Abjection in Art
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
แอ็บเจ็คชันในศิลปะ โดย นายพลวัชร์ เบี้ยวไข่มุข วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทฤษฎีศิลป์ แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2561 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร แอ็บเจ็คชันในศิลปะ โดย นายพลวัชร์ เบี้ยวไข่มุข วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทฤษฎีศิลป์ แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2561 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ABJECTION IN ART By MR. Polwach BEOKHAIMOOK A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for Master of Fine Arts (Art Theory) Department of Art Theory Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2018 Copyright of Graduate School, Silpakorn University หัวข้อ แอ็บเจ็คชันในศิลปะ โดย พลวัชร์ เบี้ยวไข่มุข สาขาวิชา ทฤษฎีศิลป์ แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก อาจารย์ ดร. ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับพิจารณาอนุมัติให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (รองศาสตราจารย์ ดร.จุไรรัตน์ นันทานิช) พิจารณาเห็นชอบโดย ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย์ สุธี คุณาวิชยานนท์ ) อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก (อาจารย์ ดร. ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ ) ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (อาจารย์ ดร. ธัชธรรม ศิลป์สุพรรณ ) 4 ง บทคัดย่อภาษาไทย 57005212 : ทฤษฎีศิลป์ แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต ค าส าคัญ : แอ็บเจ็คชัน, ประวัติศาสตร์ศิลปะ, ศิลปะสมัยใหม่, ศิลปะหลังสมัยใหม่, ศิลปะร่วมสมัย นาย พลวัชร์ เบี้ยวไข่มุข: แอ็บเจ็คชันในศิลปะ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : อาจารย์ ดร. ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งน าเสนอความเป็นแอ็บเจ็คชัน (abjection) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่พัฒนา โดยนักปรัญชาและนักจิตวิเคราะห์ จูเลีย คริสเทวา (Julia Kristeva) ที่มีในศิลปะ โดยท าการศึกษา สืบค้น และวิเคราะห์ผลงานศิลปะต่างๆที่มีความเป็นแอ็บเจ็คชันหรือมีเนื้อหาเชื่อมโยงถึงความเป็น แอ็บเจ็คชันตั้งแต่ช่วงเวลาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 จวบจนถึงช่วงเวลาปัจจุบัน ผลการศึกษา สืบค้น และวิเคราะห์พบว่าความเป็นแอ็บเจ็คชันในศิลปะเริ่มปรากฏเค้าโครงมาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 21 และมีความชัดเจนมากขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และยิ่งทวีความชัดเจนมากขึ้นไป อีกในช่วงเวลาหลังสมัยใหม่นับตั้งแต่ช่วงเวลาคริสต์ทศวรรษ 1950 และเป็นที่ชัดเจนแพร่หลายมาก ที่สุดในคริสต์ทศวรรษ 1990 ซึ่งความเป็นแอ็บเจ็คชันในผลงานศิลปะเหล่านี้สามารถถูกพบได้ผ่าน เนื้อหาที่เกี่ยวกับร่างกายที่ถูกคุกคาม ของเสีย/ของเหลวของร่างกาย สตรีเพศและความเป็นแม่ ร่างกายชายขอบ และอาหาร ซึ่งถูกแสดงออกผ่านรูปแบบสื่อศิลปะประเภทต่างๆในบริบทที่น่าสังเวช โดยความเป็นแอ็บเจ็คชันในศิลปะและผลงานศิลปะเหล่านี้สามารถน าไปใช้เป็นแนวทางในการต่อยอด ศึกษาทฤษฎีหรือศาสตร์แขนงอื่นๆทั้งในและนอกขอบเขตศิลปะได้ จ บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 57005212 : Major (Art Theory) Keyword : abjection, art history, modern art, postmodern art, contemporary art MR. POLWACH BEOKHAIMOOK : ABJECTION IN ART THESIS ADVISOR : PARAMAPORN SIRIKULCHAYANONT, Ph.D. This thesis aims to present abjection, which is a theory developed by philosopher and psychoanalyst Julia Kristeva, in art. It focuses on a study, research, and analyses of works of art containing or revolving around aspects of abjection in the pre-WWI days until the present. The study, the research, and the analyses show that abjection in art began to appear before the 21st century, became more evident in the period after the WWII, became obvious in the postmodern days since the 1950s, and reached its peak in the 1990s. The quality of abjection in these works of art are found through the contents about threatened bodies, bodily wastes/fluids, feminism and maternalism, marginal bodies, and food, expressed through various forms of art media in abject contexts. Abjection in art and the works of art can be utilized and adapted for studies of other academic theories or sciences, both inside and outside the scope of art. ฉ กิตติกรรมประกาศ กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีด้วยความกรุณาจากอาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยา นนท์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ รวมไปถึงรองศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ ประธานกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ และอาจารย์ ดร.ธัชธรรม ศิลป์สุพรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สละเวลามาให้ความรู้ คอยแนะน า แนวทาง และให้ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการเขียนวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ให้มีความถูกต้อง และสมบูรณ์ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณด้วยความเคารพอย่างสูง ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ รวมไปถึงภาควิชาอื่นๆในคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรที่กรุณาคอยให้ค าแนะน าและถ่ายทอดความรู้ให้กับ ผู้วิจัยในการเขียนวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ รวมไปถึงเจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัยทุกท่านที่ให้ความกรุณาในการ ด าเนินการด้านเอกสารต่างๆ ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และครอบครัวของผู้วิจัยในการสนับสนุนในทุกๆด้าน คอย เป็นแรงผลักดัน และก าลังใจสู่ความส าเร็จของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ขอขอบพระคุณคุณปาลีพัชร โสภณที่ คอยให้ค าแนะน าและเป็นก าลังใจในการเขียนวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ขอขอบคุณคุณวิศว์ กลับวิเศษและ เพื่อนๆที่ร่วมศึกษาหลักสูตรทฤษฎีศิลป์ทุกคนที่คอยร่วมแรงร่วมใจ ให้ค าแนะน า และฝ่าฟันอุปสรรค ปัญหาต่างๆไปด้วยกัน พลวัชร์ เบี้ยวไข่มุข สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย ............................................................................................................................. ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ....................................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................. ฉ สารบัญ .............................................................................................................................................. ช สารบัญภาพ ..................................................................................................................................... ญ บทที่ 1: บทน า .................................................................................................................................. 1 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา ................................................................................. 1 1.2. ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา....................................................................... 3 1.3. ขอบเขตการศึกษา ................................................................................................................. 3 1.4. ขั้นตอนของการศึกษา ........................................................................................................... 3 1.5. วิธีการศึกษา .......................................................................................................................... 3 1.6. นิยามศัพท์ ............................................................................................................................ 3 บทที่ 2: แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ............................................................................................... 5 2.1. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) และฌาคส์ ลากอง (Jacques Lacan) .................................................................................................................................. 5 2.1.1. ซิกมุนด์ ฟรอยด์ .......................................................................................................... 5 2.1.1.1 ทฤษฎีพัฒนาการความต้องการทางเพศของฟรอยด์ ........................................ 5 2.1.1.2 ทฤษฎีจิตไร้ส านึกของฟรอยด์ ......................................................................... 8 2.1.1.3 ทฤษฎีการรักษาโรคทางจิตแบบการส่งผ่านและความชอกช้ าทางจิตของฟรอยด์ .................................................................................................................... 12 2.1.2. ฌาคส์ ลากอง ........................................................................................................... 14 ช ซ 2.1.2.1 ทฤษฎีพัฒนาการความต้องการทางเพศของลากอง....................................... 14 2.1.2.2 ทฤษฎีโครงสร้างทางจิตของลากอง ............................................................... 19 2.1.2.3 ทฤษฎีความปรารถนาของลากอง ................................................................. 23 2.1.2.4 ทฤษฎีการจ้องมองของลากอง ...................................................................... 25 2.2. ทฤษฎีแอ็บเจ็คชันของคริสเทวา .......................................................................................... 27 2.2.1. แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการความต้องการทางเพศที่พัฒนามาจากลากอง ................... 28 2.2.2. ดิ แอ็บเจ็คท์ ............................................................................................................. 32 2.2.3. แนวคิดเรื่องการผละผู้เป็นมารดาออก ....................................................................... 39 2.3. ทฤษฎีอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ......................................................................................................... 44 2.3.1. ทฤษฎีภาพลักษณ์ในรูปแบบสัตว์ประหลาดของสตรีเพศของโควิโน รุซโซ และเยเกอร์ ................................................................................................................................. 44 2.3.2. ทฤษฎีอินฟอร์ม วัตถุนิยมต่ าช้า และเฮเทอโรจีนัสของบาทายย์ ................................ 46 2.3.3. ทฤษฎีอันแคนนีของเจนช์และฟรอยด์ ....................................................................... 55 2.3.4. ทฤษฎีสัตว์ประหลาดของโคเฮ็น ................................................................................ 58 บทที่ 3: แอ็บเจ็คชันและศิลปะ ........................................................................................................ 61 3.1. ความหมายและนิยามของแอ็บเจ็คชันและดิ แอ็บเจ็คท์ ....................................................... 61 3.2. แอ็บเจ็คชันในงานศิลปะตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ถึงปัจจุบัน ..................................... 62 3.2.1. ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1..........................................................................................