซับซ้อน โดยทีมีลักษณะการซําทํานอง (Ostinato) สามารถร้องตามได้ง่าย มีจังหวะทีเป็นลักษณะของฟังค์กี (Funky) ซึงใกล้เคียงกบดนตรีอาร์แอนด์บีั กบดนตรีกอสเพลั นักดนตรีทีมีความสําคัญได้แก่ โฮเรซ ซิลเวอร์ (Horace Silver) เฟรดดี ฮับบาร์ด (Freddie Hubbard) แรมเซย์ ลูว์อีส (Ramsey Lewis) และจิมมี สมิธ (Jimmy Smith) เป็นต้น กกกกกกกกโพสท์บ๊อพ มีรูปแบบของบทประพันธ์มีความซับซ้อน มากขึน อีกทังยังมีการพัฒนาถึง เทคนิคาต่างๆในการบรรเลงอีกด้วย นักดนตรีทีมีความสําคัญได้แก่ ออสการ์ ปีเตอร์สัน (Oscar Peterson) เรย์ บราวน์ (Ray Brown) ชิค โคเรีย (Chick Corea) เฮอร์บี แฮนคอกค์ (Herbie Hancock) บิล อีแวนส์ (Bill Evans) เดฟ ฮอลแลนด์ (Dave Holland) โจ ซาวินูล (Joe Zawinul) เวย์น ชอร์เตอร์ (Wayne Shorter) จอห์น แมคลาฟลิน (John McLaughlin) จาโค แพสโทเรียส (Jaco Pastorius) แพท เมธีนี (Pat Metheny) โจชัว เรดแมน (Joshua Redman) แรนดี เบรคเกอร์ (Randy Brecker) ไมเคิล เบรคเกอร์ (Michael Brecker) บิลล์ สจวร์ต () เบน มอนเดอร์ (Ben Monder) เคิร์ท โร เซนวินเคล (Kurt Rosenwinkel) มาร์ค เทอร์เนอร์ (Mark Turner) และคริส พอตเตอร์ (Chris Potter) เป็นต้น

กกกกกกกก19 David Baker, Musicians John Coltrane, accessed Febuary 3, 2012, available from http://www. jazzinamerica.org/JazzResources/MusiciansDetail/482/True

11

2. ชีวประวัติและผลงานของ คริส พอตเตอร์

ภาพที 6 คริส พอตเตอร์20 กกกกกกกกโจเซฟ คริสโตเฟอร์ พอตเตอร์ (Joseph Christopher Potter) เกิดวันที 1 มกราคม ค.ศ. 1971 เมืองชิคาโก มลรัฐอิลลินนอยส์ และได้ย้ายมาทีเมืองโคลัมเบีย มลรัฐเซาท์แคโรไลนา บิดาเป็น อดีต นักวิจัยพันธุกรรมทีมหาวิทยาลัยชิคาโก และมารดาเป็นอาจารย์สอนวิชาจิตวิทยาเด็ก ที มหาวิทยาลัย เซาท์แคโรไลนา กกกกกกกกคริส พอตเตอร์เริมเล่นแซกโซโฟนตอนอายุ 10 ปี โดยเริมต้นจากอัลโตแซกโซโฟน โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากพอล เดสมอนด์ และจอห์นนี ฮอดเจส ในบทเพลง Take Five ซึงใน เวลาต่อมา เขาได้เลือกเทเนอร์แซกโซโฟนเป็นเครืองดนตรีหลักในการบรรเลง นอกจากนี เขายัง สามารถบรรเลง อัลโตฟลุต (Alto Flute) และเบสคลาริเน็ต ได้อีกด้วย ศิลปินผู้มีอิทธิพล ต่อเขาคือ เวย์น ชอตเตอร์ จอห์น โคลเทรน ชาร์ลี พาร์คเกอร์ เบน เว็บสเตอร์ (Ben Webster) โคลแมน ฮอว์ คินส์ ซอนนี โรลลินส์ ออร์เนต โคลแมน เอริก ดอลฟี (Eric Dolphy) ดีเวย์ เรดแมน (Dewey Redman) โจ เฮนเดอร์สัน (Joe Henderson) สแตน เกทส์ (Stan Getz) เลสเตอร์ ยัง

กกกกกกกก20 Press Photos, accessed Febuary 20, 2012, available from http://www.chrispottermusic.com/ gallery.aspx

12

กกกกกกกกปีค.ศ.1989 คริส พอตเตอร์ได้ถูกแนะนําให้พบกบเั รด รอดนีย์ (Red Rodney) ผู้ซึงเป็น หนึง ในตํานานแห่งยุคบีบ็อพ โดยได้ขึนไปร่วมบรรเลงในงาน Columbia’s Main Street Jazz Festival ในฐานะนักดนตรีดาวรุ่งท้องถิน กกกกกกกกเรด รอดนีย์กล่าวว่า “คณะผู้จัดแนะนําให้ผมรู้จักพอตเตอร์ ในฐานะศิลปินหนุ่มใน ท้องที โดยอยากให้ เขาได้บรรเลงร่วมกนแคั ่สองสามเพลง แต่เขากลับบรรเลงได้น่าดึงดูดใจจน พวกเราให้ เขาอยูตลอดเสาร์อาทิตย์จนจบการแสดง”่ 21 กกกกกกกกในปีเดียวกนั หลังจากเรียนจบชันมัธยมศึกษาคริส พอตเตอร์ได้ย้ายไปนิวยอร์ค และได้ เข้า ไปเป็นสมาชิกวงควินเท็ตของรอดนีย์ อีกทังได้รับทุนจาก Hennessey Jazz Search Scholarship และ Zoot Sims Scholarship เพือเรียนต่อทีเดอะนิวสคูล (The New School) เป็นทีทีเขาได้พบกบั นักดนตรีมากมาย อาทิเช่น โอเวน ฮอวาร์ด (Owen Howard) แบรด เมห์ลเดา (Brad Mehldau) เคนนี เวอร์เนอร์ (Kenny Werner) กกกกกกกกเคนนี เวอร์เนอร์กล่าวว่า “พอตเตอร์เคยเรียนในวิชาประพันธ์เพลงของผมทีนิวสคูล ประมาณ 1ปี และเมือเขาต้องการ เรียนกบผมเป็นการสั ่วนตัว ซึงผมยังไม่รู้วาเขาเล่ ่นได้ขนาดไหน ดังนันเราจึงเริมจากเพลงบีบ๊อพ เป็นเพลงแรก ในเพลงทีสองเขาเล่นได้ดีขึนกวาในเพลงแรก่ และใน เพลงทีสาม เขาเล่นในภาษาซึง มาจากดนตรีของโคลเทรน และเมือจบเพลงทีสี ผมกลับอยากจะ เรียนกบพอตเตอร์”ั 22 กกกกกกกก ปีต่อมาคริส พอตเตอร์ได้สมัครเข้าเรียนทีเดอะแมนฮัตตันสคูลออฟมิวสิค (The Manhattan School of Music) ทีนีเขาได้พบกบเพือนนักดนตรีั เช่น บิลล์ วอร์ฟิลด์ (Bill Warfield) ทิม เซสชันส์ (Tim Sessions) ไรอัน ไคเซอร์ (Ryan Kisor) จุนโกะ โมริยะ (Junko Moriya) ค.ศ. 1990 เขาร่วมเข้า แข่งขันงาน The Prestigious Thelonious Monk InstituteTenor Sax Competition และเข้ารอบ สุดท้ายร่วมกบั อีริก อเลกซานเดอร์ (Eric Alexander) และผู้ชนะคือ โจชัว เรดแมน ใน ปีเดียวกนนัั นเองเขาได้ทําการบันทึกเสียงครังแรก ในฐานะของสมาชิกในวง Red’s Quintet

กกกกกกกก21 John Macleod, Chris Potter, accessed January 21, 2012, available from http://www.sunnyside records .com/artist.php?id=188 22Steven Cerra, Chris Potter:A Saxophonist With His Own Voice, accessed January 25, 2012, available from http://jazzprofiles.blogspot.com/2011/08/chrispottersaxophonistwithhisown.html

