การวิเคราะห์จาแนกปัจจัยเชิงจิตวิทยาในกลุ ่มกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง

สโรชา ตันติไพจิตร

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการก ีฬา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา สิงหาคม 2561 ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยบูรพา

การวจิ ยั น้ีไดร้ ับทุนอุดหนุนวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา คณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬา มหาวทิ ยาลยั บูรพา ประจา ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559

กิตติกรรมประกาศ

วทิ ยานิพนธ์ฉบบั น้ีสา เร็จลุล่วงไดด้ ว้ ยความกรุณาและความช่วยเหลืออยา่ งดียง่ิ จาก ดร.ธรรมนนั ทิกา แจง้ สวา่ ง อาจารยท์ ี่ปรึกษาหลกั ดร.เสกสรรค ์ ทองคา บรรจง และผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร.นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร ที่ได้ใหค้ า ปรึกษาแนะนา ตลอดจนคอยเอาใจใส่ ตรวจสอบขอ้ บกพร่อง ตา่ ง ๆ ใหก้ า ลงั ใจและอบรมช้ีแนะใหผ้ วู้ จิ ยั คิดวิเคราะห์ จนผวู้ จิ ยั สามารถดา เนินการทา วทิ ยานิพนธ์ ฉบบั น้ีเสร็จสมบูรณ์ดว้ ยดี ขอขอบพระคุณ ดร.ชยั รัตน์ ชูสกุล ที่กรุณาสละเวลามาเป็นประธาน กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ พร้อมท้งั กรุณาใหค้ า แนะนา และขอ้ คิดเห็นที่เป็นประโยชน์ตอ่ งานวจิ ยั ขอขอบพระคุณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ พ.ต.อ.หญิง ดร.กญั ญฐ์ ิตา ศรีภา, ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร.วรากร ทรัพยว์ ริ ะปกรณ์, ดร.อาพรรณชนิต ศิริแพทย,์ ดร.เอกรัตน์ ออ่ นนอ้ ม และดร.จิราภรณ์ ชมบุญ ที่ กรุณาสละเวลาเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือ และให้คาแนะน าในการสร้าง เครื่องมือ ผูว้ จิ ยั จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงมา ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณคณาจารยค์ ณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬาทุกทา่ น ที่ไดอ้ บรมส่ังสอน ให้ คาแนะน ามาโดยตลอด จนผู้วิจัยได้นาความรู้มาเป็นแนวทางในการท า วิทยานิพนธ์ ขอขอบคุณคุณพอ่ คุณแม ่ ที่คอยใหก้ า ลงั ใจ ดูแลและสนบั สนุนในทุกดา้ นตลอดมา ขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ ที่คอยช่วยเหลือใหก้ า ลงั ใจอยูเ่ สมอ สุดทา้ ยน้ีคุณคา่ และประโยชน์ของวทิ ยานิพนธ์ฉบบั น้ีผวู้ จิ ยั ขอมอบแด่ บิดา มารดา ครู อาจารย ์ รวมท้งั ผมู้ ีพระคุณทุกท่านที่มีส่วนในการวางรากฐานการศึกษาแก่ผวู้ จิ ยั ตลอดจน ผเู้กี่ยวขอ้ งทุกทา่ นที่กรุณาให้ความช่วยเหลือและเป็นกา ลงั ใจแก่ผวู้ จิ ยั ทา ใหว้ ทิ ยานิพนธ์ฉบบั น้ี สา เร็จลุล่วงดว้ ยดี

สโรชา ตันติไพจิตร

56910123: สาขาวิชา: วทิ ยาศาสตร์การออกกา ลงั กายและการกีฬา; วท.ม. (วทิ ยาศาสตร์การออกกา ลงั กายและการกีฬา) คาส าคัญ : กีฬาที่มีความเสี่ยง/ บุคลิกภาพ/ ทศั นคติ/ การรับรู้ความสามารถของตนเอง/ แรงสนับสนุนทางสังคม สโรชา ตันติไพจิตร: การวิเคราะห์จา แนกปัจจยั เชิงจิตวทิ ยาในกลุ่มกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง (AN ANALYSIS OF DISCRIMINANT OF PSYCHOLOGICAL FACTORS IN HIGH RISK SPORTS) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์: ธรรมนนั ทิกา แจง้ สวา่ ง, วท.ด., เสกสรรค ์ ทองคาบรรจง, วท.ด., นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร, Ph.D. 104 หน้า. ปี พ.ศ. 2561.

การวจิ ยั คร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาความสามารถในการจา แนกของตวั แปรดาน้ บุคลิกภาพ ทศั นคติ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยง ระหวา่ งกลุ่มผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และเพื่อศึกษา เปรียบเทียบความแตกตา่ งดา้ นบุคลิกภาพ ทศั นคติ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และแรง สนับสนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง กลุ่มตวั อยา่ งเป็นผทู้ ี่เลือก และไมเ่ ลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยง อาย ุ 18 ปีข้ึนไป จา นวน 412 คน แบง่ เป็นกีฬาทว่ั ไป 208 คน กีฬาที่มีความเสี่ยง 204 คน เพศชาย 253 คน เพศหญิง 159 คน คดั เลือกโดยพิจารณาเลือกศึกษากบั กลุ่มตวั อยา่ งที่รู้ชดั วา่ เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงโดยไมอ่ ิงความน่าจะเป็น และใชเ้ ทคนิคการเลือกตวั อยา่ งแบบลูกโซ่ โดย เลือกกลุ่มเป้าหมายที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงในขณะเดียวกนั กป็ ระยกุ ตใ์ ชว้ ธิ ีการจบั คูแ่ บบ 1:1 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามจานวน 5 ชุด ประกอบไปด้วย 1) แบบสอบถามขอ้ มูลส่วนบุคคล 2) แบบวดั บุคลิกภาพ 5 องคป์ ระกอบ 3) แบบวดั ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 4) แบบวดั การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 5) แบบวดั แรง สนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง วเิ คราะห์ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ โดยการหาคา่ สถิติ พ้ืนฐาน วิเคราะห์จา แนกกลุ่ม (2 Groups discriminant analysis) และวิเคราะห์ความแปรปรวน พหุคูณสา หรับสองกลุ่ม (2 Groups MANOVA) ผลการวจิ ยั พบวา่ ตวั แปรดา้ นบุคลิกภาพ ทศั นคติ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และ แรงสนับสนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง สามารถจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงออกจากกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดอ้ ยา่ งมีนยั สา คญั ทางสถิติที่ .05 และ บุคลิกภาพ ทศั นคติ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงของกลุ่มที่เลือก และกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีความแตกตา่ งกนั

56910123: MAJOR: EXERCISE AND SPORT SCIENCE; M.Sc. (EXERCISE AND SPORT SCIENCE) KEYWORDS: HIGH RISK SPORTS/ PERSONALITY/ ATTITUDE/ SELF-EFFICACY/ SOCIAL SUPPORT SAROCHA TUNTIPAIJITE: AN ANALYSIS OF DISCRIMINANT OF PSYCHOLOGICAL FACTORS IN HIGH RISK SPORTS. ADVISORY COMMITTEE: DHAMMANANTHIKA JAENGSAWANG, Ph.D., SAKESAN TONGKHAMBANCHONG, Ph.D., NARUEPON VONGJATURAPAT, Ph.D. 104 P. 2018.

The aims of the research are to study the ability for discrimination between personality, attitude, self-efficacy and social support in high risk sports among high risk and non-high risk sports, and to compare personality, attitude, self-efficacy and social support in high risk and non- high risk sports. Participants were selected from athletes who play and who don’t play high risk sports. There were 412 participants who were over 18 years old, including 208 non-high risk sport athletes (n = 208) and 204 high risk sport athletes. They were 253 males and 159 females. The study was conducted with the samples who clearly know high risk and non-high risk sports without probability and the snow ball selection technique was used to the high risk sport group, following the 1:1 match-pair. The 5 questionnaires were used as the instrument of the research for data collection. They consisted of 1) personal information, 2) big five personality, 3) attitude of high risk sports, 4) self-efficacy of playing high risk sports, and 5) social support of high risk sports. The data were analyzed by using 2 Group Discriminant Analysis and 2 Groups MANOVA. The result of the research found that personality, attitude, self-efficacy and social support in choosing to play high risk sports could be classified high risk sports from non-high risk sport athletes and personality, attitude, self-efficacy and social support of high risk sports athletes are statistically significant different (p < .05).

สารบัญ

หน้า บทคดั ยอ่ ภาษาไทย...... จ บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ...... ฉ สารบัญ...... ช สารบัญตาราง...... ฌ สารบัญภาพ...... ฎ บทที่ 1 บทนา...... 1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา...... 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย...... 5 สมมติฐานในการวิจัย...... 6 ขอบเขตการวิจัย...... 6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย...... 7 กรอบแนวคิด...... 7 นิยามศัพท์เฉพาะ...... 8 นิยามเชิงปฏิบัติการ...... 8 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง...... 10 กีฬาที่มีความเสี่ยงสูง...... 10 พฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬา...... 12 ปัจจยั ในการจา แนกพฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง...... 18 งานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง...... 34 3 วิธีดาเนินการวิจัย...... 37 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง...... 37 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย...... 39 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย...... 39 การหาคุณภาพเครื่องมือ...... 40 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล...... 41 ซ

สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หน้า การวิเคราะห์ข้อมูล...... 42 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล...... 43 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล...... 43 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล...... 44 ตวั แปรจา แนกการเลือกเล่นกีฬา...... 44 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ…...... 57 สรุปผลการวิจัย...... 58 อภิปรายผล...... 60 ข้อเสนอแนะ...... 68 บรรณานุกรม...... 71 ภาคผนวก...... 80 ภาคผนวก ก...... 81 ภาคผนวก ข...... 83 ภาคผนวก ค...... 98 ประวตั ิยอ่ ของผวู้ ิจยั ...... 104

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า 1 ลักษณะองค์ประกอบของบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว...... 20 2 ลักษณะองค์ประกอบของบุคลิกภาพแบบแสดงตัว...... 21 3 ลักษณะองค์ประกอบของบุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์...... 21 4 ลักษณะองค์ประกอบของบุคลิกภาพแบบประนีประนอม...... 22 5 ลักษณะองค์ประกอบของบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก...... 23 6 คุณภาพของแบบสอบถามการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง...... 40 7 วนั และสถานที่ในการเกบ็ ขอ้ มูล...... 42 8 คา่ เฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตวั แปรจา แนกผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง...... 45 9 คา่ สัมประสิทธ์ิ คา่ สถิติ F คา่ Wilks’s Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนยั สา คญั ทาง สถิติของสมการจา แนกกลุ่มบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ...... 47 10 คา่ สัมประสิทธ์ิ คา่ สถิติ F คา่ Wilks’s Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนยั สา คญั ทาง สถิติของสมการจา แนกกลุ่มทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง...... 48 11 คา่ สมั ประสิทธ์ิ คา่ สถิติ F คา่ Wilks’s Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนยั สา คญั ทาง สถิติของสมการจา แนกกลุ่มการรับรู้ความสามารถในตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง...... 49 12 คา่ สัมประสิทธ์ิ คา่ สถิติ F คา่ Wilks’s Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนยั สา คญั ทาง สถิติของสมการจา แนกกลุ่มแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง...... 50 13 คา่ สัมประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรท้งั หมด จา แนกตามกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยง และผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง...... 51 14 คา่ สัมประสิทธ์ิ คา่ สถิติ F คา่ Wilks’s Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนยั สา คญั ทาง สถิติของตัวแปรที่เข้าสมการจาแนก ...... 52 15 การเข้าสมการของตัวแปร...... 53 16 ลา ดบั ความสา คญั ของตวั แปรเมื่อพิจารณาจากคา่ สัมประสิทธ์ิจา แนกกลุ่มในรูป คะแนนมาตรฐาน...... 54

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ หน้า 17 คา่ เฉลี่ยรวมของกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและกลุม่ ที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง...... 55 18 ผลการคาดประมาณการจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและกลุ่มที่ไมเ่ ลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง โดยสมการจาแนกประเภทที่ได้ ...... 56

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า 1 กรอบแนวคิดงานวิจัย...... 8 2 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปัจจยั ทางดา้ นพฤติกรรมและสภาพแวดลอ้ ม...... 28 3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง กบั ความคาดหวงั ในผลลพั ธ์ที่เกิดข้ึน...... 29 4 พฤติกรรมและสภาวะทางอารมณ์ที่เกิดจากการรับรู้ความสามารถของตนเองและ ความคาดหวงั ในผลลพั ธ์ที่จะเกิดข้ึนในระดบั ที่แตกตา่ งกนั ...... 29

1

บทที่ 1 บทน า

ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา กีฬาในปัจจุบนั น้นั มีหลายประเภทข้ึนอยกู่ บั บุคคลวา่ ตอ้ งการเล่นกีฬาชนิดใด ซ่ึงกีฬา แตล่ ะชนิดกม็ ีความแตกตา่ งกนั ท้งั วธิ ีการเล่น กฎกติกามารยาท ข้ึนอยกู่ บั สนใจของแตล่ ะบุคคล การเลือกเล่นกีฬามีความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและสภาพแวดลอ้ ม (Davis et al., 2012) ลกั ษณะสา คญั ของการตดั สินใจเลือกเล่นกีฬาของบุคคลมาจากสภาพแวดลอ้ มที่คุน้ เคย ซ่ึงทา ใหเ้ กิดพฤติกรรมข้ึน (Orasanu & Connolly, 1993) การเล่นกีฬานอกจากจะช่วยใหส้ ุขภาพดี แลว้ ยงั มีความบนั เทิง ความน่าท่ึง และความตื่นเตน้ อยอู่ ีกดว้ ย ปัจจุบนั ผคู้ นสนใจการออกกา ลงั และ เล่นกีฬามากข้ึนจากกระแสความนิยมดา้ นการดูแลสุขภาพ จึงมีกีฬาประเภทใหม่ ๆ เกิดข้ึนมากมาย ตอบสนองบุคคลเฉพาะกลุ่ม หน่ึงในน้นั คือ กีฬาที่มีความเสี่ยงสูงเป็นกีฬาที่ผเู้ล่นมกั จะมีโอกาสใน การได้รับบาดเจ็บรุนแรง หรือเสียชีวติ โดยธรรมชาติของกีฬาที่มีความเสี่ยงเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกบั ความอันตรายทางกายภาพ จึงต้องมีอุปกรณ์พิเศษและการฝึกอบรมเพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดข้ึน (Willig, 2008) สองทศวรรษที่ผา่ นมาไดเ้ ห็นการพฒั นาและความนิยมที่เพ่ิมข้ึนของการเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง (Brymer & Schweitzer, 2013) กีฬาที่มีความเสี่ยงสูงน้นั ยงั ไมม่ ีผทู้ ี่ให้ความหมายไว้ ชดั เจนวา่ ชื่อเรียกกีฬาประเภทกระโดดร่ม ปีนหนา้ ผา พายเรือคายคั ที่เหมาะสม แตก่ ีฬาดงั กล่าวได้ ถูกเรียกวา่ กีฬาทางเลือก กีฬาเอก็ ซ์ตรีม หรือกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง (Brymer, 2010; Castanier, Scanff, & Woodman, 2010; Kerr & Mackenzie, 2012; West & Allin, 2010) ในประเทศไทยยังคง รู้จกั กีฬาประเภทน้ีในชื่อของกีฬาเอก็ ซ์ตรีม ซ่ึงกีฬาเอก็ ซ์ตรีมเป็นเป็นกีฬาที่ไดร้ ับความนิยมมาก จากบุคคลทว่ั โลก สร้างความตื่นเตน้ และทา้ ทายแก่ผชู้ มและผเู้ล่นเอง เป็นกีฬามีที่มาจากรูปแบบ ของการเล่นที่มีอนั ตรายในระดบั สูง กิจกรรมตา่ ง ๆ ส่วนมากจะประกอบไปดว้ ยความเร็ว ความสูง และระดบั ความสูงที่มากกวา่ ปกติ ตามระดบั ความยากของทา่ รวมถึงการแสดงผาดโผนที่มีลีลาที่ สวยงาม (ชุติพงศ์ กองตองกาย, 2557) และกา ลงั เป็นที่นิยมในวงกวา้ งมากยง่ิ ข้ึน แนวคิดของคน รุ่นใหมท่ า ใหก้ ีฬาประเภทน้ีเผยแพร่ไปอยา่ งรวดเร็ว ในช่วง 15-20 ปี ที่ผา่ นมา ทา ใหเ้ กิดการแขง่ ขนั ในระดบั ประเทศและระดบั โลก อาทิเช่น Asia X-Game, X-Game world championship ที่ได้รับ ความสนใจและมีการจดั แขง่ ขนั อยา่ งต่อเนื่อง ทา ใหห้ ลาย ๆ ประเทศต้องการที่จะพัฒนาศักยภาพ ของนกั กีฬาของตวั เองเพื่อที่จะมีบทบาทในวงการเอก็ ซ์ตรีมโลก ซ่ึงกีฬาเอก็ ซ์ตรีมไดถ้ ูกบรรจุใน กีฬาในกีฬาโอลิมปิคปี ค.ศ. 2012 ที่ประเทศองั กฤษจะเป็นเจา้ ภาพ ทา ใหว้ งการกีฬาเอก็ ซ์ตรีมใน 2

ประเทศไทยไดจ้ ดั การส่งเสริมใหเ้ ยาวชนไดพ้ ฒั นาฝีมือให้นกั กีฬากา้ วสู่ระดบั มืออาชีพ เพื่อที่จะกา้ ว สู่วงการเอก็ ซ์ตรีมระดบั นานาชาติ (อภิสิทธิ เลิศภิญโญวงศ์, 2553) จากขอ้ มูลดงั กล่าวแสดงให ้ เห็นวา่ กีฬาที่มีความเสี่ยงความนิยมในประเทศมากข้ึน และกีฬาชนิดใดไดร้ ับการส่งเสริมที่ดี กีฬา ชนิดน้นั กจ็ ะแพร่หลายเป็นที่นิยมของคนทว่ั ไป ทา ใหผ้ ูเ้ ล่นสามารถพฒั นาเทคนิควธิ ีการเล่นของ ตนเองไดส้ ูงข้ึน โอกาสที่จะไดแ้ สดงความสามารถในดา้ นการแขง่ ขนั กม็ ีมากข้ึนดว้ ย จากการทบทวนเอกสารผวู้ ิจยั พบขอ้ มูลเกี่ยวกบั กีฬาที่มีความเสี่ยงในประเทศไทยน้นั มี การเติบโตข้ึนอยา่ งรวดเร็ว มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วิทยาเขตรังสิต ได้มีการสร้างสนามกีฬา เอก็ ซ์ตรีมพลาซ่า ซ่ึงเป็นสนามสา หรับเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงที่ได้มาตรฐานในมหาวิทยาลัยแห่งแรก ในประเทศไทย (มติชนออนไลน์, 2558) เป็นการสร้างทางเลือกใหก้ บั เยาวชนที่สนใจจะเล่นกีฬา และจากงานวิจัยของชุติพงศ์ กองตองกาย (2557) ไดส้ า รวจผเู้ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญเ่ ป็น เพศชาย อายชุ ่วงต้งั แต ่ 17-32 ปี มีระยะเวลาในการเร่ิมเล่น 1-5 ปี โดยเหตุผลในการเร่ิมเล่น คือ มีใจรักทางดา้ นกีฬาเอก็ ซ์ตรีม ประเภทกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญ ่ คือ ประเภทสเก็ตบอร์ด รองลงมาคือประเภทจักรยาน BMX สถานที่ที่เล่นประจา มากที่สุด คือ สนามกีฬา กกท. หวั หมาก นอกจากน้นั ขอ้ มูลของสมาคมกีฬาเอก็ ซ์ตรีมแห่งประเทศไทย (2560) ระบุวา่ ไดม้ ีการบรรจุกีฬา เอก็ ซ์ตรีมเขา้ ในกีฬาแห่งชาติคร้ังที่ 42 เป็นคร้ังแรก และมีผเู้ขา้ ร่วมการแขง่ ขนั กีฬาแห่งชาติประเภท กีฬาที่มีความเสี่ยงมีจา นวนเพ่ิมมากข้ึน จากปี พ.ศ. 2557 จา นวนผูเ้ขา้ แขง่ ขนั 413 คน และปีพ.ศ. 2558 จานวน 530 คน และไดบ้ รรจุกีฬาเอก็ ซ์ตรีมเขา้ ในกีฬามหาวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย ในการ แขง่ ขนั กีฬามหาวทิ ยาลยั คร้ังที่ 45 ในปี พ.ศ. 2560 อีกด้วย จะเห็นไดว้ า่ ความสนใจในกีฬาน้ีไม่ได้ จา กดั อยแู่ ตใ่ นวงแคบอีกตอ่ ไป กีฬาที่มีความเสี่ยงเร่ิมเป็นที่สนใจของกลุ่มเยาวชนมากข้ึน เนื่องจาก กีฬาชนิดน้ีไดต้ อบสนองความตอ้ งการของเยาวชน ซ่ึงเป็นวยั ที่ตอ้ งการเรียนรู้ส่ิงใหม ่ ๆ รักความ ท้าทายต้องการแสดงออก ในการที่จะเกิดพฤติกรรมเลือกเล่นกีฬาหรือกิจกรรมใดน้นั ประกอบด้วย ปัจจยั หลายดา้ นท้งั ในเรื่องของลักษณะนิสัย ความสามารถ โอกาส และแรงสนับสนุนทางสังคม มุมมองแบบเดิมการมีส่วนร่วมในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงคนจะส่วนใหญม่ กั จะตดั สิน ในเชิงลบวา่ ไมเ่ ป็นที่ยอมรับทางสังคมและเบี่ยงเบน (Elmes & Barry, 1999; Monasterio, 2007; Pain & Pain, 2005; Self, Henry, Findley, & Reilly, 2007) อาจจะมีผลทางด้านจิตใจและอารมณ์ (Oades & Brymer, 2009; Brymer & Schweitzer, 2013; Willig, 2008) จึงอาจทาใ หเ้ กิดทศั นคติใน ดา้ นลบตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง ผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงพยายามที่จะใชก้ ารเล่นกีฬาของพวกเขาเพื่อ ไปเป็นตวั ของตวั เอง พน้ จากขอ้ จา กดั ทางสังคมและวฒั นธรรม นอกจากสื่อตา่ ง ๆ ที่ทาให้คนหันมา เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงแลว้ น้นั บุคลิกภาพของบุคคลที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจะถูกมองตา่ ง ออกไปเช่นกนั (Watson & Pulford, 2004) ซ่ึงกีฬาทว่ั ๆ ไป (เช่น อเมริกนั ฟุตบอล, ฮอกก้ี, รักบ้ี, 3

ยมิ นาสติก) มีความเสี่ยงแตค่ วามเสี่ยงเหล่าน้ีส่วนใหญไ่ มก่ ารบาดเจบ็ ที่ร้ายแรง แตม่ ีการเสียชีวติ คอ่ นขา้ งต่า (Dekker, Kingma, Groothoff, Eisma, & Ten Duis, 2000) ตรงกนั ขา้ มกบั กีฬาที่มีความ เสี่ยงจะมีการบาดเจบ็ ที่รุนแรงและเสียชีวติ ที่สูงกวา่ (Cogan & Brown, 1999; Kerr, 1991) โดย ทศั นคติจะมีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลน้นั ๆ ในแตล่ ะบุคคลจะมีทศั นคติที่แตกตา่ งกนั ไป เนื่องมาจากแตล่ ะคนมีประสบการณ์ในชีวติ ที่แตกตา่ งกนั ประสบการณ์หน่ึง ๆ ทา ใหเ้ กิดทศั นคติ ได้ (Schiffman & Kanuk, 1997) จากการศึกษาของ Armstrong et al. (2006) ได้ทาการศึกษา ทัศนคติ วา่ ทา ไมบุคคลจึงเลือกกิจกรรมทางกายตา่ ง ๆ ตามประเภท และพ้ืนฐานที่แตกตา่ งกนั พบวา่ คนจะ เลือกมีส่วนร่วมกบั กิจกรรมทางกายเนื่องจากรับรู้ประโยชน์ตอ่ สุขภาพ การเขา้ สังคม การพกั ผอ่ น และนนั ทนาการ นน่ั หมายถึงการมีทศั นคติเชิงบวกต่อกิจกรรมน้นั ๆ Tuckman (1999) ระบุวา่ บุคคล ที่มีทศั นคติเชิงบวกตอ่ กิจกรรมทางกายจะทา ใหบ้ ุคคลน้นั เขา้ ไปมีส่วนร่วมในกิจกรรม การมี ส่วนร่วมในกิจกรรมทางกายทา ใหม้ ีการสื่อสารกบั คนอื่น ๆ มีการปรับปรุงแรงจูงใจ การรับรู้ ความสามารถของตนเองและสุขภาพ Dudfield (2013) ไดร้ ะบุวา่ กีฬาที่มีความเสี่ยงมีคุณคา่ กบั เด็กและเยาวชน เพราะมนั ส่งเสริมการแสดงออก ความคิดสร้างสรรค ์ การพฒั นาทางกายภาพและทกั ษะทางสังคม นอกจากน้ี Castanier et al. (2010) พบวา่ มีความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคลิกภาพในบุคคลที่เล่นกีฬาความเสี่ยงสูง จะมีอารมณ์ในเชิงบวก และมีลักษณะเป็นคนเปิดตัว (Extroverts) การเข้าสังคมจึงมีแนวโน้มที่ อาจจะเพ่ิมโอกาสในการเล่นกีฬาความเสี่ยงสูง บุคคลเหลา่ น้ีจะพบวา่ มีส่วนร่วมในกีฬาที่มี ความเสี่ยงเป็นวิธีที่จะเสริมสร้างอารมณ์เชิงบวก (Cooper, Agocha, & Sheldon, 2000) นอกจากน้ี ยังมีงานวิจัยของ Merritt and Tharp (2013), Serdar (2011), Castanier et al. (2010), Tanja Kajtna (2004) พบวา่ ผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก บุคลิกภาพแบบแสดงตวั และบุคลิกภาพแบบประนีประนอมแตกตา่ งกบั คนที่เล่นกีฬาทว่ั ไปและ คนที่ไมเ่ ล่นกีฬา โดย Merritt and Tharp (2013) พบวา่ บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวและบุคลิกภาพแบบ มีจิตสา นึกมีความสัมพนั ธ์กบั การรับรู้ความสามารถในตนเองอีกดว้ ย การศึกษาบุคลิกภาพที่มีความสัมพนั ธ์กบั ความสามารถทางการกีฬา ไดร้ ับความสนใจ มากในช่วงปี ค.ศ. 1960-1970 แตช่ ่วงที่ผา่ นมาไม่นานน้ีนกั วจิ ยั ดา้ นจิตวทิ ยาการกีฬา พบวา่ อาจยัง ไมม่ ีความชดั เจนและความคงที่ของขอ้ มูลเกี่ยวกบั บุคลิกภาพของนกั กีฬามากนกั อยา่ งไรกต็ าม พบวา่ บุคลิกภาพทางการกีฬายงั มีความจา เป็นที่นา มาใชเ้ ป็นส่วนหน่ึงของการจา แนกบุคคลใหม้ ี ความเหมาะสมกบั ชนิดหรือประเภทกีฬา บุคลิกภาพเป็นส่ิงที่เกี่ยวขอ้ งกบั รูปแบบความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมที่เป็นลกั ษณะเฉพาะตวั ของแต่ละบุคคล ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ี คือ บุคลิกลักษณะ หรืออุปนิสัยที่ทา ใหเ้ ราแตกต่างจากคนอื่น บุคลิกภาพของคนเรา คือ ส่ิงที่ทา ใหส้ ามารถคาดเดาได้ 4

วา่ เราจะมีพฤติกรรมการแสดงออกหรือตอบสนองต่อสถานการณ์ที่แตกตา่ งกนั อยา่ งไร (สุพัชรินทร์ ปานอุทัย, 2556) ลกั ษณะบุคลิกภาพของผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีคอ่ นขา้ งหลากหลาย แตผ่ ทู้ ี่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจะมีลกั ษณะเฉพาะของบุคลิกภาพอย ู่ (Willig, 2008) ซึ่งบุคลิกภาพเป็น พฤติกรรมที่แสดงออกมาของบุคคลใดบุคคลหน่ึงท้งั ในส่ิงที่มองเห็นและส่ิงที่มองไมเ่ ห็น ซ่ึงจะทา ใหผ้ อู้ ื่นสามารถเขา้ ใจและแยกไดว้ า่ บุคคลน้นั แตกตา่ งจากคนทว่ั ไป (วราภรณ์ ตระกูลสฤษด์ิ, 2545) บุคลิกภาพของบุคคลที่พบวา่ ไดร้ ับความนิยมศึกษามากคือบุคลิกภาพหา้ ดา้ น หรือทฤษฎี “Big five personality” จาแนกลักษณะของบุคลิกภาพออกเป็น 5 ประเภทใหญ ่ ๆ ภายใตเ้ งื่อนไขวา่ คนทุกคน ลว้ นมีบุคลิกท้งั 5 แบบ ในระดบั ที่ตา่ งกนั (Costa & McCrae, 1992) จากการศึกษาวิจัยบุคลิกภาพใน นกั กีฬาที่มีความเสี่ยงของ Tanja Kajtna (2004) พบวา่ 4 ใน 5 ของบุคลิกภาพหา้ ดา้ นมีความแตกตา่ ง กบั นกั กีฬาทว่ั ไป คือ บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว, บุคลิกภาพแบบมีจิตสา นึก, บุคลิกภาพแบบเปิดรับ ประสบการณ์ และบุคลิกภาพแบบแสดงตัว จากการศึกษาวิจัยของ Rhea (2010) พบวา่ ผู้ที่เล่นกีฬา ที่มีความมีความเสี่ยงมีบุคลิกภาพที่แตกตา่ งกบั นกั กีฬาทว่ั ไปเช่นกนั จากการศึกษาเหล่าน้ีแสดงให้ เห็นวา่ จะมีลกั ษณะเฉพาะของผทู้ ี่เล่นกีฬาความเสี่ยงสูงอย ู่ (Diehm & Armatas, 2004) คนที่เลือก เล่นกีฬาชนิดน้ีจะตอ้ งยอมรับในความเสี่ยงที่จะเกิดข้ึนในขณะคนอื่น ๆ อาจจะอยากลดความเสี่ยง ใหม้ ากที่สุดเทา่ ที่จะเป็นไปได ้ นอกจากน้นั แลว้ ยงั ไมเ่ คยพบการศึกษาตวั แปรที่จะส่งผลใหเ้ กิด พฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ซ่ึงบุคลิกภาพจะเป็นพ้ืนฐานของความคิด ความรู้สึกและ พฤติกรรม จากงานวิจัยของ Serdar (2011) พบวา่ บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวมีความสัมพนั ธ์ใน ทางตรงขา้ มกบั การรับรู้ความสามารถของตนเอง จากการศึกษาข้อมูล พบวา่ การรับรู้ความสามารถ ตนเองเป็นกลไกทางจิตวทิ ยาที่อาศยั อยใู่ นความเชื่อของแต่ละบุคคลโดยรอบความสามารถของตน ในการกา หนดควบคุมสถานการณ์ที่ส่งผลกระทบตอ่ ชีวิตของพวกเขาได ้ เป็นหนึ่งในโครงสร้างทาง จิตวทิ ยาที่มีอิทธิพลตอ่ การเกิดพฤติกรรม ทา ใหบ้ ุคคลที่จะรับความเสี่ยงและทา้ ทายพวกเขาจะเชื่อ วา่ ตวั เองมีความสามารถการรับมือกบั สถานการณ์และมีความรู้สึกของการรับรู้ความสามารถของ ตนเอง (Bandura, 1989; Feltz, 1988) ผู้ที่มีการรับรู้ความสามารถของตวั เองสูงมีแนวโนม้ มากข้ึน ที่จะต้งั เป้าหมายที่ทา้ ทายใชค้ วามความพยายามและยงั คงมีอยใู่ นการเผชิญกบั ความยากข้ึนไป การตดั สินความสามารถตนเองวา่ สามารถทา งานในระดบั ใด หรือความเชื่อของบุคคลเกี่ยวกบั ความสามารถในการกระทา ส่ิงใดส่ิงหน่ึง ซ่ึงมีอิทธิพลตอ่ การประสบความสาเร็จ ความเชื่อใน ความสามารถตนเองพิจารณาจากความรู้สึก ความคิด การจูงใจและพฤติกรรม ความคาดหวัง ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ความสามารถของตน ในลกั ษณะที่เฉพาะ เจาะจง และความ คาดหวงั น้ีเป็น ตวั กา หนดการแสดงออกของพฤติกรรม (Bandura, 1977) การรับรู้ความสามารถตนเองได้รับ การช้ีให้เห็นเพราะมันมีผลกระทบที่สาคัญในรูปแบบของความเชื่อและพฤติกรรม (Bandura, 2002) 5

การรับรู้ความสามารถของตนเอง ยงั มีอิทธิพลตอ่ (1) การเลือกกระทาพฤติกรรม (Choice behavior) (2) มีผลตอ่ การใชค้ วามพยายาม (Persistence) (3) รูปแบบความคิด (Thought patterns) และ (4) ปฏิกิริยาทางอารมณ์ (Emotional reaction) ปัจจยั ทางดา้ นจิตวทิ ยาเป็นส่วนหน่ึงที่ทา ใหเ้ กิด พฤติกรรม และพฤติกรรมสามารถคาดเดาไดจ้ ากบุคลิกภาพของแตล่ ะบุคคลที่มีความแตกตา่ งกนั โดยคนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงน้นั จะมีลกั ษณะเฉพาะของบุคลิกภาพและปัจจยั ทางจิตวิทยาที่ แตกตา่ งจากคนที่เล่นกีฬาทว่ั ไป แรงสนบั สนุนทางสังคมอาจมาจากบุคคล กลุ่มคนหรือขอ้ มูล ขา่ วสาร จากงานวจิ ยั ของ ชุติพงศ์ กองตองกาย (2557) สา รวจพบวา่ ผทู้ ี่เขา้ มาเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงน้นั ไดร้ ับขอ้ มูลขา่ วสาร จากสื่อตา่ ง ๆ ส่วนใหญ่รู้จกั ผา่ นทางเวบ็ ไซต ์ ติดตามขอ้ มูลขา่ วสารของสนามกีฬาเอก็ ซ์ตรีมผา่ น ทางเฟสบุค๊ แฟนเพจหรือเวบ็ ไซตข์ องกีฬาที่มีความเสี่ยง ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ รองลงมา รู้จกั ผา่ นสื่อโซเชียลมีเดีย และผา่ นคา บอกกล่าวจากเพื่อนฝงู การที่ไดร้ ับแรงสนบั สนุนทางสังคมใน ดา้ นความช่วยเหลือทางดา้ นขอ้ มูล ขา่ วสาร วตั ถุส่ิงของ หรือการสนับสนุนทางด้านจิตใจจากผู้ให้ การสนบั สนุน ซ่ึงอาจเป็นบุคคลหรือกลุ่มคน และเป็นผลใหผ้ รู้ ับไดป้ ฏิบตั ิหรือแสดงออกทาง พฤติกรรมไปในทางที่ผู้รับต้องการ แรงสนับสนุนทางสังคมอาจมาจากบุคคลในครอบครัว เช่น พอ่ แม ่ พี่นอ้ ง เพื่อนบา้ น เพื่อนร่วมงาน หรือเพื่อนนกั เรียนแรงสนับสนุนทางสังคมเป็นปัจจัยทาง จิตวทิ ยาที่มีความสัมพนั ธ์กบั พฤติกรรม จากที่กล่าวมาน้นั จะเห็นไดว้ า่ กีฬาที่มีความเสี่ยงน้นั มีความเสี่ยงมากกวา่ กีฬาทว่ั ไปกลับ ไดร้ ับความนิยมมากข้ึน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาในตัวแปรบุคลิกภาพ ทัศนคติ การรับรู้ ความสามารถของตนเองและ แรงสนบั สนุนทางสังคม วา่ สามารถทา นายผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด และสามารถจา แนกผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงกบั ผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยงไดห้ รือไม ่ ผู้วิจัยต้องการที่จะขยายความเขา้ ใจของประชากรกลุ่มน้ี โดยการจาแนกจะ ช้ีใหเ้ ห็นถึงความแตกตา่ งหรือความเหมือนกนั ของส่ิงที่ตอ้ งการวดั ในลกั ษณะที่เป็นไปตามสภาพ จริง ในการศึกษาตัวแปรทางด้านจิตวิทยาที่ใชใ้ นการจา แนกผทู้ ี่เลือกเล่นและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง จะทา ใหไ้ ดอ้ งคค์ วามรู้ที่สามารถนา ไปใชใ้ นการจา แนกเพื่อนา ไปสู่การส่งเสริมให้เป็น นกั กีฬาอาชีพตอ่ ไปได ้

วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสามารถในการจาแนกของตัวแปรด้านบุคลิกภาพ (Personality) ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (Attitude) การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (Self-efficacy) และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความ 6

เสี่ยง (Social support) ระหวา่ งกลุ่มผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกตา่ งดา้ นบุคลิกภาพ (Personality) ทัศนคติในการเลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (Attitude) การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยง (Self-efficacy) และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (Social support) ระหวา่ งกลุ่มผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

สมมติฐานในการวิจัย 1. บุคลิกภาพ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของ ตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงสามารถจา แนกผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ 2. บุคลิกภาพ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของ ตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงมีผลตอ่ การเลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

ขอบเขตการวิจัย ในการศึกษาคร้ังน้ี ผวู้ ิจยั มีขอบเขตของการศึกษา ดงั น้ี ประชากร ในการศึกษาวิจยั คร้ังน้ีใชป้ ระชากรที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และไมเ่ ลือกเล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยงซ่ึงไมส่ ามารถระบุจา นวนที่แน่นอนได ้ ผวู้ ิจยั ตอ้ งทา การคาดคะเนกลุ่มตวั อยา่ งโดยจะ อธิบายไว้ในบทที่ 3 กลุ่มตัวอย่าง ผวู้ จิ ยั เลือกกลุ่มตวั อยา่ งที่เป็นผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง จานวน 400 คน โดยแบง่ เป็นกลุ่มละ 200 คน ตัวแปรที่ศึกษา ตวั แปรอิสระ ไดแ้ ก่ ตวั แปรที่สามารถจา แนกผู้ที่เลือกเล่นและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง ไดแ้ ก่ บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ทัศนคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนับสนุนทางสังคมในการ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ พฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและการไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง 7

ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 1. ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการศึกษาสามารถนา ไปเป็นขอ้ มูลพ้ืนฐานใหก้ บั สมาคมกีฬาเอก็ ซ์ตรีม แห่งประเทศไทยไปปรับใชใ้ นการพฒั นาหรือคดั เลือกนกั กีฬาทีมชาติ 2. ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการศึกษาสามารถนา ไปเป็นขอ้ มูลพ้ืนฐานใหก้ บั ผปู้ กครองหรือโคช้ ใน ด้านบุคลิกภาพ ทัศนคติและการรับรู้ความสามารถของตนเองไปปรับใช้ในการสนับสนุนหรือ ส่งเสริมในการเลือกเล่นกีฬาใหเ้ หมาะสมเพื่อนา ไปสู่การพฒั นาเพื่อไปเป็นนกั กีฬา 3. ผลการวจิ ยั น้ีทา ใหไ้ ดร้ ับความรู้ และทราบถึงสาเหตุที่สา คญั ของการเลือกและไมเ่ ลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 4. สามารถนาความรู้ที่ได้จากผลก ารวิจัยไปใช้เป็นข้อมูลในการกระตุ้นตัวแปรที่สาคัญ เพื่อสนบั สนุนให้เยาวชนเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงเพื่อนา ไปสู่นกั กีฬาทีมชาติเพ่ิมมากข้ึน

กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดน้ีผวู้ จิ ยั ได้สรุปจากการศึกษาทฤษฎีและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ งวา่ ปัจจยั ใดที่จะ ส่งผลตอ่ การเลือกและไม่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง บุคลิกภาพของบุคคลที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงและกีฬาทว่ั ไปมีความแตกตา่ งกนั (Tanja Kajtna, 2004; Castanier et al., 2010; Rhea, 2010) คนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจะแตกตา่ งกนั กบั บุคคลที่เล่นกีฬาทว่ั ไปท้งั ดา้ นเทคนิค, อุปกรณ์, ทัศนคติ (Leaman & Fitch, 1986; Pedersen, 1997; Schrader & Wann, 1999; Florenthal & Shoham, 2001; Davis-Berman & Berman, 2002; Demirhan, 2003) นกั กีฬาที่แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ในตวั เองสูงจะมีแนวโนม้ ที่จะมีส่วนร่วมในพฤติกรรมเสี่ยง จากมุมมองน้ีปัจจัยการตัดสินใจที่ สา คญั มากในกลุ่มผทู้ ี่ชื่นชอบกีฬาที่มีความเสี่ยงคือการรับรู้ความสามารถตนเอง (Kern et al., 2014) และการไดร้ ับแรงสนบั สนุนจากเพื่อนร่วมทีมทา ใหส้ ามารถจดั การและรับมือกบั ความเสี่ยงของกีฬา ได้ (Schneider, Butryn, Furst, & Masucd, 2007) กรอบแนวคิดในการศึกษา สรุปไดด้ งั น้ี

8

• บุคลิกภาพ (Personality) พฤติกรรมการเลือกเล่น • ทัศนคติ (Attitude) – ไมเ่ ล่นกีฬาที่มี • การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self efficacy) ความเสี่ยง

• แรงสนับสนุนทางสังคม (Social support)

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดงานวิจัย

นิยามศัพท์เฉพาะ กีฬาที่มีความเสี่ยง หมายถึง กีฬาเสี่ยงอนั ตราย มีความเร็ว แรง สูงในการเล่นที่มากกวา่ กีฬาทว่ั ไป ตอ้ งมีอุปกรณ์พิเศษเพื่อป้องกนั การบาดเจบ็ และมีโอกาสที่ผเู้ล่นจะไดร้ ับการบาดเจ็บ หรือเสียชีวติ มากกวา่ กีฬาทว่ั ไป

นิยามเชิงปฏิบัติการ พฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬา หมายถึง การแสดงออกทางดา้ นร่างกายที่ออกมาใหเ้ ห็นได้ อยา่ งชดั เจนวา่ เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง สามารถสังเกตได้ด้วยประสาทสัมผัส บุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ หมายถึง คุณลกั ษณะประจา ตวั ยอ่ ย ๆ ของมนุษย์ที่มีลักษณะ คลา้ ยกนั ไวด้ ว้ ยกนั แบง่ เป็น 5 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว (Neuroticism) บุคลิกภาพแสดงตัว (Extraversion) บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ (Openness to experience) บุคลิกภาพแบบประนีประนอม (Agreeableness) และบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก (Conscientiousness) ที่มีผลต่อการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง วัดได้โดยแบบสอบถามบุคลิกภาพ หา้ องคป์ ระกอบ ผทู้ ี่มีบุคลิกแบบหวน่ั ไหวต่า บุคลิกภาพแบบแสดงตวั สูง และบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมต่า จะมีโอกาสที่จะเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมากกวา่ บุคลิกภาพแบบอื่น ๆ ทัศนคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง หมายถึง การรับรู้ความรู้สึกหรืออารมณ์ใน ทางบวกหรือทางลบตอ่ การเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง รวมถึงแนวโน้มของพฤติกรรม โดยแบง่ เป็น 3 ดา้ น คือ ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ทศั นคติเชิงบวกต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง และทัศนคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง ซึ่งจะแสดงออกมาทิศทางใดทิศทางหนึ่ง วัดได้โดย แบบสอบถามที่ผวู้ จิ ยั สร้างข้ึน ผทู้ ี่มีคา่ เฉลี่ยตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงในเชิงบวกมากกจ็ ะมีทศั นคติที่ดี ตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงและมีโอกาสที่จะเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงกวา่ ผทู้ ี่มีคา่ เฉลี่ยตอ่ กีฬาที่มีความ 9

เสี่ยงในเชิงลบ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง หมายถึง การ ประเมินตนเองของผทู้ ี่เล่นกีฬาเกี่ยวกบั ความสามารถของตนเองวา่ มีความสามารถ และมน่ั ใจวา่ จะ เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ วัดได้โดยแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน ผทู้ ีมีคา่ เฉลี่ยของการรับรู้ ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมากกจ็ ะมีโอกาสที่จะเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงมากกวา่ ผทู้ ี่ไดค้ า่ เฉลี่ยนอ้ ย แรงสนับสนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง หมายถึง การที่บุคคลรับรู้ ความรู้สึกวา่ ตนเองไดร้ ับการชื่นชม เอาใจใส่ สนบั สนุนในดา้ นตา่ ง ๆ ได้รับคาแนะน าจากเพื่อน และครอบครัวในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง วดั ไดโ้ ดยแบบสอบถามที่ผวู้ จิ ยั สร้างข้ึน ผูท้ ีมีคา่ เฉลี่ย ของแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมากกจ็ ะมีโอกาสที่จะเลือกเล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยงมากกวา่ ผทู้ ี่ไดค้ า่ เฉลี่ยนอ้ ย

10

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาปัจจยั จา แนกพฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงทางดา้ นจิตวทิ ยาที่ใช้ ในการจา แนกการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงของเยาวชน ผวู้ จิ ยั ไดศ้ ึกษาแนวคิดและทฤษฎี เอกสาร และงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง ดงั น้ี 1. กีฬาที่มีความเสี่ยงสูง (High risk taking sport) 2. พฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬา 3. ปัจจยั ในการจา แนกพฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 3.1 บุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ (Big 5 personality) 3.2 ทัศนคติ (Attitude) 3.3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) 3.4 แรงสนับสนุนทางสังคม (Social support) 4. งานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง

กฬี าทมี่ คี วามเสี่ยงสูง (High risk taking sport) ความหมายของกฬี าทมี่ ีความเสี่ยงสูง จากการสืบค้นข้อมูลของผู้วิจัยในความหมายของกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง มีผใู้ หค้ วามหมาย ไว ้ดงั น้ี Laver, Pengas, and Mei-Dan (2017) กีฬาที่มีความเสี่ยง คือ กีฬาที่มีความเร็ว ความสูง มีความอนั ตรายและมีโอกาสการบาดเจบ็ หรือเสียชีวติ มากกวา่ กีฬาทว่ั ไป Kupciw and MacGregor (2012) กีฬาที่มีความเสี่ยงสูง หมายถึง กิจกรรมที่เสี่ยงตอ่ การได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต ต้องมีการใช้อุปกรณ์พิเศษเพื่อลดความเสี่ยง Castanier (2010) กีฬาที่มีความเสี่ยงสูง หมายถึง กิจกรรมที่มีโอกาสไดร้ ับการบาดเจบ็ หรือเสียชีวติ และตอ้ งมีการใชอ้ ุปกรณ์พิเศษเพื่อป้องกนั การบาดเจบ็ Slanger (1997) ใหค้ วามหมายไวว้ า่ กีฬาที่มีความเสี่ยงสูง เป็นกีฬาที่มีความเสี่ยงในระดบั ที่สูงมากและมีความไมแ่ น่นอนของของผลที่จะเกิดข้ึน มีความเป็นไปไดส้ ูงที่จะเสี่ยงต่อการ เสียชีวิต Breivik (1996) กีฬาที่มีความเสี่ยงสูง หมายถึง กิจกรรมที่มีความเป็นไปไดท้ ี่จะไดร้ ับ 11

การบาดเจบ็ รุนแรง และเสียชีวติ ซ่ึงเป็นธรรมชาติของกีฬาชนิดน้ี ชุติพงศ์ กองตองกาย (2557) เป็นกีฬามีที่มาจากรูปแบบของการเล่นที่มีอนั ตรายใน ระดบั สูง กิจกรรมตา่ ง ๆ ส่วนมากจะประกอบไปดว้ ยความเร็ว ความสูง และระดบั ความสูงที่ มากกวา่ ปกติ ตามระดบั ความยากของทา่ รวมถึงการแสดงผาดโผนที่มีลีลาที่สวยงาม จากการทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั กีฬาที่มีความเสี่ยงสูงน้นั ยงั ไมม่ ีผทู้ ี่ ใหค้ วามหมายไวช้ ดั เจนวา่ ชื่อเรียกกีฬาประเภทกระโดดร่ม ปีนหนา้ ผา พายเรือคายคั ที่เหมาะสม แตก่ ีฬาดงั กล่าวไดถ้ ูกเรียกวา่ กีฬาทางเลือก กีฬาเอก็ ซ์ตรีม หรือกีฬาที่มีความเสี่ยง (Brymer, 2010; Castanier et al., 2010; Kerr & Mackenzie, 2012; West & Allin, 2010) ผูว้ จิ ยั จึงกา หนดกีฬาที่จะ ศึกษาประกอบดว้ ยกิจกรรม ดงั น้ี ประเภทเล่นกบั บอร์ด ไดแ้ ก่ Sand boarding, Wind , Kite surfing, Rive boarding, , Surfing, Flow boarding, Sky surfing, Skate boarding, Mountain boarding, Wake boarding, Dirt surfing, Street luging ประเภทเครื่องยนตห์ ายนะ ไดแ้ ก่ , Snow cross, , , Super cross, Motorcycle rallying ประเภทเล่นบนพ้ืนผวิ น้า ไดแ้ ก่ , , , Free-, , , , Waters kiing ประเภทภูเขาสูง ไดแ้ ก่ Rock , , , ประเภทโรยตวั จากที่สูง ไดแ้ ก่ (Sky diving), , , Base jumping ประเภทการเหินบนอากาศ ไดแ้ ก่ , , , , อื่น ๆ ไดแ้ ก่ , BMX, , Parkour, Cliff diving, , , Rappelling, Caving, Zip-lining, , Powerbocking, Stunt pogoing, Slack lining, Freestyle scootering, Free running จากความหมายที่กล่าวมา สรุปไดว้ า่ กีฬาที่มีความเสี่ยงสูงเป็นกิจกรรมกีฬาที่มีความเร็ว ความสูงมากกวา่ กีฬาทว่ั ไป ตอ้ งมีอุปกรณ์พิเศษเพื่อป้องกนั การบาดเจบ็ และมีโอกาสที่ผเู้ล่นจะ ไดร้ ับการบาดเจบ็ หรือเสียชีวิตมากกวา่ กีฬาทว่ั ๆ ไป

12

พฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬา ความหมายของพฤติกรรม ประทีป จินงี่ (2540) ใหค้ วามหมายของพฤติกรรมวา่ หมายถึง ส่ิงที่บุคคลกระทา แสดงออกหรือตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้า ที่สามารถสังเกตและวดั ไดต้ รงกนั เฉลิมพล ตนั สกุล (2541) ใหค้ วามหมายของพฤติกรรมวา่ หมายถึง กิจกรรมตา่ ง ๆ ที่ เกิดข้ึนซ่ึงอาจเป็นการกระทา ที่บุคคลน้นั แสดงออกมา รวมท้งั กิจกรรมที่เกิดข้ึนภายในตวั บุคคล และกิจกรรมน้ีอาจสามารถสังเกตไดด้ ว้ ยประสาทสัมผสั หรือไมส่ ามารถสังเกตไดด้ ว้ ยประสาท สัมผสั สามารถแบง่ พฤติกรรมได ้ 2 ประเภท คือ 1. พฤติกรรมภายนอก (Overt behavior) คือ การกระทา ที่เกิดข้ึนสามารถสังเกตไดด้ ว้ ย ประสาทสัมผสั หรืออาจใชเ้ ครื่องมือช่วย 2. พฤติกรรมภายใน (Covert behavior) คือ กระบวนการที่เกิดข้ึนภายในจิตใจ บุคคลไม่ สามารถสังเกตได้ สุรพล พะยอมแย้ม (2545) ใหค้ วามหมายของพฤติกรรมวา่ หมายถึง การกระทา อนั เกิด จากการกระตุน้ หรือถูกจูงใจจากส่ิงเร้าตา่ ง ๆ การกระทา หรือพฤติกรรมเหล่าน้ีเกิดข้ึนหลงั จากที่ บุคคลไดใ้ ชก้ ระบวนการ กลน่ั กรอง ตกแตง่ และต้งั ใจที่จะทา ใหเ้ กิดข้ึน เพื่อให้ผู้อื่นได้สัมผัสและ รับรู้ ท้งั น้ี เราจะเห็นไดว้ า่ มีพฤติกรรมจา นวนมาก แมจ้ ะกระทา ดว้ ยสาเหตุหรือจุดมุง่ หมายเดียวกนั แตล่ กั ษณะทา่ ทางอาการอาจแตกตา่ งกนั เมื่อบุคคล เวลา สถานที่ หรือสถานการณ์เปลี่ยนไป ความ แตกตา่ งที่เกิดข้ึนน้ีเป็นเพราะการกระทา ในแตล่ ะคร้ัง ของบุคคลที่มีสภาพร่างกายปกติ ลว้ นแลว้ แต่ ตอ้ งผา่ นกระบวนการคิดและการตดั สินใจ อนั ประกอบดว้ ยอารมณ์และความรู้สึกของผูก้ ระทา พฤติกรรมน้นั ๆ จึงทา ใหพ้ ฤติกรรมของแตล่ ะคน และพฤติกรรมแตล่ ะคราวเปลี่ยนแปลงหรือ ปรับเปลี่ยนไปตามเรื่องที่เกี่ยวขอ้ งเสมอ ดว้ ยเหตุผลที่วา่ พฤติกรรมแตล่ ะคร้ังเกิดจากกระบวนการ ดังน้นั หากพิจารณาแยกกระบวนการน้นั ๆ แลว้ ประกอบไปดว้ ย 3 ส่วน คือ 1. ส่วนการแสดงออก หรือกิริยาทา่ ทาง (Acting) 2. ส่วนการคิดเกี่ยวกบั กิริยาน้นั (Thinking) 3. ส่วนความรู้สึกที่มีอยใู่ น ขณะน้นั (Feeling) ไพบูลย ์ ศรีชยั สวสั ด์ิ (2549) กล่าววา่ พฤติกรรม หมายถึง ปฏิกิริยา หรือกิจกรรมทุกชนิด ที่มนุษยก์ ระทา แมว้ า่ จะสังเกตไดห้ รือไมก่ ต็ าม ซ่ึงอาจเป็นการกระทา ที่บุคคล น้นั แสดงออกมา หรือ เป็นกิจกรรมภายในตวั บุคคลท้งั ที่สังเกตไดโ้ ดยตรง หรือใชเ้ ครื่องมือช่วย โดยอาจจะเกิดข้ึนทนั ที หรือเกิดข้ึนหลงั จากถูกกระตุน้ มาแลว้ ระยะหน่ึง ราชบณั ฑิตยสถาน (2556) ใหค้ วามหมายของพฤติกรรมวา่ หมายถึง การกระทา หรือ อาการที่แสดงออกทางกลา้ มเน้ือ ความคิด และความรู้สึกเพื่อตอบสนองต่อส่ิงเร้า 13

Allen and Santrock (1993) ใหค้ วามหมายวา่ พฤติกรรม คือ ทุก ๆ ส่ิงที่บุคคลทา ซ่ึง สามารถ สังเกตไดโ้ ดยตรง หรืออยใู่ นกระบวนการทางจิตใจ ซ่ึงไดแ้ ก่ ความคิด ความรู้สึก และ แรงขบั ซ่ึงเป็น ประสบการณ์ของแตล่ ะบุคคลที่ไมส่ ามารถจะสังเกตไดโ้ ดยตรง จากความหมายขา้ งตน้ น้นั พฤติกรรมของมนุษยม์ ีความหมายครอบคลุมการแสดงออก ท้งั ทางดา้ น ร่างกาย และจิตใจ ซ่ึงถา้ เป็นการแสดงออกทางดา้ นร่างกายกจ็ ะแสดงออกมาให้เห็นได้ อยา่ งชดั เจน เช่น เดิน วง่ิ นอน หรือกระโดด เป็นตน้ แตถ่ า้ เป็นการแสดงออกที่อยใู่ นกระบวนการ ของจิตใจ กจ็ ะไมแ่ สดง ออกมาใหเ้ ห็นอยา่ งชดั เจน ซบั ซอ้ นอยภู่ ายในจิตใจ เช่น ความคิด ความรู้สึก หรือแรงจูงใจ เป็นตน้ เมื่อไม่ สามารถสังเกตเห็นไดโ้ ดยตรงแลว้ กต็ อ้ งอาศยั การคาดเดาสรุปเอาจาก การกระทา ตา่ ง ๆ ที่สามารถสังเกตเห็นได้ ประเภทของพฤติกรรม พฤติกรรมมนุษยม์ ีความซบั ซอ้ นที่ตอ้ งศึกษาโดยละเอียด แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม นักวิชาการได้ จา แนก พฤติกรรมมนุษยท์ ี่เป็นสาระในการศึกษาออกเป็นประเภทตา่ ง ๆ โดยใชเ้ กณฑใ์ นการ จาแนก 5 เกณฑ์ (กุญชรี ค้าขาย, 2545) ดงั น้ี 1. เกณฑ์ในการใช้การสังเกต ในการใช้การสังเกตเป็นเกณฑ์ พฤติกรรมสามารถจาแนก เป็น 2 ประเภท ประเภทแรก คือ พฤติกรรมภายนอก (Overt behavior) ซ่ึงปรากฏเห็นไดช้ ดั เจน เช่น การหวั เราะ ยมิ้ ร้องไห ้ เป็นตน้ ประเภทที่สอง คือ พฤติกรรมภายใน (Covert behavior) ซ่ึงไม่ ปรากฏใหส้ ามารถสังเกตไดอ้ ยา่ งชดั เจน เช่น ความคิด ความรู้สึก การเขา้ ใจ ความจา เป็นต้น พฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายในมีความสัมพนั ธ์เกี่ยวขอ้ งกนั กล่าวคือ พฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรมภายในตา่ งกเ็ ป็นตวั กา หนดซ่ึงกนั และกนั เช่น ถา้ พฤติกรรมภายในโศกเศร้า กจ็ ะ แสดง ออกมาเป็นพฤติกรรมภายนอกทางสีหนา้ แววตาเศร้า ทา่ ทางเกบ็ กดเกบ็ ตวั หรือร้องไห้ ออกมาได ้ ในทา นอง เดียวกนั ถา้ พฤติกรรมภายนอกเกร้ียวกราด ตวาดแมไ่ ปโดยไมต่ ้งั ใจ กจ็ ะส่งผล ใหเ้ กิดพฤติกรรมภายใน คือ รู้สึกผดิ และอาจคิดในทางร้ายวา่ แมไ่ มร่ ักตน 2. เกณฑด์ า้ นแหล่งกา เนิดพฤติกรรม ในการใชแ้ หล่งที่เกิดเป็นเกณฑ ์ พฤติกรรมสามารถ จาแนกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทแรก คือ พฤติกรรมวุฒิภาวะ (Maturity) ซึ่งเป็นความพร้อมที่ เกิดข้ึนโดยมีธรรมชาติเป็นตวั กา หนดใหเ้ ป็นไปตาม เผา่ พนั ธุ์ และวงจรของชีวติ มนุษยส์ ามารถเกิด พฤติกรรมน้นั ข้ึนมาไดด้ ว้ ยตนเอง ไม่ตอ้ งผา่ นประสบการณ์ หรือการฝึกฝน เช่น การคลาน การ ร้องไห้ การนอน เป็นต้น ประเภทที่สอง คือ พฤติกรรมที่เกิดจากการ เรียนรู้ (Learned) ซึ่งเป็นผลมา จากการไดร้ ับประสบการณ์และการฝึกฝน เช่น การวา่ ยน้า การขี่จกั รยาน การอา่ นหนงั สือ เป็นตน้ 3. เกณฑ์ด้านภาวะทางจิตของบุคคล ในการใช้ภาวะทางจิตของบุคคลเป็นเกณฑ์ พฤติกรรมสามารถจาแนกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทแรก คือ พฤติกรรมที่กระทา โดยรู้ตวั 14

(Conscious) เป็นพฤติกรรมที่อยใู่ นระดบั จิตสา นึก เช่น พูด วง่ิ เดิน เป็นตน้ ประเภทที่สอง พฤติกรรมที่กระทาโ ดยไมร่ ู้ตวั (Unconscious) เป็นพฤติกรรมที่อยใู่ นระดบั จิตไร้สา นึก หรือจิตใต้ สา นึก หรือเป็นพฤติกรรมที่ขาดสติสัมปชญั ญะ เช่น ฝัน ละเมอ เป็นตน้ 4. เกณฑ์ด้านการแสดงออกของอินทรีย์ ในการใช้การแสดงออกของอินทรีย์เป็นเกณฑ์ พฤติกรรมสามารถจาแนกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทแรก คือ พฤติกรรมทางกาย (Physical activity) เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกโดยใชอ้ วยั วะของ ร่างกายอยา่ งเป็นรูปธรรม เช่น การ เคลื่อนไหวร่างกายดว้ ยแขนหรือขา การปรับเปลี่ยนอิริยาบถของ ร่างกาย การพยกั หนา้ การโคลงตวั เป็นต้น ประเภทที่สอง พฤติกรรมทางจิต (Psychological activity) เป็นพฤติกรรมที่อยภู่ ายใน เช่น ความคิด ความเขา้ ใจ หรือการเกิดอารมณ์ เป็นตน้ 5. เกณฑ์ด้านการทา งานของระบบประสาท ในการใช้การทา งานของระบบประสาทเป็น เกณฑ์ พฤติกรรมสามารถจาแนกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทแรก คือ พฤติกรรมที่ควบคุมได ้ (Voluntary) เป็นพฤติกรรมที่อยใู่ นความควบคุมและส่ังการดว้ ยสมอง จึงสามารถแสดงพฤติกรรม ไดต้ ามที่ตอ้ งการ เช่น การพูดคุย การแกวง่ แขนขา เป็นตน้ ประเภทที่สอง พฤติกรรมที่ควบคุมไมไ่ ด ้ (Involuntary) เป็นการทา งานของอินทรียท์ ี่เป็นไปโดยอตั โนมตั ิ เช่น ปฏิกิริยาสะทอ้ น (สะอึก) สัญชาติญาณ (สะดุ้ง) และการทา งานของระบบอวัยวะภายใน เป็นต้น จะเห็นไดว้ า่ พฤติกรรมครอบคลุมถึงการกระทา ทุกอยา่ งของมนุษย ์ ท้งั ที่ ปรากฎชัดเจน และไมป่ รากฏชดั เจน ในอนั ที่จะตอบสนองต่อส่ิงเร้าภายในและส่ิงเร้าภายนอก เพื่อใหเ้ กิดความ สมดุลของระบบในร่างกายและจิตใจ ทา ใหต้ อบสนองความตอ้ งการของอินทรียไ์ ดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ ซ่ึงถือเป็นความสามารถในการปรับตวั และการจดั การกบั สภาพการตา่ ง ๆ ของมนุษย์ การวัดพฤติกรรม พฤติกรรมของบุคคล ประกอบด้วยพฤติกรรมภายนอก และภายใน การที่จะศึกษา พฤติกรรมสามารถทาได้หลายวิธี ถ้าเป็นพฤติกรรมภายนอกที่บุคคลแสดงออกมาให้บุคคลอื่นเห็น ได ้ ศึกษาไดโ้ ดยสังเกตทางตรงและทางออ้ ม แตถ่ า้ เป็นพฤติกรรมภายใน ไมส่ ามารถสังเกตได ้ ต้องใช้วิธีการทางอ้อมโดยการสัมภาษณ์ การทดสอบด้วยแบบทดสอบ และการทดลองใน หอ้ งปฏิบตั ิการ เพราะฉะน้นั เครื่องมือที่ใช้ในการวัดพฤติกรรมอาจทาได้โดยการสร้างแบบสอบถา ม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต หรือใช้เครื่องมืออื่นประกอบ สมจิตต ์ สุพรรณทตั น์ (2524) ไดก้ ล่าวถึง วิธีการศึกษาพฤติกรรมมี 2 วิธี คือ 1. การศึกษาพฤติกรรมทางตรง 1.1 การสังเกตแบบให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว (Direct observation) เช่น การสังเกต พฤติกรรมของนักเรียนในห้องเรียน โดยบอกใหน้ กั เรียนในช้นั ไดท้ ราบวา่ ครูสังเกตดูวา่ ใครทา 15

พฤติกรรมอะไรบา้ งในห้อง การสังเกตแบบน้ีอาจทา ใหบ้ างคนไมแ่ สดงพฤติกรรมที่แทจ้ ริงออกมา 1.2 การสังเกตแบบธรรมชาติ (Naturalistic observation) คือ การสังเกตพฤติกรรมใน ลกั ษณะที่ไมใ่ หผ้ ทู้ ี่ถูกสังเกตรู้ตวั วา่ ถูกสังเกตพฤติกรรมอย ู่ การสังเกตแบบน้ีจะไดพ้ ฤติกรรมที่ แทจ้ ริงมาก และสามารถนา ผลที่ไดม้ าอธิบายพฤติกรรมที่ใกลเ้ คียงกนั หรือเหมือนกนั ขอ้ จา กดั ของ วิธีสังเกตแบบธรรมชาติ คือ ต้องใช้เวลามาก จึงจะสังเกตพฤติกรรมที่ต้องการได้ และการสังเกตทา เป็นเวลาติดต่อกนั เป็นจา นวนหลายคร้ัง 2. การศึกษาพฤติกรรมทางออ้ ม สามารถแบง่ ออกไดห้ ลายวธิ ี คือ 2.1 การสัมภาษณ์ เป็นวธิ ีที่ผูศ้ ึกษาใชก้ ารซกั ถามขอ้ มูลจากบุคคล หรือกลุ่มบุคคล โดยการซกั ถามแบบเผชิญหนา้ กนั โดยตรง หรือมีคนกลางทา หนา้ ที่ซกั ถามใหก้ ไ็ ด ้ การสัมภาษณ์ แบง่ ออกเป็นสองประเภท คือ การสัมภาษณ์ทางตรง ทาได้โดยผู้สัมภาษณ์ถามเป็นเรื่อง ๆ ตามที่ได้ ต้งั จุดหมายเอาไว ้และการสัมภาษณ์ทางออ้ ม ซ่ึงผถู้ ูกสัมภาษณ์จะไมท่ ราบวา่ ผสู้ ัมภาษณ์ตอ้ งการ อะไร การสัมภาษณ์แมจ้ ะไดข้ อ้ มูลมากแตก่ ม็ ีขอ้ จา กดั คือ ในบางเรื่องผสู้ ัมภาษณ์ไมต่ อ้ งการให้ เปิดเผย 2.2 การใช้แบบสอบถาม เป็นวธิ ีการที่เหมาะกบั การศึกษาพฤติกรรมของบุคคลเป็น จา นวนมาก ผทู้ ี่อา่ นออกเขียนได ้ และการสอบถามขอ้ มูลของบุคคลที่อยหู่ ่างไกลหรือกระจดั กระจายมาก นอกจากน้ี ยังสามารถถามพฤติกรรมในอดีตหรือทราบแนวโน้มพฤติกรรมในอนาคต ได้อีกด้วย 2.3 การทดลอง เป็นการศึกษาพฤติกรรม โดยผถู้ ูกศึกษาจะอยใู่ นสภาพการควบคุม ตามที่ผศู้ ึกษาตอ้ งการโดยสภาพที่แทจ้ ริงแลว้ การควบคุมทา ไดใ้ นหอ้ งทดลอง แตช่ ุมชน การศึกษา พฤติกรรมของชุมชนโดยควบคุมตวั แปรตา่ ง ๆ คงเป็นไปได้น้อยมาก การทดลองในห้องปฏิบัติการ จะทา ใหข้ อ้ มูลจา กดั ซ่ึงบางคร้ังอาจนา ไปใชใ้ นสภาพความเป็นจริงไมไ่ ดเ้ สมอไป 2.4 การทา แบบบนั ทึก ทา ให้ทราบพฤติกรรมของบุคคล โดยใหบ้ ุคคลแตล่ ะคนทา บนั ทึกพฤติกรรมของตนเอง ซ่ึงอาจเป็นบนั ทึกประจา วนั หรือศึกษาพฤติกรรมแตล่ ะประเภท เช่น พฤติกรรมการเงิน พฤติกรรมการทางาน พฤติกรรมสุขภาพ เป็นต้น ในงานวจิ ยั น้ีผวู้ ิจยั ไดท้ า การศึกษาผทู้ ี่มีพฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไม่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ซ่ึง ปฏิพทั ธ์ อุราโรจน์ (2555) ไดใ้ หค้ วามหมายของพฤติกรรมการเล่น กีฬาวา่ การเล่นกีฬาน้นั ประกอบดว้ ยกิจกรรมปกติหรือทกั ษะที่อยภู่ ายใตก้ ติกาซ่ึงถูกกา หนดโดย ความเห็นที่ตรงกนั โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพกั ผอ่ น การแขง่ ขนั ความเพลิดเพลิน ความสา เร็จ การ พฒั นาของทกั ษะ หรือหลายส่ิงรวมกนั กีฬาเป็นกิจกรรมที่ควบคูก่ บั การแขง่ ขนั โดยการเล่นกีฬาน้นั มีหลายวตั ถุประสงคอ์ าจจะเล่นเพื่อความเป็นเลิศ เล่นกีฬาเป็นอาชีพ เหล่าน้ีกล็ ว้ นเป็นส่ิงที่ควบคูไ่ ป 16

กบั การมีสุขภาพที่แขง็ แรงจากการออกกา ลงั กายโดยการเล่นกีฬาท้งั สิ้น และการเล่นกีฬาน้นั มีหลาย ประเภทซ่ึงข้ึนอยกู่ บั บุคคลวา่ ตอ้ งการเล่นกีฬาชนิดใด ซ่ึงกีฬาแตล่ ะชนิดกม็ ีความแตกตา่ งกนั ท้งั วธิ ีการเล่น กฎกติกามารยาท ข้ึนอยกู่ บั ความชอบและความถนดั ของแตล่ ะบุคคล ดงั น้นั ผู้วิจัยจึงได้ เลือกกลุ่มตวั อยา่ งโดยการจา แนกผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ดงั น้นั ในการวดั พฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬาของผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไม่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงผวู้ จิ ยั จึงไดท้ า การวดั พฤติกรรมในทางตรงด้วยการสังเกตแบบธรรมชาติ ที่เห็นชดั วา่ เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงหรือไม ่ โดยเกบ็ ขอ้ มูลจากคนสองกลุ่ม คือ ผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง และผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ผู้วิจัยได้นาทฤษฎีของรีดเดอร์ ที่ได้ทาการศึกษาในเรื่องของกระบวนการตัด สินใจมาเป็น ทฤษฎีฐานในการอธิบายผทู้ ี่ตดั สินใจเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ดงั น้ี ทฤษฎีของ Reeder (n.d. อ้างถึงใน สุดารา ดิษฐาภรณ์, 2535) ได้ทาการศึกษาพฤติกรรม ของบุคคลและแสดงใหเ้ ห็นวา่ การกระทา ของบุคคลน้นั เป็นผลมาจากการที่ บุคคลมีความเชื่อ หรือไม่เชื่อ (Belief or disbelief) ในส่ิงน้นั ๆ ดงั น้นั ในการตัดสินใจเลือกกระทา พฤติกรรมทาง สังคมของบุคคลทุกเรื่อง จึงมีผลมาจากการที่มีความเชื่อและไมเ่ ชื่อดงั กล่าว โดยเฉพาะพฤติกรรม ของบุคคลที่เกี่ยวกบั การตดั สินใจ Reeder ไดแ้ บง่ ปัจจยั ออกเป็นประเภทตา่ ง ๆ ถึง 3 ประเภท คือ ปัจจัยดึง (Pull factors) ปัจจัยผลัก (Push factors) และปัจจัยความสามารถ (Able-factors) ดงั น้ี 1. ปัจจัยดึง (Pull factors) ความมุง่ ประสงคท์ ี่จะใหบ้ รรลุและใหส้ ัมฤทธ์ิจุดประสงคใ์ น การกระทา ส่ิงหน่ึงส่ิงใดน้นั ผกู้ ระทา จะมีกา หนดเป้าหมาย หรือจุดประสงคไ์ วก้ ่อนล่วงหนา้ และ ผู้กระทาพยายามกระท าทุกวิถีทางเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ 1.1 ความเชื่อ (Belief orientation) ความเชื่อน้นั เป็นผลมาจากการที่บุคคลไดร้ ับรู้ ไม ่ วา่ จะเป็นแนวคิดหรือความรู้ ซ่ึงความเชื่อเหล่าน้ีจะมีผลตอ่ การตดั สินใจของบุคคลและ พฤติกรรมทางสังคม ในกรณีที่วา่ บุคคลจะเลือกรูปแบบของพฤติกรรมพ้ืนฐานของความเชื่อที่ตน ยดึ มน่ั อย ู่ ซ่ึงความเชื่อน้ีพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556) ได้ให้ คานิยามไว้ คือ การยอมรับ ขอ้ เสนอใดขอ้ เสนอหน่ึงวา่ เป็นจริง ความเชื่อจะก่อใหเ้ กิดภาวะทาง จิตใจในบุคคลซ่ึงอาจเป็น พ้ืนฐานสา หรับการกระทา โดยสมคั รใจของบุคคลน้นั แต่อยา่ งไรกต็ าม ความเชื่อน้ีจะทา ใหบ้ ุคคล ไดก้ ระทา หรือไมก่ ระทา พฤติกรรมกเ็ ป็นได ้ 1.2 คา่ นิยม (Value standards) เป็นส่ิงที่บุคคลยดึ ถือเป็นเครื่องช่วยตดั สินใจ และ กา หนดการกระทา ของตนเอง คา่ นิยมน้นั เป็นความเชื่ออยา่ งหน่ึงมีลกั ษณะถาวร คา่ นิยมของมนุษย ์ จะแสดงออกทางทศั นคติและพฤติกรรมของมนุษยใ์ นเกือบทุกรูปแบบ คา่ นิยมมีผลต่อการตดั สินใจ 17