13

กกกกกกกกเรด รอดนีย์กล่าวว่า “ผมเฝ้าดูการเติบโตของพอตเตอร์ เมือครังทีเขาไปนิวยอร์ก เขา ตระเวนฟังคนอืน เล่นไปทัวแล้วซึมซับสิ งทีฟัง คล้ายกบฟองนํั า จากนันก็สลัดทุกอย่างออกหมด จนเหลือแต่สิงทีเป็นคริส พอตเตอร์ เขามีเสียงและสไตล์ทีเป็นของตัวเอง”23 กกกกกกกกเมือปี ค.ศ.1992 คริส พอตเตอร์ได้เริมต้นบันทึกเสียงกบวงบิั กแบนด์ โดยมีวอร์ฟิลด์ เป็นหัวหน้าวง ในระหวางนั่ นเขาได้เริมร่วมงานในฐานะสมาชิกวง John Hart’s Quartet และได้ทํา การบันทึกเสียงในฐานะสมาชิกของวง The Jazz Mentality และวันที 29 ธันวาคม ในปีเดียวกนั นันเอง เขาได้ทําการบันทึกเสียงในฐานะของหัวหน้าวงเป็นครังแรก สังกัดค่ายของประเทศ เนเธอร์แลนด์ชือวา่ Criss Cross กกกกกกกกเดือนมกราคม ค.ศ.1993 มาเรียน แมกพาร์ตแลนด์ (Marian McPartland) ได้ชวนคริส พอตเตอร์ มาบันทึกเสียงในชุด In My Life สังกดคั ่าย Concord Jazz ด้วยสาเหตุนี ทําให้เขาได้รู้จัก กบคาร์ลั เจฟเฟอร์สัน (Carl Jefferson) ผู้ก่อตังค่าย Concord ซึงต่อมาเจฟเฟอร์สันได้ติดต่อขอทํา สัญญาเพือให้เป็นศิลปินในสังกดั และผลงานแรกของเขาภายใต้สังกดั Concord ชือวา่ Concentric Circles ทีบันทึกเสียงในปีค.ศ.1993 และออกวางจําหน่ายในปีค.ศ.1994 ซึงได้รับเสียงตอบรับ จาก นักวิจารณ์ดีกวาตอนทีอยู่ ภายใต้สังก่ ดั Criss Cross กกกกกกกกวันที 27 พฤษภาคม ค.ศ.1994 เป็นวันแห่งการจากไปของรอดนีย์ ผู้ซึงเป็นบุคคลที สําคัญ และมีอิทธิพลอยางมากของ่ คริส พอตเตอร์ และหลังจากนันไม่นาน เขาบันทึกเสียงและออก แสดง กบพอลั โมเชียน (Paul Motian) พร้อมกนนัั นเขาได้เข้า บันทึกเสียงเพือออกผลงานกบคั ่าย Concord อีกครัง ผลงานครังนีเขาได้อุทิศเพือรอดนีย์ด้วย และในช่วงหน้าร้อนของปีเดียวกนั เขาได้ ออกแสดง ดนตรีกบสตีลลีั แดน (Steely Dan) กกกกกกกก ตังแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนธันวาคม ค.ศ.1994 คริส พอตเตอร์มีงานบันทึกเสียงและ งานแสดงอยางนับไม่ ่ถ้วน ในปีค.ศ.1995 มีงานบันทึกเสียงอีกสิบสองชุด และในปีค.ศ.1996 เขาได้ บันทึกเสียงอีกยีสิบครัง ซึงมากกวาครึงหนึงของงานบันทึกเสียง่ มีทังผลงานทีเขาได้เป็น หัวหน้าวง และได้เป็นส่วนสําคัญของงาน และผลงานในปีนันของเขาทีทําให้ผู้คนต่างให้ความ สนใจคือ ผลงานทีมีชือวา่ Moving In ทีออกกบคั ่าย Concord ซึงเป็นผลงานทีมีความสลับซับซ้อน

กกกกกกกก23 John Macleod, Chris Potter, accessed January 21, 2012, available from http://www.sunnyside records.com/artist.php?id=188

14

ภาพที 7 ผลงานทีมีชือวา่ Moving In ของ คริส พอตเตอร์24 กกกกกกกกในปีค.ศ.1997 คริส พอตเตอร์ได้ออกผลงานชุดใหม่ สังกัดค่าย Concord ทีมีชือว่า Unspoken เป็นผลงานทีได้ ร่วมงานกบนักกั ีตาร์จอห์น สโคฟิลด์ (John Scofeild) นักกีตาร์เบสเดฟ ฮอลแลนด์ และผู้เล่นกลอง แจ็ค เดโจห์เนตต์ (Jack DeJohnette) ซึงล้วนเป็นนักดนตรีแจ๊สทีมีชือ เสียงทังสิน และช่วงเวลาต่อมา เขาได้เกิดอาการเจ็บป่วยเป็นโรคเมเนียส์ (Meniere’s Disease) เป็น ช่วงเวลาสันๆ ส่งผลต่อการได้ยินในหูข้างซ้าย แต่สิงเหล่านีไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อการทํางาน แต่ อยางใด่ ในปีค.ศ.1998 คริส พอตเตอร์มีผลงานชุด Vertigo เป็นผลงานสุดท้ายทีออกภายใต้ สังกดั คองคอร์ด และผลงานชุดนีเป็นหนึงในสิบผลงานยอดเยียมแห่งปีโดย Jazziz Magazine และ The New York Times ในปีเดียวกันนันเอง เขาได้ออกแสดงดนตรีในทวีปยุโรปกับจิม ฮอลล์ นัก กีตาร์แจ๊สระดับตํานาน ในปีค.ศ.1999 เขาได้ถูกเสนอชือเข้าชิงรางวัล Grammy Award สาขา Best Jazz Instrumental Solo โดยคัดเลือกจากบทเพลง In Vogue ทีอยูในผลงานชุด่ Pink Elephant Magic ของศิลปินโจแอนนี แบรกคีน (Joanne Brackeen) ซึงเขาเป็นผู้บรรเลงเทเนอร์แซกโซโฟน และเมือ ปีค.ศ.2000 พอตเตอร์ได้รับ รางวัล The Jazzpar Prize25 นิตยสาร Jazztimes ได้เขียน บทความไว้วา่ พอตเตอร์เป็นนักดนตรีทีอายุน้อย ทีสุดทีได้รับรางวัล The Jazzpar Prize26 ต่อมาปีค.ศ.2001

กกกกกกกก24 Moving In, accessed Febuary 20, 2012, available from http://www.amazon.com/MovingChris Potter/dp/B0000006Q4 กกกกกกกก25The Jazzpar Prize เป็นรางวัลของประเทศ เดนมาร์กทีมอบให้กบั นักดนตรีแจ๊สสากล เป็นหนึงใน งาน ทียิงใหญ ่ของวงการแจ๊ส แต่ต้องถูกยกเลิกไปเมือปีค.ศ.2005 เนืองจากขาดผู้สนับสนุน กกกกกกกก26David R. Adler, “The Potter Principle,” Jazztimes, (March 2006): 56.

15

ผลงานชุด Two Against Nature ของสตีลลี แดน (Steely Dan) คว้ารางวัล Album of The Year ใน งานประกาศรางวัล Grammy Award ครังที 43 ซึงในผลงานชุดนี เขามีส่วนในงาน บันทึกเสียงด้วย

ภาพที 8 ผลงานทีมีชือวา่ Two Against Nature ของ สตีลลี แดน27 กกกกกกกกหลังจากออกจากค่าย Concord คริส พอตเตอร์มาอยูภายใต้สังก่ ดั Verve ผลงานทีออก ภายใต้สังกดนีั คือ ผลงานชุด Gratitute ออกเมือปีค.ศ.2001 เป็นผลงานทีตังใจอุทิศให้กับเหล่า บรรดา มือแซกโซโฟนแจ๊สทีเขาเคารพ และปีต่อมาออกผลงานชุด Traveling Mercies ในปีค.ศ. 2002 ก่อนจะย้ายไปสังกดั Sunnyside และมีผลงานการแสดงสด ชุด Lift: Live At The Village Vanguard ออกมาในปีค.ศ.2004 โดยมีเควิน เฮยส์ () เล่นเปียโน สกอตต์ คอลเลย์ () เล่นดับเบิลเบส และ บิลล์ สจวร์ต เล่นกลอง ผลงานชุดนีได้ขึนชือวาเป็นหนึงในสิบผลงาน่ ในสาขาแจ๊สทีมี การบันทึกเสียงยอดเยียมแห่งปีโดยเฟรด คาเพลน (Fred Kaplan) แห่งนิตรสาร Slate ต่อมาในปีค.ศ.2006 พอตเตอร์ได้นําสมาชิกใหม่ของวงมาบันทึกเสียงในผลงานทีมีชือว่า Underground โดยมีไครจ ทาบอร์น (Craig Taborn) เล่นเฟนเดอร์โรดส์ (Fender Rhodes) เนท สมิธ (Nate Smith) เล่นกลอง อดัม โรเจอรส์ () เล่นกีตาร์ในเพลง The Wheel กับ Yesterday ส่วนทีเหลือมีเวย์น แครนซ์ (Wayne Krantz) เป็นผู้บันทึกเสียงกีตาร์ทังหมด และตังแต่ ผลงานชุดนีเป็นต้นมา สมาชิกทีร่วมบรรเลงในผลงานชุดนีได้กลายเป็นวง Underground (โดย มีอดัม โรเจอรส์เป็นมือกีตาร์) ภายใต้การนําวงโดยคริส พอตเตอร์ ปีค.ศ.2007 วงอันเดอร์กราวด์ ของเขา ได้ออกผลงานการแสดงสดมาอีกหนึงชุดทีมีชือว่า Follow The Red Line: Live At The

กกกกกกกก27Two Against Nature, accessed Febuary 20, 2012, available from http://www.amazon.com /TwoAgainstNatureSteelyDan/dp/B00004GOXS

16

Village Vanguard ในปีเดียวกนนั ันเองเขาออกผลงานมาอีกหนึงชุด มีชือว่า Song For Anyone ผลงานชุดนี สร้างความแตกต่างกบผลงานชุดทีผั ่านมาอย่างสินเชิง ด้วยลักษณะการประพันธ์ใน รูปแบบ วงอองซอมเบิล (Ensemble) โดยประกอบไปด้วย สตริงทริโอ (String Trio) วูดวินด์ทริโอ (Woodwind Trio) และริทึมเซ็คชัน (Rhythm Section) เป็นสาเหตุให้เขาได้ตังชือวงมาอีกชือหนึงคือ Chris Potter 10 กกกกกกกกฮอวาร์ด ไรช์ (Howard Reich) ได้เขียนบทความเกียวกบั ผลงานของ คริส พอตเตอร์เท็น ไว้ว่า “เพลงของวงพอตเตอร์เท็น มีแนวเสียงประสานทีลําหน้า มีโครงสร้างเสียงทีดีแสดงถึง ภูมิ ปัญญา ทําให้เกิดความต้องการทีจะฟังซํา”28 กกกกกกกกในปีค.ศ.2009 คริส พอตเตอรส์อันเดอร์กราวด์กลับมาออกผลงานใหม่อีกครังทีมีชือวา่ Ultrahang ภายใต้สังกดใหมั ่ทีมีชือว่า ArtistShare ปีค.ศ.2011 พอตเตอร์มีผลงาน ใหม่ร่วมกบวงั Dr.Bigband โดยใช้ชือวา่ Transatlantic กกกกกกกกริชาร์ด คุ๊ก (Richard Cook) และไบรอัน มอร์ตัน (Brian Morton) ได้เขียนบทความ เกียวกบั คริส พอตเตอร์ไว้ว่า “ พอตเตอร์กลายเป็นหนึงใน นักแซกโซโฟนทีมีความสามารถใน ปัจจุบัน เป็น ศิลปินทีมีบุคลิกหนักแน่นมันคง และสามารถ บรรเลงได้ดีกบเครืองเป่าทุกตัวทีเลือกั พอตเตอร์สามารถบรรเลงในลักษณะของโพสท์บ็อพ และสร้างความประหลาดใจได้ตลอด ”29 กกกกกกกกเท็ด แพนเคน (Ted Panken) ได้เขียนบทความเกียวกบคั ริส พอตเตอร์ไว้วา่ “ขณะนีคริส พอตเตอร์ได้กลายเป็นหนึงในบรรดานักแซกโซโฟนแจ๊สในตํานาน เขามีความโดดเด่นในเรืองการ บรรเลงคีตปฏิภาณ ความสามารถพิเศษของเค้า พอตเตอร์ได้ยืนยันให้เห็นถึงความสามารถ ทักษะ และพรสวรรค์อยางชัดเจน”่ 30 กกกกกกกกเดฟ เกลลี (Dave Gelly) ได้เขียนบทความเกียวกบั คริส พอตเตอร์ไว้วา่ “พอตเตอร์เป็น หนึงในนักแซกโซโฟนแจ๊สรุ่นใหม่ ความชํานาญการบรรเลงเครืองมือในช่วงเสียง สูงและทักษะ ต่างๆของพอตเตอร์ เป็นการสร้างมาตรฐานใหม่ในอนาคต”31

กกกกกกกก28Howard Reich, In Age of Downloads CD Still Reigns, accessed January 10, 2012. available from http://articles.chicagotribune.com/20071216/news/0712140429_1_terenceblanchardmarsalismusic jazz กกกกกกกก29Richard Cook and Brian Morton, Penguin Guide to Jazz on CD, 6th ed. (London: Penguin Books, 2002), n.pag. กกกกกกกก30Ted Panken, “Part of the Pantheon,” Downbeat, (October 2008): 31. กกกกกกกก31Dave Gelly, Masters of Jazz Saxophone, 203.

บทที 3 บทวิเคราะห์คีตปฏิภาณ

กกกกกกกกในบทนี ผู้ศึกษาได้ทําการถอดโน้ตในท่อนทีมีการบรรเลงคีตปฏิภาณในบทเพลงสาม บทเพลงซึงบรรเลงคีตปฏิภาณโดยคริส พอตเตอร์ ได้แก่ เพลง Star Eyes เพลง Body and Soul และ เพลง The Source ทังสามบทเพลงอยูในผลงานชุด่ Gratitute ซึงเป็นผลงานทีคริส พอตเตอร์ อุทิศให้ กบนักแซกโซโฟนแจ๊สั ได้แก่ ชาร์ลี พาร์คเกอร์ (เพลง Star Eyes) โคลแมน ฮอว์คินส์ (เพลง Body and Soul) และจอห์น โคลเทรน (เพลง The Source)

1. ลักษณะการบรรเลงและรูปแบบบทประพันธ์ . เพลง Star Eyes กกกกกกกกประพันธ์โดย จีน เดพอล (Gene DePaul) กกกกกกกกลักษณะของวงบรรเลงโดยเครืองดนตรีสามชิน ได้แก่ คริส พอตเตอร์เล่นแซกโซโฟน สก็อต คอลเลย์เล่นดับเบิลเบส และไบรอัน เบลด (Brian Blade) เล่นกลอง กกกกกกกกรูปแบบบทประพันธ์ รูปแบบของเพลงเป็นลักษณะ AABA โดยผู้บรรเลงได้นําท่อน ขึนต้น (Intro) ท่อนขัน (Interlude) และท่อนจบ (Outro) จากเพลงต้นฉบับมาเรียบเรียงใหม่ในอัตรา จังหวะ7/4 บรรเลงในบันไดเสียง Eb เมเจอร์ กกกกกกกกเพลง Star Eyes เป็นเพลงแจ๊สมาตรฐาน โดยเริมจากท่อนขึนต้น จํานวน 12 ห้อง เข้าท่อน ทํานอง (:) ได้แก่ ท่อน A1 จํานวน 8 ห้อง ท่อน A2 จ◌ํานวน 8 ห้อง ท่อน B จํานวน ห้องและ ท่อน A3 จํานวน 11 ห้อง แล้วกลับเข้าท่อนขัน (1:13) จํานวน 4 ห้อง หลังจากนันเข้าท่อน แซกโซโฟนโซโล (:) จํานวน 75 ห้อง ดับเบิลเบสโซโล (2:58) จํานวน 36 ห้อง แล้วกลับเข้า ท่อนทํานอง (3:43) จํานวน ห้อง จบเพลงด้วยท่อนจบ (4:29) จํานวน 21 ห้อง รวมทังเพลงมี ความยาว 5:23 นาที . เพลง Body and Soul กกกกกกกกประพันธ์โดย จอห์นนี กรีน (Johnny Green) กกกกกกกกลักษณะของวงบรรเลงโดยเครืองดนตรีสองชิน (Duet) ได้แก่ คริส พอตเตอร์เล่น แซกโซโฟน และสก็อต คอลเลย์เล่นดับเบิลเบส กกกกกกกกรูปแบบของเพลงเป็นลักษณะ AABA บรรเลงในบันไดเสียง Db เมเจอร์

17

18

กกกกกกกกเพลง Body and Soul เป็นเพลงแจ๊สมาตรฐาน ผู้บรรเลงได้บรรเลงท่อนทํานอง ทังหมดใน ลักษณะโซโล ซึงในส่วนของ A1 จํานวน 15 ห้อง และ A2 จํานวน 14 ห้องเป็นจังหวะรูบาโต (Rubato) แล้วเข้าจังหวะใน ส่วน B (1:13) ในลักษณะของดับเบิลไทม์ (Double Time) จํานวน 16 ห้อง หลังจากจบส่วน A3 จํานวน 16 ห้อง ดับเบิลเบสโซโล (2:34) ท่อน A1 จํานวน 16 ห้อง และ A2 จํานวน 16 ห้อง แล้วแซกโซโฟนกลับมาโซโลในท่อน B (3:44) จํานวน 16 ห้อง และจบด้วย ส่วน A3 จํานวน ห้อง รวมทังเพลงมีความยาว 5:31 นาที . เพลง The Source กกกกกกกกประพันธ์โดย คริส พอตเตอร์ กกกกกกกกลักษณะของวงบรรเลงโดยเครืองดนตรีสีชิน (Quartet) ได้แก่ คริส พอตเตอร์เล่น แซกโซโฟน สก็อต คอลเลย์ เล่นดับเบิลเบส เควิน เฮยส์ (Kevin Heys) เล่นเปียโน และ ไบรอัน เบลดเล่นกลอง กกกกกกกกรูปแบบของเพลงในท่อนทํานองเป็นลักษณะท่อนเดียว และในท่อนโซโลเป็น ลักษณะบลูส์ 12 ห้อง บรรเลงในบันไดเสียง B กกกกกกกกเพลงThe Source เริมท่อนขึนต้นด้วยกลองกบเปียโนจํานวนั 16 ห้อง แล้วเข้าท่อน ทํานอง (:) จํานวน 24 ห้องสองรอบ หลังจากนันแซกโซโฟนโซโล (:) จํานวน รอบ ต่อด้วย ท่อนขัน (3:11) จํานวน 24 ห้อง และเปียโนโซโล (:) จํานวน 7 รอบ ตามด้วยท่อนขัน (5:19) จํานวน 24 ห้อง แล้วเข้าท่อนทํานอง (5:46) หนึงรอบ รวมทังเพลงมีความยาว 6:39 นาที

2. บทวิเคราะห์คีตปฏิภาณ กกกกกกกกผู้ศึกษาได้ทําการวิเคราะการบรรเลงคีตปฏิภาณจากบทเพลงทีคัดเลือก มาของ คริส พอตเตอร์ โดยผู้ศึกษาได้แบ่งเป็นสามหัวข้อใหญ่ ได้แก่ 2.1 เสียงประสาน (Harmonic) 2.2 ทํานอง (Melodic) 2.3 จังหวะ (Rhythmic)