ในกรณีที่วา่ การกระทา ทางสังคมของบุคคลพยายามที่จะกระทา ใหส้ อดคลอ้ งกบั คา่ นิยมที่ยดึ ถืออยู ่ 1.3 นิสัยและขนบธรรมเนียม (Habits and customs) คือ แบบอยา่ งพฤติกรรมที่สังคม กา หนดไวแ้ ลว้ สืบต่อกนั มาดว้ ยประเพณี และถา้ มีการละเมิดกจ็ ะถูกบงั คบั ดว้ ยการที่สังคม ไม่ เห็นชอบดว้ ยในการตดั สินใจที่จะเลือกกระทา พฤติกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงของมนุษยน์ ้นั ส่วนหน่ึง จึงเนื่องมาจากแบบอยา่ งพฤติกรรมที่สังคมกา หนดไวใ้ หแ้ ลว้ 2. ปัจจัยผลัก (Push factors) 2.1 ความคาดหวัง (Expectation) คือ ทา่ ทีของบุคคลที่มีต่อพฤติกรรมของบุคคลที่มี ตอ่ พฤติกรรมของบุคคลเกี่ยวขอ้ งกบั ตวั เอง โดยคาดหวงั หรือตอ้ งการใหบ้ ุคคลน้นั ถือปฏิบตั ิและ กระทา ในส่ิงที่ตนตอ้ งการ ดงั น้นั ในการเลือกกระทาพฤติกรรม (Social action) ส่วนหน่ึงจึงข้ึน อย ู่ กบั การคาดหวงั และทา่ ทีของบุคคลอื่นดว้ ย 2.2 ข้อผูกพัน (Commitments) คือ ส่ิงที่ผกู้ ระทา เชื่อวา่ เขาถูกผกู มดั ที่จะตอ้ งกระทา ให้ สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์น้นั ๆ ข้อผูกพันจะมีอิทธิพลตอ่ การตดั สินใจ และการกระทา ของสังคม เพราะผกู้ ระทา ต้งั ใจที่จะกระทา ส่ิงน้นั ๆ เนื่องจากเขารู้วา่ เขามีขอ้ ผกู พนั ที่จะตอ้ งกระทา 2.3 การบังคับ (Force) คือ การช่วยกระตุน้ ใหผ้ กู้ ระทา ตดั สินใจกระทา ไดเ้ ร็วข้ึน เพราะ ขณะที่ผกู้ ระทา ส่ิงตา่ ง ๆ น้นั เขาอาจจะยงั ไมแ่ น่ใจวา่ จะกระทา พฤติกรรมน้นั ดีหรือไม ่ แต่ เมื่อมีการบงั คบั ก็จะทา ใหต้ ดั สินใจกระทา พฤติกรรมน้นั ไดเ้ ร็วข้ึน 3. ปัจจัยเรื่องความสามารถ (Able-factors) 3.1 โอกาส (Opportunity) เป็นความคิดของผกู้ ระทา ที่เชื่อวา่ สถานการณ์ที่เกิดข้ึนช่วย ให้มีโอกาสเลือกกระทา 3.2 ความสามารถ (Ability) คือ การที่ผกู้ ระทา รู้ถึงความสามารถของตวั เองซ่ึงก่อให้ ผลสา เร็จในเรื่องน้นั ได ้ การตระหนกั ถึงความสามารถน้ีจะนา ไปสู่การตดั สินใจและการกระทา ทาง สังคม โดยทว่ั ไปแลว้ การที่บุคคลกระทา พฤติกรรมใด ๆ บุคคลจะพิจารณาความสามารถของ ตนเองเสียก่อน 3.3 การสนับสนุน (Support) คือ ส่ิงที่ผกู้ ระทา รู้วา่ จะไดร้ ับหรือคิดวา่ จะไดร้ ับจาก การ กระทา น้นั ๆ จากองคป์ ระกอบท้งั 10 ประการ Reeder ไดอ้ ธิบายถึงแนวความคิดเกี่ยวกบั ปัจจยั หรือสาเหตุที่มีผลต่อการกระทา ทางสังคม ดงั น้ี 3.3.1 ในสถานการณ์ของการกระทาท างสังคม จะเกี่ยวขอ้ งกบั พฤติกรรมของ บุคคลหลายคน ซ่ึงแตล่ ะคนกจ็ ะมีเหตุผลแตล่ ะอยา่ งในการตดั สินใจในการกระทา 3.3.2 บุคคลหรือองค์การจะตัดสินใจ หรือแสดงการกระทา บนพ้ืนฐานของกลุ่ม เหตุผล ซ่ึงผตู้ ดั สินใจเองไดค้ ิดวา่ มนั สอดคลอ้ งหรือตรงกบั ปัญหาและสถานการณ์น้นั ๆ 18

3.3.3 เหตุผลบางประการจะสนับสนุนการตัดสินใจ และเหตุผลบางประการ อาจจะต่อตา้ นการตดั สินใจ 3.3.4 เหตุผลน้นั ผตู้ ดั สินเองจะตระหนกั หรือใหน้ ้า หนกั ที่แตกตา่ งกนั ในการเลือก เหตุผล หรือปัจจยั ที่มีอิทธิพลตอ่ การตดั สินใจ 3.3.5 เหตุผลที่เกี่ยวขอ้ งกบั การตดั สินใจน้นั อาจจะเป็นเหตุผลเฉพาะจากเหตุผล เพียงหน่ึง ประการหรือมากกวา่ จา นวนเหตุผลหรือปัจจยั ที่มีอิทธิพลตอ่ การกระทา น้นั 10 ประการ ที่กล่าว มาแลว้ 3.3.6 อาจจะมีเหตุผลสองหรือสามประการจากเหตุผลท้งั 10 ประการ หรืออาจจะ ไมม่ ีเลยที่ จะมีอิทธิพลตอ่ การตดั สินใจในทุกโอกาส 3.3.7 กลุ่มของปัจจยั หรือเหตุผลที่มีอิทธิพลตอ่ การกระทา ทางสังคมน้นั ยอ่ มจะมี การ เปลี่ยนแปลงได้ 3.3.8 ผู้กระทาผู้ตัดสินใจสามารถจะเลือกทางเลือกโดยเฉพาะ ซ่ึงแตกตา่ งกนั ออกไปในบุคคลแตล่ ะคน 3.3.9 สา หรับกรณีเฉพาะบางอยา่ งภายใตก้ ารกระทา ทางสังคม จะมีบอ่ ยคร้ังที่มี ทางเลือก สองหรือสามทางเพื่อที่จะสนองตอบต่อสถานการณ์น้นั 3.3.10 เหตุผลที่จะตัดสินใจ สามารถที่จะมองเห็นได้จากทางเลือกที่ถูกเลือกแล้ว จากการสืบคน้ ขอ้ มูลสรุปไดว้ า่ พฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬา คือ การที่บุคคลเลือกเล่น กีฬา โดยแสดงออกทางดา้ นร่างกายที่ออกมาใหเ้ ห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ เล่นกีฬาอะไร หรือกิจกรรม ตา่ ง ๆ ที่เกิดข้ึนซ่ึงอาจเป็นการกระทา ที่บุคคลน้นั แสดงออกมาสามารถสังเกตไดด้ ว้ ยประสาทสัมผสั โดยกระบวนการตดั สินใจของแตล่ ะบุคคลน้นั มาจากปัจจยั ท้งั ภายในและภายนอกที่มีผลตอ่ การ ตดั สินใจเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

ปัจจัยในการจ าแนกพฤติกรรมการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 1. บุคลกิ ภาพ 5 องค์ประกอบ (Personality) ความหมายของบุคลกิ ภาพ 5 องค์ประกอบ (Personality) การศึกษาเรื่องบุคลิกภาพที่เป็นที่ยอมรับกนั มาในปัจจุบนั คือ แนวคิดบุคลิกภาพห้า องค์ประกอบ (The big five หรือ Five factor model: FFM) ดว้ ยเหตุที่สามารถประยกุ ตไ์ ดก้ บั วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ระหวา่ งปี ค.ศ. 1960-1970 ความสา คญั ของบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบยงั ไมเ่ ป็น ที่ยอมรับ แตเ่ ร่ิมมีบทบาทอีกคร้ังช่วงปี ค.ศ. 1980 ซ่ึงนกั วิจยั ในสาขาตา่ ง ๆ สรุปวา่ รูปแบบ บุคลิกภาพเหล่าน้ีเป็นองคป์ ระกอบพ้ืนฐานของบุคลิกภาพที่สามารถพบไดจ้ ากรายงานดว้ ยตนเอง 19

และการประเมินในกลุ่มวยั ต่าง ๆ (McCrae & John, 1992) Costa and McCrae (1996, pp. 51-87) ไดส้ รุปแนวคิดของทฤษฎีไอแซงคก์ บั นอร์แมน ซ่ึงแบง่ ลกั ษณะนิสัยออกเป็นสองกลุ่มใหญ ่ คือ เกบ็ ตวั -แสดงตัว (Introverted-extroverted) และ หวน่ั ไหว-มน่ั คง (Neuroticism-stability) ต่อมาไดพ้ ฒั นาข้ึนเป็นบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ จน กลายเป็นบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ (Eysenck, 1970; Norman, 1963) ทฤษฎีและแนวคิดบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ แนวคิดบุคลิกภาพห้าองคป์ ระกอบไดถ้ ูกจดั อยใู่ นกลุ่มของทฤษฎีกลุ่มคุณลกั ษณะนิสัย (Trait theory) คุณลักษณะนิสัย (Trait) เป็นคาศัพท์ที่น าไปใช้ในการอธิบายพฤติกรรมที่มีความ แตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะบุคคล คุณลกั ษณะนิสัย (Trait) หมายถึง ความโน้มเอียงในการแสดง พฤติกรรมของบุคคล คุณลักษณะทางบุคลิกภาพเป็นแนวคิดหนึ่งในเรื่องของลักษณะนิสัย (Disposition) นน่ั คือ เป็นลกั ษณะบางอยา่ งที่มีลกั ษณะคอ่ นขา้ งคงที่ ไมค่ อ่ ยมีการเปลี่ยนแปลง แต่ ในทางกลบั กนั ยงั มีพฤติกรรมเฉพาะอยา่ งของบุคคลซ่ึงเป็นลกั ษณะที่แฝงอย ู่ (สุพานี สฤษฎว์ านิช, 2552) McCrae and Costa (1987) กล่าววา่ บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ หรือเรียกชื่อยอ่ วา่ “OCEAN” คือ การอธิบายลกั ษณะของมนุษยซ์ ่ึงบรรจุคุณลกั ษณะประจา ตวั ยอ่ ย ๆ ของมนุษย์ที่มี ลกั ษณะคลา้ ยกนั ไวด้ ว้ ยกนั แบง่ เป็น 5 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว (Neuroticism) บุคลิกภาพแสดงตัว (Extraversion) บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ (Openness to experience) บุคลิกภาพแบบประนีประนอม (Agreeableness) และบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก (Conscientiousness) จากความหมายดงั กล่าวน้นั พอสรุปไดว้ า่ บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ หมายถึง การให้ คา จา กดั ความลกั ษณะนิสัย โดยพยายามอธิบายถึงส่วนประกอบหลักของลักษณะนิสัยจาก คุณลกั ษณะประจา ตวั ยอ่ ย ๆ ในแตล่ ะดา้ นของมนุษย ์ อนั ประกอบเป็นบุคลิกภาพ 5 แบบ ไดแ้ ก่ บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว (Neuroticism) บุคลิกภาพแบบแสดงตัว (Extraversion) บุคลิกภาพแบบ เปิดรับประสบการณ์ (Openness to experience) บุคลิกภาพแบบประนีประนอม (Agreeableness) และบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก (Conscientiousness) องค์ประกอบขอบบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ องคป์ ระกอบแตล่ ะดา้ นของบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ ประกอบดว้ ย คุณลกั ษณะยอ่ ย ซ่ึงจะช่วยใหส้ ามารถมน่ั ใจไดว้ า่ การวดั สามารถครอบคลุมความคิด ความรู้สึก และการกระทา เทา่ ที่ จะเป็นไปไดม้ ากที่สุดแยกแยะความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลที่อยใู่ นแตล่ ะคุณลกั ษณะยอ่ ยไดค้ า นิยาม ของบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ และคุณลกั ษณะยอ่ ยมีดงั น้ี (Costa & McCrae, 1992) 20

1. บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว (Neuroticism) ประกอบดว้ ยลกั ษณะยอ่ ย 6 ดา้ น ดงั น้ี ความ วติ กกงั วล (Worry) ความโกรธ (Angry hostility) ความท้อแท้ (Discouragement) การคา นึงถึงแต่ ตนเอง (Self-consciousness) การถูกกระตุ้น (Impulsiveness) และความเปราะบาง (Vulnerability) โดยลกั ษณะของผทู้ ี่มีบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวต่า และลกั ษณะของผทู้ ี่มีบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวสูง มีลักษณะดงั น้ี

ตารางที่ 1 ลกั ษณะองคป์ ระกอบของบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว (Costa & McCrae, 1992)

บุคลกิ ภาพแบบหวนั่ ไหว ลกั ษณะผู้ทไี่ ด้คะแนนต ่า ลกั ษณะผู้ทไี่ ด้คะแนนสูง ความวติ กกงั วล ผอ่ นคลายสงบ ไมผ่ อ่ นคลาย วติ กกงั วล ความโกรธ สุขุม โกรธยาก โกรธง่าย ความท้อแท้ ท้อแท้สิ้นหวงั ยาก ทอ้ แทส้ ิ้นหวงั ง่าย การคา นึงถึงแต่ตนเอง ไมค่ อ่ ยรู้สึกอึดอดั ใจ รู้สึกอึดอดั ใจง่าย การถูกกระตุ้น ทนตอ่ แรงกระตุน้ ไดด้ ี ถูกยว่ั ยงุ ่าย ความเปราะบาง จดั การกบั ความเครียดไดด้ ี ไมส่ ามารถจดั การกบั ความเครียดได ้

2. บุคลิกภาพแบบแสดงตัว (Extraversion) ตวั ประกอบดว้ ยลกั ษณะยอ่ ย 6 ดา้ น ดงั น้ี ความอบอุ่น (Warmth) การชอบอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ื่น (Gregariousness) การกล้าแสดงออก (Assertiveness) การชอบทา กิจกรรม (Activity) การแสดงหาความตื่นเต้น (Excitement seeking) และการมีอารมณ์เชิงบวก (Positive emotions) โดยลักษณะของผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัวต่า และลักษณะของผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัวสูง มีลกั ษณะดงั น้ี

21

ตารางที่ 2 ลักษณะองค์ประกอบของบุคลิกภาพแบบแสดงตัว (Costa & McCrae, 1992)

บุคลกิ ภาพแบบแสดงตัว ลกั ษณะของผู้ทไี่ ด้คะแนนต ่า ลกั ษณะของผู้ทไี่ ด้คะแนนสูง ความอบอุ่น ถือตัวมีความเป็นพิธีการ เป็นที่รัก ที่มีความเป็นมิตร การชอบอยูร่ ่วมกบั ผูอ้ ื่น ไมช่ อบเขา้ สังคม ชอบเข้าสังคม กล้าแสดงออก ชอบอยเู่ บ้ืองหลงั ชอบแสดงออก ชอบพูด เป็นผู้นา การชอบทา กิจกรรม ทา กิจกรรมอยา่ งไมเ่ ร่งรีบ ทา กิจกรรมอยา่ งกระฉบั กระเฉง การแสวงหาความตื่นเต้น ไมต่ อ้ งการความตื่นเตน้ กระหายความตื่นเต้น การมีอารมณ์เชิงบวก ไมค่ อ่ ยร่าเริง ร่างเริง มองโลกในแง่ดี

3. บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ (Openness to experience) ประกอบด้วย ลักษณะ ยอ่ ย 6 ดา้ น ดงั น้ี ช่างฝัน (Fantasy) การมีอารมณ์สุนทรียภาพ (Aesthetics) การเปิดเผยความรู้สึก (Feelings) การปฏิบัติ (Actions) การมีความคิด (Ideas) และการยอมรับคา่ นิยม (Values) โดย ลักษณะของผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ต่า และลักษณะของผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบ เปิดรับประสบการณ์สูง มีลกั ษณะดงั น้ี

ตารางที่ 3 ลักษณะองค์ประกอบของบุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ (Costa & McCrae, 1992)

บุคลกิ ภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ ลกั ษณะผู้ทไี่ ด้คะแนนต ่า ลกั ษณะผู้ทไี่ ด้คะแนนสูง ช่างฝัน ใหค้ วามสา คญั กบั ปัจจุบนั มีจินตนาการ ช่างฝัน การมีอารมณ์สุนทรียภาพ ไมส่ นใจศิลปะ มีความซาบซ้ึงในศิลปะและ ความสวยงาม การเปิดเผยความรู้สึก เพิกเฉย ไมส่ นใจความรู้สึก เห็นคุณคา่ ของอารมณ์ตา่ ง ๆ การปฏิบัติ ชอบทาส่ิงที่เคยชิน ชอบความหลากหลาย ลอง ส่ิงใหม ่ ๆ การมีความคิด เน้นที่ความคิดแคบ ๆ มีความคิดหลากหลายในมุม กว้าง การยอมรับคา่ นิยม ยดึ กบั กฎเกณฑเ์ ดิม พร้อมรับคา่ นิยมใหม่ เปิด กว้าง 22

4. บุคลิกภาพแบบประนีประนอม (Agreeableness) ประกอบดว้ ยลกั ษณะยอ่ ย 6 ด้าน ดงั น้ี การเชื่อใจผูอ้ ื่น (Trust) ความตรงไปตรงมา (Straightforwardness) ความเอ้ือเฟ้ือ (Altruism) การคล้อยตามผู้อื่น (Compliance) ความสุภาพ (Modesty) และการมีจิตอ่อนไหว (Tender mindedness) โดยลักษณะของผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบประนีประนอมต่า และลักษณะของผู้ที่มี บุคลิกภาพแบบประนีประนอมสูง มีลกั ษณะดงั น้ี

ตารางที่ 4 ลักษณะองค์ประกอบของบุคลิกภาพแบบประนีประนอม (Costa & McCrae, 1992)

บุคลกิ ภาพแบบประนีประนอม ลกั ษณะผู้ทไี่ ด้คะแนนต ่า ลักษณะผู้ทไี่ ด้คะแนนสูง การเชื่อใจผู้อื่น ชอบเยาะเย้ยถากถาง เห็นวา่ ผูอ้ ื่นซื่อสัตย ์ และมี ช่างระแวง เจตนาดี ความตรงไปตรงมา ระแวดระวงั พูดเกินความจริง ตรงไปตรงมา เปิดเผย ความรู้สึกเอ้ือเฟ้ือ ไมเ่ ตม็ ใจที่จะช่วยเหลือผอู้ ื่น เตม็ ใจที่จะช่วยเหลือผูอ้ ื่น การคล้อยตามผู้อื่น กา้ วร้าว ชอบแขง่ ขนั ประนีประนอม คล้อยตาม ความสุภาพ รู้สึกวา่ ตนเหนือกวา่ ผอู้ ื่น ข้ีอาย ถ่อมตวั การมีจิตใจออ่ นไหว หัวแข็ง ยึดเหตุผล มีจิตใจอ่อนโยน พร้อมที่จะ เปลี่ยนแปลง

5. บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก (Conscientiousness) ประกอบดว้ ยลกั ษณะยอ่ ย 6 ดา้ น ดงั น้ี การมีความสามารถ (Competence) การมีระเบียบ (Order) การมีความรับผิดชอบตอ่ หนา้ ที่ (Dutifulness) การมีความตอ้ งการสัมฤทธ์ิผล (Achievement striving) การมีวินัยในตนเอง (Self discipline) และการมีความสุขุมรอบคอบ (Deliberation) โดยลักษณะของผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบมี จิตสา นึกต่า และลักษณะของผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึกสูง มีลกั ษณะดงั น้ี

23

ตารางที่ 5 ลักษณะองค์ประกอบของบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก (Costa & McCrae, 1992)

บุคลกิ ภาพแบบมีจิตสานึก ลกั ษณะผู้ทไี่ ด้คะแนนต ่า ลกั ษณะผู้ทไี่ ด้คะแนนสูง การมีความสามารถ รู้สึกวา่ ตนเองไมม่ ีความพร้อม รู้สึกวา่ ตนเองมีความสามารถ การมีระเบียบ ไมม่ ีความเป็นระเบียบไมม่ ีระบบ มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด การมีความรับผิดชอบตอ่ ไมเ่ อาใจใส่หนา้ ที่ มีความสา นึกรับผดิ ชอบต่อ หน้าที่ หน้าที่ การมีความตอ้ งการสัมฤทธ์ิ ต้องการประสบความสาเร็จใน พยายามเพื่อให้ประสบ ผล ระดับต่า ความสาเร็จ การมีวินัยในตนเอง ผดั วนั ประกนั พรุ่ง วอกแวก มุง่ การปฏิบตั ิใหส้ า เร็จ การมีความสุขุมรอบคอบ ตดั สินใจอยา่ งเร่งรีบ คิดอยา่ งรอบคอบก่อนที่จะ ปฏิบัติ

แบบวัดบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของคอสตาและแมคเคร คอสตาและแมคเครไดพ้ ฒั นาแบบทดสอบบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบที่เรียกวา่ The NEO personality inventory (NEO-PI) ซึ่งเป็นแบบทดสอบที่มีข้อความให้ผู้ตอบประเมินตนเอง (Self report scales) จากมาตรวดั ระดบั ตา่ ง ๆ 5 ระดบั โดยเร่ิมจากเห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ (Strong degree) จนถึง ไมเ่ ห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ (Strongly disagree) มีจา นวนขอ้ คา ถามท้งั หมด 181 ขอ้ ตอ่ มาไดม้ ีการพฒั นา เป็นแบบฉบบั ส้ัน ๆ เรียกวา่ NEO Five factor inventory (NEO-FFI) ได้ดึงเอาข้อคาถามด้านบวก สูงที่สุดและด้านลบที่สุดจานวน 12 ขอ้ จากแตล่ ะองคป์ ระกอบของแบบทดสอบ NEO-PI จึงได้ แบบทดสอบที่มีข้อคาถาม 60 ขอ้ นบั เป็นแบบทดสอบที่ใชอ้ ยา่ งแพร่หลายมากที่สุดแบบหน่ึง ซึ่ง ในที่น้ี ผู้วิจัยได้เลือกแบบสอบถามแบบ NEO-FFI ที่จะใช้ในการวัดบุคลิกภาพของผู้ที่เลือกและ ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง สรุปได ้ วา่ บุคลิกภาพหมายถึงลกั ษณะนิสัยทุกส่ิงทุกอยา่ งท้งั ดา้ นความคิด ความรู้สึก ความสนใจ ที่ประกอบข้ึนเป็นตวั บุคคลซ่ึงสามารถมองเห็นไดจ้ ากภายนอกและลกั ษณะภายใน ไมว่ า่ จะเป็นรูปร่างหนา้ ตา กิริยา การแตง่ กาย วธิ ีการพูด สติปัญญา ความชอบไมช่ อบ ลกั ษณะ อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดที่รวมกนั เป็นแบบอยา่ งเฉพาะบุคคลจะแสดงออกมาในรูปของพฤติกรรม ที่สามารถสังเกตได ้ ซ่ึงทา ใหแ้ ตล่ ะคนมีบุคลิกภาพที่ตา่ งกนั ออกไป (ประไพพรรณ ศรีปาน, 2555; ศิริวรรณ เสรีรัตน์, สมชาย หิรัญกิตติ และธนวรรธ ตังสินทรัพย์ศิริ., 2541) 24

2. ทัศนคติ (Attitude) ความหมายของทัศนคติ ทศั นคติเป็นมโนทศั น์หน่ึงที่มีการศึกษากนั มาเป็นเวลานานและศึกษากนั อยา่ งกวา้ งขวาง ในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ Allport (1935) เขียนถึงทศั นคติไวใ้ นคู่มือจิตวทิ ยาสังคมยคุ แรกวา่ เป็นมโนทศั น์ ที่เด่นชดั และขาดหายไปจากจิตวทิ ยาสังคมยคุ ปัจจุบนั ไม่ได ้ ไดม้ ีนกั วชิ าการหลายทา่ นให้ ความหมายไวด้ งั น้ี ปรียาภรณ์ วงศ์อนุตรโรจน์ (2541) กล่าวไวว้ า่ ทศั นคติเป็นการแสดงออกทางดา้ น ความรู้สึกที่ชอบหรือไมช่ อบของบุคคลที่มีตอ่ ส่ิงตา่ ง ๆ หลงั จากไดร้ ับประสบการณ์ในส่ิงน้นั ๆ แบง่ ออกเป็น 3 ลักษณะ คือ ความรู้สึกในทางบวก เป็นการแสดงออกถึงความพอใจ ความเห็นด้วย ความชอบและให้การสนับสนุน เป็นต้น ความรู้สึกในทางลบ เป็นการแสดงออกถึงความไม่ พึงพอใจ ความไมเ่ ห็นดว้ ย ความไมช่ อบและไมใ่ หก้ ารสนบั สนุน เป็นตน้ และความรู้สึกที่เป็นกลาง คือไมม่ ีความรู้สึกใด ๆ โดยบุคคลจะแสดงออกทางดา้ นความรู้สึกทางพฤติกรรม แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ พฤติกรรมภายนอก เป็นพฤติกรรมทีส่ังเกตไดจ้ ากการกล่าวคา พูดสนบั สนุน การ แสดงออกทางหนา้ ตาหรือทา่ ทางที่บง่ บอกถึงความรู้สึกที่พึงพอใจและพฤติกรรมภายใน เป็น พฤติกรรมที่ไมส่ ามารถสังเกตไดช้ อบหรือไมช่ อบกไ็ มแ่ สดงออกหรือจะเป็นความรู้สึกกลาง ๆ กไ็ ม่ แสดงออกถ้าเป็นเป็นพฤติกรรมภายใน พรทิพา พลีคาม (2544) ได้ให้ความหมายของทัศนคติ หมายถึง ความรู้สึก ความคิดของ บุคคลที่เป็นผลมาจากประสบการณ์ และพร้อมที่จะแสดงออกเป็นการตอบสนองต่อส่ิงตา่ ง ๆ ที่อาจ เป็นไปไดท้ ้งั ทางบวกและทางลบ ทศั นคติเป็นส่ิงที่ไมส่ ามารถมองเห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจน การที่เราจะ รับทราบทศั นคติของบุคคลหน่ึงไดก้ ต็ อ้ งใชว้ ธิ ีการแปลความหมายของการแสดงออก ศกั ด์ิไทย สุรกิจบวร (2545) ไดใ้ หค้ วามหมายของทศั นคติไวว้ า่ ทศั นคติ คือ สภาวะ ความพร้อมทางจิตที่เกี่ยวขอ้ งกบั ความคิด ความรู้สึก และแนวโนม้ ของพฤติกรรมบุคคลที่มีตอ่ บุคคลหรือส่ิงของ สถานการณ์ตา่ ง ๆ ไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งเป็นสภาวะความพร้อมทางจิตที่มี ความพร้อมและต้งั อยนู่ านพอสมควร Rogers (1978) กล่าววา่ ทศั นคติเป็นดชั นีช้ีวา่ บุคคลน้นั คิดและรู้สึกอยา่ งไร กบั คนรอบ ขา้ ง วตั ถุหรือส่ิงแวดลอ้ มตลอดจนสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยทศั นคติน้นั มีรากฐานมาจาก ความเชื่อที่ อาจส่งผลถึง พฤติกรรม ในอนาคตได ้ ทศั นคติจึงเป็นเพียงความพร้อมที่จะตอบสนองต่อส่ิงเร้า และ เป็นมิติของการประเมินเพื่อแสดงวา่ ชอบหรือไมช่ อบ ต่อประเด็นหน่ึง ๆ ซ่ึงถือเป็นการสื่อสาร ภายในบุคคล (Interpersonal communication) ที่เป็นผลกระทบมาจากการรับสาร อนั จะมีผลตอ่ พฤติกรรมต่อไป 25

Ajzen (1988) ได้ให้ความหมายของทศั นคติไวว้ า่ ทศั นคติ คือ อารมณ์ ความรู้สึกชอบ หรือไมช่ อบที่ตอบสนองตอ่ วตั ถุ บุคคล สถาบนั หรือเหตุการณ์ Schiffman and Kanuk (1997) ได้ให้ความหมายของทัศนคติ (Attitude) ไวว้ า่ คือ การประเมินผลของการรับรู้ทางดา้ นความพอใจ หรือความไมพ่ อใจ หรือเรียกไดว้ า่ ความรู้สึกชอบ ไมช่ อบ ของบุคคลที่มีต่อส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั ซ่ึงจะมีผลตอ่ พฤติกรรมของบุคคลน้นั ๆ ในแตล่ ะบุคคล จะมีทศั นคติที่แตกตา่ งกนั ไป เนื่องมาจากแตล่ ะคนมีประสบการณ์ในชีวติ ที่แตกตา่ งกนั ประสบการณ์หนึ่ง ๆ ทา ใหเ้ กิดทศั นคติได ้ และหากมีความรุนแรงมากพอกจ็ ะทา ใหเ้ กิดเป็นทศั นคติ ที่ฝังแน่น แตท่ ศั นคติของคนเราโดยส่วนใหญ่เกิดจากหลาย ๆ ประสบการณ์รวมกนั บางคร้ังอาจ เป็นความรู้ทางออ้ มที่เราไดร้ ับมาจากผอู้ ื่นท้งั จากการฟังและการอา่ น และทศั นคติเดิมที่ถูกสร้างไว้ อยแู่ ลว้ กจ็ ะทา หนา้ ที่กลน่ั กรองทศั นคติใหมท่ ี่จะเกิดข้ึนต่อไป จึงถือไดว้ า่ ทศั นคติเป็นความโนม้ เอียงที่ได้จากการเรียนรู้ จากความหมายขา้ งตน้ สรุปไดว้ า่ ทศั นคติ หมายถึง เป็นส่ิงที่บุคคลน้นั คิดอยา่ งไร รู้สึก อยา่ งไร ชอบหรือไมช่ อบตอ่ คน วตั ถุ ส่ิงแวดลอ้ มหรือสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่มีแนวโนม้ ใหเ้ กิด พฤติกรรมไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ลักษณะของทัศนคติ ทศั นคติเป็นความรู้สึกที่ช้ีบง่ บอกลกั ษณะทางจิตใจ อารมณ์ ของบุคคล ซ่ึงอาจเป็น ลกั ษณะที่ไมแ่ สดงออกมาภายนอกใหบ้ ุคคลอื่นเห็นหรือเขา้ ใจกไ็ ด ้ ซ่ึงมีลกั ษณะทว่ั ไปที่สา คญั 5 ประการ (รวีวรรณ อังคนุรักษ์พันธุ์, 2533) ดงั น้ี 1. ทัศนคติเป็นเรื่องของอารมณ์ (Feeling) อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามเงื่อนไขหรือ สถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ บุคคลจะมีการกระทา ที่เสแสร้งโดยแสดงออกไมใ่ หต้ รงกบั ความรู้สึกของตน เมื่อเขารู้ตวั หรือรู้วา่ มีคนสังเกต 2. ทัศนคติเป็นเรื่องเฉพาะตัว (Typical) ความรู้สึกของบุคคลอาจเหมือนกนั แต่รูปแบบ การแสดงออกแตกตา่ งกนั ไป หรืออาจมีการแสดงออกที่เหมือนกนั แตค่ วามรู้สึกตา่ งกนั ได ้ 3. ทัศนคติมีทิศทาง (Direction) การแสดงออกของความรู้สึกสามารถแสดงออกได้สอง ทิศทาง เช่น ทิศทางบวกเป็นทิศทางที่สังคมปรารถนา และทิศทางลบเป็นทิศทางที่สังคมไม่ ปรารถนา ไดแ้ ก่ ซื่อสัตย์-คดโกง รัก-เกลียด ชอบ-ไมช่ อบ ขยนั -ข้ีเกียจ เป็นตน้ 4. ทัศนคติมีความเข้ม (Intensity) ความรู้สึกของบุคคลอาจเหมือนกนั ในสถานการณ์ เดียวกนั แตอ่ าจแตกตา่ งกนั ในเรื่องความเขม้ ที่บุคคลรู้สึกมากนอ้ ยตา่ งกนั เช่น รักมาก รักนอ้ ย ขยันมาก ขยันน้อย เป็นต้น 5. ทัศนคติต้องมีเป้า (Target) ความรู้สึกจะเกิดข้ึนลอย ๆ ไมไ่ ด ้ เช่น รักพอ่ แม ่ ขยนั เขา้ 26

ช้นั เรียน ข้ีเกียจทา การบา้ น เป็นตน้ ประเภทของทัศนคติ การแสดงออกทางทศั นคติสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ (ดารณี พานทอง, 2542) 1. ทศั นคติในทางบวก คือ ความรู้สึกตอ่ ส่ิงแวดล้อมในทางที่ดี หรือยอมรับความพอใจ 2. ทศั นคติในทางลบ คือ การแสดงออกหรือความรู้สึกต่อ ส่ิงแวดลอ้ มในทางที่ไมพ่ อใจ ไมด่ ี ไมย่ อมรับ ไมเ่ ห็นดว้ ย 3. การไมแ่ สดงออกทางทศั นคติ หรือมีทศั นคติเฉย ๆ คือ มีทศั นคติ เป็นกลางอาจจะ เพราะวา่ ไมม่ ีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องน้นั ๆ หรือในเรื่องน้นั ๆ เราไมม่ ีแนวโนม้ ทศั นคติอยเู่ ดิม หรือไมม่ ีแนวโนม้ ทางความรู้ในเรื่องน้นั ๆ มาก่อน องค์ประกอบของทัศนคติ การอภิปรายเกี่ยวกบั องคป์ ระกอบของทศั นคติเป็นส่ิงทีเชื่อมโยงไปยงั แง่มุมอื่นอีก 2 ด้าน คือ ด้านแรกเชื่อมโยงไปยังนิยามของทัศนคติ อีกดา้ นหน่ึงกเ็ ชื่อมโยงไปยงั ประเด็น ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งองคป์ ระกอบเหล่าน้ีหรือความสัมพนั ธ์กบั ตวั แปรอื่น ๆ เนื่องจากนกั จิตวทิ ยา ได้เสนอองค์ประกอบของทัศนคติไว้เป็น 3 แนว ดงั น้ี 1. ทศั นคติมีสามองคป์ ระกอบ แนวคิดน้ีระบุวา่ ทศั นคติมี 3 องค์ประกอบ คือ 1.1 องค์ประกอบด้านปัญญา (Cognitive component) มีส่วนยอ่ ยประกอบดว้ ย ความเชื่อ ความรู้ ความคิด และความคิดเห็น ที่บุคคลมีต่อที่หมายของทศั นคติ (Attitude object) 1.2 องค์ประกอบด้านอารมณ์ความรู้สึก (Affective component) หมายถึง ความรู้สึก ชอบ-ไมช่ อบ หรือทา่ ทีที่ดี-ไมด่ ีที่บุคคลมีตอ่ ที่หมายของทศั นคติ 1.3 องค์ประกอบด้านพฤติกรรม (Behavioral component) หมายถึง แนวโน้มหรือ ความพร้อมที่บุคคลจะปฏิบตั ิตอ่ ที่หมายของทศั นคติ 2. ทศั นคติมีสององคป์ ระกอบ แนวคิดน้ีระบุวา่ ทศั นคติมี 2 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านปัญญา และองค์ประกอบด้านอารมณ์ความรูสึก 3. ทศั นคติมีองคป์ ระกอบเดียว แนวคิดน้ีระบุวา่ ทศั นคติมีองคป์ ระกอบเดียว คือ อารมณ์ ความรู้สึกในทางชอบหรือไม่ชอบที่บุคคลมีตอ่ ที่หมายของทศั นคติ นกั จิตวทิ ยาที่สนบั สนุนแนวคิด น้ีไดแ้ ก่ Bem (1970), Fishbein and Ajzen (1975), Insko (1967) และThurstone (1959) นักจิตวิทยา เหล่าน้ี ถือเอาคานิยามองค์ประกอบทางอารมณ์ความรู้สึกเป็นค านิยามทัศนคติด้วย ดงั น้นั จึงสรุปไดว้ า่ ทศั นคติ เป็นความสัมพนั ธ์ที่คาบเกี่ยวกนั ระหวา่ งความรู้สึก และ ความเชื่อ หรือการรู้ของบุคคลกบั แนวโนม้ ที่จะมีพฤติกรรมโตต้ อบในทางใดทางหน่ึงต่อเป้าหมาย ซ่ึงเป็นไปไดท้ ้งั เชิงบวก และเชิงลบ จะเห็นไดว้ า่ ทศั นคติประกอบดว้ ยความคิดที่มีผลต่ออารมณ์ 27