19

2.1 เสียงประสาน 2.1.1 ไตรโทนซับส์ทิติวชัน (Tritone Substitution) กกกกกกกกไตรโทนซับส์ทิติวชัน 32 เป็นการแทนคอร์ดโดยใช้คอร์ดโดมินันท์ (Dominant Chord) ทีมีระยะห่างจากคอร์ดเดิมเป็นระยะขันคู่ 5 ดิมินิชด์ เพือให้เกิดแนวเสียงประสานทีต่างจากทางเดิน คอร์ด (Chord Progressions) ของเดิม ยกตัวอยางเช่ ่น คอร์ด G7 จะถูกแทนทีด้วย คอร์ด Db7 ซึงโน้ต G กบโน้ตั Db มีระยะห่างเป็นคู่ 5 ดิมินิชด์ ส่วนใหญ่มักใช้กบทางเดินคอร์ดั VI , IIVI, IIIVIII VI

ตัวอยางที่ 1 ตัวอยางการแทนคอร์ดด้วยไตรโทนซับส์ทิติวชั่ น

ทางเดินคอร์ดแบบเดิม

ไตรโทนซับส์ทิติวชัน

กกกกกกกกในบทเพลง Star Eyes ห้องที 83 บนคอร์ด C7 ถูกแทนทีด้วยคอร์ด Gb7 ซึงมีระยะห่าง เป็นคู่ 5 ดิมินิชด์ โดย ผู้บรรเลงใช้สเกล Gb Lydian Dominant ซึงประกอบด้วยด้วยโน้ต Gb, Ab, Bb, C, Db, Eb และ Fb ในการโซโล ตัวอยางที่ 2

Gb Lydian Dominant

กกกกกกกกในห้องที 124 ผู้บรรเลงเลือกใช้คอร์ด Bb7 แล้วแทนทีด้วยคอร์ด Fb7 ซึงมีระยะห่าง เป็นคู่ 5 ดิมินิชด์ โดย ผู้บรรเลงใช้ Fb7 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยด้วยโน้ต Fb, Ab, Cb และ Ebb ในการโซโล

กกกกกกกก32 Mark Levine, The Jazz Theory Book, (California: Sher Music, 1995), 260.

20

ตัวอยา่ งที 3

Fb7 อาร์เปโจ

2.1.2 คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน (Chord Quality Substitution) กกกกกกกกคอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน 33 เป็นการเปลียนคุณภาพของคอร์ด จากเดิมคุณภาพคอร์ด เป็น แบบ Major7 เปลียนเป็น Dominant7 หรือ Minor7 เปลียนเป็น Dominant7 ยกตัวอยางเช่ ่น ตัวอยางที่ 4 ตัวอยางการแทนคอร์ดด้วยคอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชั่ น

กกกกกกกก กกกกกกกกในเพลง Star Eyes ผู้บรรเลงสามารถใช้คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชันได้อย ่างมีอิสระ เนืองจาก ไม่มีเครืองคอร์ดมาจํากดแนวเสียงประสานั กกกกกกกกในห้องที 98 บนคอร์ด Ebmaj7 ผู้บรรเลงเลือกเปลียนเป็นคอร์ด Eb โดยใช้สเกล Eb Mixolydian ซึงประกอบด้วยโน้ต Eb, F, G, Ab, Bb, C และ Db ในการโซโล ตัวอยางที่ 5

Eb Mixolydian

กกกกกกกก33Richard Lawn and Jeffrey Hellmer, Jazz Theory and Practice, (n.p., Alfred Music, 1996), 118.

21

กกกกกกกกในห้องที 124126 ตังแต่คอร์ด Bb7 ในห้องที 124 ไปจนถึงคอร์ด Ebmaj7 ในห้องที 126 ผู้บรรเลงเปลียนเป็นคอร์ด Eb7 เพียงคอร์ดเดียว ใช้สเกล Eb Lydian Dominant ซึงประกอบด้วยโน้ต Eb, F, G, A, Bb, C และ Db ในการโซโล ตัวอยางที่ 6

Eb Lydian Dominant

2.1.3 ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์ (Harmonic Displacement) กกกกกกกกฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์ เป็นการเลือนหรือขยับแนวเสียงประสานหรือทางเดินคอร์ด ออกจากตําแหน่งเดิมในระยะทีเท่ากนั เพือให้เกิดการขยายของแนวเสียงประสาน ยกตัวอย่างเช่น การใช้ ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์บนทางเดินคอร์ด Dm7G7Cmaj7 ซึงในแต่ละคอร์ดอยู ่ ในจังหวะทีหนึง ของแต่ละห้องถูกเลือนออกไปอยูในจังหวะทีสามของแต่ ่ละห้อง ตัวอยางที่ 7 ตัวอยางการใช้ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์่

ทางเดินคอร์ดแบบเดิม

ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์

กกกกกกกกในบทเพลง Star Eyes ห้องที 8688 ผู้บรรเลงเลือนคอร์ดทงั หมดออกไปหนึงจังหวะ ตัวอยางที่ 8

Eb อาร์เปโจ D9 อาร์เปโจ Db+ อาร์เปโจ C อาร์เปโจ

22

2.1.4 ลองคอร์ดซับส์ทิติวชันไอเดีย (Long Chord Substitution Idea) กกกกกกกกลองคอร์ดซับส์ทิติวชัน 34คือการคิดคอร์ดใดคอร์ดหนึงในทางเดินคอร์ดแทนทีคอร์ด ทงหมดั ยกตัวอย่างเช่น บนทางเดินคอร์ด IIVI สามารถนําคอร์ดใดคอร์ดหนึงในสามคอร์ดนีมา คิดแทน คอร์ดทังหมดได้ กกกกกกกกเนืองจากเพลง Star Eyes ไม่มีเครืองคอร์ดร่วมบรรเลงด้วย ทําให้ผู้บรรเลงขยายแนว ความคิดเรืองคอร์ดได้ออกไปอีก โดยผู้บรรเลงมองทางเดินคอร์ดใน ไดอาโทนิค (Diatonic) เป็น คอร์ดใดคอร์ดหนึงเพียงคอร์ดเดียว ยกตัวอย่างเช่น ทางเดินคอร์ด IIV จะคิดเป็น V เพียงแค่คอร์ด เดียว เป็นต้น กกกกกกกกในห้องที 65 บนคอร์ด Ebm7Ab7 และในห้องที 66 บนคอร์ด Dbmaj7 (ในช่วงแรก) ผู้บรรเลง คิดเป็นคอร์ด Ab7 และใช้สเกล Ab Altered ประกอบด้วยโน้ต Ab, Bbb, Cb, Dbb, Ebb, Fb และ Gb ตัวอยางที่ 9

Ab Altered

กกกกกกกกในห้องที 7374 ผู้บรรเลงคิดเป็นคอร์ด Db7 คอร์ดเดียว และใช้สเกล Db Altered ประกอบด้วยโน้ต Db, Ebb, Fb, Gbb, Abb, Bbb และ Cb ตัวอยางที่ 10

Db Altered

กกกกกกกก34Pongsiri Kajornvaekin, “A Method to Approach Jazz Guitar In The Styles of Kurt Rosenwinkel, Ben Monder and Gilad Hekselman” (M.A. music performance, College of Music, Mahidol University, 2001), 31.

23

2.1.5 ไซด์สลิปปิง (SideSlipping) กกกกกกกกไซด์สลิปปิง35 เป็นการเพิมการเคลือนทีแนวประสานให้สูงหรือตํากวาแนวประสานที่ เป็นเป้าหมายครึงเสียง สามารถใช้ได้ทังในการบรรเลงประกอบ (Accompaniment) และการบรรเลง โซโล ยกตัวอย่างเช่น ทางเดินคอร์ด Dm7G7Cmaj7 เป็น Dm7G7 B7Cmaj7 ซึงคอร์ด B7 เป็นไซด์สลิปปิงเพือเข้าหาคอร์ด Cmaj7 หรือ ทางเดินคอร์ด Dm7G7Cmaj7 เป็น Dm7 Ab7G7 Cmaj7 ซึงคอร์ด Ab7 เป็นไซด์สลิปปิงเพือเข้าหาคอร์ด G7เป็นต้น ตัวอยางที่ 11 ตัวอยางการใช้ไซด์สลิปปิง่

ทางเดินคอร์ดแบบเดิม

ไซด์สลิปปิง

ไซด์สลิปปิง

กกกกกกกกในบทเพลง Star Eyes ห้องที 89 บนคอร์ด Fm7Bb7 ผู้บรรเลงคิดเป็นคอร์ด Ebmaj7 และใช้ D Major Pentatonic ซึงมาจากคอร์ด Dmaj7 ทีเป็นไซด์สลิปปิง จากคอร์ดเดิม ตัวอยางที่ 12

D Major Pentatonic

กกกกกกกกในห้องที 95 บนคอร์ด Gm7C7 ผู้บรรเลงคิดเป็นคอร์ด Fmaj7 และใช้สเกล F Major ต่อด้วยสเกล E Major ซึงเป็น ไซด์สลิปปิงจากคอร์ดเดิม แล้วกลับมา ใช้สเกล F Major อีกครังในห้องที 96

กกกกกกกก35 David Liebman, A Chromatic Appoach to Jazz Harmony and Melody, (Rottenburg: Advance Music, 2001), 51.

24

ตัวอยา่ งที 13

F Major E Major F Major

2.2 ทํานอง 2.2.1 ขันคู่ (Interval) กกกกกกกกผู้ศึกษาพบว่าการสร้างแนวทํานองของ คริส พอตเตอร์ด้วยขันคู่นัน ไม่ได้ สร้างจากโน้ตในไดอาโทนิคแต่สร้างจากการกําหนดระยะห่างและคุณภาพของเสียง ในแต่ละขันคู่เนืองจากการสร้าง ขันคู่จากโน้ตในไดอาโทนิคนันไม่ได้สร้างคุณลักษณะ เสียงทีชัดเจนและหลากหลายเท่ากบการั สร้างจากระยะห่างและคุณภาพของเสียงในแต่ละขันคู่ ยกตัวอยางเช่ ่น ตัวอยางที่ 14 การสร้างขันคู่จากโน้ตในไดอาโทนิค กกกกกกกกคู ่ 6 ขาขึนและคู่ ขาลง จากสเกล C Mixolydian rd rd 3 3 3rd 3rd

th th th 6th 6th 6 6 6 6th

กกกกกกกก สร้างขันคู่จากโน้ตในไดอาโทนิคนันไม่สามารถกาหนดคุณภาพของขัํ นคู่ได้เนืองจาก โน้ตแต่ละโน้ตในสเกลไดอาโทนิคนันได้ถูกกาหนดเอาไว้แล้วํ ตัวอยางที่ 15 การสร้างขันคู่จากการกาหนดระยะหํ ่างและคุณภาพของเสียงในแต่ละขันคู่ กกกกกกกกคู ่ 6 เมเจอร์ขาขึนและคู่ 3 เมเจอร์ขาลง rd rd M3 rd M3 M3 M3rd

M6th M6th M6th M6th M6th M6th

25

กกกกกกกกก ารสร้างขันคู่จากการกาหนดระยะหํ ่างและคุณภาพของเสียงในแต่ละขันคู่ ซึงการสร้าง ขันคู่ในลักษณะนีจะมีทังโน้ตนอกคอร์ดและโน้ตในคอร์ดประกอบอยู่ด้วยทําให้คุณลักษณะของ เสียงทีหลากหลาย กกกกกกกกในบทเพลง The Source ห้องที 7377 ผู้บรรเลงสร้างแนวทํานองทีเกิดจากขันคู่ 5 เพอร์เฟคท์ขาขึน และแนวทํานองทีเกิดจากขันคู่ 5 เพอร์เฟคท์ขาขึนและ คู่ 3 ไมเนอร์ขาลง ในห้องที 78 และในห้องที 71 แนวทํานองทีเกิดจากขันคู่ 5 เพอร์เฟคท์ขาขึนและ คู่ 3 เมเจอร์ขาลง

ตัวอยางที่ 16

th P5 th th P5 m3 M3th M3th

th th th P5 th P5 th P5 P5 th P5 P5th P5th P5

กกกกกกกกห้องที 99100 ผู้บรรเลงสร้างแนวทํานองทีเกิดจากขันคู่ 4 เพอร์เฟคท์ขาขึน และ คู่ 4 ออกเมนเต็ดขาลง ผู้บรรเลงใช้โครมาติคแอฟโพรช (Chromatic Approach) ขันระหวางกลุ่ ่มขันคู่ ตัวอยางที่ 17 th A4 P4th โครมาติดแอฟโพรช A4th

th โครมาติดแอฟโพรช A4th th P4 P4 กกกกกกกกห้องที 101102 ผู้บรรเลงสร้างแนวทํานองทีเกิดจากขันคู่ 5 เพอร์เฟคท์ขาขึน ตัวอยางที่ 18 P5th

P5th P5th

26

กกกกกกกกห้องที 109112 ผู้บรรเลงสร้างแนวทํานองทีเกิดจากขันคู่ 4 เพอร์เฟคท์ขาลงและ คู่ 7 ไมเนอร์ขาขึน

ตัวอยางที่ 19 m7th m7th

th th th m7 P4th m7 P4 m7th

th P4th P4 P4th

2.2.2 บีบ๊อพไลน์ (Bebop Line) กกกกกกกกผู้วิจัยพบว่าคริสพอตเตอร์ได้สร้างบีบ๊อพไลน์จากพาสซิงโทน (Passing Tone) โครมาติคเนเบอร์โทนส์ (Chromatic Neighbor Tones) และเอ็นโคลเชอร์(Enclosure)36 เป็น องค์ประกอบในการบรรเลงด้วย กกกกกกกกพาสซิงโทน เป็นการเล่นโน้ตในสเกลโครมาติคเพือทีจะเข้าสู่โน้ตเป้าหมาย ตัวอยางที่ 20 ตัวอยางโน้ตพาสซิงโทน่

กกกกกกกกโครมาติคเนเบอร์โทน เป็นการเล่นโน้ตตํากวาครึงเสียงก่ ่อนเล่นโน้ตเป้าหมาย หรือสูง กวาครึงเสียงก่ ่อนเล่นโน้ตเป้าหมาย ตัวอยางที่ 21 ตัวอยางโน้ตโครมาติคเนเบอร์โทน่

กกกกกกกกเอ็นโคลเชอร์ เป็นการเล่นโน้ตสูงกวาและตํากว่ าครึงเสียงก่ ่อนเล่นโน้ตเป้าหมาย หรือ เล่น โน้ตสูงกวาครึงเสียงและตํากว่ าหนึงเสียงแล้วใช้พาสซิงโทนเข้าหาโน้ตเป้าหมาย่

กกกกกกกก36 David Baker, How to Play Bebop 1, (n.p., Alfred Music, 2006), 7.

27

ตัวอยา่ งที 22 ตัวอยางโน้ตเอ็นโคลเชอร์แบบที่ 1

ตัวอยางที่ 23 ตัวอยางโน้ตเอ็นโคลเชอร์่ แบบที 2

กกกกกกกกในบทดพลง Star Eyes ห้องที 105 มีลักษณะการใช้เอ็นโคลเชอร์37 ได้แก่โน้ต Cb, Ab และ A ตัวอยางที่ 24 En.

กกกกกกกกในบทเพลง Body and Soul ห้องที 4648 มีลักษณะการใช้โครมาติคเนเบอร์โทน38 ได้แก่โน้ต B, Eb, G#, A#, G# และ F# และการใช้เอ็นโคลเชอร์ได้แก่โน้ต G#FF#, GEF, F# D#E, FDD# และ ED ตัวอยางที่ 25

Chr.T. Chr.T. Chr.T. Chr.T. Chr.T. Chr.T.

En. En. En. En. En.

กกกกกกกก37 คําวา่ เอ็นโคลเชอร์ ผู้ศึกษาได้ใช้อักษรยอ่ En. แทนในตัวอยางประกอบ่ กกกกกกกก38คําว า่ โครมาติคเนเบอร์โทน ผู้ศึกษาได้ใช้อักษรยอ่ Chr.T. แทนในตัวอยางประกอบ่

28

กกกกกกกกในบทเพลง The Source ห้องที 9799 มีลักษณะการใช้โครมาติคเนเบอร์โทนได้แก่โน้ต G และ F การใช้พาสซิงโทน39ได้แก ่โน้ต A#, C# และ A# ตัวอยางที่ 26 P.T. Chr.T. P. P.T.

Chr.T.

2.2.3 อาร์เปโจ (Arpeggio) กกกกกกกกผู้ศึกษาพบว่านอกเหนือจากการทีผู้บรรเลงใช้อาร์เปโจตามชือคอร์ดแล้ว ส่วนใหญ่ ผู้บรรเลงสร้างแนวทํานองจากอาร์เปจิโอทีไม่ตรงกับชือคอร์ดอีกด้วย เพือขยายแนวทํานอง ทีแตกต่างออกไปจากคอร์ดเดิม ยกตัวอยางอย่ างเช่ ่น ตัวอยางที่ 27 การใช้อาร์เปโจทีตรงกบชือคอร์ดั กกกกกกกกในห้องแรกบนคอร์ด Dm7 ใช้ Dm7 อาร์เปโจ และในห้องทีสองบนคอร์ด G7 ใช้ G7 อาร์เปโจ

Dm7 อาร์เปโจ G7 อาร์เปโจ

กกกกกกกกในบทเพลง Body and Soul ห้องที 32 บนคอร์ด Dmaj7 ผู้บรรเลงใช้ Dmaj7 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต D, F#, A และ C# ตัวอยางที่ 28

Dmaj7 อาร์เปโจ

กกกกกกกกในบทเพลง Star Eyes ห้องที 58 บนคอร์ด Dbmaj7 ผู้บรรเลงใช้ Dbmaj7 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต Db, F, Ab และ C

กกกกกกกก39 คําวา่ พาสซิงโทน ผู้ศึกษาได้ใช้อักษรยอ่ P.T. แทนในตัวอยางประกอบ่

29

ตัวอยา่ งที 29 Dbmaj7 อาร์เปโจ

กกกกกกกกในบทเพลง The Source ห้องที 86 บนคอร์ด D7 ผู้บรรเลงใช้ D7 อาร์เปโจ ซึงประกอบ ด้วยโน้ต D, F#, A และ C ตัวอยางที่ 30

D7 อาร์เปโจ ตัวอยางที่ 31 การใช้อาร์เปโจทีไม่ตรงกบชือคอร์ดั กกกกกกกกในห้องแรกบนคอร์ด Dm7 ใช้ Fmaj7 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต F, A, C และ E และ ในห้องทีสองบนคอร์ด G7 ใช้ Bm7b5 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต B, D, F และ A