และความรู้สึกน้นั แสดงออกมาทางพฤติกรรม ในบรรดาแนวการจัดองค์ประกอบของทัศนคติ 3 แนว ดงั กล่าวขา้ งตน้ แนวที่ไดร้ ับ ความนิยามมากที่สุดในปัจจุบนั คือแนวที่เห็นวา่ ทศนคติมีองค์ประกอบด้านอารมณ์ความรู้สึกเพียงั องคป์ ระกอบเดียว โดยในที่น้ี ผู้วิจัยได้เลือกทฤษฎีทัศนคติแบบองค์ประกอบเดียว 3. การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) ความหมายของการรับรู้ความสามารถในตนเอง Bandura (1997) อธิบายวา่ การรับรู้ความสามารถของตนเอง หมายถึงการตัดสิน ความสามารถของตนเองต่อการจดั การและแสดงพฤติกรรมของบุคคลเพื่อใหบ้ รรลุเป้าหมายที่ ตอ้ งการ นอกจากน้ี ยงั อธิบายเพ่ิมเติมวา่ การรับรู้ความสามารถของตนเองเป็นตวั แปรทางจิตวทิ ยา ที่สา คญั อนั แสดงถึงการเลือกที่จะใชค้ วามพยายามกระทา ส่ิงใดส่ิงหน่ึงของบุคคล ระดับการรับรู้ ความสามารถของตนเองมีผลตอ่ การกระทา และความไมย่ อ่ ทอ้ ตอ่ ความลม้ เหลวของบุคคล นอกจากน้ียงั ส่งผลตอ่ รูปแบบความคิดและปฏิกิริยาทางอารมณ์ในการมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ส่ิงแวดลอ้ ม รอบตวั ของแตล่ ะบุคคลอีกดว้ ย นอกจากแบนดูราแลว้ ยงั มีนกั วจิ ยั หลายทา่ นที่ไดก้ ล่าวถึง ความหมายของการรับรู้ความสามารถของตนเองไว ้เช่น Berry (1987) ไดใ้ หค้ วามหมายของการรับรู้ความสามารถของตนเองวา่ เป็น ความสามารถของบุคคลในการที่จะจดั การกบั วตั ถุประสงคท์ ี่ตอ้ งการ โดยบุคคลรับรู้วา่ ตนเองมี ความสามารถในเรื่องใดบา้ ง และจะไมป่ ระเมินคา่ ในส่ิงที่ตอ้ งเผชิญสูงมากนัก Mcshane and Von Glinow (2003) กล่าววา่ การรับรู้ความสามารถของตนเอง คือ ความเชื่อวา่ ตนมีความสามารถและแรงจูงใจที่จะกระทา พฤติกรรมตา่ ง ๆ ใหส้ า เร็จไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ Tella and Ayeni (2006) อธิบายเพ่ิมเติมจากแนวคิดของแบนดูราวา่ การรับรู้ ความสามารถของตนเองสร้างความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เกี่ยวกบั วธิ ีการคิด อารมณ์ และการ แสดงพฤติกรรม บุคคลที่มีระดบั การรับรู้ความสามารถของตนเองต่า จะเกิดความเครียด ความวติ ก กงั วลและมีความนบั ถือตนเองต่า ส่วนบุคคลที่มีระดบั การรับรู้ความสามารถของตนเองสูงน้นั จะ สนุกกบั งานที่ไดร้ ับและมีความนับถือตนเองสูงด้วย จากความหมายที่กล่าวมาสรุปไดว้ า่ การรับรู้ความสามารถของตนเอง หมายถึง การที่ บุคคลรับรู้และประเมินวา่ ตนเองสามารถกระทา ส่ิงใดส่ิงหน่ึงใหบ้ รรลุเป้าหมายได ้ ทฤษฎกี ารรับรู้ความสามารถในตนเอง (Self-efficacy theory) ทฤษฎีความสามารถตนเอง (Self-efficacy theory) เป็นทฤษฎีที่ Bandura (1989) นักจิตวิทยาชาวแคนาดา ได้พัฒนามาจาก ทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม (Social learning 28 theory) สาเหตุของพฤติกรรมที่เกิด ข้ึนตามแนวคิดพ้ืนฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม มีความเชื่อวา่ พฤติกรรมของคนเราน้นั ไมไ่ ดเ้ กิดข้ึนและเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากปัจจยั ทาง สภาพแวดลอ้ มแต่เพียงอยา่ งเดียว หากแตว่ า่ จะตอ้ งมีปัจจยั ส่วนบุคคลร่วมดว้ ย และการร่วมของ ปัจจยั ส่วนบุคคลน้นั จะตอ้ งร่วมกนั ในลกั ษณะที่กา หนดซ่ึงกนั และกนั (Reciprocal determinism) กบั ปัจจยั ทางดา้ นพฤติกรรมและสภาพแวดลอ้ ม ซ่ึงอาจจะเขียนไดด้ งั ภาพต่อไปน้ี

ภาพที่ 2 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปัจจยั ทางดา้ นพฤติกรรมและสภาพแวดลอ้ ม

การแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยทางพฤติกรรม (B) สภาพแวดล้อม (E) และส่วนบุคคล (P) ซ่ึงไดแ้ ก่ ปัญญา ชีวภาพ และส่ิงภายในอื่น ๆ ที่มีผลตอ่ การเรียนรู้และการกระทา การที่ปัจจยั ท้งั 3 ทา หนา้ ที่กา หนดซ่ึงกนั และกนั น้นั ไมไ่ ดห้ มายความวา่ ท้งั 3 ปัจจยั น้นั จะมีอิทธิพลในการกา หนด ซ่ึงกนั และกนั อยา่ งเทา่ เทียมกนั บางปัจจยั อาจมีอิทธิพลมากกวา่ อีกบางปัจจยั และอิทธิพลของปัจจยั ท้งั 3 น้นั ไมไ่ ดเ้ กิดข้ึนพร้อม ๆ กนั หากแตต่ อ้ งอาศยั เวลาในการที่ปัจจยั ใดปัจจยั หน่ึงจะมีผลตอ่ การกา หนดปัจจยั อื่น ๆ (Bandura, 1989 อ้างถึงใน สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต, 2550) Bandura (1997) มีความเชื่อวา่ การรับรู้ความสามารถของตนเองน้นั มีผลตอ่ การกระทา ของบุคคล บุคคล 2 คน อาจมีความสามารถไมต่ า่ งกนั แต่อาจแสดงออกในคุณภาพที่แตกตา่ งกนั ได ้ ถา้ พบวา่ บุคคล 2 คน มีการรับรู้ความสามารถของตนเองแตกตา่ งกนั ในคนคนเดียวก็เช่นกนั ถา้ รับรู้ ความสามารถของตนเองในแตล่ ะสถานการณ์แตกตา่ งกนั กอ็ าจจะแสดงพฤติกรรมออกมาได้ แตกตา่ งกนั เช่นกนั ความสามารถของคนเราน้นั ไมต่ ายตวั แตย่ ดื หยนุ่ ตามสถานการณ์ ดงั น้นั ส่ิงที่จะ กา หนดประสิทธิภาพของการแสดงออกจึงข้ึนอยกู่ บั การรับรู้ความสามารถของตนเองใน สถานการณ์น้นั ๆ ถา้ เรามีความเชื่อวา่ เรามีความสามารถ เรากจ็ ะแสดงออกถึง ความสามารถน้นั ออกมา คนที่เชื่อวา่ ตนเองมีความสามารถจะมีความอดทน อุตสาหะ ไมท่ อ้ ถอยง่าย และจะประสบ ความสา เร็จในที่สุด การรับรู้ความสามารถของตนเองน้นั เกี่ยวขอ้ งกบั ความคาดหวงั ผลที่จะเกิดข้ึน (Outcome expectation) เพื่อให้เข้าใจและชัดเจน Bandura (1997) ไดเ้ สนอภาพแสดงความแตกตา่ ง ระหวา่ งการรับรู้เกี่ยวกบั ความสามารถของตนเอง และความคาดหวงั ผลที่จะเกิดข้ึน ดงั ภาพ 29

บุคคล พฤติกรรม ผลที่เกิดข้ึน

ความคาดหวังใน ความคาดหวังในด้านของ ความสามารถของตนเอง ผลการกระทา

ภาพที่ 3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) กบั ความคาดหวงั ในผลลพั ธ์ที่เกิดข้ึน (Outcome expectation) (Bandura, 1997)

จากภาพแสดงใหเ้ ห็นถึงความสัมพนั ธ์กนั ระหวา่ งการคาดหวงั ความสามารถของตนเอง และความคาดหวงั ผลของที่จะเกิดข้ึน (Bandura, 1977) สรุปคือ ความคาดหวังในผลลัพธ์ของการ ปฏิบัติ (Outcome expectation) เป็นการที่บุคคลเชื่อวา่ ตนเองสามารถทา ส่ิงเหล่าน้นั ไดแ้ ละทา ใหเ้ กิด เป็นพฤติกรรมข้ึน และเมื่อเกิดพฤติกรรมกจ็ ะมีการคาดหวงั ถึงผลลพั ธ์ที่จะเกิดข้ึน จะเห็นไดว้ า่ การ รับรู้ความสามรถของตนเองและความคาดหวงั ผลของการกระทา มีความสัมพนั ธ์กนั และส่งผลตอ่ การตดั สินใจที่จะทา ใหเ้ กิดพฤติกรรมของบุคคลดงั ภาพ

ความคาดหวงั ในผลลพั ธ์ที่จะเกิดข้ึน สูง ต่า มีแนวโน้มที่จะ มีแนวโน้มที่จะ สูง ทา แน่นอน ไมท่ า

การรับรู้ความสามารถของตนเอง มีแนวโน้มที่จะ มีแนวโน้มที่จะ ต่า ไมท่ า ไมท่ า แน่นอน

ภาพที่ 4 พฤติกรรมและสภาวะทางอารมณ์ที่เกิดจากการรับรู้ความสามารถของตนเองและ ความคาดหวงั ในผลลพั ธ์ที่จะเกิดข้ึนในระดบั ที่แตกตา่ งกนั (Bandura, 1997)

30

การวดั การรับรู้ความสามรถของตนเอง Bandura (1997) กล่าววา่ การรับรู้ความสามรถของตนเองน้นั จะตอ้ งสะทอ้ นใหเ้ ห็น ความเชื่อในการใช้ความสามารถและทักษะเพื่อไปให้ถึงเป้าหมายที่กา หนดในสถานการณ์เฉพาะ ความเชื่อในเรื่องการรับรู้ความสามารถของบุคคลน้นั ควรถูกวดั ในเชิงการตดั สินใจที่แตกตา่ งกนั ไป ตามขอบเขตของกิจกรรม ตามความตอ้ งการในงานที่ไดร้ ับมอบหมาย และตามสถานการณ์ Self- efficacy scale การวดั ระดบั การรับรู้ความสามารถของตนเองตามแนวคิดน้ี จะสามารถพิจารณาวัด ได้จาก 3 มิติ ที่แตกตา่ งกนั ดงั น้ี (Bandura, 1977) มิติที่ 1 ระดับความยากของงาน (Magnitude หรือ Level) คือ การรับรู้ความสามารถของ แตล่ ะคนจะแตกตา่ งกนั ไป ตามความยากง่ายของกิจกรรม หรือพฤติกรรมที่ตอ้ งกระทา มิติที่ 2 ความเขม้ แขง็ หรือความมน่ั ใจ (Strength) เป็นความมน่ั ใจที่บุคคลเชื่อวา่ ตน สามารถทา งานไดใ้ นระดบั ความยากที่แตกตา่ งกนั ไป บุคคลที่รับรู้หรือมน่ั ใจในความสามรถของ ตนเองต่า จะทา ใหค้ วามสามารถของตนเองลดลง แตบ่ ุคคลที่รับรู้หรือมน่ั ใจในความสามารถของ ตนเองสูง ถึงแม้งานจะมีความยาก จะมีแรงจูงใจ มีความพยายามที่จะทางานให้ประสบความส าเร็จ มิติที่ 3 การแผข่ ยาย (Generality) การรับรู้ความสามารถของตนเองอาจแผข่ ยายจาก สถานการณ์หน่ึงไปสู่สถานการณ์อื่นปริมาณที่แตกตา่ งกนั ได ้ อาจเป็นกิจกรรมประเภทเดียวกนั แตแ่ ตกตา่ งสถานการณ์ หรือกิจกรรมประเภทอื่นแตส่ ถานการณ์ใกลเ้ คียงกนั กไ็ ด ้ ประสบการณ์ บางอยา่ งไมส่ ามารถทา ใหก้ ารรับรู้ความสามารถของตนเองแผข่ ยายไปสู่สถานการณ์อื่นได ้ ในการศึกษาคร้ังน้ีผวู้ ิจยั สร้างเครื่องมือการวดั การรับรู้ความสามารถของตนเองในการ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง โดยวดั ความเขม้ แขง็ หรือความมน่ั ใจ (Strength)ในมิติเดียว เนื่องจาก กีฬามีอยหู่ ลายประเภท แตล่ ะประเภทกม็ ีลกั ษณะการเล่นยากง่ายแตกตา่ งกนั ออกไป ปัญหาหรือ อุปสรรคที่แตล่ ะคนพบเจอในกีฬาที่เล่นกแ็ ตกตา่ งกนั ออกไป ซ่ึงอาจจะเป็นสาเหตุทา ใหก้ ารวดั การรับรู้ความสามารถของตนเองระดับความยากของงาน (Magnitude) ทา ไดย้ าก ส่วนการวดความั เขม้ แขง็ หรือความมน่ั ใจ (Strength) จะสะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมที่แสดงออกและผลลัพธ์ของ บุคคลที่เลือกเล่นกีฬาน้นั ๆ ได้ 4. แรงสนับสนุนทางสังคม (Social support) ความหมายแรงสนับสนุนทางสังคม การที่ไดร้ ับแรงสนบั สนุนทางสังคมในดา้ นความช่วยเหลือทางดา้ นขอ้ มูล ขา่ วสาร วตั ถุ ส่ิงของ หรือการสนบั สนุนทางดา้ นจิตใจจากผใู้ หก้ ารสนบั สนุน ซ่ึงอาจเป็นบุคคลหรือกลุ่มคน และ เป็นผลให้ผู้รับได้ปฏิบัติหรือแสดงออกทางพฤติกรรมไปในทางที่ผู้รับต้องการ แรงสนับสนุนทาง สังคมอาจมาจากบุคคลในครอบครัว เช่น พอ่ แม ่ พี่นอ้ ง เพื่อนบา้ น เพื่อนร่วมงาน หรือเพื่อนนักเรียน 31

แรงสนบั สนุนทางสังคมเป็นปัจจยั ทางจิตวทิ ยาที่มีความสัมพนั ธ์กบั พฤติกรรมสุขภาพ ซ่ึงมีผศู้ ึกษา ไดใ้ หค้ วามหมายแรงสนบั สนุนทางสังคมไวห้ ลายรูปแบบ ดงั น้ี กฤติกาพร ใยโนนตาด (2542) ไดใ้ หค้ วามหมายไวว้ า่ การที่บุคคลไดร้ ับการช่วยเหลือ จากการมีปฏิสัมพันธ์กบั บุคคลอื่นในสังคมท้งั ทางดา้ นอารมณ์ดา้ นขอ้ มูลขา่ วสาร ดา้ นการเงิน แรงงาน หรือวตั ถุส่ิงของตา่ ง ๆ ซ่ึงบุคคลอื่นในสังคมน้นั คือ สมาชิกในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อน หรือบุคลากรทางการแพทย ์ ทา ใหผ้ ไู้ ดร้ ับแรงสนบั สนุนเกิดความรู้สึกผกู พนั เชื่อวา่ มีคนรัก มองเห็นคุณคา่ และรู้สึกวา่ ตนเองเป็นส่วนหน่ึงของสังคมสามารถเผชิญและตอบสนองตอ่ ความเครียดและความเจบ็ ป่วยได ้ ส่งผลใหบ้ ุคคลน้นั มีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการรักษาสุขภาพ อนามัยและมีสุขภาพที่ดี ดวงเดือน มูลประดับ (2541) ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ แรงสนบั สนุนทางสังคม เป็นความ ช่วยเหลือประคบั ประคองจากบุคคลอื่นทางดา้ นจิตใจ อารมณ์ สังคม วตั ถุส่ิงของ การเงิน ขอ้ มูลจาก การปฏิสัมพนั ธ์กบั บุคคลอื่น ซ่ึงมีผลตอ่ การลดระดบั ความเครียดและวกิ ฤตการณ์ในชีวิตได ้ ทา ให้ บุคคลเกิดความมน่ั คงทางอารมณ์ และสามารถอยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งปกติสุข Pilisuk (1982) กล่าววา่ แรงสนบั สนุนทางสังคม หมายถึง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคนไม่ เฉพาะแตค่ วามช่วยเหลือทางดา้ นวตั ถุ ความมน่ั คง ทางอารมณ์เทา่ น้นั แตย่ งั รวมไปถึงการที่บุคคล รู้สึกวา่ ตนเองไดร้ ับการยอมรับเป็นส่วนหน่ึงของผูอ้ ื่นดว้ ย House (1981) ใหค้ วามหมายของการสนบั สนุนทางสังคมวา่ เป็นการสร้างความสัมพันธ์ ระหวา่ งบุคคล เพื่อใหเ้ กิดการช่วยเหลือในดา้ นตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การสนบั สนุนทางอารมณ์ซ่ึงเกิดจาก ความใกลช้ ิดผกู พนั และการใหค้ วามเชื่อมน่ั ไวว้ างใจ การใหค้ วามช่วยเหลือดา้ นขอ้ มูลขา่ วสารและ คา แนะนา ตา่ ง ๆ การช่วยเหลือโดยใหว้ ตั ถุส่ิงของ ตลอดจนใหข้ อ้ มูลเพื่อการเรียนรู้และประเมิน ตนเอง เพื่อให้บุคคลสามารถเผชิญปัญหาและความเครียดได้ Kaplan (1977) ไดใ้ หค้ า จา กดั ความแรงสนบั สนุนทางสังคม หมายถึง ส่ิงที่บุคคลไดร้ ับ โดยตรงจากบุคคลหรือกลุ่มบุคคล อาจเป็นทางขา่ วสาร เงิน กา ลงั งาน หรือทางอารมณ์ ซ่ึงอาจเป็น แรงผลักดันให้ผู้รับไปสู่เป้าหมายที่ผใู้ หต้ อ้ งการ Cobb (1976) ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ การสนบั สนุนทางสังคมน้นั เป็นขอ้ มูลหรือขา่ วสารที่ ทา ใหบ้ ุคคลเชื่อวา่ มีคนรักและสนใจ มีคนยกยอ่ งและมองเห็นคุณคา่ และรู้สึกวา่ ตนเป็นส่วนหน่ึง ของสังคม มีความผกู พนั ซ่ึงกนั และกนั ดงั น้นั จากความหมายแรงสนบั สนุนทางสังคมที่กล่าวมาขา้ งตน้ หมายถึง การได้รับ การช่วยเหลือจากบุคคลและกลุ่มบุคคลที่ปฏิสัมพนั ธ์ดว้ ยทางดา้ นอารมณ์สังคม วตั ถุ ส่ิงของ รวมท้งั ขอ้ มูลขา่ วสาร ผลของแรงสนบั สนุนทา ใหบ้ ุคคลเกิดความตระหนกั สามารถตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้า 32

ตา่ ง ๆ ได้ตามความต้องการ ประเภทของแรงสนับสนุนทางสังคม การแบง่ มิติของแรงสนบั สนุนทางสังคม เป็นส่ิงที่บอกไดถ้ ึงการช่วยเหลือในดา้ นตา่ ง ๆ จากแหล่งสนบั สนุนทางสังคม ซ่ึงการแบง่ มิติของแรงสนบั สนุนทางสังคมมีความแตกตา่ งกนั ไป ตามแนวคิดตา่ ง ๆ ดงั น้ี Kahn and Antonucci (1980 cited in House, 1981 p. 16) แบง่ แรงสนบั สนุนทางสังคม ออกเป็น 3 ด้าน คือ 1. ความผูกพันทางด้านอารมณ์ (Affection) เป็นการแสดงออกในลักษณะการให้ความ รัก ความผูกพัน และความเคารพ 2. การยอมรับซ่ึงกนั และกนั (Affirmation) เป็นการแสดงออกถึงการเห็นด้วยและยอมรับ ในการกระทาและความคิดของบุคคล 3. การใหค้ วามช่วยเหลือ (Aid) เป็นการแสดงออกโดยการใหค้ วามช่วยเหลือทางดา้ น วตั ถุส่ิงของ เงินทอง ขอ้ มูลข่าวสารและแรงงาน Brandt and Weinert (1981) ไดแ้ บง่ แรงสนบั สนุนทางสังคมออกเป็น 5 ดา้ น ดงั น้ี 1. การได้รับความสนิทสนม (Intimacy) หมายถึง การมีสัมพันธภาพที่ใกลช้ ิดกนั ทา ให้ บุคคลรู้สึกวา่ ตนเองเป็นที่รัก มีคนห่วงใยและรู้สึกมน่ั คง ปลอดภยั ไมร่ ู้สึกโดดเดี่ยว 2. การมีส่วนร่วมในสังคม (Social integration) หมายถึง การที่บุคคลรู้สึกวา่ มีส่วนร่วม ในกิจกรรมของสังคม และเป็นส่วนหน่ึงของสังคม ทา ใหเ้ กิดการแบง่ ปัน แลกเปลี่ยนความคิด การใหก้ า ลงั ใจ 3. การไดม้ ีโอกาสใหค้ วามช่วยเหลือบุคคลอื่น (Opportunity for nurturance) หมายถึง การที่บุคคลรู้สึกวา่ ตนไดเ้ อ้ือประโยชน์ต่อผูอ้ ื่น ทา ให้ตนเองเกิดความรู้สึกวา่ เป็นที่ตอ้ งการของ คนอื่น ผู้อื่นสามารถพึ่งได้ 4. ความรู้สึกวา่ ตนเองมีคุณค่า (Reassurance of worth) หมายถึง การที่บุคคลรู้สึกวา่ ไดร้ ับการยกยอ่ ง และผอู้ ื่นเห็นคุณคา่ ของตน 5. การไดร้ ับการช่วยเหลือและใหค้ า แนะนา (Assistance/ guidance) หมายถึง การที่ บุคคลไดร้ ับความช่วยเหลือดา้ นขอ้ มูลขา่ วสาร ส่ิงของ เงิน และทรัพยากรจากบุคคลอื่น King, Mattimore, King, and Adams (1995) ไดแ้ บง่ การสนบั สนุนจากครอบครัวออกเป็น 2 ด้าน คือ 1. การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support) หมายถึง การที่รู้สึกวา่ สมาชิกใน ครอบครัวมีทศั นคติและพฤติกรรมที่สนบั สนุน เขา้ ใจ เอาใจใส่ ใหก้ า ลงั ใจ รวมท้งั ใหค้ า แนะนา 33

ให้ความสนใจในส่ิงที่กา ลงั ทา อย ู่ 2. การสนบั สนุนดา้ นอุปกรณ์ตา่ ง ๆ (Instrumental support) หมายถึง การที่รับรู้วา่ สมาชิกในครอบครัวแสดงพฤติกรรมในการที่จะช่วยเหลือดา้ นแรงงาน เงิน ทรัพยากรตา่ ง ๆ House (1981) ไดแ้ บง่ ประเภทของพฤติกรรมในการใหแ้ รงสนบั สนุนทางสังคม เป็น 4 ประเภท คือ 1. แรงสนับสนุนทางอารมณ์ (Emotional support) การที่บุคคลรู้สึกวา่ ตนไดร้ ับความเห็น อกเห็นใจ ความเอาใจใส่ ความรัก การใหค้ วามพอใจ การยอมรับนบั ถือ การแสดงถึงความห่วงใย 2. แรงสนับสนุนด้านการให้การประเมินผล (Appraisal support) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feed back) การเห็นพ้องหรือให้รับรอง (Affirmation) ผลการปฏิบัติหรือการบอกให้ทราบผลถึง ผลดีที่ผรู้ ับไดป้ ฏิบตั ิพฤติกรรมน้นั 3. การใหแ้ รงสนบั สนุนทางดา้ นขอ้ มูลขา่ วสาร (Information support) การที่บุคคลรู้สึก วา่ ไดร้ ับขอ้ มูลขา่ วสารในรูปแบบตา่ ง ๆ การให้คาแนะน า (Suggestion) การตักเตือน การให้ คาปรึกษา (Advice) 4. การให้แรงสนับสนุนทางด้านเครื่องมือ (Instrumental support) การที่บุคคลรู้สึกวา่ ไดร้ ับความช่วยเหลือโดยตรง เช่น แรงงาน เงิน เวลา เป็นตน้ จากการศึกษาขอ้ มูลมีผแู้ บง่ ประเภทของแรงสนบั สนุนทางสังคมแตกตา่ งกนั ออกไป ในที่น้ี ผวู้ จิ ยั เลือกการแบง่ ประเภทของ House (1981) เนื่องจากมีการแบง่ ที่ครบถว้ นครอบคลุม เขา้ ใจง่าย กล่าวโดยสรุปการสนบั สนุนทางสังคมเป็นปัจจยั หน่ึงที่เป็นพ้ืนฐานที่มีอิทธิพลตอ่ การ ปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ เพราะการสนบั สนุนทางสังคมมาจากการมีความสัมพนั ธ์และผกู พนั กนั ของ บุคคลในสังคม เช่น ครอบครัว เพื่อนฝงู คนใกลช้ ิด ในการช่วยใหไ้ ดร้ ับขอ้ มูลขา่ วสารความรู้ คา ปรึกษาแนะนา ที่เป็นประโยชน์ รวมท้งั การยอมรับ ใหก้ า ลงั ใจใหร้ ู้ถึงคุณคา่ ในตนเอง การ สนบั สนุนทางสังคมตา่ ง ๆ เหล่าน้ีจึงเป็นปัจจยั ที่มีอิทธิพลตอ่ การส่งเสริมดา้ นตา่ ง ๆ การวดั แรงสนับสนุนทางสังคม ผู้วิจัยเลือกแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) แบง่ ออกเป็น 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ การสนับสนุนด้านอารมณ์, การสนบั สนุนดา้ นขอ้ มูลขา่ วสาร, การสนบั สนุนดา้ นส่ิงของและการ สนบั สนุนดา้ นการประเมินเปรียบเทียบพฤติกรรม ในแต่ละดา้ นน้นั มีความครอบคลุมโดยรวมจะ สามารถวดั ใหเ้ ห็นถึงการสนบั สนุนทางสังคมของผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง โดย แบง่ เป็นแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจากครอบครัว แรงสนบั สนุน ทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจากเพื่อนที่ไม่ไดเ้ ล่นกีฬาดว้ ยกนั และแรงสนับสนุน 34

ทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจากเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากการทบทวนงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ งมีดงั น้ี Tanja Kajtna (2004) ไดว้ จิ ยั เกี่ยวกบั การเปรียบเทียบบุคลิกภาพ 5 องคป์ ระกอบ ระหวา่ ง ผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 38 คน คนที่เล่นกีฬาทว่ั ไป 38 คน และคนที่ไมเ่ ล่นกีฬา 76 คน ผลการวจิ ยั พบวา่ ผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงมีความแตกตา่ งจากคนที่เล่นกีฬาทว่ั ไปและคนที่ไม่ เล่นกีฬา 4 ใน 5 ขององค์ประกอบ ดงั น้ี บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวและบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอม คนที่เล่นกีฬาเสี่ยงสูงจะแตกตา่ งกบั คนที่เล่นกีฬาทว่ั ไปและคนที่ไมเ่ ล่นกีฬา บุคลิกภาพแบบมีจิตสา นึกและบุคลิกภาพแบบแสดงตวั คนที่เล่นกีฬาเสี่ยงสูงและคนที่เลน่ กีฬา ทว่ั ไปแตกตา่ งจากคนที่ไมเ่ ล่นกีฬา ส่วนบุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ไมม่ ีความแตกตา่ งกนั Schneider et al. (2007) ได้ทาการศึกษาปรากฏการณ์ทางด้านสังคมและจิตใจในเชิงลึก ห้าด้าน ประกอบไปด้วย การขัดเกลาทางสังคม ผู้ที่เป็นสื่อกลางของความเสี่ยง ลักษณะของความ เสี่ยง การรับมือกบั ความเสี่ยง และความรู้สึกของนกั กีฬาที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงระดบั โลก จานวน 10 คน แบง่ เป็นชาย 5 คน หญิง 5 คน โดยการสัมภาษณ์พบวา่ ในตอนที่เร่ิมเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงสูงน้นั จะมีความรู้สึกที่ดีกบั ตนเองที่สามารถเอาชนะหรือจดั การกบั ความกลวั ได ้ มีการปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มของการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และการไดร้ ับแรงสนบั สนุนจากเพื่อนร่วม ทีมทาให้สามารถจัดกา รและรับมือกบั ความเสี่ยงจากการเล่นกีฬาได ้ Llewellyn, Sanchez, Asghar, and Jones (2008) ไดศ้ ึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการรับรู้ ความสามารถของตนเองต่อความเสี่ยงและประสิทธิภาพในการปีนหนา้ ผา โดยใชก้ ลุ่มตวั อยา่ ง จานวน 163 คน อายุ 16-65 ปี เป็นนกั กีฬาปีนหนา้ ผา ผลการวจิ ยั พบวา่ นักปีนหน้าผาที่มีการรับรู้ ความสามารถของตนเองจะมีการปีนเขาที่เพ่ิมความเสี่ยงมากยง่ิ ข้ึน การเพ่ิมความยากของงาน ความถี่ มีความสัมพนั ธ์กนั กบั การรับรู้ความสามารถของตนเอง Ullrich-French and Smith (2009) ไดศ้ ึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งครอบครัวและเพื่อน ร่วมทีม เพื่อทา นายความต่อเนื่อง และแรงจูงใจในการเล่นกีฬาฟุตบอล กลุ่มตวั อยา่ งเป็นนกั ฟุตบอล จานวน 148 คน อายุ 10-14 ปี ผลการวจิ ยั พบวา่ ครอบครัวเพื่อนมีความสัมพนั ธ์กนั ทา ใหเ้ กิด แรงจูงใจและความตอ่ เนื่องในการเล่นกีฬาฟุตบอล Castanier (2010) ไดศ้ ึกษาความแตกตา่ งของบุคลิกภาพที่นา ไปสู่การเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงสูง โดยใช้บุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ ของคนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงจา นวน 315 คน เป็น ผู้ชาย 302 คนและผู้หญิง 13 คน พบวา่ คนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึกต่า 35

มีความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคลิกภาพในบุคคลที่เล่นกีฬาความเสี่ยงสูงจะมีอารมณ์ในเชิงบวก บุคลิกภาพแบบแสดงตวั บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก และบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวมากกวา่ คนที่เล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงต่า Rhea and Martin (2010) ไดศ้ ึกษาเปรียบเทียบลกั ษณะบุคลิกภาพของนกั กีฬาทว่ั ไป จานวน 70 คน นกั กีฬาขี่ววั พยศ 63 คน และนกั กีฬาที่เล่นกีฬามีความเสี่ยงสูง 50 คน ผลการศึกษา พบวา่ บุคลิกภาพของนกั กีฬาทว่ั ไป กบั นกั กีฬาขี่ววั พยศ และนกั กีฬาที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง แตกตา่ งกนั ในเรื่องของบุคลิกภาพอยา่ งมีนยั สา คญั โดยนกั กีฬาขี่ววั พยศกบั นกั กีฬาที่มีความเสี่ยงสูง มีลักษณะไปในทางเดียวกนั Rauter and Topic (2011) ไดศ้ ึกษาเกี่ยวกบั ประเภทของบุคคล และทศั นคติของคนที่เล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงซ่ึงมีจา นวนเพ่ิมมากข้ึนอยา่ งตอ่ เนื่อง โดยใชก้ ลุ่มตวั อยา่ งจากฐานสถิติจา นวน 1,478 คน เพศชาย 746 คน และเพศหญิง 732 คน ไดแ้ บง่ กลุ่มตวั อยา่ งออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็น กลุ่มที่ชอบเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เช่น ปีนเขา กระโดดร่ม สกี กลุ่มที่สองเป็นกลุ่มคนที่ชอบทีมกีฬา ตา่ ง ๆ เช่น กีฬาบาสเกตบอล ฟุตบอล กลุ่มที่สามเป็นกลุ่มคนที่ชอบกีฬาที่ใชค้ วามอดทน เช่น วง่ิ วา่ ยน้า กลุ่มที่สี่เป็นกลุ่มคนที่ชอบกีฬาที่มีการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ เช่น การเดินป่า เตน้ ร า ผลการวจิ ยั พบวา่ กลุ่มคนที่ชอบเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีมุมมองทศั นคติวา่ การเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงน้นั เพื่อ ความบนั เทิงและเป็นการผอ่ นคลายซ่ึงคลา้ ยกนั กบั กลุ่มอื่น ๆ แตจ่ ะมีความแตกตา่ งกนั ในเรื่องของ เพศ เพศชายจะมีความสนใจและรู้สึกบันเทิง ผอ่ นคลายกบั กีฬาที่มีความเสี่ยงมากกวา่ เพศหญิง ใน กลุ่มคนที่ชอบทีมกีฬาจะมีทศั นคติเรื่องของความมีชื่อเสียง หรือรายไดม้ ากกวา่ กลุ่มที่ชอบกีฬาที่มี ความเสี่ยง ส่วนแรงจูงใจเรื่องสุขภาพไมไ่ ดเ้ ป็นปัจจยั สา คญั ในการมีส่วนร่วมของคนที่ชอบกีฬาที่มี ความเสี่ยง ทศั นคติต่อกีฬาที่มีความเสี่ยงในกลุ่มที่ชอบกีฬาที่มีความเสี่ยงจะไมค่ อ่ ยใหค้ วามสา คญั กบั ความเสี่ยงที่จะเกิดข้ึนซ่ึงแตกตา่ งกบั กลุ่มที่ชอบกีฬาอื่น ๆ และกลุ่มที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจะมี ทศั นคติที่ดีตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงมากกวา่ กลุ่มที่ชอบกีฬาอื่น ๆ Serdar (2011) ได้ศึกษาความแตกตา่ งของบุคลิกภาพระหวา่ งผเู้ขา้ ร่วมการแขง่ ขนั ที่มี ความเสี่ยงกบั ผทู้ ี่ไมไ่ ดเ้ ขา้ ร่วมแขง่ ขนั กีฬาที่มีความเสี่ยง กลุ่มตวั อยา่ งมีจา นวน 328 คน เป็น เพศหญิงจา นวน 121 คน เพศชาย 207 คนต้งั แต่อาย ุ 18 ถึง 53 ปี ผลการวจิ ยั พบวา่ ผทู้ ี่เขา้ ร่วมการ แขง่ ขนั กีฬาที่มีความเสี่ยงแตกตา่ งกบั ผทู้ ี่ไมเ่ ขา้ ร่วมแขง่ ขนั กีฬาที่มีความเสี่ยง โดยผทู้ ี่เขา้ ร่วมการ แขง่ ขนั กีฬาที่มีความเสี่ยงมีบุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ บุคลิกภาพแบบแสดงตวั สูงกวา่ ผทู้ ี่ ไมเ่ ขา้ ร่วมการแขง่ ขนั กีฬาที่มีความเสี่ยง และมีบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึกที่ต่า วา่ ผทู้ ี่ไมเ่ ขา้ ร่วมการ แขง่ ขนั กีฬาที่มีความเสี่ยง 36

Merritt and Tharp (2013) ไดศ้ ึกษาเกี่ยวกบั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการรับรู้ความสามารถ ของตนเองกบั บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบต่อการรับรู้ความเสี่ยงจากกีฬา Parkour และ Free-running กลุ่มตวั อยา่ งมีจา นวน 277 คน เป็นผทู้ ี่เล่นกีฬา Parkour และ Free-running ผลการวิจยั พบวา่ การ รับรู้ความสามารถของตนเองมีความสัมพนั ธ์กบั บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว และบุคลิกภาพแบบมี จิตสา นึก และพบวา่ ผทู้ ี่เล่นกีฬา Parkour และ Free-running มีการรับรู้ความสามารถของตนเองสูง ตอ่ การเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงดว้ ย Kern et al. (2014) ไดศ้ ึกษาทางดา้ นจิตใจต่อพฤติกรรมเสี่ยงในคนที่เล่นกีฬาสเกต็ บอร์ด จานวน 158 คน อายุโดยเฉลี่ย 18 ปี ผลการศึกษาพบวา่ มีลกั ษณะของการแสวงหาความตื่นเตน้ ที่อาจ เป็นอนั ตรายโดยที่บุคคลน้นั รับรู้ความเสี่ยงของกีฬาสเกต็ บอร์ดดว้ ย ผลของการศึกษาคร้ังน้ียงั สามารถนา ไปใชก้ บั กิจกรรมทางกายภาพอื่น ๆ เพื่อใหเ้ ขา้ ใจพฤติกรรมเสี่ยง ความรู้เฉพาะกลุ่มที่มี ความเสี่ยงตอ่ การบาดเจบ็ ร้ายแรงการแสวงหาความตื่นเตน้ ผา่ นความเสี่ยงของกีฬา ผลการศึกษา ช้ีใหเ้ ห็นความสา คญั ในการส่งเสริมกิจกรรมที่มีความตื่นเตน้ ทา้ ทายควรมีการสนบั สนุนใหใ้ ช้ อุปกรณ์ป้องกนั ในนกั กีฬาที่มีความเสี่ยงดว้ ย จากการสืบคน้ ขอ้ มูลสรุปไดว้ า่ นกั กีฬาที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงจะมีลกั ษณะทางดา้ น บุคลิกภาพแตกตา่ งไปจากนกั กีฬาทว่ั ไป ในดา้ นของการรับรู้ความสามารถของตนเองน้นั กม็ ี คอ่ นขา้ งสูงกวา่ นกั กีฬาทว่ั ไปเนื่องจากมีปัจจยั ทางดา้ นความเสี่ยงตอ่ การบาดเจบ็ หรือเสียชีวติ เขา้ มา เกี่ยวขอ้ ง รวมไปถึงทศั นคติต่อการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงแตกตา่ งจากคนที่เล่นกีฬาทว่ั ไป นอกจากน้นั แรงสนบั สนุนทางสังคมยงั ทา ใหบ้ ุคคลที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีการเพ่ิมความถี่ของ การเล่น และความยากของงานข้ึนไปอีกดว้ ย

37

บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย

การศึกษาวจิ ยั คร้ังน้ีเป็นการศึกษาเกี่ยวกบั ทฤษฎีบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ (Big 5 personality) ทัศนคติ (Attitude) การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) และแรง สนับสนุนทางสังคม (Social support) ของผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เพื่อทา ความเขา้ ใจกบั ลกั ษณะ ที่ใชจ้ า แนกการเลือกเล่นและไมเ่ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล

ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีเป็นผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และไมเ่ ลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงซ่ึงไมส่ ามารถระบุจา นวนที่แน่นอนไดผ้ วู้ จิ ยั ตอ้ งทา การคาดคะเนกลุ่มตวั อยา่ ง โดยจะอธิบายไวใ้ นหวั ขอ้ ต่อไป กลุ่มตัวอย่างทใี่ ช้ในการศึกษา กลุ่มตวั อยา่ งในการศึกษาวจิ ยั คร้ังน้ี คือ ผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และไมเ่ ลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงโดยผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาจะตอ้ งมีอาย ุ 18 ปี ข้ึนไป มีประสบการณ์การเล่นกีฬาเป็น เวลาอยา่ งนอ้ ย 1 ปี ความถี่ในการเล่นอยา่ งนอ้ ย 1 คร้ังตอ่ สัปดาห์ ดงั น้นั การคานวณหาขนาดของ กลุ่มตวั อยา่ งจึงใชส้ ูตรการหาขนาดของกลุ่มตวั อยา่ งแบบไมท่ ราบจา นวนประชากรที่แน่นอนของ Cochran (1953) โดยกา หนดความเชื่อมน่ั ที่ร้อยละ 95

n = P(1-P)Z2 E2

เมื่อ n แทน ขนาดกลุ่มตวั อยา่ ง P แทน สัดส่วนของประชากรที่ตอ้ งการสุ่ม .05

38

Z แทน คา่ ที่ไดจากการเปิดตารางสถิติ้ Z มีคา่ เทา่ กบั 1.96 ที่ระดบั ความเชื่อมน่ั ร้อยละ 95 (ระดับ .05) E แทน คา่ ความคลาดเคลื่อน = .05 จากการสุ่มกลุ่มตวั อยา่ ง

แทนคา่ n = (0.5)(1-0.5)(1.96)2 0.052 = (0.5)(0.5)(3.8416) 0.025 = 0.9604 0.025 = 384.16 หรือ 384 คน

ไดข้ นาดกลุ่มตวั อยา่ งจา นวน 384 คน เพื่อป้องกนั ความผิดพลาดในการเกบ็ ขอ้ มูล ผวู้ ิจยั จึงสา รองการเกบ็ ข้อมูลอีกร้อยละ 5 เทา่ กบั จา นวนอยา่ งนอ้ ย 400 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่าง เนื่องจากการวจิ ยั คร้ังน้ี มีเป้าหมายเพื่อการอธิบายปรากฏการณ์ (Explanation) ผู้วิจัยจึง ใหน้ ้า หนกั ความสา คญั ของงานไปที่ความเที่ยงตรงภายในของการวิจยั (Internal validity) ซึ่งเป็น การค้นหาและตรวจสอบความเกี่ยวขอ้ งกนั ในเชิงสาเหตุและผลระหวา่ งตวั แปรที่ศึกษาและ เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายของการศึกษาคร้ังน้ีเป็นผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงซ่ึงจดั เป็นกลุ่มที่มีความ เฉพาะเจาะจง ดงั น้นั ผวู้ ิจยั จึงพิจารณาเลือกศึกษากบั กลุ่มตวั อยา่ งที่รู้ชดั วา่ เล่นและไมเ่ ล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงโดยไมอ่ ิงความน่าจะเป็น (Nonprobability sampling) ผูว้ จิ ยั จึงใชเ้ ทคนิคการเลือกตวั อยา่ ง แบบลูกโซ่ (Snowball sampling technique) โดยเลือกกลุ่มเป้าหมายที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และในขณะเดียวกนั กป็ ระยกุ ตใ์ ชว้ ธิ ีการจบั คูแ่ บบ 1:1 (Match-paired) เพื่อใหไ้ ดม้ าซ่ึงกลุ่มที่มี ลกั ษณะใกลเ้ คียงกบั กลุ่มตวั อยา่ ง ผวู้ จิ ยั จึงออกแบบวธิ ีการเลือกเป็น 2 กรณี ดงั น้ี กรณีที่ 1 เลือกเพื่อนในกลุ่ม หรือเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั กรณีที่ 2 หากผทู้ ี่มาเล่นกีฬามาคนเดียว ผวู้ ิจยั จะใชข้ อ้ มูลเบ้ืองตน้ ของกลุ่มตวั อยา่ งที่มี คุณลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั ในการจบั คูแ่ ทน โดยเป็นผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจา นวน 200 คน และผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง 200 คน รวมท้งั สิ้น 400 คน หลงั จากที่ผวู้ ิจยั ไดด้ า เนินการเกบ็ ขอ้ มูลจริงท้งั หมด 447 คน ตดั ชุดขอ้ มูลที่ไมส่ มบูรณ์เหลือ 412 คน แบง่ เป็นกีฬาทว่ั ไป 208 คน กีฬาที่มีความเสี่ยง 204 คน เพศชาย 253 คน เพศหญิง 159 คน 39

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวจิ ยั คร้ังน้ีใชแ้ บบสอบถามในการวจิ ยั ประกอบดว้ ย แบบสอบถามขอ้ มูลเกี่ยวกบั ลักษณะทางประชากร บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ทัศนคติ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และ แรงสนบั สนุนทางสังคม แบง่ ออกเป็น 5 ตอน ดงั น้ี 1. แบบสอบถามขอ้ มูลเกี่ยวกบั ลกั ษณะทางประชากรของผตู้ อบแบบสอบถาม 2. แบบวัดบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ (Big 5 personality) ของกฤติกา หล่อวฒั นวงศ ์ (2547) ซึ่งแปลจากแบบทดสอบบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ (NEO-FFI) ของ Costa and McCrae (1992) 3. แบบวดั ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (Attitude) ผู้วิจัยได้สร้างตามกรอบ แนวคิดของ Fishbein and Ajzen (1975) 4. แบบวดั การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (Self- efficacy) ผู้วิจัยได้สร้างตามกรอบแนวคิดของ Bandura (1997) จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวขอ้ งเพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั หวั ขอ้ ที่ตอ้ งการศึกษาการวดั การรับรู้ความสามารถของตนเองโดย วดั ความเขม้ แขง็ หรือความมน่ั ใจ (Strength) 5. แบบวดั แรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (Social support) ผู้วิจัยได้สร้างตามกรอบแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981)

การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวจิ ยั คร้ังน้ีใชแ้ บบสอบถามที่ผวู้ จิ ยั สร้างข้ึนเป็นเครื่องมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผวู้ จิ ยั ไดด้ า เนินการสร้างตามข้นั ตอนตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ศึกษานิยามทฤษฎีและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง เพื่อสร้างแบบสอบถามในการจา แนกผูท้ ี่ เลือกเล่นและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง แบบสอบถามที่สร้างเองมีดงั น้ี ทศั นคติในการเลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรง สนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (รายละเอียดแบบสอบถามในภาคผนวก ข) 2. ยกร่างขอ้ คา ถาม ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถ ของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง 3. นาแบบสอบถามให้คณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์ และผู้เชี่ยวชาญ 5 ทา่ น ใน การพิจารณาความเหมาะสม ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา (Content validity) จากน้นั ผวู้ จิ ยั นา มาแกไ้ ขปรับปรุงตามขอ้ เสนอแนะ 40

4. นา แบบสอบถามที่แกไ้ ขตามคา แนะนา มาดา เนินการทดสอบ (Try-out) กบั คนที่เลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงที่ไมใ่ ช่กลุ่มตวั อยา่ งจา นวน 30 คน ตามวิธี ของครอนบัค (Cronbach’s Alpha coefficient) เพื่อทดสอบคา่ ความเชื่อมน่ั (Reliability) 5. นา แบบสอบถามฉบบั สมบูรณ์ไปเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลกบั กลุ่มตวั อยา่ งที่ตอ้ งการในวิจยั

การหาคุณภาพเครื่องมือ ผู้วิจัยนาแบบสอบถามที่ได้รับตรวจสอบมาวิเคราะห์ความสอดคล้องของความเที่ยงตรง เชิงเน้ือหา (Content validity) ใช้เกณฑ์การคัดเลือก คือ IOC ≥ 0.5 ข้ึนไป ส่วนขอ้ ที่ไมถ่ ึงเกณฑใ์ ห้ แกไ้ ข ปรับปรุงตามคา แนะนา ของผเู้ชี่ยวชาญจานวน 5 ทา่ น เพื่อพิจารณาขอ้ คา ถามแตล่ ะขอ้ วา่ มี เน้ือหาตรงตามทฤษฎีและนิยามปฏิบตั ิการหรือไม ่ ไดแ้ ก่ แบบสอบถามวดั ทศั นคติ มีคา่ IOC ระหวา่ ง 0-1 แบบสอบถามวัดการรับรู้ความสามารถของตนเอง มีคา่ IOC ระหวา่ ง 0-1 และ แบบสอบถามวดั แรงสนบั สนุนทางสังคม มีคา่ IOC ระหวา่ ง -0.2-1 จากน้นั ผวู้ จิ ยั ไดท้ า การปรับปรุง แกไ้ ขขอ้ คา ถามใหเ้ หมาะสม การหาคา่ ความเชื่อมน่ั (Reliability) ของแบบสอบถามดว้ ยสัมประสิทธ์ิแอลฟา (α) ของครอนบาค (Cronbach) นาแบบสอบถามบุคลิกภาพ แบบสอบถามทัศนคติ แบบสอบถาม การรับรู้ความสามารถของตนเอง และแบบสอบถามแรงสนบั สนุนทางสังคม มาทดลองใชก้ บั กลุ่ม ที่มีลกั ษณะคลา้ ยกบั กลุ่มตวั อยา่ ง จา นวนไมน่ อ้ ยกวา่ 30 คน เพื่อหาคา่ อา นาจจา แนกรายขอ้ (Item- total correlation) และคา่ ความเชื่อมน่ั ไดค้ า่ ดงั ตาราง

ตารางที่ 6 คุณภาพของแบบสอบถามการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง

การหาคุณภาพเครื่องมือ จ านวน แบบสอบถาม ค่าอานาจ ค่าความ จ านวน ข้อที่สร้าง IOC จ าแนก (r) เชื่อมั่น (α) ข้อที่ใช้ บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ 0.460-0.727 0.815 60 ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬา 27 20 0.445-0.972 0.974 17 ที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของ 27 19 0.481-0.937 0.962 10 ตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง 41

ตารางที่ 6 (ตอ่ )

การหาคุณภาพเครื่องมือ จ านวน แบบสอบถาม ค่าอานาจ ค่าความ จ านวน ข้อที่สร้าง IOC จ าแนก (r) เชื่อมั่น (α) ข้อที่ใช้ แรงสนับสนุนทางสังคมในการ 39 24 0.530-0.926 0.921 18 เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

หลงั จากไดท้ า การแกไ้ ขปรับปรุงแบบสอบถามท้งั 5 ตอน ผวู้ จิ ยั ไดท้ า การคดั เลือกขอ้ คา ถาม ไดแ้ ก่ บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ 60 ขอ้ แบบสอบถามทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง 17 ขอ้ แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 10 ขอ้ และแบบสอบถามแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 18 ขอ้ แลว้ นา แบบสอบถามที่สมบูรณ์ไปเก็บกบั กลุ่มตวั อยา่ งจริง

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในการศึกษาวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ไดท้ า ตามข้นั ตอนในการรวบรวมขอ้ มูล ดงั น้ี 1. ทา หนงั สือขอความร่วมมือในการวิจยั จากคณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬา มหาวทิ ยาลยั บูรพา และขอความร่วมมือจากผเู้ชี่ยวชาญท้งั 5 ทา่ น เพื่อทา การทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา ของข้อคาถาม 2. เข้ารับการประเมินจริยธรรมจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ คณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬา มหาวทิ ยาลยั บูรพา 3. นาแบ บสอบถามไปสอบถามกบั กลุ่มตวั อยา่ ง ผวู้ จิ ยั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเองและ ผชู้ ่วยวจิ ยั โดยช้ีแจงใหก้ ลุ่มตวั อยา่ งรับทราบถึงวตั ถุประสงคใ์ นการเกบ็ ขอ้ มูลดว้ ยตนเอง เพื่อให้ ไดผ้ ลในการตอบตรงกบั ความเป็นจริงมากที่สุด โดยสถานที่ในการเกบ็ ขอ้ มูลกบั กลุ่มตวั อยา่ งมี ดงั น้ี

42

ตารางที่ 7 วนั และสถานที่ในการเกบ็ ขอ้ มูล

วันที่ สถานที่ 25 เมษายน, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 กีฬาทางอากาศหนองคอ้ จงหวัดั ชลบุรี 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 การแขง่ ขนั Fai Asia-Oceania (สมาคมกีฬาทางอากาศ แห่งประเทศไทย) จงหวัดั สระบุรี 13, 20, 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ลานสเกต็ สมาคมกีฬาเอก็ ซ์ตรีมแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร 10, 13, 18 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ไทยเวคพาร์ค พัทยา จังหวัดชลบุรี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2560 งาน Skate day สะพานพระราม 8 กรุงเทพมหานคร

4. นาแบบสอบถามมาตรวจสอบความถูกต้อง แล้วคัดเลือกแบบวัดฉบับที่มีความ สมบูรณ์เพื่อดา เนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการทางสถิติตอ่ ไป

การวเิ คราะห์ข้อมูล ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลสา หรับการศึกษาวจิ ยั ผวู้ จิ ยั นา มาวิเคราะห์หาคา่ สถิติตามลกั ษณะ ที่ตอ้ งการศึกษา ดงั น้ี 1. วเิ คราะห์ขอ้ มูลพ้ืนฐานของกลุ่มตวั อยา่ ง ประกอบดว้ ย คา่ ร้อยละ (Percentage) คา่ เฉลี่ย (Mean) และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviations) หลงั จากนา ขอ้ มูลที่ไดม้ าวเิ คราะห์ผา่ นโปรแกรม LISREL พบวา่ ทศั นคติสามารถแบง่ ได้ เป็น 3 องคป์ ระกอบ คือ ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง, ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง, ทศั นคติเชิงลบตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง 2. นา ขอ้ มูลดา้ นบุคลิกภาพห้าองคป์ ระกอบ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมใน การเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมาวเิ คราะห์จา แนกกลุ่ม (2 Groups discriminant analysis) 3. นา ขอ้ มูลดา้ นบุคลิกภาพห้าองคป์ ระกอบ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมใน การเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง มาวเิ คราะห์ความแปรปรวนพหุคูณสา หรับสองกลุ่ม (2 Groups MANOVA)

43

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

งานวจิ ยั คร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาเกี่ยวกบั ทฤษฎีบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ (Big 5 personality) ทัศนคติ (Attitude) การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) และแรง สนับสนุนทางสังคม (Social support) ของผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เพื่อทา ความเขา้ ใจกบั ลกั ษณะ ที่ใชจ้ า แนกการเลือกเล่นและไมเ่ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 1. วเิ คราะห์ขอ้ มูลพ้ืนฐานของกลุ่มตวั อยา่ ง ประกอบดว้ ย คา่ ร้อยละ (Percentage) คา่ เฉลี่ย (Mean) และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviations) 2. นาข้อมูลด้านบุคลิกภาพ 5 ด้าน ทัศนคติ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และแรง สนบั สนุนทางสังคม ที่มีผลตอ่ การเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง มาวเิ คราะห์จา แนกกลุ่ม (2 Groups discriminant analysis) 3. นาข้อมูลด้านบุคลิกภาพ 5 ด้าน ทัศนคติ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และแรง สนบั สนุนทางสังคม มาวเิ คราะห์ความแปรปรวนพหุคูณสา หรับสองกลุ่ม (MANOVA 2 Groups)

สัญลกั ษณ์ทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูลคร้ังน้ีผวู้ ิจยั ไดก้ า หนดสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ แทนความหมาย ดงั ตอ่ ไปน้ี N แทน จานวนประชากร n แทน จา นวนกลุ่มตวั อยา่ ง  แทน คา่ เฉลี่ย SD แทน คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน

X1 แทน บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว

X2 แทน บุคลิกภาพแบบแสดงตัว

X3 แทน บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์

X4 แทน บุคลิกภาพแบบประนีประนอม

X5 แทน บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก

X6 แทน ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

X7 แทน ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง

X8 แทน ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง 44

X9 แทน การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความ- เสี่ยง

X10 แทน แรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจากครอบครัว

X11 แทน แรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจากเพื่อนที่ไมไ่ ด ้ เล่นกีฬาดว้ ยกนั

X12 แทน แรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจากเพื่อนที่ เล่นกีฬาดว้ ยกนั α แทน ระดับความมีนัยสาคัญทางสถิติ λ แทน คา่ Eigenvalue เป็นเกณฑใ์ นการจา แนกกลุ่ม (Discriminatory criterion) หรือคา่ แสดงอา นาจการจา แนกกลุ่ม Λ แทน คา่ Wilks’s Lambda เป็นคา่ ที่ใชส้ า หรับทดสอบความเทา่ กนั ของคา่ เฉลี่ย ทุกตวั แปรระหวา่ งกลุ่มตวั แปรตาม 2 แทน คา่ Chi-square เป็นคา่ สถิติที่ทดสอบความมีนัยสาคัญของสมการ โดยแปลงมาจากคา่ Λ Rc แทน คา่ Canonical correlation ซ่ึงเป็นคา่ สัมประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ตวั แปรตามและตวั แปรตน้ ในสมการจา แนกกลุ่ม

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ข้อมูลทวั่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตวั อยา่ งในการศึกษาวจิ ยั คร้ังน้ี คือ ผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และไมเ่ ลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงโดยผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาจะตอ้ งมีอาย ุ 18 ปีข้ึนไป มีประสบการณ์การเล่นกีฬาเป็น เวลาอยา่ งนอ้ ย 1 ปี ความถี่ในการเล่นอยา่ งนอ้ ย 1 คร้ังตอ่ สัปดาห์ ดงั น้นั การคานวณหาขนาดของ กลุ่มตวั อยา่ งจึงใชส้ ูตรการหาขนาดของกลุ่มตวั อยา่ งแบบไมท่ ราบจา นวนประชากรที่แน่นอนของ Cochran (1953)โดยกา หนดความเชื่อมน่ั ที่ร้อยละ 95

ตัวแปรจ าแนกการเลือกเล่นกีฬา จากกรอบแนวคิดในการวจิ ยั คร้ังน้ีผวู้ ิจยั ใชต้ วั แปรจา แนกในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยง ดงั น้ี บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมใน การเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ดว้ ยเทคนิคการวิเคราะห์จา แนกกลุ่ม (Discriminant analysis) 45

เพื่อศึกษาตัวแปรที่ใช้จาแนกการเลื อกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงน้นั ผวู้ จิ ยั เร่ิม จากการแสดงคา่ สถิติพ้ืนฐาน  และ SD จากน้นั ทดสอบวา่ ตวั แปรแตล่ ะตวั แตกตา่ งกนั หรือไม ่ โดยใชส้ ถิติการวเิ คราะห์ความแปรปรวนพหุคูณสา หรับสองกลุ่ม (MANOVA 2 Groups) ถา้ พบวา่ กลุ่มท้งั สองมีความแตกตา่ งกนั ผวู้ จิ ยั จึงจะวิเคราะห์เพื่อศึกษาในรายละเอียดของความแตกตา่ งน้ี โดยใชก้ ารวเิ คราะห์จา แนกกลุ่ม (Discriminant analysis) แบบ Stepwise เพื่อหาตัวแปรที่มี ความสา คญั เป็นลา ดบั และใชเ้ กณฑค์ ดั เลือกตวั แปรดว้ ยค่าสถิติ Wilks’s Lambda จากน้นั จะทา การ หาคา่ เฉลี่ยร่วม (Group centroids) เพื่อแสดงความแตกตา่ งของตวั แปรที่ใชใ้ นการจา แนกกลุ่มผทู้ ี่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง

ตารางที่ 8 คา่ เฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตวั แปรจา แนกผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง

กลุ่มผู้ทเี่ ลือกเล่น กลุ่มผู้ทไี่ ม่เลือก กีฬาที่มีความเสี่ยง เล่นกีฬาที่มี ตัวแปร ความเสี่ยง 퐱̅ SD 퐱̅ SD บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว 2.583 0.461 2.806 0.520 บุคลิกภาพแบบแสดงตัว 3.566 0.484 3.346 0.475 บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ 3.101 0.340 3.088 0.299 บุคลิกภาพแบบประนีประนอม 3.435 0.389 3.475 0.406 บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก 3.431 0.508 3.399 0.432 ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 4.323 0.503 2.552 0.835 ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง 4.386 0.487 3.546 0.673 ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง 4.411 0.414 3.908 0.652 การรับรู้ความสามารถของตนเอง 40.289 5.192 28.033 6.480 แรงสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว 20.750 7.029 17.668 6.014 แรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่ไมไ่ ดเ้ ล่นกีฬา 19.259 5.507 18.495 4.740 แรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่เล่นกีฬาเสี่ยง 27.259 3.459 23.870 4.876

46

จากตารางที่ 8 กลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง กลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มที่ไมเ่ ลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง พบวา่ คา่ เฉลี่ยของตวั แปรท้งั หมดแตกตา่ งกนั ใน 2 กลุ่ม ดงั น้ี ตวั แปรบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว ในกลุ่มที่ 1 มีค่าเฉลี่ย 2.583 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 2.806 หน่วย ตวั แปรบุคลิกภาพแบบแสดงตวั ในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 3.566 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 3.346 หน่วย ตวั แปรบุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ ในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 3.101 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 3.088 หน่วย ตวั แปรบุคลิกภาพแบบประนีประนอม ในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 3.435 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 3.447 หน่วย ตวั แปรบุคลิกภาพแบบมีจิตสา นึก ในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 3.431 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 3.399 หน่วย ตวั แปรทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 4.323 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 2.552 หน่วย ตวั แปรทศั นคติเชิงลบตอ่ กีฬาที่ มีความเสี่ยงในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 4.386 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 3.546 หน่วย ตวั แปรทศั นคติเชิง บวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง ในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 4.411 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 3.908 หน่วย ตวั แปรการรับรู้ความสามารถของตนเองในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 40.289 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 28.033 หน่วย ตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมจากครอบครัว ในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 20.750 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 17.668 หน่วย ตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่ไมไ่ ดเ้ ล่นกีฬาดว้ ยกนั ในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 19.259 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 18.495 หน่วย และตวั แปรแรงสนบั สนุน ทางสังคมจากเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั ในกลุ่มที่ 1 มีคา่ เฉลี่ย 27.259 หน่วย กลุ่มที่ 2 มีคา่ เฉลี่ย 23.870 หน่วย เมื่อพิจารณาความแตกตา่ งของคา่ เฉลี่ยของแตล่ ะตวั แปรพบวา่ กลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงจะมีคา่ เฉลี่ยของทุกตวั แปรสูงกวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ยกเวน้ ตวั แปร บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว

47

ตารางที่ 9 คา่ สัมประสิทธ์ิ ค่าสถิติ F คา่ Wilks’s Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนยั สา คญั ทาง สถิติของสมการจา แนกกลุ่มบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ

ค่าสัมประสิทธ์ิจ าแนกกลุ่ม F Wilks’s ตัวแปร คะแนนดิบ คะแนน คะแนน (p-value) Lambda มาตรฐาน โครงสร้าง บุคลิกภาพแบบ 1.563 .769 -.604 21.164 .951 หวน่ั ไหว (p = .000) บุคลิกภาพแบบ -1.569 -.753 .597 21.622 .950 แสดงตัว (p = .000) บุคลิกภาพแบบ -.233 -.075 .131 0.174 .999 เปิดรับประสบการณ์ (p = .677) บุคลิกภาพแบบ 1.930 .769 -.092 1.024 .998 ประนีประนอม (p = .312) บุคลิกภาพแบบมี .455 .214 -.054 .497 .999 จิตสานึก (p = .481) คา่ คงที่ - 6.293 λ Rc Λ  df p-value .145 .355 .874 55.040 5 .000

จากตารางที่ 9 การเลือกตวั แปรจา แนกที่สา คญั โดยมีคา่ Wilks’s Lambda มีนัยสาคัญที่ ระดบั .001 พบวา่ ตวั แปรบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวและบุคลิกภาพแบบแสดงตวั มีนยสั าคัญที่ .001 สามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ โดย ตวั แปรที่มีคา่ สัมประสิทธ์ิจา แนกกลุ่มแบบคะแนนมาตรฐานสูงสุด คือ บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว และบุคลิกภาพแบบประนีประนอม มีคะแนน .769 รองลงมา คือ บุคลิกภาพแบบแสดงตัว มี คะแนน -.753 รองลงมา คือ บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก มีคะแนน .214 และบุคลิกภาพแบบเปิดรับ ประสบการณ์มีคะแนน -.075 คา่ สถิติ Wilks’s Lambda บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบมีคา่ ใกลห้ น่ึงมากทุกตวั แสดงวา่ มี คา่ เฉลี่ยระหวา่ งกลุ่มใกลเ้ คียงกนั ท้งั หมด มีอา นาจจา แนกกลุ่มไดต้ ่า คา่ Eigenvalue = .145 มี ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคะแนนการจา แนกกลุ่มคอ่ นขา้ งต่า คา่ Canonical correlation = .355 คา่ 48

Wilks’s Lambda = .874, คา่ Chi-square = 55.040, p-value < .001 ดงั น้นั ตวั แปรบุคลิกภาพแบบ หวน่ั ไหวและบุคลิกภาพแบบแสดงตวั สามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไม่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดอ้ ยา่ งมีนยั สา คญั ที่ .001 ตวั แปรบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบท้งั หมด สามารถคาดคะเนการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดร้ ้อยละ 63.6

ตารางที่ 10 คา่ สัมประสิทธ์ิ ค่าสถิติ F คา่ Wilks’s Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนัยสาคัญทาง สถิติของสมการจา แนกกลุ่มทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

ค่าสัมประสิทธ์ิจ าแนกกลุ่ม F Wilks’s ตัวแปร คะแนน คะแนน คะแนนดิบ (p-value) Lambda มาตรฐาน โครงสร้าง ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองใน 1.251 .865 .929 675.862 .378 การเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (p = .000) ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มี .305 .179 .518 209.648 .662 ความเสี่ยง (p = .000) ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬา .565 .310 .333 86.929 .825 ที่มีความเสี่ยง (p = .000) คา่ คงที่ - 7.849 λ Rc Λ  df p-value 1.909 .810 .344 436.243 3 .000

จากตารางที่ 10 การเลือกตวั แปรจา แนกที่สา คญั โดยมีคา่ Wilks’s Lambda มีนัยสาคัญที่ ระดบั .001 พบวา่ ตวั แปรทศั นคติมีนยั สา คญั ที่ .001 ท้งั หมด สามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่ มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬา โดยตวั แปรที่มีคา่ สัมประสิทธ์ิจา แนกกลุ่มแบบคะแนนมาตรฐาน สูงสุด คือ ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีคะแนน .865 รองลงมา คือ ทศั นคติ เชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงคะแนน .310 และทศั นคติเชิงลบตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงมีคะแนน .179 คา่ สถิติ Wilks’s Lambda แสดงความแปรปรวนรวมของตัวแปรตามที่อธิบายด้วยความ แปรปรวนภายในกลุ่มโดยคา่ เฉลี่ยของตวั แปรใดเขา้ ใกลห้ น่ึงมากจะแสดงถึงความใกลเ้ คียงกนั ของ คา่ เฉลี่ยระหวา่ งกลุ่มของตวั แปรน้นั ๆ ซ่ึงจากตารางทศั นคติแสดงวา่ ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มี ความเสี่ยงมีคา่ ใกลห้ น่ึงมากที่สุดแสดงวา่ มีคา่ เฉลี่ยระหวา่ งกลุ่มใกลเ้ คียงกนั มากที่สุด 49

ตวั แปรทศั นคติท้งั 3 ดา้ น มีอา นาจจา แนกกลุ่มไดด้ ี คา่ Eigenvalue มีคา่ สูง = 1.909 มี ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคะแนนการจา แนกกลุ่มคอ่ นขา้ งสูง คา่ Canonical correlation = .810 และ คา่ เฉลี่ยของตวั แปรทศั นคติท้งั หมดคอ่ นขา้ งสูง คา่ Wilks’s Lambda = .344, ค่า Chi-square = 436.243, p-value < .001 ดงั น้นั ตวั แปรทศั นคติท้งั หมดสามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดอ้ ยา่ งมีนยั สา คญั ที่ .001 และสามารถคาดคะเน การเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดร้ ้อยละ 90.3

ตารางที่ 11 คา่ สัมประสิทธ์ิ ค่าสถิติ F คา่ Wilks's Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนยั สา คญั ทาง สถิติของสมการจา แนกกลุ่มการรับรู้ความสามารถในตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง

ค่าสัมประสิทธ์ิจ าแนกกลุ่ม F Wilks’s ตัวแปร คะแนน คะแนน คะแนนดิบ (p-value) Lambda มาตรฐาน โครงสร้าง การรับรู้ความสามารถ .170 1.000 1.000 447.690 .478 ของตนเองในการเลือก (p = .000) เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง คา่ คงที่ - 5.801 λ Rc Λ  df p-value 1.092 .722 .478 302.246 1 .000

จากตารางที่ 11 พบวา่ ตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง โดยมีคา่ Wilks’s Lambda มีนยั สา คญั ที่ระดบั .001 สามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ โดยตวั แปรที่มีคา่ สัมประสิทธ์ิจา แนกกลุ่มแบบ คะแนนมาตรฐาน 1.000 คา่ สถิติ Wilks’s Lambda การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงมีคา่ .478 มีอา นาจจา แนกกลุ่มไดป้ านกลาง คา่ Eigenvalue มีคา่ สูง = 1.092 มีความสัมพันธ์ ระหวา่ งคะแนนการจา แนกกลุ่มคอ่ นขา้ งสูง คา่ Canonical correlation = .722 คา่ Chi-square = 302.246, p-value < .001 ดงั น้นั ตวั แปรการรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงสามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ 50

อยา่ งมีนยั สา คญั ที่ .001 และสามารถคาดคะเนการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดร้ ้อยละ 85.2

ตารางที่ 12 คา่ สัมประสิทธ์ิ ค่าสถิติ F คา่ Wilks’s Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนยั สา คญั ทาง สถิติของสมการจา แนกกลุ่มแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

ค่าสัมประสิทธ์ิจ าแนกกลุ่ม F Wilks's ตัวแปร คะแนนดิบ คะแนน คะแนน (p-value) Lambda มาตรฐาน โครงสร้าง แรงสนับสนุนทาง .058 .376 .935 22.889 .947 สังคมจากครอบครัว (p = .000) แรงสนับสนุนทาง -.028 -.146 .550 2.284 .994 สังคมจากเพื่อนที่ไมไ่ ด้ (p = .131) เล่นกีฬาดว้ ยกนั แรงสนับสนุนทาง .207 .876 .174 66.001 .861 สังคมจากเพื่อนที่เล่น (p = .000) กีฬาดว้ ยกนั คา่ คงที่ - 5.852 λ Rc Λ  df p-value .184 .394 .844 69.100 3 .000

จากตารางที่ 12 การเลือกตวั แปรจา แนกที่สา คญั โดยมีคา่ Wilks’s Lambda มีนัยสาคัญ ที่ระดบั .001 พบวา่ ตัวแปรแรงสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวและแรงสนับสนุนทางสังคมจาก เพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั มีนยั สา คญั ที่ .001 สามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและ ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ โดยตวั แปรที่มีคา่ สัมประสิทธ์ิจา แนกกลุ่มแบบคะแนนมาตรฐาน สูงสุด คือ แรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั มีคะแนน .876 รองลงมา คือ แรง สนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว มีคะแนน .376 และแรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่ไมไ่ ด้ เล่นกีฬาดว้ ยกนั มีคะแนน -.146 คา่ สถิติ Wilks’s Lambda ของตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่ไมไ่ ดเ้ ล่นกีฬา ดว้ ยกนั มีคา่ ใกลห้ น่ึงมากที่สุดแสดงวา่ มีคา่ เฉลี่ยระหวา่ งกลุ่มใกลเ้ คียงกนั มากที่สุด 51

ตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง มีอา นาจจา แนกกลุ่ม ไดต้ ่า คา่ Eigenvalue = .184 มีความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคะแนนการจา แนกกลุ่มคอ่ นขา้ งต่า คา่ Canonical correlation = .394 คา่ Wilks’s Lambda = .844, คา่ Chi-square = 69.100, p-value < .001 ดงั น้นั ตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมจากครอบครัวและแรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่เล่น กีฬาดว้ ยกนั สามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ไดอ้ ยา่ งมีนยั สา คญั ที่ .001 ตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ท้งั หมดสามารถคาดคะเนการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดร้ ้อยละ 66.3