Fmaj7 อาร์เปโจ Bm7b5 อาร์เปโจ

กกกกกกกกในบทเพลง Star Eyes ห้องที 56 บนคอร์ด Ebmaj7 ผู้บรรเลงใช้ Gm อาร์เปโจ ซึงประกอบ ด้วยโน้ต G, Bb และ D ตัวอยางที่ 32

Gm อาร์เปโจ

กกกกกกกกในห้องที 69 บนคอร์ด Cb7Bb7 ผู้บรรเลงใช้ Bb7b9 อาร์เปโจซึงประกอบด้วยโน้ต Bb, D, F, Ab และCb ในห้องที70บนคอร์ด Abmaj7 ใช้ Cm อาร์เปโจซึงประกอบด้วยโน้ต C, Eb และ G

30

ตัวอยา่ งที 33

Bb7b9 อาร์เปโจ Cm อาร์เปโจ

กกกกกกกกในห้องที 101 บนคอร์ด Ebm7 ผู้บรรเลงใช้ Gbmaj9 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต Gb, Bb, Db, F และ Ab ในห้องที 102 บนคอร์ด Gm7 ผู้บรรเลงใช้ Gdim อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต G, Bb และ Db ตัวอยางที่ 34

Gdimอาร์เปโจ Gbmaj9อาร์เปโจ กกกกกกกกในบทเพลง Body and Soul ห้องที 18 บนคอร์ด Ebm7 ผู้บรรเลงใช้ Bbm7 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต Bb, Db, F และ Ab ตัวอยางที่ 35

Bbm7 อาร์เปโจ

กกกกกกกกในห้องที 33 บนคอร์ด Em7 ผู้บรรเลงใช้ Dmaj7 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต D, F#, A และ C# ตัวอยางที่ 36

Dmaj7 อาร์เปจิโอ กกกกกกกกในห้องที 52 บนคอร์ด Dbmaj7 ผู้บรรเลงใช้ Ab อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต Ab, C และ Eb ส่วน Fm อาร์เปโจประกอบด้วยโน้ต F, Ab และ C ในห้องที 53 บนคอร์ด Gb7 ผู้บรรเลงใช้

31

Ab อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต Ab, C และ Eb ในห้องที 54 บนคอร์ด Fm7 ผู้บรรเลงใช้ FmMaj9 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต F, Ab, C, E และ G ตัวอยางที่ 37

Ab อาร์เปโจ Fm FmMaj9 อาร์เปโจ อาร์เปโจ Ab อาร์เปโจ

กกกกกกกกในบทเพลง The Source ห้องที 81 บนคอร์ด E7 ผู้บรรเลงใช้ Dmaj7#5 อาร์เปโจ ซึง ประกอบด้วยโน้ต D, F#, A# และ C# ตัวอยางที่ 38

Dmaj7#5 อาร์เปโจ

กกกกกกกกห้องที 122 บนคอร์ด D7 ผู้บรรเลงใช้ Am อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต A, C และ E ในห้องที 123 บนคอร์ด B7 ผู้บรรเลงใช้ F#m7 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต F#, A, C# และ E ตัวอยางที่ 39

Am อาร์เปโจ F#m7 อาร์เปโจ

กกกกกกกกในห้องที 127 บนคอร์ด B7 ผู้บรรเลงใช้ G#m7 อาร์เปโจ ซึงประกอบด้วยโน้ต G#, B, D# และ F ตัวอยางที่ 40

G#m7 อาร์เปโจ

32

2.3 จังหวะ 2.3.1 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ (Rhythmic Displacement) กกกกกกกกผู้บรรเลงใช้ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์เพือพัฒนาแนวทํานอง โดยการเล่นจังหวะของโมทีฟ (Motive) แล้วเลือนจังหวะในโมทีฟนันไปยังจังหวะต่างๆกนั ยกตัวอยางเช่ ่น ตัวอยางที่ 41 การใช้ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์แบบที 1

โมทีฟ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ กกกกกกกก ทังนีการใช้ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์สามารถลดหรือขยายโมทีฟได้โดยไม่เสียรูป ของโมทีฟ ยกตัวอยางเช่ ่น ตัวอยางที่ 42 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์แบบที 2

โมทีฟ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ลดโมทีฟ) ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ขยายโมทีฟ) กกกกกกกกในบทเพลง Star Eyes ห้องที 58 ผู้บรรลงใช้เป็นโมทีฟที 1 แล้วได้ใช้ริทึมมิคดิสเพลส เมนท์ พัฒนาต่อไปจนถึงห้องที 62 โดยทีระหวางการใช้่ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ผู้บรรเลงลดจังหวะ โมทีฟหลักอีกด้วย ตัวอยางที่ 43 โมทีฟที 1

ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ลดโมทีฟ)

ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ลดโมทีฟ) ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ลดโมทีฟ) ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ลดโมทีฟ)

กกกกกกกกในบทเพลง Body and Soul ห้องที 27 ผู้บรรเลงใช้เป็นโมทีฟที 2 แล้วได้พัฒนาพร้อม กบลดและขยายโมทีฟตั ่อไปจนถึงห้องที 29

33

ตัวอยา่ งที 44

โมทีฟที 2 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์

ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ลดโมทีฟ) ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ขยายโมทีฟ) กกกกกกกกในบทเพลง The Source ห้องที 74 ผู้บรรเลงใช้เป็นโมทีฟที 3 แล้วได้พัฒนาพร้อมกบั ขยายโมทีฟต่อไปจนถึงห้องที 79 ในขณะเดียวกนผู้บรรเลงใช้ั โมทีฟทีถูกพัฒนาแล้วในห้องที 79 เป็น โมทีฟที 4 แล้วพัฒนาต่อไปจนถึงห้องที 82

ตัวอยางที่ 45 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ โมทีฟที 3

ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ โมทีฟที 4

ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ขยายโมทีฟ) ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ขยายโมทีฟ) ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ขยายโมทีฟ)

กกกกกกกกห้องที 90 ผู้บรรเลงใช้เป็นโมทีฟที 5 แล้วได้พัฒนาต่อไปพร้อมกบขยายและลดโมทีฟั ถึงห้องที 95 ตัวอยางที่ 46

โมทีฟที 5 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ลดโมทีฟ)

ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ขยายโมทีฟ)) ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ขยายโมทีฟ)

34

กกกกกกกกห้องที 147 ผู้บรรเลงใช้เป็นโมทีฟที 6 แล้วได้พัฒนาต่อไปพร้อมกบขยายและลดโมทีฟั

ถึงห้องที 156 ตัวอยางที่ 47 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์

โมทีฟที 6 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ขยายโมทีฟ) ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์

ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์

ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์(ขยายโมทีฟ) ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์

2.3.2 ริทึมมิครีพีททิชัน (Rhythmic Repetition) กกกกกกกกริทึมมิครีพีททิชัน เป็นการเล่นจังหวะของโมทีฟซํากนั โดยทีโน้ตในโมทีฟอาจจะ เปลียนแปลงได้ ยกตัวอยางเช่ ่น ตัวอยางที่ 48 การใช้ริทึมมิครีพีททิชัน

โมทีฟ ริทึมมิครีพีททิชัน ริทึมมิครีพีททิชัน

กกกกกกกกในบทเพลง Star Eyes ห้องที 106 ผู้บรรเลงใช้เป็นโมทีฟที 1 แล้วได้ใช้ริทึมมิค รีพีททิชัน ถึงห้องที 108 ตัวอยางที่ 49

โมทีฟที 1 ริทึมมิครีพีททิชัน ริทึมมิครีพีททิชัน

35

กกกกกกกกในห้องที 120 ผู้บรรเลงใช้เป็นโมทีฟที 2 แล้วได้ใช้ริทึมมิครีพีททิชันถึงห้องที 70 ตัวอยางที่ 50

โมทีฟที 2 ริทึมมิครีพีททิชัน

กกกกกกกกในบทเพลง Body and Soul ห้องที 36 ผู้บรรเลงใช้เป็นโมทีฟที 3 แล้วได้ใช้ริทึมมิค รีพีททิชันถึงห้องที 38 ตัวอยางที่ 51

โมทีฟที 3

ริทึมมิครีพีททิชัน ริทึมมิครีพีททิชัน

กกกกกกกกในบทเพลง The Source ห้องที 86 ผู้บรรเลงใช้เป็นโมทีฟที 4 แล้วได้ใช้ริทึมมิค รีพีททิชัน ถึงห้องที 88 ตัวอยางที่ 52

โมทีฟที 4 ริทึมมิครีพีททิชัน ริทึมมิครีพีททิชัน

36

บทที 4 สรุปผลการศึกษา

กกกกกกกกจากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณในบทเพลงทังสามบทเพลงของ คริส พอตเตอร์ ทําให้ผู้ศึกษา ได้ทราบถึงหลักในการบรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ถึงเรืองการใช้ แนวเสียงประสาน แนว ทํานองและรูปแบบจังหวะ ผู้ศึกษาได้นําเอาสิงทีได้จากการวิเคราะห์มา สรุปในบทนีโดยผู้ศึกษาได้ แบ่งหัวข้อออกเป็นสามหัวข้อ ตามหัวข้อของบทวิเคราะห์ในบทที 3 ดังนี 1. เสียงประสาน 2. ทํานอง 3. จังหวะ

1. เสียงประสาน 1.1 ไตรโทนซับส์ทิติวชัน กกกกกกกกไตรโทนซับส์ทิติวชัน ถือได้วาเป็นภาษาแจ๊สโดยเริ่ มมาจากยุคบีบ๊อบ เป็นการขยายเสียง ประสานบนทางเดินคอร์ดซึงส่วนใหญ่เกิดขึนบนคอร์ดโดมินันท์บนทางเดินคอร์ด VI, IIVI เป็น ต้น จากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์นันมีการใช้ไตรโทนซับส์ทิติวชันในลักษณะของ อาร์เปโจและสเกล โดยการใช้อาร์เปโจนัน ใช้ตามชือคอร์ดไตรโทนซับส์ทิติวชัน และการใช้สเกล บน คอร์ดไตรโทนซับซิติวชัน ได้แก่สเกล Mixolydian, Major Pentatonic และ Lydian Dominant 1.2 คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน กกกกกกกกคอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน เป็นการเปลียนแปลงคุณภาพคอร์ด ซึงนิยมใช้ในขณะทีไม่มี เครืองคอร์ดร่วมบรรเลง เนืองจากสามารถทีจะเปลียนแปลงคุณภาพของคอร์ดได้โดยไม่มีแนวเสียง ประสานอืนมาจํากดั ทําให้เกิดเสียงของคอร์ดทีแต่งต่างออกไปจากคอร์ดเดิม จากการวิเคราะห์คีต ปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์นันมีการเปลียนแปลงคุณภาพคอร์ดจากคอร์ด Major7 เป็นคอร์ด Dominant7 ซึงการใช้สเกลบนคอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชันได้แก่สเกล Mixolydian และLydian Dominant 1.3 ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์ กกกกกกกกฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์ เป็นการเลือนแนวเสียงประสานหรือคอร์ดออกไป ทําให้เกิดแนว เสียงประสานทีกระด้างบนแนวเสียงประสานเดิม จากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์นันมีการใช้ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์ โดยขยับทางเดินคอร์ดออกไปหนึงจังหวะ แล้วบรรเลงด้วย อาร์เปโจของแต่ละคอร์ด

37

1.4 ลองคอร์ดซับส์ทิติวชัน กกกกกกกกลองคอร์ดซับส์ทิติวชัน คือการคิดคอร์ดใดคอร์ดหนึงบนทางเดินคอร์ดแทนทีคอร์ด ทังหมด เพือทีจะสามารถขยายแนวเสียงประสานออกไปได้มากขึน ซึงจะเกิดบนทางเดินคอร์ดทีอยู่ บนบันได เสียงเดียวกนั จากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์นันมีการใช้คอร์ด โดมินันท์ แทนทีบน ทางเดินคอร์ดในบันเสียงเดียวกนั ซึงการใช้สเกลบนคอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน ได้แก่สเกล Altered 1.5 ไซด์สลิปปิง กกกกกกกกไซด์สลิปปิง เป็นเทคนิคทีใช้กนั อยางแพร่ ่หลายทังในลักษณะการบรรเลงประกอบ และ การโซโล ทังนีเพือทําให้เกิดการเคลือนทีของแนวเสียงประสานก่อนทีจะคลีคลายกลับเข้ามา สู่บันได เสียงเดิม จากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์นันมีการใช้ไซด์สลิปปิงทังใน ลักษณะที สูงขึน และตําลงครึงเสียงก่อนทีจะกลับเข้ามาสู่บันไดเสียงเดิม และใช้สเกล Major และ Major Pentatonic ในการบรรเลง กกกกกกกกการใช้เสียงประสานในหัวข้อต่างๆนัน ทําให้เกิดลักษณะของเสียงทีแตกต่างออกไปจาก แนว ประเสียงประสานเดิม ซึงหัวข้อของลองคอร์ดซับส์ทิติวชันนั นเป็นวิธีคิดแบบคอร์ดเดียวซึงส่วน ใหญ่ จะคิดในคอร์ดโดมินันท์เป็นหลักเพือทีจะใช้เสียงประสานได้หลากหลาย และหัวข้อของไตร โทนซับส์ ทิติวชัน คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน ฮาร์โมนิคดิสเพลสเมนท์ และไซด์สลิปปิง เป็นเรือง ของโครมาติค ฮาร์โมนีส์ (Chromatic Harmonies) การใช้เสียงประสานของ คริส พอตเตอร์นัน ไม่ได้ ใช้ทีละหัวข้อใน การบรรเลง แต่ประยุกต์หัวข้อต่างๆเข้าด้วยกนั ทังนีทําให้เกิดแนวเสียงประสานที หลากหลายมากขึน

38

ตัวอย า่ งที 1 ลักษณะการประยุกต์เสียงประสานต่างๆของ คริส พอตเตอร์

ทางเดินคอร์ดแบบเดิม

ไตรโทนซับส์ทิติวชัน

ทางคอร์ดแบบเดิม + ไตรโทนซับส์ทิติวชัน

คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน + คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชัน

ลองคอร์ดซับส์ทิติวชัน + ไตรโทนซับส์ทิติวชัน

ไตรโทนซับส์ทิติวชัน + ไซด์สลิปปิง

ลองคอร์ดซับส์ทิติวชัน + คอร์ดควอลิติซับส์ทิติวชั น

2 ทํานอง 2.1 ขันคู่ กกกกกกกก ขันคู่มีหลายรูปแบบมาก แต่ขันคู่ทีพบจากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ นันได้แก่ ขันคู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 4 เพอร์เฟคท์ คู่ 4 ออกเมนเต๊ด คู่ 5 เพอร์เฟคท์และ คู่ 7 ไม เนอร์ โดยทีคริส พอตเตอร์ได้ใช้ขันคู่แบบเดียวได้แก่ คู่ 5 เพอร์เฟคท์ และขันคู่หลายแบบเข้าด้วยกนั ได้แก่ กกกกกกกกแบบที 1 ขันคู่ 5 เพอร์เฟคท์ขาขึน คู่ 3 ไมเนอร์ขาลง และคู่ 5 เพอร์เฟคท์ขาขึน กกกกกกกกแบบที 2 ขันคู่ 5 เพอร์เฟคท์ขาขึนและ คู่ 3 เมเจอร์ขาลง กกกกกกกกแบบที 3 ขันคู่ 4 เพอร์เฟคท์ขาขึนและ คู่ 4 ออกเมนเต๊ดขาลง กกกกกกกก แบบที 4 ขันคู่ 4 เพอร์เฟคท์ขาลงและ คู่ 7 ไมเนอร์ขาขึน กกกกกกกกลักษณะในการใช้ขันคู่ทําให้เกิดเชพส์ (Shapes) ทีต่างกนด้วยั ซึงทําให้เกิดคุณลักษณะ ของ เสียงทีต่างกนั ขันคู่ทีคริส พอตเตอร์ใช้นันเป็นการใช้ขันคู่ทีมีระยะห่างกนั จึงทําให้เกิดเชพส์ทีมี

39

รูป ร่างกระโดด ซึงจะทําให้เกิดคุณลักษณะของเสียงทีกระด้าง ส่วนการใช้ขันคู่ทีมีระยะใกล้เคียงกนั จะ ทําให้เกิดเชพทีมีรูปร่างไม่กระโดด ซึงจะทําให้เกิดคุณลักษณะของเสียงทีไม่กระด้าง 2.2 บีบ๊อพไลน์ กกกกกกกกบีบ๊อพไลน์เป็นภาษาแจ๊สทีเริมมาจากยุคบีบ๊อพทีประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ อาทิ เช่น สเกลโครมาติคหรือสเกลบีบ๊อพ เป็นต้น จากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์นัน พบว่า องค์ประกอบในการสร้างบีบ๊อพไลน์ได้แก่ พาสซิงโทน โครมาติคเนเบอร์โทนส์ และเอ็นโคลเชอร์ 2.3 อาร์เปโจ กกกกกกกกการสร้างทํานองจากอาร์เปโจกั หอสม สามารถสร้างได้ทัุดกล งอาร์เปโจตามชือคอร์ด และ ไม่ตามชือคอร์ด จากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของสำน คริส พอตเตอร์นัาง นพบวามีการสร้างทํานองจากอาร์่ เปโจทัง สองลักษณะ ซึงการสร้างอาร์เปโจทีไม ่ตามชือคอร์ดนัน มีทังอาร์เปโจทียังอยูในบันไดเสียง่ เดียวกนั กบคอร์ดเดิมั และอาร์เปโจทีมีโน้ตตัวที 1 เป็นโน้ตตัวเดียวกนกั บคอร์ดเดิมั แล้วเปลียนโน้ต เพียงบาง ตัวในคอร์ด ซึงผู้ศึกษาพบว่า คริส พอตเตอร์นันใช้อาร์เปโจทีไม่ตามชือคอร์ดเป็นหลักใน การบรรเลง