ตารางที่ 13 คา่ สัมประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรท้งั หมด จา แนกตามกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง (เหนือเส้นทแยงมุม) และผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (ใต้เส้นทแยงมุม)

ตัวแปร X1 X2 X3 X4 X5 X6 X7 X8 X9 X10 X11 X12 X1 1 -.39 -.10 -.51 -.41 -.27 -.03 -.24 -.23 .07 .04 -.13 X2 -.34 1 .15 .40 .60 .18 .35 .24 .32 .28 .20 .42 X3 -.02 .11 1 .20 .22 -.06 .21 -.08 .03 -.02 .10 .13 X4 -.49 .47 .13 1 .39 .09 .14 .30 .12 .05 .08 .29 X5 -.23 .34 .11 .43 1 .28 .35 .29 .46 .16 .15 .33 X6 -.12 .23 .12 .07 .03 1 .45 .27 .57 .17 -.04 .38 X7 .05 .14 .22 .13 .07 .31 1 .24 .49 .09 .14 .41 X8 -.22 -.03 .05 .22 -.01 -.10 .06 1 .38 .04 .18 .24 X9 -.18 .24 .12 .14 .01 .68 .33 .00 1 .14 .03 .35 X10 -.13 .10 .07 .20 .14 .24 .20 .19 .33 1 .25 .26 X11 -.07 .13 .08 .18 .04 .21 .28 .00 .29 .36 1 .10 X12 -.10 .20 .14 .25 .17 .17 .23 .12 .21 .25 .37 1

จากตารางที่ 13 แสดงใหเ้ ห็นวา่ กลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงน้นั มีบุคลิกภาพแบบมี จิตสา นึกสัมพนั ธ์ทางบวกกบั บุคลิกภาพแบบแสดงตวั เทา่ กบั .60 รองลงมาคือ การรับรู้ ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสัมพนั ธ์ทางบวกกบั ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงเทา่ กบั .57 การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่น 52

กีฬาที่มีความเสี่ยงสัมพนั ธ์ทางบวกกบั ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยงเทา่ กบั .49 และการรับรู้ ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีความสัมพนั ธ์ทางบวกกบั บุคลิกภาพ แบบมีจิตสา นึกเทา่ กบั .46 ในขณะที่ความสัมพนั ธ์ทางลบ มีดงั น้ี บุคลิกภาพแบบประนีประนอม สัมพนั ธ์ทางลบกบั บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว เทา่ กบั -.51 บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึกสัมพันธ์ทางลบ กบั บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว เทา่ กบั -.41 และบุคลิกภาพแบบแสดงตวั สัมพนั ธ์ทางลบกบั บุคลิกภาพ แบบหวน่ั ไหว เทา่ กบั -.39 กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีการรับรู้ความความสามารถของ ตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีความสัมพนั ธ์ทางบวกกบั ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการ เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงเทา่ กบั .68 บุคลิกภาพแบบประนีประนอมสัมพนั ธ์ทางบวกกบั บุคลิกภาพ แบบแสดงตวั เทา่ กบั .47 และบุคลิกภาพแบบมีจิตสา นึกสัมพนั ธ์ทางบวกกบั บุคลิกภาพแบบ ประนีประนอม เทา่ กบั .43 ในขณะที่ความสัมพนั ธ์ทางลบ มีดงั น้ี บุคลิกภาพแบบประนีประนอม บุคลิกภาพแบบแสดงตวั และทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงสัมพนั ธ์ทางลบกบั บุคลิกภาพ แบบหวน่ั ไหว (-.49, -.34, -.22 ตามลาดับ)

ตารางที่ 14 คา่ สัมประสิทธ์ิ ค่าสถิติ F คา่ Wilks’s Lambda และคา่ สถิติแสดงความมีนยั สา คญั ทาง สถิติของตัวแปรที่เข้าสมการจาแนก

ค่าสัมประสิทธ์ิจ าแนกกลุ่ม F Wilks’s ตัวแปร คะแนน คะแนน คะแนนดิบ (p-value) Lambda มาตรฐาน โครงสร้าง บุคลิกภาพแบบ -.540 -.215 -.035 1.024 .998 ประนีประนอม (p = .312) ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองใน 1.077 .745 .902 675.862 .378 การเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (p = .000) ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มี .276 .163 .502 209.648 .662 ความเสี่ยง (p = .000) ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่ .606 .332 .323 86.929 .825 มีความเสี่ยง (p = .000) การรับรู้ความสามารถของ .031 .179 .734 447.690 .478 ตนเองในการเลือกเล่น (p = .000) กีฬาที่มีความเสี่ยง 53

ตารางที่ 14 (ตอ่ )

ค่าสัมประสิทธ์ิจ าแนกกลุ่ม F Wilks’s ตัวแปร คะแนน คะแนน คะแนนดิบ (p-value) Lambda มาตรฐาน โครงสร้าง คา่ คงที่ - 6.482 λ Rc Λ  df p-value 2.026 .818 .330 451.215 5 .000

จากตารางที่ 14 เมื่อนา ทุกตวั แปรมารวมกนั แลว้ พบวา่ ตวั แปรที่มีคา่ สัมประสิทธ์ิจา แนก กลุ่มแบบคะแนนมาตรฐานสูงสุด คือ ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงเทา่ กบั .745 รองลงมาคือ ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงเท่ากบั .332 บุคลิกภาพแบบประนีประนอม เทา่ กบั -.215 การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เทา่ กบั .179 และ ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยงเทา่ กบั .163 ตวั แปรท้งั หมดมีอา นาจจา แนกกลุ่มไดด้ ี คา่ Eigenvalue = 2.026 มีความสัมพันธ์ระหวา่ ง คะแนนการจา แนกกลุ่มสูง คา่ Canonical correlation = .818 คา่ Wilks’s Lambda = .330, คา่ Chi- square = 451.215, p-value < .001 ตวั แปรท้งั หมดสามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดอ้ ยา่ งมีนยั สา คญั ที่ .001

ตารางที่ 15 การเข้าสมการของตัวแปร

Step ตัวแปร 1 ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 2 ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง 3 ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ทัศนคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง บุคลิกภาพแบบประนีประนอม

54

ตารางที่ 15 (ตอ่ )

Step ตัวแปร 4 ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง บุคลิกภาพแบบประนีประนอม ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง 5 ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง บุคลิกภาพแบบประนีประนอม ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

จากตารางที่ 15 พบวา่ ตวั แปรที่เขา้ สมการที่ใชใ้ นการจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงออกจากกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดม้ ี 5 ตวั แปร โดยตวั แปรทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงเป็นตวั แปรตวั แรกที่เขา้ ในสมการ ตวั แปรต่อมา คือ ทศั นคติเชิง บวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง บุคลิกภาพแบบประนีประนอม ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยงและ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

ตารางที่ 16 ลา ดบั ความสา คญั ของตวั แปรเมื่อพิจารณาจากคา่ สัมประสิทธ์ิจา แนกกลุ่มในรูปคะแนน มาตรฐาน

ลาดับความส าคัญ ตัวแปรทเี่ ข้าสู่สมการ ค่าสัมประสิทธ์ิจ าแนกกลุ่ม 1 ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มี .745 ความเสี่ยง 2 ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง .332 3 บุคลิกภาพแบบประนีประนอม -.215 4 ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง .163 5 การรับรู้ความสามารถของตนเองในการ .179 เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 55

จากตารางที่ 16 พบวา่ ผลการจดั ลา ดบั ความสา คญั ของตวั แปรที่เขา้ สมการจา แนกกลุ่มท้งั 5 ตวั แปร ตวั แปรทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงเป็นตวั แปรที่สามารถอธิบาย ความแตกตา่ งของตวั แปรตามไดม้ ากที่สุด และใหอ้ า นาจจา แนกแก่สมการมากที่สุด เทา่ กบั .745 รองลงมา คือ ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง เทา่ กบั .332 บุคลิกภาพแบบประนีประนอม เทา่ กบั -.215 ทศั นคติเชิงลบตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง เทา่ กบั .163 และการรับรู้ความสามารถของ ตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เทา่ กบั .179 โดยสามารถเขียนเป็นสมการทา นายไดด้ งั น้ี

Z = .745X6+.332X8-.215X4+.163X7+.179X9

ตารางที่ 17 คา่ เฉลี่ยรวม (Group centroids) ของกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและกลุ่มที่ไม่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

การเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ค่าเฉลยี่ รวมของแต่ละกลุ่ม (Group centroids) กลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 1.434 กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง -1.406

จากตารางที่ 17 พบวา่ คา่ เฉลี่ยร่วม (Group centroids) ของกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงเทา่ กบั 1.434 และกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงเทา่ กบั -1.406 ซ่ึงคา่ เฉลี่ยร่วมของท้งั 2 กลุ่มตา่ งกนั แสดงวา่ กลุ่มที่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีลกั ษณะ บุคลิกภาพ ทศั นคติใน การเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง แตกตา่ งกนั

56

ตารางที่ 18 ผลการคาดประมาณการจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยง โดยสมการจา แนกประเภทที่ได ้

กลุ่มคาดคะเน จ านวน กลุ่มทเี่ ลือกเล่นกฬี าฯ กลุ่มทไี่ ม่เลือกเล่นกฬี าฯ กลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาฯ 191 13 204 (93.63%) (6.37%) กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาฯ 23 185 208 (11.06%) (88.94%) หมายเหตุ ร้อยละของการคาดประมาณที่ถูกต้อง = 91.28%

จากตารางที่ 18 พบวา่ กลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 100 คน ตวั แปรท้งั 5 ตวั (ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง, ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง, บุคลิกภาพแบบประนีประนอม, ทศั นคติเชิงลบตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงและการรับรู้ความสามารถของ ตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง) สามารถพยากรณ์วา่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 191 คน (พยากรณ์ถูกต้องร้อยละ 93.63) และพยากรณ์วา่ ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 13 คน (พยากรณ์ ผดิ พลาดร้อยละ 6.37) และกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง พยากรณ์วา่ ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง 185 คน (พยากรณ์ถูกตอ้ งร้อยละ 88.94) และพยากรณ์วา่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 23 คน (พยากรณ์ผิดพลาดร้อยละ 11.06) ดงั น้นั ผลการคาดประมาณการจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงโดยสมการจา แนกกลุ่มที่ได ้ สามารถคาดคะเนการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได้ ถึงร้อยละ 91.28 ซ่ึงแสดงวา่ สมการที่ไดม้ ีประสิทธิภาพในการจา แนกกลุ่มสูงมาก

57

บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การวจิ ยั เรื่องการวเิ คราะห์จา แนกปัจจยั เชิงจิตวทิ ยาและการสนบั สนุนทางสังคมที่มีผลตอ่ การเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกตา่ งและความสามารถ ในการจาแนกของ ตวั แปรดา้ นบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทาง สังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ระหวา่ งกลุ่มผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั ในคร้ังน้ีมีจุดมุง่ หมายเพื่อ 1. เพื่อศึกษาความสามารถในการ จา แนกของตวั แปรดา้ นบุคลิกภาพ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถ ของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง ระหวา่ งกลุ่มผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความ แตกตา่ งดา้ นบุคลิกภาพ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของ ตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงระหวา่ งกลุ่มผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง สมมุติฐานในการวิจัย 1. บุคลิกภาพ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสามารถจา แนกผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ 2. บุคลิกภาพ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีผลตอ่ การเลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง กลุ่มตวั อยา่ งในการวจิ ยั คร้ังน้ีเป็นผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงจานวน 400 คน โดยเป็นผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจา นวน 200 คน และผทู้ ี่ไมเ่ ลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 200 คน หลงั จากที่ผวู้ จิ ยั ไดด้ า เนินการเกบ็ ขอ้ มูลจริงท้งั หมด 447 คน ตดั ชุด ขอ้ มูลที่ไมส่ มบูรณ์เหลือ 412 คน แบง่ เป็นกีฬาทว่ั ไป 208 คน กีฬาที่มีความเสี่ยง 204 คน เพศชาย 253 คน เพศหญิง 159 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย แบบสอบถาม 4 ฉบบั ไดแ้ ก่ บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ โดยอีก 3 ฉบับ ผวู้ จิ ยั ไดป้ รับปรุง หรือสร้างข้ึนตามทฤษฎีทางจิตวทิ ยา ไดแ้ ก่ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 58

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผวู้ จิ ยั นา แบบสอบถามไปเกบ็ ขอ้ มูลกบั กลุ่มตวั อยา่ งที่กา หนดไว ้ จากน้นั ผวู้ จิ ยั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเองและผชู้ ่วยวจิ ยั ตามสถานที่ดงั น้ี กีฬาทางอากาศหนองคอ้ จังหวัดชลบุรี, สถานที่จดั การแขง่ ขนั Fai Asia-Oceania (สมาคมกีฬาทางอากาศแห่งประเทศไทย) จังหวัดสระบุรี, ลานสเกต็ สมาคมกีฬาเอก็ ซ์ตรีมแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร, ไทยเวคพาร์ค พัทยา จังหวัดชลบุรี, สถานที่จัดงาน Skate day สะพานพระราม 8 กรุงเทพมหานคร นา แบบสอบถามมาตรวจสอบความถูกต้อง แล้วคัดเลือกแบบวัดฉบับที่มีความสมบูรณ์เพื่อดาเนินการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ โดยวเิ คราะห์ขอ้ มูลพ้ืนฐานของกลุ่มตวั อยา่ งประกอบดว้ ย คา่ ร้อยละ (Percentage) คา่ เฉลี่ย (Mean) คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviations) และนาข้อมูล ดา้ นบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถ ของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงมาวเิ คราะห์จา แนกกลุ่ม (2 Groups discriminant analysis) และความแปรปรวนพหุคูณ สา หรับสองกลุ่ม (2 Groups MANOVA)

สรุปผลการวจิ ัย 1. ผลการวเิ คราะห์จา แนกกลุ่ม (Discriminant analysis) ทีละตัวแปร ตัวแปรแรก คือ บุคลิกภาพหา้ องค ์ (บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว, บุคลิกภาพแบบแสดงตัว, บุคลิกภาพแบบเปิดรับ ประสบการณ์, บุคลิกภาพแบบประนีประนอม, บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก โดยการเลือกตัวแปร จา แนกที่สา คญั ที่มีคา่ Wilks’s Lambda มีนยั สา คญั ที่ระดบั .001 พบวา่ ตัวแปรบุคลิกภาพแบบ หวน่ั ไหวและบุคลิกภาพแบบแสดงตวั มีนยั สา คญั ที่ .001 สามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ ตวั แปรบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบท้งั หมดสามารถ คาดคะเนการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดร้ ้อยละ 63.6 ตวั แปรทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง (ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง, ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความ เสี่ยง, ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง) พบวา่ ตวั แปรทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงท้งั หมดมีนยั สา คญั ที่ .001 สามารถคาดคะเนการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดร้ ้อยละ 90.3 ตวั แปรการรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีนยั สา คญั ที่ .001 สามารถคาดคะเนการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดร้ ้อยละ 85.2 และแรงสนบั สนุนทางสังคมใน การเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (แรงสนบั สนุนทางสังคมจากครอบครัว, แรงสนับสนุนทางสังคม จากเพื่อนที่ไมไ่ ดเ้ ล่นกีฬาดว้ ยกนั , แรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั ) พบวา่ ตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมจากครอบครัวและแรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่เล่นกีฬา ดว้ ยกนั มีนยั สา คญั ที่ .001 สามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬา 59

ที่มีความเสี่ยง ตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงท้งั หมดสามารถ คาดคะเนการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดร้ ้อยละ 66.3 2. ผลการวิเคราะห์ MANOVA เพื่อเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยร่วม (Group centroid) ของกลุ่ม ที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง โดยสามารถแบง่ ตวั แปรตามท้งั 12 ตวั ไดแ้ ก่ บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ (บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว, บุคลิกภาพแบบแสดงตัว, บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์, บุคลิกภาพแบบประนีประนอม, บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก ) ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง, ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง, ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง) การรับรู้ความสามารถ ของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง (แรงสนบั สนุนทางสังคมจากครอบครัว, แรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่ไมไ่ ดเ้ ล่น กีฬาดว้ ยกนั , แรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั ) ที่ส่งผลตอ่ การเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง พบวา่ กลุ่มตวั แปรตามเหล่าน้ีมีคา่ เฉลี่ยรวมแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สา คญั ทางสถิติที่ระดบั .001 โดยมี Wilks’s Lambda เทา่ กบั .330 และทา การวเิ คราะห์จา แนก (Discriminant analysis) แบบ Stepwise พบวา่ มี 5 ตวั แปร คือ ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ทศั นคติเชิง บวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง บุคลิกภาพแบบประนีประนอม ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง และ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง สามารถร่วมกนั จา แนกกลุ่มที่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดอ้ ยา่ งมีนยั สา คญั ทางสถิติที่ ระดับ .001 เมื่อพิจารณาถึงลา ดบั ความสา คญั ของตวั แปรที่สามารถจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงออกจากกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง สามารถเรียงลา ดบั ไดด้ งั น้ี 1. ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 2. ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง 3. บุคลิกภาพแบบประนีประนอม 4. ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง 5. การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง อิทธิพลของตวั แปรท้งั 5 จากขอ้ มูลกลุ่มตวั อยา่ งท้งั หมด พบวา่ ส่งผลตอ่ การเลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยง และสามารถพยากรณ์กลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งร้อยละ 91.28

60

อภิปรายผล ผวู้ จิ ยั ไดท้ า การแบง่ สมมติฐานตามวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั ดงั น้ี สมมติฐานที่ 1 บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคม ในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสามารถจา แนกผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ จากผลการวจิ ยั พบวา่ จากตวั แปรท้งั หมดประกอบดว้ ย บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ (บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว, บุคลิกภาพแบบแสดงตัว, บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์, บุคลิกภาพแบบประนีประนอม, บุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก ) ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยง (ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง, ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง, ทัศนคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง) การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง (แรงสนบั สนุนทาง สังคมจากครอบครัว, แรงสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่ไมไ่ ดเ้ ล่นกีฬาดว้ ยกนั , แรงสนบั สนุนทาง สังคมจากเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั ) ตวั แปรที่สามารถจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ มี 8 ตวั แปร จากท้งั หมด 12 ตวั แปร ไดแ้ ก่ บุคลิกภาพแบบ หวน่ั ไหว, บุคลิกภาพแบบแสดงตวั , ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง, ทัศนคติ เชิงลบตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง, ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง, การรับรู้ความสามารถของ ตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง, แรงสนบั สนุนทางสังคมจากครอบครัว และแรง สนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั ซ่ึงตวั แปรที่คน้ พบในงานวจิ ยั น้ีสามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและ ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงผวู้ จิ ยั สามารถทา การอภิปรายทีละตวั แปร โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี บุคลกิ ภาพห้าองค์ประกอบ บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบตวั แปรที่สามารถจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง คือ บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว และบุคลิกภาพแบบแสดงตวั ตวั แปรท้งั สองตวั น้ีที่สามารถจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ เนื่องมาจาก ลกั ษณะบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวของผทู้ ี่ไดค้ ะแนนสูงจะเป็นคนวติ กกงั วลง่าย ทอ้ แท้ สิ้นหวงั ง่าย ไมส่ ามารถจดั การกบั ความเครียดไดเ้ มื่อเกิดสถานการณ์ตา่ ง ๆ แตล่ กั ษณะของ บุคลิกภาพแบบแสดงของผู้ที่ได้คะแนนสูงตัวจะเป็นคนกล้าแสดงออก ชอบเข้าสังคม ชอบทา กิจกรรม และกระหายความตื่นเตน้ (McCrae & Costa, 1987) ตวั แปรบุคลิกภาพท้งั สองตวั น้ีมีความ แตกตา่ งกนั ในลกั ษณะนิสัย ซ่ึงจากผลการวจิ ยั เมื่อเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยของกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงมีคะแนนบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวนอ้ ยกวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และ 61

กลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีคะแนนบุคลิกภาพแบบแสดงตวั มากกวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยง โดยบุคลิกภาพน้นั เป็นพ้ืนฐานของความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมที่จะนา มาสู่ ลกั ษณะทางความคิด ทศั นคติ ความเชื่อ คา่ นิยม รสนิยม และการรับรู้ที่แตกตา่ งกนั แนวคิด บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบไดถ้ ูกจดั อยใู่ นกลุ่มของทฤษฎีกลุ่มคุณลกั ษณะนิสัย (Trait theory) คุณลักษณะนิสัย (Trait) ที่นา ไปใชใ้ นการอธิบายพฤติกรรมที่มีความแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะบุคคล ความโน้มเอียงในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล (สุพานี สฤษฎ์วานิช, 2552) ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ Serdar (2011) ไดท้ า การศึกษาบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบในกลุ่มคนที่เล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง และกลุ่มที่ไมเ่ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง พบวา่ กลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีบุคลิกภาพ แบบหวน่ั ไหวต่า กวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง จากงานวจิ ยั ระบุวา่ กลุ่มคนที่ไมเ่ ล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยงจะมีความเครียดและความวติ กกงั วลในการที่จะเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงซ่ึงตรงกบั ลกั ษณะของบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวที่จะมีความเปราะบางทางอารมณ์เกิดความเครียด และความ วติ กกงั วลไดง้ ่าย ส่วนกลุ่มคนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีบุคลิกภาพแบบแสดงตวั สูงกวา่ กลุ่มที่ไม่ เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง จากงานวจิ ยั ระบุวา่ กลุ่มคนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจะเป็นคนที่ชอบมี ส่วนร่วมในกีฬาผจญภยั มีการลองอาหารแปลกใหม ่ รวมไปถึงการลองเสพสารเสพติดอีกดว้ ยซ่ึง ตรงกบั ลกั ษณะบุคลิกภาพแบบแสดงตวั ที่จะชอบทา กิจกรรม และแสวงหาความตื่นเตน้ เช่นเดียว กบั งานวจิ ยั ของ Tanja Kajtna (2004) ได้ทาการศึกษาเปรียบเทียบบุค ลิกภาพของผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงสูง และผทู้ ี่ไมเ่ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง พบวา่ กลุ่มคนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมี บุคลิกภาพแบบแสดงตวั สูงกวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ในงานวจิ ยั ระบุวา่ ลกั ษณะของกลุ่ม คนที่ไมเ่ ล่นกีฬาจะเป็นคนที่ข้ีอาย เกบ็ ตวั ไมค่ ่อยเขา้ สังคมซ่ึงลกั ษณะตรงกบั คะแนนต่า ของ บุคลิกภาพแสดงตวั ดว้ ยเหตุน้ีตวั แปรสองตวั น้ีจึงสามารถจา แนกกลุ่มที่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยงได ้ เพราะเมื่อบุคคลใดที่มีบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวสูงจะสามารถทา นายไดว้ า่ เปอร์เซ็นตข์ องการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจะต่าลง ในขณะที่บุคคลที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัว สูงจะสามารถทา นายไดเ้ ช่นกนั วา่ เปอร์เซ็นตข์ องการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงกจ็ ะสูงตามไปดว้ ย ทัศนคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง, ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความ เสี่ยง และทศั นคติเชิงบวกต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง สามารถจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เนื่องมาจากทศั นคติเป็นความรู้สึกภายในจิตใจที่สามารถ แสดงออกมาทางด้านพฤติกรรม Fishbein and Ajzen (1975) กล่าววา่ ทศั นคติเป็นส่ิงที่เกิดจาก การเรียนรู้ หรือเกิดจากการสะสมประสบการณ์ของแตล่ ะบุคคล ส่ิงที่สา คญั ที่สุดที่ทา ใหท้ ศั นคติ แตกตา่ งกนั เกิดจากแรงผลกั ดนั ภายใน เช่น นิสัย แรงขบั หรือแรงจูงใจ เมื่อบุคคลประเมินทศั นคติที่ 62

มีตอ่ ส่ิงใดส่ิงหน่ึง กอ็ าจมีทศั นคติทางบวก (ความรู้สึกชอบ) หรือทศั นคติทางลบ (ความรู้สึกไม่ ชอบ) ต่อส่ิงน้นั ทศั นคติสามารถทา นายถึงพฤติกรรมได ้ การรู้ถึงทศั นคติของบุคคลหรือกลุ่มคนที่มี ตอ่ ส่ิงใดส่ิงหน่ึงวา่ เป็นไปในทิศทางใด และมีความเขม้ มากนอ้ ยแคไ่ หน ยอ่ มจะทา ใหผ้ ูท้ ี่เกี่ยวขอ้ ง สามารถทา นายพฤติกรรมที่อาจจะเกิดข้ึนของบุคคลน้นั ได ้ และสามารถวางแผนดา เนินการอยา่ งใด อยา่ งหน่ึงกบั บุคคลหรือกลุ่มคนน้นั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน ซ่ึงจากผลการวิจยั เมื่อเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยทศั นคติของกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีคา่ ที่สูงกวา่ กลุม่ ที่ไมเ่ ลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง แสดงวา่ กลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีทศั นคติที่ดีตอ่ กีฬาที่มีความ เสี่ยงมากกวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ Rauter and Topic (2011) ไดท้ า การศึกษาเกี่ยวกบั ทศั นคติของคนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง โดยแบง่ กลุ่มตวั อยา่ ง ออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่ชอบเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เช่น ปีนเขา กระโดดร่ม สกี กลุ่มที่ สองเป็นกลุ่มคนที่ชอบทีมกีฬาตา่ ง ๆ เช่น กีฬาบาสเกตบอล ฟุตบอล กลุ่มที่สามเป็นกลุ่มคนที่ชอบ กีฬาที่ใชค้ วามอดทน เช่น วง่ิ วา่ ยน้า กลุ่มที่สี่เป็นกลุ่มคนที่ชอบกีฬาที่มีการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ เช่น การเดินป่า เตน้ ร า ผลการวจิ ยั พบวา่ กลุ่มคนที่ชอบเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีมุมมองทศั นคติทางบวก ตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง จากงานวจิ ยั ระบุวา่ คนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงน้นั มองวา่ การเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงเป็นส่ิงเพื่อความบนั เทิงและการผอ่ นคลาย ในกลุ่มคนที่ชอบทีมกีฬาจะมีทศั นคติเรื่องของ ความมีชื่อเสียง หรือรายไดม้ ากกวา่ กลุ่มที่ชอบกีฬาที่มีความเสี่ยง ส่วนแรงจูงใจเรื่องสุขภาพไมไ่ ด้ เป็นปัจจยั สา คญั ในการเล่นกีฬาของคนที่ชอบกีฬาที่มีความเสี่ยง ทศั นคติในเรื่องของความเสี่ยงทาง กีฬา ในงานวจิ ยั ระบุวา่ กลุ่มที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีความแตกตา่ งกบั กลุ่มคนที่เล่นกีฬาอื่น ๆ และ กลุ่มที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจะมีทศั นคติที่ดีตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงมากกวา่ กลุ่มที่ชอบกีฬาอื่น ๆ เมื่อ บุคคลมีทศั นคติที่ดีต่อกีฬาประเภทใดกจ็ ะมีแนวโนม้ ที่จะเลือกกีฬาน้นั ๆ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกฬี าทมี่ ีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสามารถจา แนกกลุ่ม ที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เนื่องมาจาก การรับรู้ความสามารถ ของตนเองเป็นตัวแปรทางจิตวทิ ยาที่สา คญั เป็นส่ิงที่แสดงถึงการเลือกจะใชค้ วามพยายาม การกระทา ส่ิงใดส่ิงหน่ึงของบุคคล ระดบั การรับรู้ความสามารถของตนเองมีผลต่อการกระทา (Bandura, 1997) ถา้ ไมม่ น่ั ใจวา่ ตนเองมีความสามารถมากพอกจ็ ะไมแ่ สดงพฤติกรรมน้นั ๆ Bandura (1986) อธิบาย วา่ การรับรู้ความสามารถของตนเองมีผลต่อพฤติกรรมของบุคคล เนื่องจากเกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการคิด การจูงใจ รวมไปถึงอารมณ์ การตัดสินใจเลือกที่จะแสดงพฤติกรรมใดพฤติกรรม หน่ึง เป็นระยะเวลาเทา่ ใดจะอยใู่ นขอบเขตของการประเมินของบุคคลน้นั วา่ จะสามารถทา ไปได้ ดว้ ยดีหรือไม ่ ผทู้ ี่มีการรับรู้ความสามารถของตนเองสูงมกั จะเลือกทา ในส่ิงที่มีความทา้ ทาย มี 63

แรงจูงใจที่จะพฒั นาความสามารถของตนเองและใชค้ วามลม้ เหลวเป็นแรงเสริม ส่วนผูท้ ี่มีการรับรู้ ความสามารถของตนเองต่า มกั จะหลีกเลี่ยงที่จะเผชิญหนา้ กบั ความทา้ ทาย ขาดความมน่ั ใจ มีความ กงั วล เกิดความเครียดการรับรู้ความสามารถของตนเองสร้างความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เกี่ยวกบั วิธีการคิด อารมณ์ และการแสดงพฤติกรรม บุคคลที่มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองต่า จะเกิดความเครียด ความวิตกกงั วลและมีความนบั ถือตนเองต่า ส่วนบุคคลที่มีระดบั การรับรู้ ความสามารถของตนเองสูงน้นั จะสนุกกบั งานที่ได้รับและมีความนับถือตนเองสูงด้วย (Tella & Ayeni, 2006) จึงกล่าวไดว้ า่ เมื่อบุคคลมีการรับรู้ความสามารถของตนเองสูงกจ็ ะสามารถกจ็ ะ สามารถทา นายพฤติกรรมในเรื่องน้นั ๆ ไดส้ ูงกวา่ ผทู้ ี่มีการรับรู้ความสามารถของตนเองต่า ซ่ึงเมื่อดู จากผลการวจิ ยั เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนเองของกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงมีคา่ ที่สูงกวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง แสดงวา่ กลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงมีการรับรู้ความสามารถของตนเองมากกวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ Llewellyn et al. (2008) ไดศ้ ึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการรับรู้ความสามารถของ ตนเองต่อความเสี่ยงและประสิทธิภาพในการปีนหนา้ ผา นกั ปีนหนา้ ผาที่มีการรับรู้ความสามารถ ของตนเองจะมีการปีนเขาที่เพ่ิมความเสี่ยงมากยง่ิ ข้ึน การเพ่ิมความยากของงาน ความถี่ มี ความสัมพนั ธ์กนั กบั การรับรู้ความสามารถของตนเอง มนาปี คงรักชา้ ง (2558) ไดท้ า การศึกษา การใหโ้ ปรแกรมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตดั สินใจเลือกอาชีพโดยผลการวจิ ยั พบวา่ มีคา่ เฉลี่ยการตดั สินใจเลือกอาชีพที่สูงข้ึนหลงั จากไดร้ ับโปรแกรม นอกจากน้ีงานวจิ ยั ของ Serdar (2011) ยงั พบวา่ บุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหวมีความสัมพนั ธ์ในทางตรงขา้ มกบั การรับรู้ความสามารถ ของตนเองดว้ ย คนที่ชอบความเสี่ยงจะมีความเชื่อวา่ ตนเองสามารถรับมือกบั สถานการณ์ที่มีความ เสี่ยงได้ แรงสนับสนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกฬี าทมี่ ีความเสี่ยง แรงสนับสนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงที่สามารถจา แนกกลุ่มที่เลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง คือ แรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจากครอบครัว และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงจากเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั การที่ตวั แปรสองตวั น้ีสามารถจา แนกได ้ เนื่องมาจาก ผทู้ ี่เลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงรู้สึกวา่ สังคมน้นั ใหข้ อ้ มูลหรือขา่ วสารที่ทา ใหบ้ ุคคลเชื่อวา่ มีคนรักและสนใจ มี คนยกยอ่ งและมองเห็นคุณคา่ และรู้สึกวา่ ตนเป็นส่วนหน่ึงของสังคม ไดร้ ับการช่วยเหลือจากบุคคล และกลุ่มบุคคลที่ปฏิสัมพนั ธ์ดว้ ยทางดา้ นอารมณ์สังคม วตั ถุ ส่ิงของ รวมท้งั ขอ้ มูลขา่ วสาร ผลของ แรงสนบั สนุนทา ใหบ้ ุคคลเกิดความตระหนกั สามารถตอบสนองต่อส่ิงเร้าตา่ ง ๆ ได้ตามความ 64

ต้องการ (Cobb, 1976) การใหเ้ พื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั สนบั สนุนเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั จะทา ใหเ้ กิด ประสิทธิผลในการเล่นกีฬาและการรับรู้การสนบั สนุนทางสังคม (Rees & Freeman, 2007) นกั กีฬาจะมีศกั ยภาพมากยง่ิ ข้ึน ลดความวติ กกงั วลได ้ เมื่อไดร้ ับการสนบั สนุนจากบุคคล ที่อยใู่ กลช้ ิด เช่น โคช้ เพื่อนร่วมทีม ครอบครัว (Morgan & Giacobbi, 2006) โดยแหล่งของแรง สนับสนุนทางสังคม แบง่ ออกได ้ 2 ประเภท คือ กลุ่มปฐมภูมิและกลุ่มทุติยภูมิ กลุ่มปฐมภูมิเป็นกลุ่ม ที่มีความสนิทสนมและมีสัมพนั ธภาพระหวา่ งสมาชิกเป็นการส่วนตวั สูง กลุ่มน้ี ไดแ้ ก่ ครอบครัว ญาติพี่นอ้ งและเพื่อนบา้ น ส่วนกลุ่มทุติยภูมิ เป็นกลุ่มสังคมที่มีความสัมพนั ธ์ตามแผนและกฎเกณฑ์ ที่วางไว ้มีอิทธิพลเป็นตวั กา หนดบรรทดั ฐาน ของบุคคลในสังคมกลุ่มน้ี ไดแ้ ก่ เพื่อนร่วมงาน กลุ่ม วชิ าชีพและกลุ่มสังคมอื่น ๆ เมื่อเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยของแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงจากครอบครัว และแรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง จากเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั แลว้ แรงสนบั สนุนทางสังคมในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจาก เพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั มีคา่ เฉลี่ยที่สูงกวา่ อธิบายไดจ้ ากแหล่งของแรงสนบั สนุนทางสังคมแลว้ ครอบครัวน้นั จะอยใู่ นระดบั แคบหรือระดบั ลึก (Micro level) ซึ่งจะมีความใกล้ชิดทางอารมณ์ จะ เป็นการการสนบั สนุนทางจิตใจ และแสดงความรักและห่วงใย ส่วนเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั น้นั จะอยใู่ นระดบั กลุ่มเครือขา่ ย (Mezzo level) การสนบั สนุนในระดบั น้ี ไดแ้ ก่ การใหค้ า แนะนา การช่วยเหลือดา้ นวสั ดุส่ิงของ ความเป็นมิตรแรงสนบั สนุนทางอารมณ์ และการยกยอ่ ง (Gottlieb, 1985) ในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงกลุ่มเพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั จะมีการสนบั สนุนในดา้ น ตา่ ง ๆ ทา ใหร้ ับรู้ถึงแรงสนบั สนุนส่งผลตอ่ การเกิดพฤติกรรมมากยง่ิ ข้ึน ซ่ึงครอบครัวจะสนบั สนุน ทางดา้ นของจิตใจมากกวา่ สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ Smith, Ullrich-French, Walker II, and Hurley (2006) ไดท้ า การศึกษาการสนบั สนุนจากเพื่อนที่เล่นกีฬาฟุตบอลดว้ ยกนั วา่ มีผลตอ่ การรับรู้ แรงสนบั สนุนทางสังคมหรือไม ่ ผลการวจิ ยั พบวา่ ผทู้ ี่เขา้ ร่วมเล่นกีฬาที่ไดร้ ับสนบั สนุนเพื่อนร่วม ทีมมีแนวโน้มที่จะปรับตัว และรับรู้ถึงการสนบั สนุนทางสังคมจากเพื่อน มีการตอบสนองต่อ แรงจูงใจในการเล่นกีฬามากข้ึน ส่วน Schneider et al. (2007) ได้ทาการศึกษาปรากฏการณ์ทางด้าน สังคมและจิตใจในเชิงลึก พบวา่ ในตอนที่เร่ิมเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงน้นั จะมีความรู้สึกที่ดีกบั ตนเองที่สามารถเอาชนะหรือจดั การกบั ความกลวั ได ้ มีการปรับตวั ให้เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มของ การเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และการไดร้ ับแรงสนบั สนุนจากเพื่อนร่วมทีมทา ใหส้ ามารถจดั การและ รับมือกบั ความเสี่ยงจากการเล่นกีฬาได ้ นอกจากน้ี แรงสนบั สนุนทางสังคมยงั เพ่ิมความมน่ั ใจใน ตนเองได้อีกด้วย (Katagami & Tsuchiya, 2017) ซ่ึงพอสรุปไดว้ า่ แรงสนบั สนุนทางสังคมเป็น ปัจจยั หน่ึงที่เป็นพ้ืนฐานที่มีอิทธิพลตอ่ การปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ เพราะการสนับสนุนทางสังคม 65

มาจากการมีความสัมพนั ธ์และผกู พนั กนั ของบุคคลในสังคม เช่น ครอบครัว เพื่อนฝงู คนใกลช้ ิด ในการช่วยใหไ้ ดร้ ับขอ้ มูลขา่ วสารความรู้ คา ปรึกษาแนะนา ที่เป็นประโยชน์ รวมท้งั การยอมรับ ให้ กา ลงั ใจใหร้ ู้ถึงคุณคา่ ในตนเอง การสนบั สนุนทางสังคมต่าง ๆ เหล่าน้ีจึงเป็นปัจจยั ที่สามารถจา แนก ผทู้ ี่เลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ สมมติฐานที่ 2 บุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแรงสนบั สนุนทางสังคมใน การเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีผลตอ่ การเลือกและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง หลงั จากทา การวเิ คราะห์ตวั แปรจา แนกทีละตวั แลว้ นา ตวั แปรท้งั หมดมาวิเคราะห์ด้วย สมการจา แนก พบวา่ มีตวั แปรท้งั หมด 5 ตวั ที่ร่วมกนั สามารถจา แนกกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงและกลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เรียงลา ดบั ไดด้ งั น้ี 1. ทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 2. ทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง 3. บุคลิกภาพแบบประนีประนอม 4. ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง 5. การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ตวั แปรท้งั 5 ที่ร่วมกนั ทา นายในงานวจิ ยั ชิ้นน้ีสามารถคาดคะเนการเลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงได้ร้อยละ 91.28 โดยตัวแปรที่เขา้ สมการทา นายเป็นลา ดบั ที่ 1 ในการจา แนกกลุ่มที่เลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง คือ ตวั แปรทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการ เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง สาเหตุที่ตวั แปรทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงเขา้ สมการเป็นอันดับแรกสามารถอธิบายไดว้ า่ ทศั นคติจะเป็นการประเมินผลของการรับรู้ทางดา้ น ความพอใจ หรือความไมพ่ อใจ หรือเรียกไดว้ า่ ความรู้สึกชอบ ไมช่ อบ ของบุคคลที่มีต่อส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั ซ่ึงจะมีผลตอ่ พฤติกรรมของบุคคลน้นั ๆ ซ่ึงในแต่ละบุคคลจะมีทศั นคติที่แตกต่างกนั ไป (Rogers, 1978) อธิบายวา่ ทศั นคติเป็นความสัมพนั ธ์ที่คาบเกี่ยวกนั ระหวา่ งความรู้สึก ความเชื่อ หรือการรับรู้ของบุคคล กบั แนวโนม้ ที่จะมีพฤติกรรมโตต้ อบ ในทางใดทางหน่ึงตอ่ เป้าหมาย การกระทา หรือพฤติกรรมของคนส่วนใหญ ่ เป็นการแสดงออกของบุคคลที่มีพ้ืนฐานมาจากความรู้ และทัศนคติของบุคคลน้นั ๆ ทศั นคติเป็นส่ิงที่ช้ีวา่ บุคคลน้นั คิดและรู้สึกอยา่ งไรกบั คนรอบขา้ ง วตั ถุหรือ ส่ิงแวดลอ้ มตลอดจนสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยมีรากฐานมาจากความเชื่อที่อาจส่งผลถึง พฤติกรรมในอนาคตได ้ ทศั นคติจึงเป็นเพียงความพร้อมที่จะตอบสนองต่อส่ิงเร้า และเป็นมิติของ การประเมินเพื่อแสดงวา่ ชอบหรือไมช่ อบ ต่อประเด็นหน่ึง ๆ อนั จะมีผลต่อพฤติกรรมตอ่ ไป โดย ทฤษฎีของ Reeder (n.d. อ้างถึงใน สุดารา ดิษฐาภรณ์, 2535) ไดอ้ ธิบายวา่ พฤติกรรมของบุคคลที่ 66

เกี่ยวกบั การตดั สินใจจะมีปัจจยั ดึงในดา้ นคา่ นิยมจะเป็นส่ิงที่บุคคลยดึ ถือเป็นเครื่องช่วยตดั สินใจ และกา หนดการกระทา ของตนเอง โดยคา่ นิยมของมนุษย ์ จะแสดงออกทางทศั นคติและพฤติกรรม ของมนุษยแ์ ละมีผลตอ่ การตดั สินใจ หากตวั บุคคลมีทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความ เสี่ยงไปในเชิงบวกกจ็ ะทา ใหเ้ พ่ิมแนวโนม้ ในการที่จะเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงดว้ ย ตัวแปรที่เข้าสมการเป็นลา ดบั ที่ 2 คือ ทศั นคติเชิงบวกต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง สามารถ อธิบายไดว้ า่ ทศั นคติน้นั มีทิศทาง โดยในทางบวก คือ ความรู้สึกตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มในทางที่ดี การ โตต้ อบตอ่ ส่ิงใดส่ิงหน่ึงในดา้ นดี หรือ ยอมรับ ความพอใจ (ดารณี พานทอง, 2542) เมื่อมีทัศนคติ ตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงในทางบวกกจ็ ะทา ใหบ้ ุคคลเกิดความพร้อมที่จะแสดงออกเป็นพฤติกรรม Ajzen (1988) อธิบายวา่ ทศั นคติ คือ ความรู้สึกชอบที่ตอบสนองต่อวตั ถุ บุคคล สถาบนั หรือเหตุการณ์ ที่มีแนวโนม้ ใหเ้ กิดพฤติกรรมไปในทิศทางน้นั จะเห็นไดว้ า่ ทศั นคติ ประกอบด้วย ความคิดที่มีผลตอ่ อารมณ์ และความรู้สึกน้นั แสดงออกมาทางพฤติกรรม หากมีทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยงกจ็ ะทา ใหม้ ีแนวโนม้ ที่จะเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงเพ่ิมมากข้ึน ตัวแปรที่เข้าสมการเป็นลาดับที่ 3 คือ บุคลิกภาพแบบประนีประนอม สามารถอธิบายได้ วา่ บุคลิกภาพของบุคคลคือการไดร้ ับอิทธิพลมาจากบุคคลอื่น ๆ ที่มาสัมพนั ธ์กนั กบั การยอมรับ ทศั นคติน้นั ๆ โดยมีความแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะบุคคล (โรเบิร์ท อี ซิลเวอร์แมน, 2545) ทาง บุคลิกภาพเป็นแนวคิดหนึ่งในเรื่องของลักษณะนิสัย (Disposition) นน่ั คือ เป็นลกั ษณะบางอยา่ งที่มี ลกั ษณะคอ่ นขา้ งคงที่ ไมค่ อ่ ยมีการเปลี่ยนแปลง จะแสดงให้เห็นถึงความโน้มเอียงในการแสดง พฤติกรรมของบุคคล (สุพานี สฤษฎ์วานิช, 2552) โดยผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบประนีประนอมสูงจะมี ลกั ษณะยอมคลอ้ ยตามผอู้ ื่น ใหค้ วามสา คญั กบั การร่วมมือ ประนีประนอมคลอ้ ยตาม เขา้ เป็น พรรคพวกเดียวกนั กบั สังคมส่วนใหญ ่ ส่วนผทู้ ี่ไดค้ ะแนนต่า มกั จะสนใจตนเองมากกวา่ สนใจผอู้ ื่น กา้ วร้าว ชอบแขง่ ขนั รู้สึกวา่ ตนเหนือกวา่ ผูอ้ ื่น (ขวญั เรือน แสงจีน, 2546; McCrae & John, 1992) ซ่ึงจากผลการวจิ ยั พบวา่ คา่ เฉลี่ยของกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมต่า กวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เมื่อดูจากคา่ สัมประสิทธ์ิจา แนกกลุ่มที่ เป็นแบบมาตรฐานมีคา่ เทา่ กบั -.215 แสดงวา่ เมื่อไหร่ที่บุคคลมีบุคลิกภาพแบบประนีประนอมสูง จะมีโอกาสที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงตามไปดว้ ย แตเ่ มื่อไหร่ที่บุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมมีคะแนนต่าจะมีโอกา สที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงข้ึน ดงั น้นั บุคลิกภาพกบั ทศั นคติเมื่อร่วมกนั แลว้ กจ็ ะทา ใหม้ ีโอกาสมากข้ึนในการตดั สินใจทา พฤติกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ตวั แปรที่เขา้ สมการเป็นลา ดบั ที่ 4 คือ ทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยง จากที่กล่าวไป ขา้ งตน้ วา่ ทศั นคติน้นั มีทิศทางท้งั ในทางบวกและทางลบ ดารณี พานทอง (2542) อธิบายวา่ ทศั นคติ ในทางลบ การแสดงออกหรือความรู้สึกต่อส่ิงแวดลอ้ มกจ็ ะเป็นไปในทางที่ไมพ่ อใจ ไมด่ ี ไม่ 67

ยอมรับ ไมเ่ ห็นดว้ ย หากมีทศั นคติเชิงลบต่อกีฬาที่มีความเสี่ยงกจ็ ะทา ใหม้ ีแนวโนม้ ที่จะไมเ่ ลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงมากข้ึนไปดว้ ย โดยทศั นคติเป็นตวั สะทอ้ นบุคลิกภาพของแตล่ ะบุคคลดว้ ย ในที่น้ี บุคลิกภาพแบบประนีประนอมสูงจะเป็นบุคคลที่มีความคลอ้ ยตามผอู้ ื่นไดง้ ่าย เมื่อไดร้ ับขา่ วสาร หรือมีประสบการณ์เกี่ยวกบั กีฬาที่มีความเสี่ยงในเชิงลบจะทา ใหบ้ ุคคลน้นั มีแนวโนม้ ที่จะตดั สินใจ ไม่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง แมว้ า่ ทศั นคติน้นั จะเป็นตวั สะทอ้ นบุคลิกภาพของแตล่ ะคนออกมา แตก่ ท็ า นายไมไ่ ดเ้ สมอไปเนื่องจากพฤติกรรมของมนุษยม์ ีความสลบั ซบั ซอ้ นมากมีตวั แปรหลาย อยา่ งที่ก่อใหเ้ กิดลกั ษณะหน่ึง ๆ ข้ึน (McClosky, 1958 อ้างถึงใน โรเบิร์ท อี ซิลเวอร์แมน, 2545) ดงั น้นั เมื่อมีบุคลิกภาพ และทศั นคติแลว้ กย็ งั ตอ้ งมีตวั แปรร่วมอีกตวั คือการรับรู้ความสามารถของ ตนเองจึงจะทา ให้เกิดพฤติกรรมข้ึน ตวั แปรที่เขา้ สมการเป็นลา ดบั ที่ 5 คือ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองเป็นส่วนประกอบสาคัญในการที่จะท าให้ บุคคลตดั สินใจแสดงพฤติกรรมตา่ ง ๆ ออกมา โดยการรับรู้ความสามรถของตนเองน้นั สามารถทา ใหเ้ กิดผลสา เร็จในเรื่องตา่ ง ๆ นา ไปสู่การตดั สินใจ และการกระทา โดยที่รู้วา่ เมื่อตนเองตดั สินใจ ไปแลว้ ยอ่ มกระทา ตามที่ตดั สินใจไดแ้ น่นอน (Reeder, 1971) แตถ่ า้ ไมม่ น่ั ใจในความสามารถของ ตนเองกจ็ ะไมแ่ สดงพฤติกรรมน้นั ๆ สอดคลอ้ งกบั ปัจจัยเรื่องความสามารถของ Reeder (n.d. อ้างถึงใน สุดารา ดิษฐาภรณ์, 2535) อธิบายวา่ การที่ผกู้ ระทา รู้ถึงความสามารถของตวั เองซ่ึงก่อให้ ผลสา เร็จในเรื่องน้นั ได ้ การตระหนกั ถึงความสามารถน้ีจะนา ไปสู่การตดั สินใจและการกระทา ทาง สังคม โดยทว่ั ไปแลว้ การที่บุคคลกระทา พฤติกรรมใด ๆ บุคคลจะพิจารณาความสามารถของ ตนเองเสียก่อน โดย Bandura (1986) ไดอ้ ธิบายวา่ ผทู้ ี่มีการรับรู้ความสามารถของตนเองต่า มกั จะ หลีกเลี่ยงที่จะเผชิญหนา้ กบั ความทา้ ทาย และขาดความมน่ั ใจ โดยกีฬาที่มีความเสี่ยงน้นั เป็นกีฬาที่มี ความท้าทาย หากบุคคลมีการรับรู้ความสามารถในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงต่า กท็ า ใหม้ ีแนวโนม้ ที่ จะตดั สินใจไมเ่ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง จากผลการวจิ ยั เมื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของ ตนเองในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ระหวา่ งกลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และไมเ่ ลือกเล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยง พบวา่ กลุ่มที่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีคา่ เฉลี่ยที่สูงกวา่ กลุ่มที่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยง ซ่ึงสัมพนั ธ์กนั กบั บุคลิกภาพแบบประนีประนอมดว้ ย เมื่อบุคคลมีบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมสูงจะมีความข้ีอาย ถ่อมตวั คลอ้ ยตามกบั คนอื่นไดง้ ่าย จึงอาจทา ใหม้ ีความไมม่ น่ั ใจ ในตนเองการรับรู้ความสามารถของตนเองกจ็ ะต่า ลงตามไปดว้ ย ตรงกนั ขา้ มกบั คนที่มีบุคลิกแบบ ประนีประนอมต่า จะเป็นคนที่รู้สึกวา่ ตนเองเหนือคนอื่น ชอบการแขง่ ขนั และยดึ เหตุผลของตนเอง จึงทาให้มีการรับ รู้ความสามารถของตนเองมากกวา่ และมีทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองในการเล่นกีฬาที่มี 68

ความเสี่ยงไปในทางที่ดี มีทศั นคติเชิงบวกตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง ทุกตวั แปรร่วมกนั เลยทา ใหเ้ กิด การตดั สินใจเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ส่วนตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมสามารถจา แนกไดเ้ มื่อวเิ คราะห์แยกทีละตวั แตไ่ ม่ เขา้ สมการทา นายเนื่องมาจากการสนบั สนุนทางสังคมวา่ เป็นการสร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคล เพื่อใหเ้ กิดการช่วยเหลือในดา้ นตา่ ง ๆ (House, 1981) แตก่ ารที่บุคคลจะรับรู้แรงสนบั สนุนทาง สังคมไดข้ ้ึนอยกู่ บั ตวั ของบุคคลน้นั เองมากกวา่ ผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ากการสนับสนุน (Katagami & Tsuchiya, 2016), Reeder (n.d. อ้างถึงใน สุดารา ดิษฐาภรณ์, 2535) อธิบายวา่ แบบอยา่ งพฤติกรรม ที่สังคม กา หนดไวแ้ ลว้ สืบต่อกนั มาดว้ ยประเพณี และถา้ มีการละเมิดกจ็ ะถูกบงั คบั ดว้ ยการที่สังคม ไมเ่ ห็นชอบดว้ ยในการตดั สินใจที่จะเลือกกระทา พฤติกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงของมนุษยน์ ้นั ส่วนหน่ึงจึงเนื่องมาจากแบบอยา่ งพฤติกรรมที่สังคมกา หนดไวใ้ หแ้ ลว้ เมื่อบุคคลมีทศั นคติกบั กีฬา ที่มีความเสี่ยงไปในดา้ นใดยอ่ มมีผลตอ่ การตดั สินใจไปในทิศทางน้นั มากกวา่ ผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ากการ สนับสนุน รวมไปถึงบุคลิกภาพ และการรับรู้ความสามารถของตนเองดว้ ย หากบุคคลน้นั มีทศั นคติ ที่ดีตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง มีลกั ษณะบุคลิกภาพแบบประนีประนอมต่า และมีการรับรู้ความสามารถ ของตนเองวา่ สามารถเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดก้ จ็ ะมีแนวโนม้ ที่จะเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงถึงแม้ จะไมไ่ ดร้ ับการสนบั สนุนทางสังคมกต็ าม และในสังคมไทยการสนบั สนุนใหเ้ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง คอ่ นขา้ งนอ้ ย จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลยงั พบวา่ มีบุคคลที่ไมไ่ ดร้ ับการสนบั สนุนดา้ นใดจากใคร เลยในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง แตย่ งั เลือกที่จะเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง แสดงวา่ บุคคลที่เลือกเล่น จะตอ้ งมีทศั นคติที่ดีตอ่ กีฬาที่มีความเสี่ยง ทัศนคติจึงเป็นตัวแรกที่เข้าสมการทานาย เมื่อมีทัศนคติ ที่ดีที่มาก่อน ตวั แปรอื่น ๆ ก็จะตามมาและส่งผลใหเ้ กิดการตดั สินใจเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ จากการศึกษาคร้ังน้ี สามารถนา ไปสร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ตวั แปรที่ส่งผลตอ่ การเลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง ซึ่งผู้วิจัยสามารถให้ข้อเสนอแนะเพื่อนาเอาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 จากผลการศึกษาพบวา่ ตวั แปรทศั นคติมีผลต่อการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง มากที่สุด สมาคมกีฬาเอก็ ซ์ตรีม สมาคมกีฬาทางอากาศ รัฐบาล และองค์กรเอกชนควรมีการจัด กิจกรรมที่ส่งเสริม และสร้างภาพลกั ษณ์ที่ดีตอ่ การเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง เพื่อการพฒั นาบุคคลที่ สนใจไปเป็นนกั กีฬาอาชีพ 69

1.2 จากผลการศึกษาพบวา่ ตวั แปรบุคลิกภาพแบบหวน่ั ไหว บุคลิกภาพแบบแสดงตวั และบุคลิกภาพแบบประนีประนอมสามารถจา แนกกลุ่มผูท้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ ทา ให้ สามารถรู้แนวโนม้ ในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจากบุคลิกภาพ พอ่ แม ่ ครู อาจารยค์ วร สนบั สนุนไปในแนวทางที่บุคลิกภาพของบุคคลน้นั จะสามารถพฒั นาตนเองในการเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงตอ่ ไปได ้ 1.3 จากผลการศึกษาพบวา่ ตวั แปรแรงสนบั สนุนทางสังคมสามารถจา แนกกลุ่มผทู้ ี่ เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ เพื่อน พอ่ แม ่ ครู อาจารยค์ วรสนบั สนุนในการเลือกเล่นกีฬาตา่ ง ๆ เพื่อใหบ้ ุคคลน้นั สามารถพฒั นาตนเองในการเล่นกีฬาอยา่ งมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน 1.4 จากผลการศึกษาพบวา่ ตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนเองสามารถจาแนก กลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ หากสมาคมกีฬาเอก็ ซ์ตรีม สมาคมกีฬาทางอากาศ รัฐบาล และองคก์ รเอกชนมีกิจกรรมในการทดลองเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง หรือเพื่อน พอ่ แม ่ ครู อาจารยม์ ี การส่งเสริมใหล้ องเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงจะทา ใหเ้ กิดการรับรู้ความสามารถของตนเองวา่ สามารถ เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงไดห้ รือไม ่ หากมีการรับรู้ความสามารถของตนเองวา่ สามารถทา ไดก้ อ็ าจจะ ทา ใหพ้ ฒั นาไปสู่การเป็นนกั กีฬาได ้ 1.5 สามารถนา เครื่องมือวดั ที่ใชใ้ นการศึกษาวจิ ยั คร้ังน้ีไปใชใ้ นการจา แนกและ ทา นายบุคคลทว่ั ไปต่อการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงได ้ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป สา หรับขอ้ เสนอแนะในการวิจยั คร้ังต่อไปน้นั ผูว้ จิ ยั เห็นควรมีการศึกษาในประเด็นตา่ ง ๆ ดงั น้ี 2.1 การศึกษาในคร้ังน้ีไดท้ า การศึกษาในกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และ ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงโดยไมไ่ ดใ้ ชว้ ธิ ีการสุ่มตวั อยา่ งบนพ้ืนฐานของทฤษฎีความน่าจะเป็น ดงั น้นั ข้อค้นพบของการวิจัยอาจขาดความเที่ยงตรงภายนอก (External validity) ดงั น้นั ในการวิจัย คร้ังต่อไปจึงควรมีการขยายขอบเขตของการศึกษาไปยงั กลุ่มที่มีขนาดใหญข่ ้ึน และมีลกั ษณะการ เล่นกีฬาที่แตกตา่ งหลากหลายเพ่ิมเติม เพื่อยนื ยนั ขอ้ คน้ พบที่ไดจ้ ากการศึกษาในคร้ังน้ี ใหม้ ีความ เที่ยงตรงภายในและความเที่ยงตรงภายนอกเพ่ิมสูงข้ึน 2.2 โดยเหตุที่ผลของการวจิ ยั คร้ังน้ี ยงั ไมไ่ ดม้ ีการจดั เรียงลา ดบั ตวั แปรสาเหตุตาม ประเภทและลา ดบั การเกิดข้ึนของตวั แปร ดงั น้นั เพื่อใหไ้ ดผ้ ลการศึกษาที่มีความสอดคลอ้ งกบั สภาพปรากฏการณ์ของตัวแปรสาเหตุ จึงควรมีการวิจัยที่ศึกษาโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ระหวา่ งตวั แปรที่ศึกษาโดยจดั เรียงลา ดบั ตวั แปรใหส้ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของตวั แปรและจดั 70

เรียงลา ดบั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรตามทฤษฎีพ้ืนฐาน ในลกั ษณะของการวเิ คราะห์โมเดล สมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีตัวแปรผลเป็นตัวแปรจัดประเภท (Categorical data)

71

บรรณานุกรม

กฤติกา หล่อวฒั นวงศ.์ (2547). การศึกษาเปรียบเทียบบุคลิกภาพตามแนวคิดห้าองค์ประกอบ เชาน์-อารมณ์ตามแนวคิดโกลแมน และความพึงพอใจในลักษณะงานของผู้ปฏิบัติงาน ฝ่ายขายของโรงแรมในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กฤติกาพร ใยโนนตาด. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีโรคเบาหวานในภาวะ หมดประจาเดือนจังหวัดชัยภูมิ . วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพยาบาล สาธารณสุข, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล. กุญชรี ค้าขาย. (2545). พฤติกรรมกับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนสนุันทา. ขวัญเรือน แสงจีน. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพและความดึงดูดใจทางกายภาพกับ สถานภาพทางสังคม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาสังคม, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เฉลิมพล ตันสกุล. (2541). พฤติกรรมศาสตร์สาธารณสุข. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสุขศึกษาและ พฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ชุติพงศ์ กองตองกาย. (2557). โครงการจัดตั้ง เอ็กซ์ตรีมคอมมูนิตี้ไลฟ์เซ็นเตอร์. สารนิพนธ์นิ เทศศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ดวงเดือน มูลประดับ. (2541). แรงสนับสนุนทางสังคมกับการปรับตัวของวัยรุ่นตอนต้น. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาอนามัยครอบครัว, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล. ดารณี พานทอง. (2542). ทฤษฎีจูงใจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ปฏิพัทธ์ อุราโรจน์. (2555). การเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ. เข้าถึงได้จาก http://patipat1407.blogspot.com/ ประทีป จินงี่. (2540). การวิเคราะห์พฤติกรรมและการปรับพฤติกรรม. กรุงเทพฯ: สถาบัน พฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.

72

ประไพพรรณ ศรีปาน. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบกับประสิทธิผลใน การทางานของพนักงานธนาคารทิสโก้ จากัด (มหาชน) ส่วนงานควบคุมและบริหาร สินเชื่อรายย่อย. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปรียาภรณ์ วงศ์อนุตรโรจน์. (2541). จิตวิทยาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. พรทิพา พลีคาม. (2544). ทัศนคติของผู้รับการตรวจสอบทีมี่ต่อการตรวจสอบภายในของสานัก ตรวจสอบภายใน องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง บริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ไพบูลย ์ ศรีชยั สวสั ด์ิ. (2549). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกาลังกายของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. มติชนออนไลน์. (2558). วัยรุ่นอ่ะ! แม่โดมสร้างลานกีฬาเอ็กซ์ตรีมใน ม.แห่งแรก “ปริญญา” โชว์สเก็ตหวนความหลัง. เข้าถึงได้จาก http://www.matichon.co.th/news_detail.php? newsid=1441192557 มนาปี คงรักช้าง. (2558). การศึกษาผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถของตนเองในอาชีพต่อ การตัดสินใจเลือกอาชีพของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รวีวรรณ อังคนุรักษ์พันธุ์. (2533). การวัดทัศนคติเบื้องต้น. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554: เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 7 รอบ 4 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุค๊ ส์พบั ลิเคชน่ั ส์. โรเบิร์ท อี ซิลเวอร์แมน. (2545). จิตวิทยาทั่วไป (General psychology) (สุปาณี สนธิรัตน และคณะ, แปล). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์. วราภรณ์ ตระกูลสฤษด์ิ. (2545). จิตวิทยาการปรับตัว. กรุงเทพฯ: ศูนยส์ ่งเสริมวชิ าการ. ศกั ด์ิไทย สุรกิจบวร. (2545). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. ศิริวรรณ เสรีรัตน์, สมชาย หิรัญกิตติ และธนวรรธ ตังสินทรัพย์ศิริ. (2541). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ธีระฟิลม์ และไซเท็กซ์ สมจิตต์ สุพรรณทัตน์. (2524). จิตวิทยาการศึกษา. ม.ป.ท. สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2550). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 73

สมาคมกีฬาเอก็ ซ์ตรีมแห่งประเทศไทย. (2560). สมาคมฯขอแจ้งข่าวการบรรจุกีฬาเอ็กซ์ตรีมเข้าใน กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย. เข้าถึงได้จาก http://www.extremesport.or.th/news/ สมาคมฯขอแจง้ ขา่ วการบรรจุกีฬาเอก็ ซ์ตรีมเขา้ ในกีฬามหาวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย สุดารา ดิษฐาภรณ์. (2535). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อของข้าราชการตาม แผนพัฒนามนุษย์ของสานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชาพัฒนาสังคม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สุพัชรินทร์ ปานอุทัย. (2556). จิตวิทยาการกีฬา. กรุงเทพฯ: สา นกั งานกิจการโรงพิมพอ์ งคก์ าร สงเคราะห์ทหารผา่ นศึกในพระบรมราชูปถัมภ์. สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2552). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่: แนวคิดและทฤษฎี (พิมพค์ ร้ังที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สุรพล พะยอมแย้ม. (2545). ปฏิบัติการทางจิตวิทยาในงานชุมชน. กรุงเทพฯ: สหายพัฒนาการพิมพ์. อภิสิทธิ เลิศภิญโญวงศ์. (2553). โครงการเอ็กซ์ตรีมเซ็นเตอร์ ไทยเเลนด์อินดอร์สเกตปาร์คเเละ ช้อปปิ้งมอลล์. สารนิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบริหารธุรกิจ บันเทิงและการผลิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. Ajzen, I. (1988). Attitudes, personality, and behavior. Chicago: Dorsey Press. Allen, R., & Santrock, J. W. (1993). Psychology: The contexts of behavior. Dubuque, IA: William C. Brown. Allport, G. (1935). Attitudes. In C. Murchison (Ed.), A handbook of social psychology (pp. 789-844). Worcester, MA: Clark University Press. Armstrong, L., Balady, G., Berry, M., Davis, S., Davy, B., & Davy, K. (2006). ACSM's guidelines for exercise testing and prescription (7th ed.). Balitmore, MD: Lippincott Williams & Wilkins. Bandura, A. (1977). Social learning theory. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall. Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. Bandura, A. (1989). Regulation of cognitive processes through perceived self-efficacy. Developmental Psychology, 25, 729-735. Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. New York: Freeman. Bandura, A. (2002). Growing primacy of human agency in adaptation and change in the electronic Era. European Psychologist, 7, 2-16. 74

Bem, D. J. (1970). Beliefs, attitudes, and human affairs. CA: Brooks Cole. Berry, J. M. (1987). A self-efficacy model of memory performance. In Paper presented at the American psychological association meetings. n.p. Brandt, P. A., & Weinert, C. (1981). The PRQ: A social support measure. Nursing Research, 30(5), 277-280. Breivik, G. (1996). Personality, sensation seeking and risk taking among everest climbers. International Journal of Sport Psychology, 27, 308-320. Brymer, E. (2010). Risk taking in extreme sports: A phenomenological perspective. Annals of Leisure Research, 13, 218-239. Brymer, E., & Schweitzer, R. (2013). Extreme sports are good for your health: A phenomenological understanding of fear and anxiety in . Journal of Health Psychology, 18, 477-487. Castanier, C. L. (2010). Who takes risks in high risk sports: A typological approach. Research Quarterly for Exercise and Sport, 81, 478-484. Castanier, C., Scanff, C. L., & Woodman, T. (2010). Who takes risks in high risk sports: A typological approach. Research Quarterly for Exercise and Sport, 81, 478-484. Cobb, S. (1976). Social support as a moderate of life stress. Psychosomatic Medicine, 38, 300-313. Cochran, W. (1953). Sampling techniques. New York: Experimental Designs. Cogan, N. A., & Brown, R. I. F (1999). Metamotivational dominance, states and injuries in risk and safe sports. Personality and Individual Differences, 27, 503-518. Cooper, M. L., Agocha, V. B., & Sheldon, M. S. (2000). A motivational perspective on risky behaviors: The role of personality and affect regulatory processes. Journal of Personality, 68, 1,059-1,088. Costa, P. J., & McCrae, R. R. (1992). Revised NEO personality inventory (NEO-PI-R) and NEO five-factor inventory (NEO-FFI) manual. FL: Psychological Assessment Resources. Costa, P. J., & McCrae, R. R. (1996). Toward a new generation of personality theories: Theoretical contexts for the five-factor model. New York: Guilford. Davis-Berman, J., & Berman, D. S. (2002). Risk and anxiety in adventure programming. The Journal of Experiential Education, 25, 305-310. 75

Davis, J. I., Benforado, A., Esrock, E., Turner, A., Dalton, R. C., van Noorden, L., & Leman, M. (2012). Four applications of embodied cognition. Topics in Cognitive Science, 4(4), 786-793. Davids, K., Araújo, D., Hristovski, R., Passos, P., Chow, J. Y., Davids, K., Araújo, D., & Eysenck, H. J. (1970). The structure of human personality (3rd ed.). London: Methuen. Dekker, R., Kingma, J., Groothoff, J. W., Eisma, W. H., & Ten Duis, H. J. (2000). Measurement of severity of sports injuries: An epidemiological study. Clinical Rehabilitation, 14(6), 651-656. Demirhan, G. (2003). Risk perception in outdoor adventure sports. Journal of Sport Science, 14(1), 1-13. Dewey, J. (1979). Dictionary of education. New York: Philosophica Library. Diehm, R., & Armatas, C. (2004). Surfing: An avenue for socially acceptable risk-taking, satisfying needs for sensation seeking and experience seeking. Personality and Individual Differences, 36(3), 663-677. Dominika Kupciw, A. M. (2012). High-risk sport research. The Sport and Exercise Scientist, 31, 28-29. Dudfield, O. (2013). The commonwealth guide to advancing development through sport. London: Commonwealth Secretariat. Elmes, M. (1999). Deliverance, denial, and the death zone: A study of narcissism and regression in the May 1996 everest climbing disaster. The Journal of Applied Behavioral Science, 35, 163-187. Elmes, M., & Barry, D. (1999). Deliverance, denial, and the death zone a study of narcissism and regression in the May 1996 everest climbing disaster. The Journal of Applied Behavioral Science, 2, 163-1873. Feltz, D. L. (1988). Self-confidence and sports performance. In K. B. Pandolf (Ed.), Exercise and sport sciences reviews (pp. 423-457). New York: MacMillan. Fishbein, M., & Ajzen, I. (1975). Belief, attitude, intention, and behavior: An introduction to theory and research. Reading, MA: Addison-Wesley.

76

Florenthal, B., & Shoham, A. (2001). The impact of persuasive information on changes in attitude and behavioural intentions toward risky sports for arousal-seeking versus arousal- avoiding individuals. Sport Marketing Quarterly, 10(2), 83-95. Gottlieb, B. H. (1985). Social support and the study of personal relationships. Journal of Social and Personal Relationships, 2(3), 351-375. Horvath, P. (1993). Sensation seeking, risk appraisal, and risky behaviour. Personality and Individual Differences, 14, 41-52. House, J. S. (1981). Work stress and social support. MS: Addison-Wesley. Hristovski, R., Passos, P., & Chow, J. Y. (2012). Ecological dynamics and motor learning design in sport. In N. Hodges & M. Williams (Eds.), Skill acquisition in sport: Research, theory & practice (2nd ed., pp. 112-130). London: Routledge. Insko, C. A. (1967). Theories of attitude change. New York: Appleton-Century-Crofts. Kaplan, B. C. (1977). Social support and health. Med Care, 5(15), 5-51. Katagami, E., & Tsuchiya, H. (2016). Effects of social support on athletes’ psychological well- being: The correlations among received support, perceived support, and personality. Psychology, 7, 1,741-1,752. Katagami, E., & Tsuchiya, H. (2017). Effects of received social support on athletes' psychological well-being. International Journal of Sport and Health Science, 15, 72-80. Kern, L., Geneau, A., Laforest, S., Dumas, A., Tremblay, B., Goulet, C., Lepage, S., & Barnett, T. A. (2014). Risk perception and risk-taking among skateboarders. Safety Science 62, 370-375. Kerr, J. H. (1991). Arousal-seeking in risk sport participants. Personality and Individual Differences, 12, 613-616. Kerr, J. H., & Mackenzie, S. H. (2012). Multiple motives for participating in adventure sports. Psychology of Sport and Exercise, 13(5), 649-657. King, L. A., Mattimore, L. K., King, D. W., & Adams, G. A. (1995). Family support inventory for workers: A new measure of perceived social support from family members. Journal of Organizational Behavior, 16(3), 235-258. Kupciw, D., & MacGregor, A. (2012). High-risk sport research. The Sport and Exercise Scientist, 31, 28-29. 77

Laver, L., Pengas, I. P., & Mei-Dan, O. (2017). Injuries in extreme sports. Journal of Orthopaedic Surgery and Research, 12(1), 1-8. Leaman, A., & Fitch, M. (1986). Perception of risk in motor-cyclists. Archives of Emergency Medicine, 3, 199-201. Llewellyn, D. J., Sanchez, X., Asghar, A., & Jones, G. (2008). Self-efficacy, risk taking and performance in . Personality and Individual Differences, 45, 75-81. McCrae, R. R., & Costa, P. T. (1987). Validation of the five-factor model of personality across instruments and observers. Journal of Personality and Social Psychology, 52(1), 81-90. McCrae, R. R., & John, O. P. (1992). An introduction to the five‐factor model and its applications. Journal of personality, 60, 175-215. McShane, S. L., & Von Glinow, M. A. Y. (2003). Organizational behavior: Emerging realities for the workplace revolution. New York: McGraw-Hill Irwin. Monasterio, E. (2007). The risks of adventure sports/ people. Retrieved from http://www.alpinist.com/doc/web07f/rb-erik-monasterio-mountaineering-medicine Morgan, T. K., & Giacobbi, P. R. (2006). Toward two grounded theories of the talent development and social support process of highly successful collegiate athletes. The Sport Psychologist, 20, 295-313. Norman, W. T. (1963). Toward an adequate taxonomy of personality attributes: Replicated factor structure in peer nomination ratings. Journal of Abnormal and Social Psychology, 66(6), 574-583. Oades, L. G., & Brymer, E. (2009). Extreme sports: A positive transformation in courage and humility. Journal of Humanistic Psychology, 49, 144-126. Orasanu, J., & Connolly, T. (1993). The reinvention of decision making. In G. A. Klein, J. Orasanu, R. Calderwood, & C. E. Zsambok (Eds.), Decision making in action: Models and methods (pp. 3-20). Westport, CT: Ablex. Pain, M. T. G., & Pain, M. A. (2005). Essay: Risk taking in sport. The Lancet, 366(1), 33-34. Pedersen, M. D. (1997). Perception of high risk sport. Perceptual and Motor Skills, 85, 756-758. Pilisuk, M. (1982). Delivery of social support: The social innovation. American Journal Orthoppsychiatry, 52, 20. Powell, M. (1963). The psychology of adolescence. New York: The Bobles Merrill Company. 78

Pulford, A. E. (2004). Personality differences in high risk sports amateurs and instructors. Perceptual and Motor Skills, 99, 83-94. Rauter, S., & Topic, M. D. (2011). Perspectives of the sport-oriented public in slovenia on extreme sports. Kinesiology, 43(1), 82-90. Rees, T., & Freeman, P. (2007). The effects of perceived and received support on self-confidence. Journal of Sports Sciences, 25(9), 1,057-1,065. Reeder, W. (1971). Partial theory from the 25 years research program on oirective factor is belives and social action. New York: Minigraph. Rhea, D. J., & Martin, S. (2010). Personality trait differences of traditional sport athletes, bullriders, and other alternative sport athletes. International Journal of Sports Science & Coaching, 5, 75-85. Rogers, D. (1978). The psychology of adolescence. New York: Appleton Century-Crofts. Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (1997). Consumer behavior. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Schneider, T. A., Butryn, T. M., Furst, D. M., & Masucd, M. A. (2007). A qualitative examination of risk among elite adventure racers. Journal of Sport Behavior, 30, 330-357. Schrader, M. P., & Wann, D. L. (1999). High-risk recreation: The relationship between participant characteristics and degree of involvement. Journal of Sport Behavior, 22, 426-441. Self, D. R. (2007). Thrill seeking: The type T personality and extreme sports. International Journal of Sport Management and Marketing, 2, 175-190. Self, D. R. Henry, E. D. V. Findley, C. S., Reilly, E. (2007). Thrill seeking: The type T personality and extreme sports. International Journal of Sport Management and Marketing, 2, 175-190 Serdar, T. (2011). The big five personality traits and risky sport participation. Social Behavior and Personality, 39(8), 1,105-1,112. Slanger, E. R. K. (1997). Motivation and disinhibition in high risk sports: Sensation seeking and self-efficacy. Journal of Research in Personality, 31, 355-374.

79

Smith, A. L., Ullrich-French, S., Walker II, E., & Hurley, K. S. (2006). Peer relationship profiles and motivation in youth sport. Journal of Sport and Exercise Psychology, 28, 362-382. Tanja Kajtna, E. A. (2004). Personality in high-risk sports athletes. Kinesiology, 36, 24-34. Tella, A., & Ayeni, C. O. (2006). The impact of self-efficacy and prior computer experience on the creativity of new librarians in selected universities libraries in southwest Nigeria. Library Philosophy and Practice (E-Journal), 8(2), 80. Thurstone, L. L. (1959). The measurement of values. Oxford: University Chicago Press. Tuckman, B. (1999). ‘A tripartite model of motivation for achievement: Attitude/ drive/ strategy. In Paper presented in the symposium: Motivational factors affecting student achievement-current perspectives (pp. 1-3). Boston: The American Psychological Association. Ullrich-French, S., & Smith, A. L. (2009). Social and motivational predictors of continued youth sport participation. Psychology of Sport and Exercise, 10, 87-95. Watson, A. E., & Pulford, B. D. (2004). Personality differences in high risk sports amateurs and instructors. Perceptual and Motor Skills, 99, 83-94. West, A., & Allin, L. (2010). Chancing your arm: The meaning of risk in rock climbing. Sport in Society, 13, 1,234-1,248. Willig, C. (2008). A phenomenological investigation of the experience of taking part in ‘extreme sports’. Journal of Health Psychology, 13(5), 690-702. Zuckerman, M. (1983). Sensation seeking and sports. Personality and Individual Differences, 4, 285-292.

80

ภาคผนวก

81

ภาคผนวก ก รายนามผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือ

82

รายนามผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือ

1. ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ พ.ต.อ.หญิง ดร.กญั ญฐ์ ิตา ศรีภา อาจารยก์ ลุ่มงานคณาจารยคณะสังคมศาสตร์์ โรงเรียนนายร้อยตารวจ 2. ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร.วรากร ทรัพยว์ ริ ะปกรณ์ อาจารย์ประจาภาควิชาวิจั ยและจิตวิทยาประยุกต์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 3. ดร.อาพรรณชนิต ศิริแพทย์ อาจารยป์ ระจา ภาควิชาวทิ ยาศาสตร์การกีฬา คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4. ดร.เอกรัตน์ ออ่ นนอ้ ม อาจารยป์ ระจา สาขาวทิ ยาศาสตร์การกีฬา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม 5. ดร.จิราภรณ์ ชมบุญ นักจิตวิทยาคลินิกชานาญการ สถาบันวิจัยและพัฒนา กรมพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชน

83

ภาคผนวก ข ตวั อยา่ งแบบสอบถามขอ้ มูลทว่ั ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง ทศั นคติในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง แรงสนบั สนุนทางสังคม ในการเลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง และแบบสอบถามบุคลิกภาพหา้ องคป์ ระกอบ

84

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

ลกั ษณะส่วนบุคคล ค าชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย ✓ ลงในช่อง  หนา้ คา ตอบที่ทา่ นเลือกหรือตอบขอมูลตามความ้ เป็นจริง อาชีพ:______เพศ ชาย อายุ ______ปี รายไดต้ ่อเดือนโดยประมาณ:______หญิง เบอร์โทรศัพท์______ ไมเ่ คยเรียน  ประถมศึกษา  มัธยมต้น (ม.1-ม.3)  มัธยมปลาย/ ปวช. ระดับการศึกษา  ประกาศนียบัตร/ อนุปริญญา/ ปวส.  ปริญญาตรี  ปริญญาโท  ปริญญาเอก  การศึกษาอื่น ๆ______สถานภาพสมรส  โสด  สมรส  หม้าย (ของตนเอง)  แยกกนั อย ู่  หยา่ สถานภาพ  อยดู่ ว้ ยกนั  บิดาถึงแก่กรรม ครอบครัว  มารดาถึงแก่กรรม  แยกกนั อย ู่  หยา่ ร้าง (บิดา-มารดา)  อยคู่ นเดียว  อยกู่ บั เพื่อน  อยกู่ บั แฟน ที่พักอาศัย  อยกู่ บั พอ่ และแม ่  อยกู่ บั พอ่  อยกู่ บั แม ่  อยกู่ บั ญาติ  อื่น ๆ (ระบุ)______

ประสบการณ์การเล่นกฬี า, การได้รับอุบัติเหตุ, การได้รับบาดเจ็บ เคยประสบอุบัติเหตุ/ เคยได้รับบาดเจ็บจากการ ประสบการณ์ กีฬาที่ทา่ นเล่นประจา เล่นกีฬา (ถา้ ทา่ นตอบเคยโปรดระบุจา นวนคร้ัง (ปี) ที่เคยโดยประมาณ)  เคย______คร้ัง ______ปี  ไมเ่ คย

85

ชนิดกฬี าทมี่ ีความเสี่ยงสูงที่ท่านเล่นเป็นประจ า ประเภท ชื่อ/ ลกั ษณะการเล่น  (วินด์เซิร์ฟ)  Kite surfing (ไคท์เซิร์ฟ) เล่นกบั บอร์ด  Flow boarding(โฟลบอร์ด)  Skate boarding (สเกตบอร์ด)  Wake boarding (เวคบอร์ด)  Motocross & super cross (จักรยานยนต์วิบาก)  Rallying (รถยนต์แรลลี่) เครื่องยนต์  Drifting (ดริฟต์รถยนต์)  Motorcycle rallying (จักรยานยนต์แรลลี่)  Rafting (ล่องแก่ง)  Whitewater Kayaking (พายเรือคายัค)  Whitewater Canoeing (พายเรือแคนนู) เล่นบนพ้ืนผวิ น้า  Free-diving (ดา น้า ลึก โดยไมใ่ ชอ้ ุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจ)  Scuba diving (ดา น้า ลึก โดยใชอ้ ุปกรณ์ช่วยหายใจ)  Jet ski (เจ็ตสกี) ภูเขาสูง  Rock climbing (ปีนเขา)  Bouldering (ปีนหน้าผา) โรยตัวจากที่สูง  Parachuting (กระโดดร่ม)  Bungee jumping (บัน จีจัมพ์) การเหินบนอากาศ  Paragliding (ร่มร่อน)  Paramotor (ร่มบิน)  Mountain biking (จักรยานเสือภูเขา)  BMX (จักรยานบีเอ็มเอ็กซ์)  Inline skating (อินไลน์สเกต)  Parkour (ปากวั ร์)  Freerunning (ฟรีรันน่ิง)  Paintball (เพ้นบอล) อื่น ๆ  Rappelling (ปี นผาโรยตัว)  Powerbocking (พาวเวอร์บล็อกกิ้งหรือแมดฮอป)  Freestyle scootering(สกู๊ตเตอร์ฟรีสไตล)์ ระบุ ______

86

ประสบการณ์การเล่นกฬี าที่มีความเสี่ยงสูง, การได้รับอุบัติเหตุ, การได้รับบาดเจ็บ เคยประสบอุบัติเหตุ/ เคยไดร้ ับบาดเจบ็ จากการเล่นกีฬา ประสบการณ์ (ปี) (ถา้ ทา่ นตอบเคยโปรดระบุจา นวนคร้ังที่เคยโดยประมาณ)  เคย______คร้ัง ______ปี  ไมเ่ คย

87

ทศั นคติของท่านทมี่ ีต่อกฬี าทมี่ ีความเสี่ยงสูงและตัวผู้เล่น

กรุณาอา่ นขอ้ ความและใหค้ ะแนนขอ้ ที่ตรงกบั ความรู้สึกของทา่ น... น้อยที่สุด <------ปานกลาง ------> มากที่สุด

1. ฉนั ชอบคน้ หาขอ้ มูลตา่ ง ๆ เกี่ยวกบั กีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 1 2 3 4 5 2. ฉนั พยายามหาโอกาสเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 1 2 3 4 5 3. พอ่ แมท่ ุกคนควรหา้ มลูกไมใ่ หเ้ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 1 2 3 4 5 4. ฉนั ชอบสืบคน้ และหาวธิ ีการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 1 2 3 4 5 5. ฉนั ชอบเล่นกีฬาที่มีความผาดโผน ตื่นเตน้ ทา้ ทาย 1 2 3 4 5 6. คนที่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง มกั ไมใ่ ส่ใจความห่วงใยของผอู้ ื่น 1 2 3 4 5 7. ฉันรู้สึกสนุกถา้ มีโอกาสไดเ้ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 1 2 3 4 5 8. ฉนั รู้สึกตื่นเตน้ ถา้ มีโอกาสไดเ้ ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 1 2 3 4 5 9. เมืองไทยควรมีสถาบนั เฉพาะที่สอนกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 1 2 3 4 5 10. ผเู้ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง เป็นพวกกา้ วร้าว ชอบความรุนแรง 1 2 3 4 5 11. ฉนั ไมแ่ นะนา ใหเ้ พื่อน/คนใกลช้ ิดไปเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 1 2 3 4 5

88

12. สังคมควรชื่นชมผทู้ ี่สามารถเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงได ้ 1 2 3 4 5 13. ผเู้ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงได ้ ควรไดร้ ับการสนบั สนุน 1 2 3 4 5 14. กีฬาที่มีความเสี่ยงสูง ปลูกฝังใหผ้ เู้ล่นมีความเป็นผนู้ า 1 2 3 4 5 15. ผเู้ล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง เป็นพวกใจร้อน 1 2 3 4 5 16. ฉนั ไมอ่ ยากเขา้ ใกลผ้ ทู้ ี่ชอบเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง 1 2 3 4 5 17. ผทู้ ี่เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง มกั มีไหวพริบและการตดั สินใจที่ดี 1 2 3 4 5

89

การรับรู้ความสามรถของตนเองของท่านทมี่ ีต่อกฬี าทมี่ ีความเสี่ยงสูงและตัวผู้เล่น

กรุณาอา่ นขอ้ ความและใหค้ ะแนนขอ้ ที่ตรงกบั ความรู้สึกของทา่ น... น้อยที่สุด <------ปานกลาง ------> มากที่สุด

1. ฉนั มน่ั ใจวา่ ฉนั สามารถเล่นกีฬาที่มีความท้าทาย ผาดโผนได้ 1 2 3 4 5 2. ฉนั เชื่อวา่ ฉนั สามารถควบคุมสติไดเ้ มื่อเกิดอุบตั ิเหตุจากการเล่นกีฬา 1 2 3 4 5 3. ฉนั มน่ั ใจวา่ ฉนั สามารถประสบความสา เร็จในการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยง 1 2 3 4 5 4. การบาดเจบ็ จากการเล่นกีฬาโลดโผนทา ให้ฉนั กลวั ที่จะเล่น 1 2 3 4 5 5. ฉนั เชื่อวา่ ตนเองมีความสามารถเพียงพอที่จะเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงอนั ตรายได ้ 1 2 3 4 5 6. การชนะการแขง่ ขนั ในกีฬาที่มีความเสี่ยงเป็นเรื่องง่ายส าหรับฉนั 1 2 3 4 5 7. ฉนั รู้สึกภูมิใจในตนเองที่สามารถเล่นกีฬาที่ยาก ทา้ ทาย และเสี่ยงสูงได้ 1 2 3 4 5 8. ฉนั มน่ั ใจวา่ ฉนั สามารถป้องกนั ตนเองไมใ่ หบ้ าดเจบ็ จากการเล่นกีฬาได ้ 1 2 3 4 5 9. การเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูงเป็นความทา้ ทายสา หรับฉนั 1 2 3 4 5 10. บาดแผลจากการฝึกซ้อมเป็นเรื่องเล็กน้อยสาหรับฉัน 1 2 3 4 5

90

แรงสนับสนุนทางสังคมของท่านต่อกฬี าทมี่ ีความเสี่ยงสูง

เมื่อฉนั ตอ้ งการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง… ครอบครัวของฉนั (พอ่ แม)่ จะ…

ขัดขวางด้วยคาพูดและการกระท า -3 -2 -1 0 1 2 3 สนับสนุนด้วยคาพูดและการกระท า ไมส่ นใจ/ ไมใ่ หก้ า ลงั ใจ -3 -2 -1 0 1 2 3 เอาใจใส่/ ใหก้ า ลงั ใจ ไมใ่ หค้ า แนะนา / ไมใ่ หค้ า ปรึกษา -3 -2 -1 0 1 2 3 ให้คาแนะน า / ให้คาปรึกษา ไมใ่ หเ้ งินสนบั สนุนซ้ืออุปกรณ์กีฬา -3 -2 -1 0 1 2 3 สนบั สนุนเงินซ้ืออุปกรณ์กีฬา ไมส่ นใจวา่ จะสา เร็จหรือลม้ เหลว -3 -2 -1 0 1 2 3 ติดตามความกา้ วหนา้ ในการเล่น

ฉนั มีความคิดเห็นอยา่ งไรในส่ิงที่ครอบครัว (พอ่ แม)่ แสดงทา่ ทีดงั กล่าว… ตอ่ ตา้ น/ ไม่เห็นดว้ ย/ ไมท่ า ตาม 1 2 3 4 5 6 7 คล้อยตาม/ เห็นด้วย/ ทาตาม

90

91

เมื่อฉนั ตอ้ งการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง… เพื่อน ๆ ของฉัน (เพื่อนที่ไมไ่ ดเ้ ล่นกีฬาดว้ ยกนั เพื่อนที่เรียน เพื่อนร่วมงาน ฯลฯ) จะ … ขัดขวางด้วยคาพูดและการกระท า -3 -2 -1 0 1 2 3 สนับสนุนด้วยคาพูดและการกระท า ไมส่ นใจ/ ไมใ่ หก้ า ลงั ใจ -3 -2 -1 0 1 2 3 เอาใจใส่/ ใหก้ า ลงั ใจ ไมใ่ หค้ า แนะนา / ไมใ่ หค้ า ปรึกษา -3 -2 -1 0 1 2 3 ให้คาแนะน า / ให้คาปรึกษา ไมใ่ หย้ มื ทดลองใชอ้ ุปกรณ์กีฬา -3 -2 -1 0 1 2 3 ให้ยมื ทดลองใชอ้ ุปกรณ์กีฬา ไมส่ นใจวา่ จะสา เร็จหรือลม้ เหลว -3 -2 -1 0 1 2 3 ติดตามความกา้ วหนา้ ในการเล่น

ฉนั มีความคิดเห็นอยา่ งไรในส่ิงที่เพื่อน ๆ ของฉนั แสดงทา่ ทีดงั กล่าว… ตอ่ ตา้ น/ ไม่เห็นดว้ ย/ ไมท่ า ตาม 1 2 3 4 5 6 7 คล้อยตาม/ เห็นด้วย/ ทาตาม

9

1

92

เมื่อฉนั ตอ้ งการเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงสูง…เพื่อนที่เล่นกีฬาดว้ ยกนั จะ …

ขัดขวางด้วยคาพูดและการกระท า -3 -2 -1 0 1 2 3 สนับสนุนด้วยคาพูดและการกระท า ไมส่ นใจ/ ไมใ่ หก้ า ลงั ใจ -3 -2 -1 0 1 2 3 เอาใจใส่/ ใหก้ า ลงั ใจ ไมใ่ หค้ า แนะนา / ไมใ่ หค้ า ปรึกษา -3 -2 -1 0 1 2 3 ให้คาแนะน า / ให้คาปรึกษา ไมใ่ หย้ มื ทดลองใชอ้ ุปกรณ์กีฬา -3 -2 -1 0 1 2 3 ใหย้ มื ทดลองใชอ้ ุปกรณ์กีฬา ไมส่ นใจวา่ จะสา เร็จหรือลม้ เหลว -3 -2 -1 0 1 2 3 ติดตามความกา้ วหนา้ ในการเล่น

ฉนั มีความคิดเห็นอยา่ งไรในส่ิงที่เพื่อน ๆ ของฉนั แสดงทา่ ทีดงั กล่าว… ตอ่ ตา้ น/ ไม่เห็นดว้ ย/ ไมท่ า ตาม 1 2 3 4 5 6 7 คล้อยตาม/ เห็นด้วย/ ทาตาม

9

2

93

ท่านมีลักษณะนิสัยอย่างไร

กรุณาอา่ นขอ้ ความแลว้ ใหค้ ะแนนขอ้ ที่ตรงกบั ความคิด/ความรู้สึกของทา่ น… น้อยที่สุด <------ปานกลาง ------>มากที่สุด

1. ฉนั ไมใ่ ช่คนวติ กกงั วล 1 2 3 4 5 2. ฉันชอบใหม้ ีคนอยรู่ อบ ๆ ข้าง 1 2 3 4 5 3. ฉนั ไมช่ อบเสียเวลาไปกบั การคิดเพอ้ ฝัน 1 2 3 4 5 4. ฉนั สุภาพกบั ทุกคนที่ฉนั พบ 1 2 3 4 5 5. ฉนั เกบ็ ส่ิงของตา่ ง ๆ ให้สะอาดเรียบร้อย 1 2 3 4 5 6. ฉนั รู้สึกวา่ ตวั เองดอ้ ยกวา่ ผูอ้ ื่น 1 2 3 4 5 7. ฉนั เป็นคนหวั เราะง่าย 1 2 3 4 5 8. เมื่อฉนั พบวธิ ีใดที่เป็นวธิ ีการที่ถูกตอ้ งในการทา ส่ิงตา่ ง ๆ ใหเ้ สร็จฉนั มกั จะใชว้ ธิ ีน้นั อยเู่ ป็นประจา 1 2 3 4 5 9. ฉนั มกั มีเรื่องโตเ้ ถียงหรือขดั แยง้ กบั คนในครอบครัวหรือเพื่อน 1 2 3 4 5 10. ฉนั บงั คบั ตวั เองใหท้ า ส่ิงต่าง ๆ ใหเ้ สร็จภายในเวลาที่กา หนดไดเ้ สมอ 1 2 3 4 5 11. เมื่อฉนั ตกอยภู่ ายใตค้ วามกดดนั มาก ๆ บางคร้ังฉนั รู้สึกเหมือนตวั เองจะแตกเป็นเสี่ยง ๆ 1 2 3 4 5 12. ฉนั ไมค่ ิดวา่ ตวั เองเป็นคนร่าเริง 1 2 3 4 5 94

13. ฉันรู้สึกทึ่งในรูปแบบที่ฉันพบในศิลปะและธรรมชาติ 1 2 3 4 5 14. บางคนคิดวา่ ฉนั เป็นคนเห็นแก่ตวั ถือตวั เองเป็นใหญ่ 1 2 3 4 5 15. ฉนั ไมใ่ ช่คนเจา้ ระเบียบ 1 2 3 4 5 16. ฉนั ไมค่ อ่ ยรู้สึกเหงาหรือซึมเศร้า 1 2 3 4 5 17. ฉนั ชอบพบปะพูดคุยกบั คนอื่น 1 2 3 4 5 18. ฉนั คิดวา่ การปล่อยใหเ้ ด็กฟังคนเถียงกนั จะมีแตท่ า ใหเ้ ด็กเกิดความสับสนและเห็นตวั อยา่ งผดิ ๆ 1 2 3 4 5 19. ฉนั ชอบการร่วมมือกนั ทา งานมากกวา่ การแขง่ ขนั กนั ทา งาน 1 2 3 4 5 20. ฉนั ทา งานที่ไดร้ ับมอบหมายดว้ ยความมุง่ มน่ั ต้งั ใจ 1 2 3 4 5 21. ฉนั รู้สึกเครียดและกระวกระวายใจอยบู่ อ่ ย ๆ 1 2 3 4 5 22. ฉนั ชอบเขา้ ร่วมในการทา กิจกรรมตา่ ง ๆ 1 2 3 4 5 23. บทกวสี ่งผลตอ่ ความรู้สึกของฉนั นอ้ ยมากหรือไมม่ ีผลเลย 1 2 3 4 5 24. ฉนั คอ่ นขา้ งที่จะดูถูกหรือสงสัยในเจตนาของคนอื่น 1 2 3 4 5 25. ฉนั จะต้งั เป้าหมายการทา งานอยา่ งชดั เจน มีการปฏิบตั ิเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายอยา่ งเป็นข้นั ตอน 1 2 3 4 5 26. ฉนั รู้สึกวา่ ตวั เองไมม่ ีคุณคา่ เลย 1 2 3 4 5 95

27. ฉันชอบที่จะทาอะไรตามล าพัง 1 2 3 4 5 28. ฉันชอบลองชิมอาหาร/ ขนมใหม ่ ๆ และอาหารตา่ งชาติ 1 2 3 4 5 29. ฉนั เชื่อวา่ คนส่วนใหญจ่ ะเอาเปรียบคนอื่นเมื่อพวกเข้ามีโอกาส 1 2 3 4 5 30. ฉนั มกั เสียเวลานานกบั การบงั คบั ใหต้ วั เองเร่ิมลงมือทา งานอยา่ งจริงจงั 1 2 3 4 5 31. ฉนั ไมค่ อ่ ยรู้สึกหวาดกลวั หรือวติ กกงั วล 1 2 3 4 5 32. ฉนั รู้สึกวา่ ตนเองเตม็ ไปดว้ ยพลงั งานมากจนอยากแสดงออกมา 1 2 3 4 5 33. ฉนั ไมส่ ังเกตเห็นอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดข้ึนในสถานการณ์ตา่ ง ๆ 1 2 3 4 5 34. คนที่ฉนั รู้จกั ส่วนใหญช่ อบฉนั 1 2 3 4 5 35. ฉนั ทา งานหนกั เพื่อทา ใหส้ า เร็จตามเป้าหมายที่ต้งั ไว ้ 1 2 3 4 5 36. บอ่ ยคร้ังที่ฉนั รู้สึกโกรธจากการกระทา ของคนอื่นที่แสดงตอ่ ฉนั 1 2 3 4 5 37. ฉนั เป็นคนร่าเริงแจม่ ใสและมีขวญั กา ลงั ใจสูง 1 2 3 4 5 38. ฉนั เชื่อวา่ เราควรยึดคา ส่ังสอนทางศาสนาเพื่อใชใ้ นการตดั สินเรื่องศีลธรรมจรรยา 1 2 3 4 5 39. บางคนคิดวา่ ฉนั เป็นคนเยน็ ชา และมุง่ แตป่ ระโยชน์ส่วนตน 1 2 3 4 5 40. เมื่อฉนั ต้งั ใจจะทา อะไรแลว้ ฉนั จะพยายามทา มนั ใหส้ า เร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี 1 2 3 4 5 96

41. เมื่อเกิดความผดิ พลาดข้ึน ฉนั มกั รู้สึกทอ้ แทแ้ ละยอมแพม้ นั 1 2 3 4 5 42. ฉนั ไมใ่ ช่คนมองโลกในแง่ดี มีความสุข 1 2 3 4 5 43. บางคร้ังเมื่อฉนั อา่ นบทกวหี รือดูงานศิลปะ ฉนั จะรู้สึกออ่ นไหว 1 2 3 4 5 44. ฉนั เป็นคนหวั แขง็ และยดึ ติดกบั ความคิดของตวั เอง 1 2 3 4 5 45. ฉนั ไมใ่ ช่คนที่ผอู้ ื่นพ่ึงพาหรือไวใ้ จไดอ้ ยา่ งที่ควรจะเป็น 1 2 3 4 5 46. ฉนั ไมค่ อ่ ยรู้สึกโศกเศร้าหรือหดหู่ใจ 1 2 3 4 5 47. ชีวติ ของฉนั เตม็ ไปดว้ ยกิจกรรม 1 2 3 4 5 48. ฉนั ไมส่ นใจเกี่ยวกบั การคาดเดาถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติหรือความรู้สึกของคน 1 2 3 4 5 49. ฉนั เป็นคนที่คิดพิจารณาส่ิงตา่ ง ๆ อยา่ งละเอียดรอบคอบ 1 2 3 4 5 50. ฉนั เป็นคนที่สามารถทา ใหง้ านตา่ ง ๆ ให้สาเร็จได้เสมอ 1 2 3 4 5 51. ฉนั มกั รู้สึกออ่ นแอและตอ้ งการใหค้ นอื่นมาช่วยแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ แทน 1 2 3 4 5 52. ฉันเป็นคนกระฉับกระเฉง . 1 2 3 4 5 53. ฉนั มีความสนใจใคร่รู้เกี่ยวกบั เรื่องที่เพ่ิมพูนความรู้ 1 2 3 4 5 54. ถา้ ฉนั ไมช่ อบใครแลว้ ฉนั จะแสดงใหเ้ ขารู้ 1 2 3 4 5 97

55. ฉนั ไมม่ ีความสามารถในการจดั การส่ิงตา่ ง ๆ ให้เป็นระบบระเบียบ 1 2 3 4 5 56. เมื่อฉันรู้สึกอับอายมากฉันจะหลบหน้าจากคนอื่น 1 2 3 4 5 57. ฉนั ชอบที่จะทา อะไรตามวธิ ีของฉนั เองมากกวา่ การเป็นผนู้ า คนอื่น 1 2 3 4 5 58. ฉนั สนุกกบั เรื่องที่ตอ้ งพิสูจน์หรือความคิดที่เป็นนามธรรม 1 2 3 4 5 59. ถ้าจาเป็นฉั นกเ็ ตม็ ใจที่จะบงการใหค้ นอื่นทา ตามความตอ้ งการของตวั เอง 1 2 3 4 5 60. ฉนั ตอ้ งการความเป็นเลิศในทุกส่ิงที่ฉนั ทา 1 2 3 4 5

98

ภาคผนวก ค ขอ้ มูลทว่ั ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง

99

ข้อมูลทวั่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มผู้ทเี่ ลือกเล่นกีฬาที่มี กลุ่มผู้ทไี่ ม่เลือกเล่นกฬี าทมี่ ี ความเสี่ยง ความเสี่ยง จ านวน(คน) ร้อยละ จ านวน(คน) ร้อยละ เพศ เพศชาย 181 88.7 72 34.6 เพศหญิง 23 11.3 136 65.4 อาย ุ 18-20 ปี 104 51 101 48.6 21-25 ปี 57 28 100 48 26-30 ปี 18 8.9 6 2.9 31-35 ปี 13 6.5 0 0 36 ปีข้ึนไป 12 6 1 0.5 ระดับการศึกษา มัธยมต้น 3 1.5 0 0 มัธยมปลาย/ ปวช. 87 42.6 4 1.9 อนุปริญญา/ ปวส. 16 7.8 0 0 ปริญญาตรี 97 47.5 197 94.7 ปริญญาโท 1 0.5 4 1.9 ปริญญาเอก 0 0 1 0.5 การศึกษาอื่น ๆ 0 0 2 1 สถานภาพสมรส โสด 179 87.7 207 99.5 สมรส 23 11.3 1 0.5 หยา่ 2 1.0 0 0

100

กลุ่มผู้ทเี่ ลือกเล่นกฬี าทมี่ ี กลุ่มผู้ทไี่ ม่เลือกเล่นกฬี าทมี่ ี ความเสี่ยง ความเสี่ยง จ านวน(คน) ร้อยละ จ านวน(คน) ร้อยละ สถานภาพครอบครัว อยดู่ ว้ ยกนั 136 66.7 149 71.6 บิดาถึงแก่กรรม 11 5.4 13 6.3 มารดาถึงแก่กรรม 1 .5 3 1.4 แยกกนั อย ู่ 39 19.1 29 13.9 หยา่ ร้าง 17 8.3 14 6.7 ที่พักอาศัย อยคู่ นเดียว 32 15.7 55 26.4 อยกู่ บั เพื่อน 20 9.8 46 22.1 อยกู่ บั แฟน 38 18.6 5 2.4 อยกู่ บั พอ่ และแม่ 73 35.8 68 32.7 อยกู่ บั พอ่ 6 2.9 6 2.9 อยกู่ บั แม่ 19 9.3 13 6.3 อยกู่ บั ญาติ 14 6.9 14 6.7 อื่น ๆ 2 1.0 1 0.5 รวม 204 100 208 100

จากตาราง พบวา่ กลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญเ่ ป็นเพศชายจา นวน 181 คน จากท้งั หมด 204 คน คิดเป็นร้อยละ 88.7 ส่วนกลุ่มผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิงจานวน 136 คน จากท้งั หมด 208 คน คิดเป็นร้อยละ 65.4 ช่วงอายขุ องกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่น กีฬาที่มีความเสี่ยงโดยส่วนใหญอ่ ายุต่า กวา่ 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 51 กลุ่มผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มี ความเสี่ยงจะอยใู่ นช่วงอายตุ ่า กวา่ 20 ปีและ 21-25 ปี คิดเป็นร้อยละ 48.6 และ 48 (ตามลาดับ) โดย กลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีอายเุ ฉลี่ย 19.71 กลุ่มผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมีอายุ เฉลี่ย 20.97 ระดบั การศึกษากลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญม่ ีระดบั การศึกษาในระดบั มัธยมปลาย/ ปวช. และปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 42.6 และ 47.5 (ตามลา ดบั ) กลุ่มผทู้ ี่ไมไ่ ดเ้ ลือก เล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญม่ ีระดบั การศึกษาในระดบั ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 94.7 สถานภาพครอบครัวของกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วน 101

ใหญ ่ คือ อยดู่ ว้ ยกนั คิดเป็นร้อยละ 66.7 และ 71.6 (ตามลา ดบั ) ที่พกั อาศยั ของกลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬา ที่มีความเสี่ยงและผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญ ่ คือ อยกู่ บั พอ่ และแม ่ คิดเป็นร้อยละ 35.8 และ 32.7 (ตามลาดับ)

กลุ่มผู้ทเี่ ลือกเล่นกฬี าทมี่ ี กลุ่มผู้ทไี่ ม่เลือกเล่นกฬี าทมี่ ี ความเสี่ยง ความเสี่ยง ความถี่ ร้อยละ ความถี่ ร้อยละ กีฬาที่เล่นเป็นประจ า ฟุตบอล 14 6.9 35 11.9 แบดมินตัน 0 0 83 28.1 บาสเกตบอล 7 3.4 46 15.6 วอลเลย์บอล 0 0 34 11.5 วา่ ยน้า 5 2.5 33 11.2 ฟุตซอล 0 0 3 1.0 วง่ิ 0 0 27 9.2 กอล์ฟ 0 0 2 0.7 ยูโด 1 0.5 2 0.7 ตะกร้อ 0 0 3 1.0 เปตอง 0 0 3 1.0 ป่ันจกั รยาน 3 1.4 8 2.7 ปิงปอง 0 0 9 3.1 แชร์บอล 0 0 4 1.4 เทควันโด 0 0 3 1.0 เทนนิส 1 0.5 0 0

จากตาราง พบวา่ กลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญม่ ีกีฬาที่เล่นเป็นประจา คือ ฟุตบอล คิดเป็นร้อยละ 6.9 กลุ่มผทู้ ี่ไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญม่ ีกีฬาที่เล่นเป็นประจา คือ แบดมินตัน คิดเป็นร้อยละ 28.1

102

กลุ่มผู้ทเี่ ลือกเล่นกฬี าทมี่ ี กลุ่มผู้ทไี่ ม่เลือกเล่นกฬี า ความเสี่ยง ที่มีความเสี่ยง ความถี่ ร้อยละ ความถี่ ร้อยละ ประสบการณ์การเกดิ อุบัติเหตุ/ บาดเจ็บ จากการเล่นกีฬา ไมเ่ คยบาดเจบ็ 105 51.5 189 90.9 1-5 คร้ัง 29 14.2 18 8.7 มากกวา่ 5 คร้ังข้ึนไป 70 34.3 1 0.5

จากตาราง พบวา่ กลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงและไมเ่ ลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงมี ประสบการณ์การเกิดอุบตั ิเหตุ/ บาดเจบ็ จากการเล่นกีฬาส่วนใหญ ่ คือ ไมเ่ คยบาดเจบ็ คิดเป็นร้อยละ 51.5 และ 90.7 (ตามลาดับ)

กลุ่มผู้ทเี่ ลือกเล่นกฬี าทมี่ ี ความเสี่ยง ความถี่ ร้อยละ ประเภทกีฬาที่มีความเสี่ยง Windsurfing (วินด์เซิร์ฟ) 4 1.7 (สเกตบอร์ด) 134 56.1 (เวคบอร์ด) 16 6.7 Motocross & super cross (จักรยานยนต์วิบาก) 4 1.7 Jet ski (เจต็ สกี) 1 0.4 Parachuting (กระโดดร่ม) 3 1.3 Paragliding (ร่มร่อน) 5 2.1 Paramotor (ร่มบิน) 17 7.1 Mountain biking (จักรยานเสือภูเขา) 8 3.3 BMX (จักรยานบีเอ็มเอ็กซ์) 27 11.3 Inline skating (อินไลน์สเกต) 17 7.1 Paintball (เพ้นบอล) 1 0.4 Powerbocking (พาวเวอร์บล็อกกิ้งหรือแมดฮอป) 2 0.8 103

จากตาราง พบวา่ กลุ่มผทู้ ี่เลือกเล่นกีฬาที่มีความเสี่ยงส่วนใหญเ่ ล่นกีฬาสเกตบอร์ด คิดเป็นร้อยละ 56.1 รองลงมาคือ BMX (จักรยานบีเอ็มเอ็กซ์) ร้อยละ 11.3 Paramotor (ร่มบิน), Inline skating (อินไลน์สเกต) ร้อยละ 7.1 Wakeboarding (เวคบอร์ด) ร้อยละ 6.7 Mountain biking (จักรยานเสือภูเขา) ร้อยละ 3.3 Paragliding (ร่มร่อน) ร้อยละ 2.1 Windsurfing (วินด์เซิร์ฟ), Motocross & super cross (จักรยานยนต์วิบาก) ร้อยละ 1.7 Parachuting (กระโดดร่ม) ร้อยละ 1.3 Powerbocking (พาวเวอร์บล็อกกิ้งหรือแมดฮอป) ร้อยละ 0.8 Jet ski (เจต็ สกี) และ Paintball (เพ้นบอล) ร้อยละ 0.4 ของกลุ่มตวั อยา่ งท้งั หมด