3. จังหวะ 3.1 ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ กกกกกกกกริทึมมิคดิสเพลสเมนท์ เป็นการบรรเลงโมทีฟเดิมแต่เริมบรรเลงในจังหวะทีต่างกนั ทังนี ยังสามารถทีจะขยายหรือลดโมทีฟได้ จากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ นันพบวาการ่ ใช้ริทึมมิคดิสเพลสเมนท์มีทังลักษณะการขยาย และลดโมทีฟ ซึงสามารถบรรเลง ได้โดยไม่เสีย ลักษณะโมทีฟ ส่วนใหญ่จะพบในเพลง The Source เป็นหลัก 3.2 ริทึมมิครีพิททิชัน กกกกกกกกริทึมมิครีพิททิชัน เป็นการเล่นโมทีฟซําในจังหวะเดิม และนิยมใช้ในอัตราความเร็วใน ระดับ กลางไปจนถึงระดับทีเร็วไม่มาก จากการวิเคราะห์คีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์นันพบว่า การใช้ริทึมมิครีพิททิชันเก ิดขึนบนทังสามบทเพลงทีมีอัตราความเร็วต่างกนั เพลง Body and Soul มี อัตราความเร็ว100 bpm เพลง Star Eyes มีอัตราความเร็ว 170 bpm และเพลง The Source มีอัตรา ความเร็ว 200 bpm อีกทังยังมีการเปลียนแปลงโน้ตของในแต่ละโมทีฟอีกด้วย

กกกกกกกกความรู้ทีได้จากการวิเคราะห์การบรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์นัน เป็นความรู้ที สามารถพบได้จากการบรรเลงคีตปฏิภาณของนักดนตรีแจ๊สคนอืนๆด้วย อาทิเช่น ไมเคิล เบรคเกอร์

40

เคิร์ท โรเซนวินเคล เป็นต้น เนืองจากเป็นความรู้ทีเป็นส่วนหนึงในการศึกษาการบรรเลงคีตปฏิภาณ ในดนตรีแจ๊ส ดังจะเห็นได้จากการทีมีหนังสือ นิตยสาร และสือการสอนต่างๆได้มีการกล่าวถึง ความรู้เหล่านี กกกกกกกกจากการศึกษาประวัติศาสตร์ดนตรีแจ๊สพบว่า ความรู้ต่างๆในการนํามาใช้บรรเลง คีตปฏิภาณนันเกิดจากการพัฒนาดนตรีแจ๊สในแต่ละยุคสมัยโดยนักดนตรีทีมีความสามารถ อาทิเช่น โคลแมน ฮอว์คินส์ ชาร์ลี พาร์คเกอร์ และจอห์น โคลเทรน เป็นต้น ซึงบุคคลเหล่านี มีอิทธิพลอยางมากต่ ่อคริส พอตเตอร์ในเรืองของรูปแบบดนตรีแจ๊สและการบรรเลงคีตปฏิภาณ คริส พอตเตอร์สามารถนําความรู้ เรืองต่างๆมาประยุกต์ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วจนเกิดเป็ น เอกลักษณ์ของตัวเอง ทังในเรืองของเสียงหอส ประสานทีมีการสร้างเสียงทีมีทัมุดกล งความกระด้างของ โครมาติคฮาร์โมนีส์ และเสียงทีเป็นลักษณะของสำนกั แนวเสียงประสานแบบเดิมาง เรืองของทํานองที สร้างจากบีบ๊อพไลน์ทีเป็นภาษาแจ๊สในยุคบีบ๊อพ อาร์เปโจ และขันคู่ทีให้คุณลักษณะของเสียงต่างๆ แต่ทีเด่นชัดทีสุดคือจังหวะ โดยทีสามารถ สร้างแนว ทํานองจากเสียงประสานต่างๆบนจังหวะที หลากหลายได้อย่างมีอิสระ อีกทังสําเนียง ในการบรรเลงของ คริส พอตเตอร์นันเป็นอีกหนึง เรืองทีทําให้เกิดเอกลักษณ์เฉพาะตัวขึน ซึงมีการใช้สําเนียงในการบรรเลงบนจังหวะต่างๆ ทําให้ รู้สึกถึงการเคลือนไหวของโมทีฟและประโยค เพลงอย่างชัดเจน โดยมีการบรรเลงทีมีความเบา และความดัง ความสันและความยาว (Articulation) กกกกกกกกสําหรับผู้ทีต้องการทีจะศึกษาเรียนรู้เกียวกบั การบรรเลงคีตปฏิภาณของ คริส พอตเตอร์ นัน สามารถนําสิงทีผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ไปใช้ในการบรรเลงของตนได้ โดยทีสามารถนําเรืองต่างๆมา ประยุกต์ร่วมกนเพือให้เกั ิดการพัฒนาในการบรรเลงคีตปฏิภาณต่อไป

41

รายการอ้างอิง

อนันต์ ลือประดิษฐ์. นิว ออร์ลีนส์ แจ๊ส. เข้าถึงเมือวันที 5 มกราคม 2555. เข้าถึงได้จาก http://www. oknation.net/blog/rakmusic/2008/07/31/entry1 ณัชชา โสคติยานุรักษ์. พจนานุกรม ศัพท์ดุริยางคศิลป์ . กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.

อนันต์ ลือประดิษฐ์. Jazz อิสรภาพทางดนตรีของมนุษยชาติ. กรุงเทพมหานคร: เนชัน, 2545. Charles Buddy Bolden. Accessed Febuary 20,ม 2012. Available from http://ebonyachievement.4t ำนกั หอส ุดกลาง .com/photo4.html ส Charlie Parker. Accessed Febuary 20, 2012. Available from http://jazzinphoto.wordpress.com/ category/charlieparker/ Macleod, John. Chris Potter.Accessed January 21, 2012. Available from http://www.sunny siderecords.com/artist.php?id=188 Cerra, Steven. Chris Potter:A Saxophonist With His Own Voice. Accessed January 25, 2012. Available from http://jazzprofiles.blogspot.com/2011/08/chrispottersaxophonistwithhis own.html Liebman, David. A Chromatic Approach to Jazz Harmony and Melody. Rottenburg: Advance Music, 2001 Coleman Hawkins. Accessed Febuary 20, 2012. Available from http://jazzinphoto.wordpress.com/ category/colemanhawkins/ Panken, Ted. “Part of the Pantheon.” Downbeat, (October 2008): 31. Potter, Chris: Gratitude [CD]. Verve,2001 Crook, Hal. How to Improvise an Approach to Practicing Improvisation. Rottenburg: Advance Music, 1991. Baker, David. How to Play Bebop 1. n.p.: Alfred Music, 1988.

______. How to Play Bebop 2. n.p.: Alfred Music, 2006.

42

Reich, Howard. In Age of Downloads CD Still Reigns. Accessed January 10, 2012. Available from http://articles.chicagotribune.com/20071216/news/0712140429_1_terence blanchardmarsalismusicjazz Adler, David R. “The Potter Principle.” Jazztimes, (March 2006): 56. Levine, Mark. The Jazz Theory Book. California: Sher Music,1995 Lawn, Richard and Jeffrey Hellmer. Jazz Theory and Practice. n.p.: Alfred Music, 1996. John Coltrane. Accessed Febuary 20, 2012. Available from http://jazzinphoto.wordpress.com/ category/johncoltrane/ Gelly, Dave. Masters of Jazz Saxophoneกั หอ. สLondon:มุด Aก Balafonล Book, 2000. Pongsiri Kajornvaekin. ส“Aำ Methodน to Approach Jazz Guitarาง In The Styles of Kurt Rosenwinkel, Ben Monder and Gilad Hekselman.” M.A. music performance, College of Music, Mahidol University, 2001. Moving In. Accessed Febuary 20, 2012. Available from http://www.amazon.com/MovingChris Potter/dp/B0000006Q4 Baker, David. Musicians Charlie Parker. Accessed Febuary 3, 2012. Available from http://www. jazzinamerica.org/JazzResources/MusiciansDetail/479/True Baker, David. Musicians John Coltrane. Accessed Febuary 3, 2012. Available from http://www. jazzinamerica.org/JazzResources/MusiciansDetail/482/True Cook, Richard, and Brian Morton. Penguin Guide to Jazz on CD. 6th ed. London: Penguin Books, 2002. Poul Desmond. Accessed Febuary 20, 2012. Available from http://jazzinphoto.wordpress.com/ category/pouldesmond/ Press Photos. Accessed Febuary 20, 2012. Available from http://www.chrispottermusic.com/ gallery.aspx Baker, David. The Return to the Hot:Hard Bop and Funky. Accessed Febuary 3, 2012. Available from. Available from http://www.jazzinamerica.org/JazzResources/ StyleSheets/12 Baker, David. Style Sheet Bebop. Accessed Febuary 3, 2012. Available from http://www.jazzin america.org/JazzResources/StyleSheets/10

43

Baker, David. Style Sheet Cool. Accessed Febuary 3, 2012. Available from http://www.jazzin america.org/JazzResources/StyleSheets/11 Two Against Nature. Accessed Febuary 20, 2012. Available from http://www.amazon.com/Two AgainstNatureSteelyDan/dp/B00004GOXS Potter, Chris: Gratitude [CD]. Verve,2001

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาคผนวก

45

เพลง Body and Soul

46

47

48

เพลง Star Eyes

49

50

51

52

เพลง The Source

53

54

55

56

ประวัติผ้วู ิจัย

ชือ – สกุล นายจารุ ลิมศิลา ทีอยู ่ 220/28 หมู่ 5 แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม จังหวัดกรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2549 สําเร็จการศึกษาศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาดุริยางคศาสตร์สากล คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร พ.ศ. 2552 ศึกษาต่อระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร