DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE ANACARDIACEAE DIP FABACEAE PHYLLANTHACEAE ARECACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE LECYTHIDACEAE HYPERICACEAE FABACE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE OPILIACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACE ELAEOCARPACEAE LAMIACEAE LYTHRACEAE ORCHIDACEAE SALICACEAE FABACEA HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACE DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE AQUIF ANACARDIACEAE COMBRETACEAE PHYLLANTHACEAE ARECACEAE LECYTHIDACEAE OPILIACEAE FABACEAE ARECACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE HY AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE ELAEOCARPACEAE LAMIACEAE OPILIAC LYTHRACEAE ORCHIDACEAE SALICACEAE ELAEOCARPACEAE DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE ANACARDIACEAE COMBRETACEAE FABACEAE RUBIACEAE H PHYLLANTHACEAE ARECACEAE LECYTHIDACEAE OPILIACEAE HYPERICACEAE LAM IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE ELAEOCARPACEAE ANA LAMIACEAE LYTHRACEAE ORCHIDACEAE SALICACEAE DIPTEROCARPACEAE FABACE DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE ANACARDIACEAE COMBRETACEAE DIP FABACEAE PHYLLANTHACEAE ARECACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE LECYTHIDACEAE HYPERICACEAE FABACE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE OPILIACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACE ELAEOCARPACEAE LAMIACEAE LYTHRACEAE ORCHIDACEAE SALICACEAE FABACEA HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACE DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE AQUIF ANACARDIACEAE COMBRETACEAE PHYLLANTHACEAE ARECACEAE LECYTHIDACEAE OPILIACEAE FABACEAE ARECACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE HY AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE ELAEOCARPACEAE LAMIACEAE OPILIAC LYTHRACEAE ORCHIDACEAE SALICACEAE ELAEOCARPACEAE DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE ANACARDIACEAE COMBRETACEAE FABACEAE RUBIACEAE H PHYLLANTHACEAE ARECACEAE LECYTHIDACEAE OPILIACEAE HYPERICACEAE LAM IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE ELAEOCARPACEAE ANA LAMIACEAE LYTHRACEAE ORCHIDACEAE SALICACEAE DIPTEROCARPACEAE FABACE DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE ANACARDIACEAE COMBRETACEAE DIP FABACEAE PHYLLANTHACEAE ARECACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE LECYTHIDACEAE HYPERICACEAE FABACE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE OPILIACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACE ELAEOCARPACEAE LAMIACEAE LYTHRACEAE ORCHIDACEAE SALICACEAE FABACEA HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACE DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE AQUIF ANACARDIACEAE COMBRETACEAE PHYLLANTHACEAE ARECACEAE LECYTHIDACEAE OPILIACEAE FABACEAE ARECACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE HY AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE ELAEOCARPACEAE LAMIACEAE OPILIAC LYTHRACEAE ORCHIDACEAE SALICACEAE ELAEOCARPACEAE DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE ANACARDIACEAE COMBRETACEAE FABACEAE RUBIACEAE H PHYLLANTHACEAE ARECACEAE LECYTHIDACEAE OPILIACEAE HYPERICACEAE LAM IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE ELAEOCARPACEAE ANA LAMIACEAE LYTHRACEAE ORCHIDACEAE SALICACEAE DIPTEROCARPACEAE FABACE DIPTEROCARPACEAE FABACEAE RUBIACEAE ANACARDIACEAE COMBRETACEAE DIP FABACEAE PHYLLANTHACEAE ARECACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE LECYTHIDACEAE HYPERICACEAE FABACE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACEAE OPILIACEAE HYPERICACEAE IRVINGIACEAE MALVACEAE AQUIFOLIACEAE BURSERACEAE FABACE ก คํานํา

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดมอบหมายใหสํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช ดําเนินการจัดทําโครงการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ ภายใตกิจกรรมบริหารจัดการ ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อสํารวจและรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับสถานภาพ ที่ตั้ง และการใชประโยชน ของพืช แมลง และเห็ด ในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาทั่วประเทศ โดยขอมูลที่ไดรับจะนําไปจัดทําเปนฐานขอมูล ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ เพื่อใชเปนประโยชนดานการบริหารจัดการความหลากหลาย ทางชีวภาพในภาพรวมของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 13 (แพร) ไดรับแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายเงินประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2559 เพื่อดําเนินการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ และเผยแพร สรางจิตสํานึก และการมีสวนรวมในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งโครงการสํารวจความหลากหลาย ทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ ดําเนินการสํารวจในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพรและ จังหวัดอุตรดิตถ โดยปฏิบัติงานตรวจสอบเอกสาร รวบรวม และสํารวจขอมูลเกี่ยวกับชนิดพรรณพืช แมลง และ เห็ด ที่พบในพื้นที่ ปาเต็งรัง เขตรักษาพันธุสัตวปา ลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพร และจังหวัดอุตรดิตถ ในชวง ระหวางเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2559 เพื่อจัดทําบัญชีรายชื่อพรรณพืช แมลง และเห็ด พรอมทั้งรวบรวมขอมูล จําแนกประเภทและจัดทําเปนรายงานฐานขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ สํารวจ รายงานการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษฉบับนี้ ประกอบดวยขอมูล ทั่วไปของพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา ลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพร และจังหวัดอุตรดิตถ ระยะเวลาในการ ดําเนินการสํารวจ วิธีดําเนินการสํารวจในแตละชนิดของทรัพยากรโดยละเอียด จําแนกเปน พรรณไม แมลงและ เห็ด ผลการสํารวจความหลากหลายของแตละชนิดของทรัพยากร โดยอธิบายถึงผลการสํารวจในภาพรวม แสดง รูปตัวอยางของแตละชนิดทรัพยากรและแสดงบัญชีรายชื่อทรัพยากรที่สํารวจพบ สรุปผลการสํารวจและ นําเสนอปญหา อุปสรรค พรอมทั้งขอเสนอแนะในการดําเนินการสํารวจ ซึ่งสามารถนําเปนฐานขอมูลเกี่ยวกับ ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา ลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพรและจังหวัดอุตรดิตถ และสามารถใชในการเผยแพรและอางอิงตอไป

สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 13 (แพร) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กันยายน 2558 ข

ค สารบัญ

คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ค สารบัญตาราง ง บทที่ 1 ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ดําเนินการ 1 บทที่ 2 อุปกรณและวิธีการสํารวจ 7 2.1 วิธีการสํารวจดานพืช 7 2.2 วิธีการสํารวจดานแมลง ผีเสื้องกลางวัน 11 2.3 วิธีการสํารวจดานแมลง ผีเสื้อกลางคืนและดวงขนาดใหญ 14 2.4 วิธีการสํารวจดานเห็ด 16 ระยะเวลาดําเนินการ 20 บทที่ 3 ผลการสํารวจ 21 3.1 ผลการสํารวจดานพืช 21 3.2 ผลการสํารวจดานแมลง ผีเสื้อกลางวัน 31 3.3 ผลการสํารวจดานแมลง ผีเสื้อกลางคืนและดวงขนาดใหญ 36 3.4 ผลการสํารวจดานเห็ด 41 บทที่ 4 สรุปและวิจารณผลการสํารวจ 47 บทที่ 5 ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ 49 เอกสารอางอิง 50 คณะผูดําเนินการ 51

สารบัญภาพ

ภาพที่ 1 แผนที่แสดงพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปารักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา

จังหวัดแพรและจังหวัดอุตรดิตถ 6 ภาพที่ 2 รูปแบบการวางแปลงตัวอยาง และแปลงยอยการสํารวจดานพืช 8 ภาพที่ 3 รูปแบบการวางแปลงสํารวจความชนิดของแมลง (ผีเสื้อกลางวัน) 11 ภาพที่ 4 รูปแบบกับดักแสงไฟ โดยใชจอผา 14 ภาพที่ 5 แผนที่แสดงคาพิกัดจุดวางแปลงสํารวจ 19 ภาพที่ 6 คาดัชนีความหลากชนิดของพืชพันธุ (index of species diversity)และ คาความสม่ําเสมอ(Shannon Evenness) 23 ภาพที่ 7 Profile Digram ของแปลงสํารวจพรรณไม 30 ภาพที่ 8 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ(H'))และคาความสม่ําเสมอ (J') ดานแมลง ผีเสื้อกลางวัน 31 ภาพที่ 9 คาดัชนีความคลายคลึง (Iss)ดานแมลง ผีเสื้อกลางวัน 32 ภาพที่ 10 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ(H'))และคาความสม่ําเสมอ (J') ดานแมลง ผีเสื้อกลางคืน 36 ภาพที่ 11 คาดัชนีความลายคลึง (Iss) ดานแมลง ผีเสื้อกลางคืน 37

ภาพที่ 12 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ(H'))และคาความสม่ําเสมอ (J')ดานเห็ด 41 ภาพที่ 13 คาดัชนีความลายคลึง (Iss) ดานเห็ด 42

ภาพชุดที่ 1 ตัวอยางพรรณไมที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพรและจังหวัดอุตรดิตถ 29 ภาพชุดที่ 2 ตัวอยางผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝง ขวาจังหวัดแพรและจังหวัดอุตรดิตถ 35 ภาพชุดที่ 3 ตัวอยางผีเสื้อกลางคืนและดวงขนาดใหญที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุ สัตวปาลําน้ํานานฝงขวาจังหวัดแพรและจังหวัดอุตรดิตถ 40 ภาพชุดที่ 4 ตัวอยางเห็ดที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวาจังหวัด แพรและจังหวัดอุตรดิตถ 46

สารบัญตาราง

ตารางที่ 1 รูปแบบตารางบันทึกขอมูลการสํารวจความหลากชนิดของพรรณไม 10 ตารางที่ 2 รูปแบบตารางบันทึกขอมูลการสํารวจความหลากชนิดของแมลง (ผีเสื้อกลางวัน) 13 ตารางที่ 3 รูปแบบตารางบันทึกขอมูลการสํารวจความหลากชนิดของแมลง (ผีเสื้อกลางคืน) 15 ตารางที่ 4 รูปแบบตารางบันทึกขอมูลการสํารวจความหลากชนิดของเห็ด 18 ตารางที่ 5 ขอมูลความหลากชนิดของพรรณไมที่สํารวจพบ 24 ตารางที่ 6 ขอมูลสรุปคา IVI ของพรรณไมที่สํารวจพบทั้งหมด 26 ตารางที่ 7 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบ 33 ตารางที่ 8 บัญชีรายชื่อแมลงที่สํารวจพบ 38 ตารางที่ 9 บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบ 43

1 บทที่ 1 ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ดําเนินการ

สัตวปาเปนทรัพยากรที่อํานวยประโยชนแกมวลมนุษยชาติอยางตอเนื่องและยาวนาน อีกทั้งเปน แหลงศึกษาหาความรู เสริมสรางประสบการณดานการอนุรักษ เนื่องจากการติดตอสื่อสารและเทคโนโลยี ดานตางๆ มีความทันสมัยขึ้น สงผลใหมีการใชประโยชนจากทรัพยากรสัตวปามากขึ้น การอนุรักษสัตวปา ในประเทศไทย เริ่มดําเนินการอยางเปนรูปธรรม ภายหลังจากที่มีการประกาศใชพระราชบัญญัติสงวน และคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2503 โดยมีการกันพื้นที่ไวเพื่อเปนที่อยูอาศัยของสัตวปา ทั้งในรูปแบบของเขต รักษาพันธุสัตวปาและเขตหามลาสัตวปา นอกจากนี้ไดมีการกําหนดพื้นที่เพื่อการอนุรักษในรูปแบบอุทยาน แหงชาติ ตามพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 เพื่อเปนการชวยสงเสริมการอนุรักษสัตวปาและที่อยู อาศัยของสัตวปาอีกทางหนึ่ง

1.1 เขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพรและจังหวัดอุตรดิตถ เขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพรและจังหวัดอุตรดิตถ ไดรับการประกาศเปน เขตรักษาพันธุสัตวปา ในพระราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 117 ตอนที่ 92 ก เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2543 มีขนาดพื้นที่ 146,875 ไร หรือ 235 ตารางกิโลเมตร

1.2 ประวัติการจัดตั้งพื้นที่ กรมปาไมไดมีคําสั่ง เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 25 38 ใหคณะเจาหนาที่ปาไม ประกอบดวย นายวสันต กลอมจินดา เจาพนักงานปาไม 5 นายสัมฤทธิ์ จันทวาล พนักงานพิทักษปา และนายทองขันธ เฮากอก พนักงานพิทักษปา ออกไปปฏิบัติงานสํารวจพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ เพื่อกําหนดใหเปนเขตรักษาพันธุ สัตวปา ซึ่งไดกําหนดใหสํารวจในทองที่จังหวัดแพร คือ ปาสงวนแหงชาติปาแมพวก ปาสงวนแหงชาติปาแมจั๊วะ ฝงซาย ปาสงวนแหงชาติปาแมจั๊วะ และปาแมมาน ปาสงวนแหงชาติปาแมเข็ก สวนในทองที่จังหวัดอุตรดิตถ คือ ปาสงวนแหงชาติปาหวยเกียงพา และปาน้ําไคร กับปาสงวนแหงชาติปาลําน้ํานานฝงขวา ซึ่งเปน ปาผืนเดียวกันเปนรอยตอของสองจังหวัดนี้ จังหวัดอุตรดิตถไดมีหนังสือดวน เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2537 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการแกไข ปญหาการลักลอบตัดไมทําลายปา บริเวณพื้นที่รอยตอระหวางจังหวัดอุตรดิตถ จังหวัดแพร จึงทําการแจง กรมปาไมใหกําหนดพื้นที่ปาในจังหวัดอุตรดิตถซึ่งมีแนวเขตติดตอกับจังหวัดแพรใหเปนเขตรักษาพันธุสัตวปา 2 หรืออุทยานแหงชาติแลวแตกรณี โดยกําหนดเนื้อที่เบื้องตนพรอมกับกําหนดขอบเขตเบื้องตนในแผนที่ 1 : 50,000 มีเนื้อที่ประมาณ 110,000 ไร หรือประมาณ 176 ตารางกิโลเมตร

ผลการสํารวจพื้นที่ดังกลาวพบวา พบวาเปนปาธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณมาก มีพรรณไม นานาชนิดขึ้นอยูปะปนกัน มีความหลากหลายทางชีววิทยาทั้งพืชและสัตว เปนแหลงอาหารและแหลงหลบภัย ของสัตวปาไดอยางเหมาะสม เปนแหลงตนน้ํา ลําธารที่สําคัญหลายสาย เหมาะสมที่จะรักษาไวเปนปาไมถาวร ของชาติ และไมมีปญหากับราษฎรในพื้นที่ จึงไดมีพระราชกฤษฎีกาประกาศเปนเขตรักษาพันธุสัตวปา ลําน้ํานานฝงขวา ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดแพร ทองที่ตําบลชอแฮ อําเภอเมือง ตําบลบานกวาง ตําบลบานเหลา ตําบลหัวฝาย อําเภอสูงเมน ตําบลแมจั๊วะ ตําบลหวยไร อําเภอเดนชัย และพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ ทองที่ตําบล น้ําหมัน อําเภอทาปลา ตําบลบานดานนาขาม อําเภอเมือง

1.3 ความมุงหวังของเขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา วิสัยทัศน : มุงมั่นบริหาร การอนุรักษทรัพยากรปาไม สัตวปาและพันธุพืชโดยการมีสวนรวมทุก ภาคสวนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาประสงคหลัก 1. เตรียมความพรอมความรวมมือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเขาสูประชาคมอาเซียน 2. อนุรักษ คุมครอง และฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปาอยางยั่งยืนโดยการมีสวนรวม 3. พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพแหลงทองเที่ยวใหมีศักยภาพเพื่อรองรับนักทองเที่ยวอยาง เหมาะสม 4. เตรียมพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ปาอนุรักษ 5. ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยจากปาอนุรักษไดรับการแจงเตือน 6. พัฒนาองคความรูในการบริหารจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา

1.4 ที่ตั้ง เขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวาฯ ตั้งอยูในบริเวณที่ดิน ปาแมกอน-ปาแมสาย ,ปาแมเข็ก ในทองที่ตําบลชอแฮ อําเภอเมือง จังหวัดแพร ตําบลบานกวาง ตําบลบานเหลา ปาแมจั๊วะและปาแมมาน , ปาแมจั๊วะฝงซาย , ปาแมพวก ในทองที่ตําบลหัวฝาย อําเภอสูงเมน ตําบลแมจั๊วะ ตําบลหวยไร อําเภอเดนชัย จังหวัดแพร และพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ บริเวณที่ดิน ปาลําน้ํานานฝงขวา , ปาหวยเกียงพาและปาน้ําไคร ในทองที่ตําบลน้ําหมัน อําเภอทาปลา ตําบลบานดานนาขาม อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ 3 สํานักงานเขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา ตั้งอยูบริเวณปาแมเข็กทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือของเขาพญาพอ ริมอางเก็บน้ําแมมาน เลขที่ 133 หมูที่ 4 ตําบลหัวฝาย อําเภอสูงเมน จังหวัดแพร พิกัด 47Q 06-25-926 E 19-97-588 N หนวยพิทักษปาบานน้ําพุ ตั้งอยูบริเวณปาบานน้ําพุ ตําบลบานกวาง อําเภอสูงเมน จังหวัดแพร พิกัด 47Q 06-25-926 E 19-97-588 N หนวยพิทักษปานางพญา จุดที่ตั้งบริเวณปาหวยน้ําลี ตําบลน้ําหมัน อําเภอทาปลา จังหวัด อุตรดิตถ พิกัด 47Q 06-35-069 E 19-79-506 N จุดสกัดหวยลากปน จุดที่ตั้งบริเวณปาแมพวก ตําบลหวยไร อําเภอเดนชัย จังหวัดแพร พิกัด 47 Q 06-16-418 E 19-75-657 N 1.5 อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ จรดพระธาตุดอยเล็ง ตําบลชอแฮ อําเภอเมือง จังหวัดแพร ทิศตะวันออก จรดอุทยานแหงชาติลําน้ํานาน ทิศตะวันตก จรดบานหวยลากปน ตําบลหวยไร อําเภอเดนชัย จังหวัดแพร ทิศใต จรดบานน้ําลี ตําบลน้ําหมัน อําเภอทาปลา บานน้ําไคร ตําบลบานดานนาขาม อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ

1.6 ลักษณะภูมิประเทศ โดยทั่วไปเปนพื้นที่ปาอุดมสมบูรณติดตอกันเปนผืนใหญตรงรอยตอของจังหวัดแพรกับจังหวัด อุตรดิตถ ลักษณะเปน ภูเขาสูง และบางสวนสูงชัน ตลอดทั่วพื้นที่ติดตอกันเปนเทือกยาวทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสู ตะวันตกเฉียงใต มีแนวเขาสูงอยูตอนกลางของพื้นที่ตามทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไปตะวันตกเฉียงใต ซึ่งเปน แนวแบงเขตของจังหวัดแพรกับจังหวัดอุตรดิตถ มียอดสูงสุดคือ เขาพญาฝอ หรือชาวบานเรียกพญาพอ มีระดับ ความสูง 1,447 เมตร ติดตอกันเปนแนวยาวตลอด ครอบคลุมพื้นที่ของจังหวัดแพร คือ ตําบลชอแฮ อําเภอ เมือง ตําบลบานกวาง ตําบลบานเหลา ตําบลหวยฝาย อําเภอสูงเมน ตําบลแมจั๊วะ ตําบลหวยไร อําเภอเดนชัย ในสวนของจังหวัดอุตรดิตถ คือ ตําบลบานดานนาขาม อําเภอเมือง ตําบลน้ําหมัน อําเภอทาปลา เนื่องจากพื้นที่ เปนเนินเขา และภูเขาที่สูงชันตอกันเปนลูกคลื่นจะมีที่ราบแคบๆ ตามริมหวยและยอดเขา ทําใหพื้นที่เกือบ ทั้งหมดเปนพื้นที่ลุมน้ําชั้น1A และชั้น 2 มียอดเขาที่สําคัญคือ ดอยผาอือเขาพญาพอ ดอยหวยน้ําออก ดอยหวยเกิน ดอยผาลักไก เปนตน จึงทําใหเปนแหลงตนน้ําลําธาร ของหวยแมสาย หวยเหมือง น้ําแมมาน น้ํารองแค น้ํารองมา หวยแมจั๊วะ หวยแมพวก หวยแมแรม หวยลากปน สวนดานจังหวัดอุตรดิตถ เปนตนน้ําลําธารของหวยโปรง หวยน้ําริด หวยน้ําลี ไหลผานอําเภอทาปลาลงสูอางเก็บน้ําสิริกิตติ์

4 1.7 สภาพภูมิอากาศ พื้นที่อยูทางทิศเหนือของประเทศไทย มีแนวเทือกเขาสูงวางตัวทอดตามทิศตะวันออกเฉียงเหนือ กับทิศตะวันตกเฉียงใต ทางตอนกลางของพื้นที่ ทําใหพื้นที่รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดมาจากมหาสมุทร อินเดียได สวนในฤดูหนาวและฤดูรอน เนื่องจากพื้นที่มีความลาดชันมาก และมีภูเขาสลับซับซอน จึงมีอากาศ รอนจัดในฤดูรอน และหนาวจัดในฤดูหนาว เพราะไดรับลมที่พัดจากตะวันออกเฉียงเหนือโดยตรง จากขอมูล ของสถานีตรวจอากาศแพร จังหวัดแพร พบวาอุณหภูมิเฉลี่ยในฤดูหนาวประมาณ 12-26 องศาเซลเซียส และใน ฤดูรอนประมาณ 20-37 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยอยูในชวงระหวาง 1,250-1,430 มิลลิเมตรตอป มีฝนตกมากที่สุดประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน และจากขอมูลของสถานีตรวจอากาศจังหวัดอุตรดิตถ พบวา มีอุณหภูมิเฉลี่ยในป 2538 ประมาณ 28.25 องศาเซลเซียส เดือนที่หนาวที่สุดคือ เดือนธันวาคม ที่อุณหภูมิ 17.35 องศาเซลเซียส และเดือนที่รอนจัดเมษายน อุณหภูมิประมาณ 39.22 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้ําฝนทั้งปในป 2538 วัดได 1,664.8 มิลลิเมตร มีปริมาณน้ําฝนมากที่สุดในเดือนสิงหาคม วัดได 411.9 มิลลิเมตร

1.8 ธรณีวิทยา พื้นที่ที่สํารวจสวนใหญจะเปนภูเขาและเทือกเขาในระดับความลาดชัน35 เปอรเซ็นตขึ้นไป มีหินโผล มาก จําพวกหินปูน หินลูกรัง ดินที่พบจากเอกสารของสถานีพัฒนาที่ดิน จังหวัดอุตรดิตถ บริเวณดังกลาว มีทั้ง ดินตื้นและดินลึก ลักษณะของเนื้อดิน และความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติแตกตางกันไป แลวแตชนิดของหิน ตนกําเนิด ในบริเวณนั้นมักมีเศษหิน กอนหิน หรือหินโผล กระจัดกระจายทั่วไป สวนใหญยังปกคลุมดวยปาไม ประเภทตางๆ เชน ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง หรือปาดงดิบชื้น หลายแหงมีการทําไรเลื่อนลอยผานไปแลว โดยปราศจากการอนุรักษดิน และน้ํา ซึ่งเปนผลทําใหเกิดการชะลางพังทลายของหนาดินจนบางแหงเหลือแต หินโผล กลุมดินนี้สวนใหญไมควรใชประโยชนทางเกษตร เนื่องจากมีปญหาหลายประการที่มีผลกระทบตอ ระบบนิเวศน ควรสงวนไวเปนปาตามธรรมชาติ เพื่อรักษาแหลงตนน้ําลําธาร

1.9 ทรัพยากรปาไม สภาพปาเปนปาหลากหลายชนิดผสมกัน มีความตางระดับความสูงของพื้นที่มาก จากการสํารวจ พบวา ในพื้นที่นี้ประกอบดวยปาประเภทตางๆ ดังนี้ - ปาดิบเขา (Hill Evergreen Forest) ลักษณะเปนปาไมผลัดใบมีไมมากนักอยูตามสันเขาสูง สภาพอากาศหนาวเย็น เชน ตามสันเขาดานรอยตอกับจังหวัดแพร และอุตรดิตถ ตามเทือกเขาพญาพอ พรรณไมที่พบในปานี้ ไดแก กอตางๆ จําปปา ทะโล ฯลฯ เปนตน 5 - ปาดิบแลง (Dry Evergreen Forest) เปนจําพวกปาไมผลัดใบ สวนมากขึ้นอยูในที่มีความอุดม สมบูรณดี ดินมีการอุมน้ําไดดีมีความชุมชื้นสูงอยูตามบริเวณที่ราบแคบๆ ริมหวยและตามเชิงเขาที่มี ความลาดชันไมมากนัก เชน ตามริมหวยแมกอน ริมหวยแมมาน ริมหวยแมจั๊วะ ริมหวยแมแรม ริมหวยน้ําริด ริมหวยน้ําลี เปนตน เนื่องจากปาชนิดนี้จะพบตามที่มีความชื้นสูง สภาพของดินมีแรธาตุอาหารของพืชอยูมาก จึงมีบางสวนพบรองรอยของการบุกรุกทําไรเลื่อนลอย เปนสวนเมี่ยง และพืชไร แตปจจุบันปรากฏวา ไมคุมกับ การลงทุน ประกอบกับรายไดไมดี การคมนาคมขนสงทําไดลําบากและสามารถทําอาชีพอื่นที่มีรายไดมากกวา และเร็วกวา สภาพสวนเมี่ยง และพืชไร เหลานี้ จึงถูกทิ้งราง บางสวนไดมีลูกไมปาขึ้นมาทดแทนอยูทั่วไป พรรณไมที่พบในปาชนิดนี้ ไดแก ก ระบก ตะเคียน มะคาโมง ประดู มะมวงปา มะยมปา ไมยางชนิดตางๆ ตาเสือ ตะเคียน ฯลฯ และไผชนิดตางๆ อาทิ ไผหก ไผซาง ไผเฮียะ รวมทั้งพืชตระกูลปาลม เชน ตาว หวายชนิด ตางๆ สวนไมพื้นลางจะขึ้นอยูอยางหนาแนนจําพวก ขา กลวยปา ผักกูด เฟรนชนิดตางๆ - ปาเบญจพรรณ (Mixed Decidous Forest) ลักษณะเปนปาซึ่งผลัดใบในฤดูแลง สวนใหญพบใน ระดับความสูงของพื้นที่จากระดับน้ําทะเลประมาณ 200-1,000 เมตร เปนปาที่ครอบคลุมเนื้อที่สวนใหญของปา ที่ทําการสํารวจปาชนิดนี้มีพรรณไมมีคาอยูมากชนิด เชน กระบก สัก ประดู มะคาโมง แดง ตะแบก ยาง ชิงชัน เปนตน สวนไมพื้นลางที่พบมากจะอยูกระจายตามพื้นที่ มองเห็นไดทั่วไป คือ ไผชนิดตางๆ เชน ไผซาง ไผบง เปนตน - ปาเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) พบในพื้นที่บริเวณดินที่มีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา หนาดินตื้น ดินเปนกรวดผสมทราย และลูกรัง ในพื้นที่สํารวจพบปาชนิดนี้ตามเนินเขาเปนหยอมๆ เชน ตามบริเวณปา ทองที่ตําบลชอแฮ อําเภอเมือง จังหวัดแพร บริเวณหลังบานปง ปาเขาพระธาตุดอยเล็ง ปาหลังบานน้ําพุลาง ตําบลบานกวาง อําเภอสูงเมน จังหวัดแพร และปาน้ําตกซาววา บริเวณหวยน้ําฮอด ตําบล บานเหลา อําเภอสูงเมน ซึ่งปาชนิดนี้เปนที่นาสังเกตวา จะยังไมมีตนไมที่ใหญมาก เพราะเนื่องจาก ปาเหลานี้ ผานการใหสัมปทานทําไมมาแลว และบริเวณเขตจังหวัดแพร มีโรงงานบมใบยาสูบเปนจํานวนมาก ทําใหไม ในปาเต็งรังถูกตัดจํานวนมาก - ปาหญาหรือปารุน ปาชนิดนี้พบในสภาพพื้นที่เคยถูกบุกรุกทําลายมาแลว เพื่อทําการเกษตร จึงมีหญาชนิดตางๆ ขึ้นปกคลุม เชน หญาคา สาบเสือ กอเลา กอพงหญาขจรจบ หญากงใชทําไมกวาด พบมาก แถบตําบลหวยไร อําเภอเดนชัย จังหวัดแพร และตําบลน้ําหมัน อําเภอทาปลา จังหวัดอุตรดิตถ พรรณไมที่พบ ในปานี้ไดแก ก ระบก ตะเคียน ฯลฯ และไมไผชนิดตางๆ อาทิ เชน ไผหก ไผซาง ไผเ ฮี๊ยะ รวมทั้งพืชตระกูล ปาลม เชน ตาว หวายชนิดตางๆ สวนไมพื้นลาง จําพวก ขา กลวยปา ผักกูด เฟรินชนิดตางๆ ตัดไปเปนฟน จํานวนมาก พรรณไมที่ขึ้นนี้เปนไมรุนใหม ถึงรุนกลาง มีอายุ 5-10 ป ซึ่งถามีการอนุรักษไวอยางจริงจังถาวร จะ เปนปาเต็งรัง ที่สมบูรณสวยงามมาก และมีคุณคาตอการศึกษาในอนาคต พรรณไมที่พบไดแก เต็ง รัง พลวง ตองตึง เหียง รกฟา ฯลฯ สําหรับไมพื้นลางมีพวกลูกไมชนิดตางๆ ผักหวาน และหญาตางๆ อยูกระจายหางๆ ทั่วไป 6

ภาพที่ 1 แผนที่แสดงพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปารักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวาจังหวัดแพร และจังหวัดอุตรดิตถ 7

บทที่ 2 อุปกรณ และวิธีการสํารวจ

2.1 วิธีการสํารวจดานพืช

1. เสนทางสํารวจ ศึกษาขอมูลทั่วไปของพื้นที่ เขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพรและจังหวัด อุตรดิตถ เพื่อพิจารณาคัดเลือกพื้นที่วาง แปลงตัวอยางสํารวจเก็บขอมูล และกําหนดจุดวางแปลงตัวอยาง โดย กําหนดวางแปลงสํารวจในพื้นที่ปาเต็งรัง

2. การวางแปลงตัวอยาง 2.1 ทําการวางแปลงสํารวจขนาด 20 x 50 เมตร แลวแบงเปนแปลงยอย ขนาด 10 x 10 เมตร จะไดแปลงยอยเก็บตัวอยาง จํานวน 10 แปลง ซึ่งภายในแปลงยอยมีการแบงสวนภายใน ขนาด 5 x 5 เมตร พรอมทั้งทําสัญลักษณบริเวณมุมแปลงทุกมุมและจับพิกัดคาแปลงตัวอยางบริเวณกลางแปลงตัวอยางและขอมูล ที่เกี่ยวของตามแบบบันทึกขอมูล ทําการวางแปลงตัวอยาง ดังนี้ - แปลงที่ 1 พิกัด 0626415 E 1992203 N - แปลงที่ 2 พิกัด 0622975 E 1982720 N - แปลงที่ 3 พิกัด 0630338 E 1995727 N - แปลงที่ 4 พิกัด 0623834 E 1986045 N 2.2 เริ่มทําการสํารวจจากแปลงที่ 1 แปลงยอยที่ 1 – 4 ในลักษณะตามเข็มนาฬิกา ทําการสํารวจ ครบในแปลงที่ 1 จึงเริ่มทําการสํารวจในแปลงที่ 2 ในลักษณะเดียวกัน 2.3 การบันทึกขอมูล จะบันทึกขอมูลไมทุกชนิดในแปลงยอยที่ 1 โดยแยกเปน ไมที่มีความโต มากกวา 15 เซนติเมตร ที่ความสูงระดับอก ( 1.30 เมตร จากพื้นดิน) โดยจะวัดความโตและประมาณความสูง เพื่อบันทึกในแบบบันทึกและไมที่มีความโตนอยกวา 15 เซนติเมตร จะทําการนับชนิดและจํานวนตนเทานั้น สวนในแปลงยอยที่ 2 – 4 จะวัดไมที่มีความโตมากกวา 15 เซนติเมตร บันทึกคาความโตและประมาณความสูง ในแบบบันทึก

8

ขนาด 50 เมตร

แปลงที่ 1 แปลงที่ 2 แปลงที่ 3 แปลงที่ 4 แปลงที่ 5 แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย ที่ 1 ที่ 4 ที่ 1 ที่ 4 ที่ 1 ที่ 4 ที่ 1 ที่ 4 ที่ 1 ที่ 4 ขนาด แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย ที่ 2 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 3 20 แปลงที่ 6 แปลงที่ 7 แปลงที่ 8 แปลงที่ 9 แปลงที่ 10 เมตร แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย ที่ 1 ที่ 4 ที่ 1 ที่ 4 ที่ 1 ที่ 4 ที่ 1 ที่ 4 ที่ 1 ที่ 4

แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย แปลงยอย ที่ 2 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 3

ภาพที่ 2 รูปแบบการวางแปลงตัวอยาง และแปลงยอยการสํารวจดานพืช

2.4 ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลทําการคัดเลือกพื้นที่เพื่อวางแปลงสํารวจ ดําเนินการวิเคราะห ขอมูลเพื่อเปรียบเทียบลักษณะโครงสรางของสังคมพืช องคประกอบชนิดพันธุ หาความหนาแนน และความเดน ดานพื้นที่หนาตัดของพันธุไมแตละชนิด ในแตละหมูไม แปลงเปนคาความหนาแนนสัมพันธ ( relative density) และพื้นที่หนาตัดสัมพัทธ (relative basal area) หาคาความสําคัญของชนิดพันธุ และคาความคลายคลึง ดังนี้ - ศึกษาโครงสรางทางดานตั้ง( stratification) โดยทําการแบงชั้นเรือนยอดของแตละสังคม จากแผนภาพการกระจายโครงสรางทางดานตั้ง - หาคาความหนาแนนและความเดนดานพื้นที่หนาตัด พรอมหาคาความหนาแนนสัมพัทธและ ความเดนสัมพัทธ โดยใชสูตร ดังนี้ • ความหนาแนน (density , D) คือ จํานวนตมไมทั้งหมดของชนิดที่พบในแปลง ตัวอยาง ตอ หนวยพื้นที่ที่ทําการสํารวจ 9 DA = จํานวนตนไมทั้งหมดของชนิด A ที่สํารวจพบในแปลงตัวอยาง หนวยพื้นที่ทั้งหมดของแปลงตัวอยางที่สํารวจ • ความเดน (dominance , Do) ใชความเดนดานพื้นที่หนาตัด ที่ไดจากการวัดที่ ความสูง 1.30 เมตรจากพื้นดิน ตอ หนวยพื้นที่ที่ทําการสํารวจ

DoA = พื้นที่หนาตัดของไมชนิด A . หนวยพื้นที่ทั้งหมดของแปลงตัวอยางที่สํารวจ • ความถี่ (frequency , F)

FA = จํานวนแปลงตัวอยางของไมชนิด A . x 100 จํานวนแปลงตัวอยางทั้งหมดที่สํารวจ • คาความหนาแนนสัมพัทธของชนิดไม (Reletive Density , RD)

RDA = ความหนาแนนของไมชนิด A . x 100 ความหนาแนนของไมทุกชนิดในสังคม

• คาความเดนสัมพัทธของชนิดไม (Relative Dominance , RDo)

RDoA = ความเดนของไมชนิด A . x 100 ความเดนของไมทุกชนิดในสังคม

• คาความถี่สัมพัทธของชนิดไม (Relative Frequency , RF)

RFA = ความถี่ของไมชนิด A . x 100 ความถี่ของไมทุกชนิดในสังคม

- หาคาความสําคัญของชนิดพันธุไม (Importance Value , IV)

IVA = RDA + RDoA + RFA

- หาคาคาดัชนีความหลากชนิดของพืชพันธุ ( index of species diversity) ตามวิธีการของ Shanon Wiener function โดยใช log ฐาน 2 โดยใชสูตรดังนี้

10 เมื่อ H' = คาดัชนีความหลากชนิดของ Shonon-Wiener s = จํานวนชนิดพันธุทั้งหมด Pi = สัดสวนของจํานวนชนิดที่ i ตอผลรวมของจํานวนทั้งหมดทุกชนิดในสังคม

เมื่อ i = 1, 2, 3,……., s

- หาคาความสม่ําเสมอ (Shannon Evenness) โดยใชสูตร ดังนี้

เมื่อ J' = คาความสม่ําเสมอ H' = คาดัชนีความหลากชนิดของ Shanon-Wiener s = จํานวนชนิดพันธุทั้งหมด 11 ตารางที่ 1 รูปแบบตารางบันทึกขอมูลการสํารวจความหลากชนิดของพรรณไม

ตาราง บันทึกขอมูลสํารวจพรรณไม แปลงที่ . ชนิดปา หมูไม สถานที่ . พิกัด (UTM) E N ความสูง(MSL) เมตร

tree(ไมใหญ) sapling (ไมหนุม) แปลง ความโต ความสูง หมาย แปลง จํานวน หมาย ชนิดพันธุ ชนิดพันธุ ที่ (ซม) (เมตร) เหตุ ที่ ตน เหตุ

12

13 2.2 วิธีการสํารวจดานแมลง ผีเสื้อกลางวัน

1. เสนทางสํารวจ ใชเสนทางสํารวจรวมกับการสํารวจดานพืช

2. การวางแปลงตัวอยาง 2.1 ทําการวางแปลงสํารวจบริเวณพื้นที่วางแปลงสํารวจพรรณไม 2.2 กําหนดชวงเวลาทําการสํารวจ 2 ชวงเวลา คือภาคเชา สํารวจเวลา 10.00 – 12.00 น. และ ภาคบาย สํารวจเวลา 13.00 – 15.00 น.และทําการสํารวจในชวงฤดูรอน (ระหวางเดือนมีนาคม –พฤษภาคม) และฤดูฝน(ระหวางเดือนกรกฎาคม-กันยายน) โดยหลีกเลี่ยงวันที่ฝนตก 2.3 วิธีวางแปลงสํารวจ โดยวางแปลงสํารวจ ขนาด 100 x 100 เมตร จากเสนกึ่งกลางแปลงหาง ออกไป 25 เมตร ใหกําหนดเสนทางเก็บตัวอยางผีเสื้อกลางวัน ทั้ง 2 ขาง ขางละ 1 เสน ยาวตลอดแปลงสํารวจ เสนละ 100 เมตร ดังภาพที่ 3

X X X X X X X X 25 เมตร 25 เมตร

5 เมตร 5 เมตร 5 เมตร 5 เมตร

แปลง สํารวจ ดานพืช X X X X X X X X

ภาพที่ 3 รูปแบบการวางแปลงสํารวจความชนิดของแมลง (ผีเสื้อกลางวัน)

2.4 แตละเสนทางสํารวจ ใชผูสํารวจจํานวน 2 คน ใชอุปกรณเก็บตัวอยางคือ สวิง จํานวน 2 อัน 2.5 ผูสํารวจเดินชาๆในเสนทางสํารวจ ระยะทาง 100 เมตร และเก็บผีเสื้อกลางวันทุกตัว ในรัศมี ดานละ 5 เมตรของเสนทางสํารวจ โดยทําซ้ําเหมือนกันทั้ง 2 เสนทาง และไมเก็บผีเสื้อกลางวันในระหวางการ เปลี่ยนเสนทางสํารวจทั้ง 2 เสนทางสํารวจ 14 2.6 ทําการถายภาพผีเสื้อกลางวันที่เก็บไดแตละตัวและจดบันทึกขอมูลตามตารางที่ 2

15 3. ทําการวิเคราะหขอมูล 3.1 จําแนกชนิด สกุล วงศ ของผีเสื้อกลางวัน โดยจัดทําเปนบัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวัน 3.2 คํานวณหาคาความหลากหลายทางชีวภาพ Shannon’s Index (Ludwig and Reynolds, 1988) จากสูตร

โดย = คาดัชนีความหลากชนิดของ Shonon-Wiener s = จํานวนชนิดพันธุทั้งหมด Pi = สัดสวนของจํานวนชนิดที่ i ตอผลรวมของจํานวนทั้งหมด 3.3 คํานวณหาคาความสม่ําเสมอ Shannon Evenness จากสูตร

โดย = คาความสม่ําเสมอ = คาดัชนีความหลากชนิดของ Shanon - Wiener s = จํานวนชนิดพันธุทั้งหมด 3.4 ทําแผนผัง Venn diagram เปรียบเทียบขอมูลของผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในฤดูรอนและฤดูฝน

A B W

3.5 คํานวณหาคาความคลายคลึงกัน ของ Sorensen (Indices of similslity or Community coefficients) จากสูตร ISs = X 100

โดย A = เปนจํานวนชนิดพันธุหรือคาวัดทั้งหมดในสังคม A B = เปนจํานวนชนิดพันธุหรือคาวัดทั้งหมดในสังคม B 16 W = เปนคาปรากฏรวมกันทั้งในสังคม A และสังคม B

17

ตารางที่ 2 รูปแบบตารางบันทึกขอมูลการสํารวจความหลากชนิดของแมลง (ผีเสื้อกลางวัน)

ตาราง บันทึกขอมูลผีเสื้อกลางวัน แปลงที่ . สถานที่ ตําบล อําเภอ จังหวัด . ชนิดปา พิกัด (UTM) E N ความสูง(MSL) เมตร วันที่เก็บ ฤดู .

วงศ ชื่อวิทยาศาสตร ลําดับ เวลาเก็บ ชื่อสามัญ(ไทย) ผูเก็บ ลําดับรูป หมายเหตุ (Family) (Scientific Name)

18

13

19

2.3 วิธีการสํารวจดานแมลง ผีเสื้อกลางคืนและดวงขนาดใหญ

1. เสนทางสํารวจ ใชเสนทางสํารวจรวมกับการสํารวจดานพืช

2. การวางแปลงตัวอยาง 2.1 ทําการคัดเลือกพื้นที่เพื่อวางกับดักสํารวจผีเสื้อกลางคืนและดวงขนาดใหญ จํานวน 4 จุด 2.2 กําหนดชวงเวลาทําการสํารวจ เริ่มตั้งแตเวลา 19.00 – 21.00 น.และ 06.00 น.ของวันถัดไป 2.3 กําหนดฤดูการสํารวจ ทําการสํารวจในชวงฤดูรอน และฤดูฝน โดยหลีกเลี่ยงวันที่ฝนตก 2.4 วิธีสํารวจโดยดักแสงไฟ ติดตั้งกับดักแสงไฟ โดยใชจอผาขนาด 1.20 x 1.50 เมตรและติดตั้ง หลอดไฟฟาแบบแบล็คไลท 18 - 20 วัตต(หลอดสั้น) จํานวน 1 หลอด 2.5 เปดไฟฟาทิ้งไวตลอดทั้งคืน 2.6 ทําการสํารวจดวงและผีเสื้อกลางคืน เริ่มตั้งแตเวลา 19.00 – 21.00 น. โดยสํารวจทุกๆ 15 นาที และในเวลา 06.00 น.ของอีกวัน

ภาพที่ 4 รูปแบบกับดักแสงไฟ โดยใชจอผา 2.7 บันทึกขอมูลและภาพถายดวงขนาดใหญ ที่มีความยาวมากกวา 3 เซนติเมตร และผีเสื้อ กลางคืนที่มีขนาดมากกวา 4 เซนติเมตร ที่เกาะบนจอผาตามตารางที่ 3 20

ตารางที่ 3 รูปแบบตารางบันทึกขอมูลการสํารวจความหลากชนิดของแมลง (ผีเสื้อกลางคืน)

ตารางบันทึกขอมูลแมลงจากกับดักแมลงไฟ แปลงที่ แหลงกําเนิดไฟ  ไฟฟา แบตเตอรี่ สถานที่ อําเภอ จังหวัด . ชนิดปา .พิกัด(UTM) E N ความสูง เมตร

วันที่ เวลา  19.00-21.00 น.  06.00 น. ฤดู .

ลําดับ ชนิดแมลง กxย(ซม.) รหัสภาพ เวลาที่พบ จํานวน ผูเก็บ หมายเหตุ

21

2.4 วิธีการสํารวจดานเห็ด

1. เสนทางสํารวจ ใชเสนทางสํารวจรวมกับการสํารวจดานพืช

2. การวางแปลงตัวอยาง 2.1 ทําการสํารวจเห็ดในพื้นที่แปลงสํารวจดานพืช ทุกแปลง 2.2 นับจํานวนเห็ดที่สํารวจพบในแตละแปลง บันทึกขอมูลและบันทึกภาพถายเห็นแตละชนิดที่ สํารวจพบในตารางที่ 4

3. ทําการวิเคราะหขอมูล 3.1 จําแนกชนิด สกุล วงศ ของเห็ด โดยจัดทําเปนบัญชีรายชื่อ เห็ด 3.2 คํานวณหาคาความหลากหลายทางชีวภาพ Shannon’s Index (Ludwig and Reynolds, 1988) จากสูตร

โดย = คาดัชนีความหลากชนิดของ Shonon-Wiener s = จํานวนชนิดพันธุทั้งหมด Pi = สัดสวนของจํานวนชนิดที่ i ตอผลรวมของจํานวนทั้งหมด 3.3 คํานวณหาคาความสม่ําเสมอ Shannon Evenness จากสูตร

โดย = คาความสม่ําเสมอ = คาดัชนีความหลากชนิดของ Shanon - Wiener s = จํานวนชนิดพันธุทั้งหมด 3.4 ทําแผนผัง Venn diagram เปรียบเทียบขอมูลของผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในฤดูรอนและฤดูฝน

A B W

22

23

3.5 คํานวณหาคาความคลายคลึงกัน ของ Sorensen (Indices of similslity or Community coefficients) จากสูตร ISs = X 100

โดย A = เปนจํานวนชนิดพันธุหรือคาวัดทั้งหมดในสังคม A B = เปนจํานวนชนิดพันธุหรือคาวัดทั้งหมดในสังคม B W = เปนคาปรากฏรวมกันทั้งในสังคม A และสังคม B 24

ตารางที่ 4 รูปแบบตารางบันทึกขอมูลการสํารวจความหลากชนิดของเห็ด

ความหลากชนิดของเห็ดในพื้นที่...... แปลงที่ ......

ลําดับ ชื่อทองถิ่น/ชื่อ วัสดุอาศัย/ บทบาท/หนาที่ ขอมูลดานการ จํานวน ชื่อไฟล ชนิดปา หมายเหตุ ที่ สามัญ พืชอาศัย ในระบบนิเวศ ใชประโยชน ดอก รูปภาพ

25

ภาพที่ 5 แผนที่แสดงคาพิกัดจุดวางแปลงสํารวจ 26

ระยะเวลาดําเนินการ ดําเนินโครงการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาเต็งรัง เขตรักษาพันธุสัตวปาดอยหลวง จังหวัดแพร ตั้งแตเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558 ถึง เดือน กันยายน พ.ศ.2559

21

บทที่ 3 ผลการสํารวจ

3.1 ผลการสํารวจดานพืช 1. จากการวางแปลงสํารวจในพื้นที่ปาตัวอยาง ปาเต็งรัง พบพรรณไมทั้งหมดจํานวน 21 วงศ 50 ชนิด 696 ตน (ตารางที่ 5) ดังนี้ 1.1 วงศ ANACARDIACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 4 ชนิด คิดเปน 8 % ของชนิดที่พบ 47 ตน คิดเปน 4.85 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก มะกอกปา มะมวงหัวแมงวัน รักขี้หมู รักใหญ 1.2 วงศ ANNONACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 1 ตน คิดเปน 0.10 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก นมวัว 1.3 วงศ BIGNONIACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 3 ชนิด คิดเปน 6 % ของชนิดที่พบ 15 ตน คิดเปน 1.54 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก กาสะลองคํา แคปด แคหางคาง 1.4 วงศ BURSERACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 16 ตน คิดเปน 1.65 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก มะกอกเกลื้อน 1.5 วงศ COMBRETACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 4 ชนิด คิดเปน 8 % ของชนิดที่พบ 32 ตน คิดเปน 3.30 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก ตะแบกเลือด รกฟา สมอไทย สมอภิเพก 1.6 วงศ DIPTEROCARPACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 4 ชนิด คิดเปน 8 % ของชนิดที่พบ 576 ตน คิดเปน 59.44 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก เต็ง พะยอม ยางเหียง รัง 1.7 วงศ EBENACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 3 ตน คิดเปน 0.30 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก ตับเตาตน 1.8 วงศ FABACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 10 ชนิด คิดเปน 20 % ของชนิดที่พบ 95 ตน คิดเปน 9.80 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก กระพี้จั่น กางขี้มอด เก็ดดํา เก็ดแดง คูน ประดู แสมสาร กอตลับ กอแพะ แดง 1.9 วงศ HYPERICACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 4 ตน คิดเปน 0.41 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก ติ้วเกลี้ยง 1.10 วงศ LAMIACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 3 ชนิด คิดเปน 6 % ของชนิดที่พบ 8 ตน คิดเปน 0.82 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก กาสามปก ผาเสี้ยน ตีนนก 1.11 วงศ LOGANIACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 7 ตน คิดเปน 0.72 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก แสลงใจ 22

1.12 วงศ LYTHRACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 10 ตน คิดเปน 1.03 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก ตะแบก 1.13 วงศ MALVACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 3 ชนิด คิดเปน 6 % ของชนิดที่พบ 49 ตน คิดเปน 5.05 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก งิ้วปา ปอเลียงฝาย ยาบขี้ไก 1.14 วงศ MELIACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 4 ตน คิดเปน 0.41 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก ยมหิน 1.15 วงศ MYRTACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 4 ตน คิดเปน 0.41 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก หวา 1.16 วงศ OCHNACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 7 ตน คิดเปน 0.72 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก ตาลเหลือง 1.17 วงศ OPILIACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 2 ตน คิดเปน 0.20 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก ผักหวาน 1.18 วงศ PENTAPHYLACACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่ พบ 1 ตน คิดเปน 0.10 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก สารภีปา 1.19 วงศ PHYLLANTHACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 1 ตน คิดเปน 0.10 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก เหมือดโลด 1.20 วงศ RUBIACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 6 ชนิด คิดเปน 12 % ของชนิดที่พบ 86 ตน คิดเปน 8.87 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก ขวาว แขงกวาง คํามอกหลวง ดิ๊กเดียม ยอปา หนามมะเค็ด 1.21 วงศ SAPINDACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 1 ชนิด คิดเปน 2 % ของชนิดที่พบ 1 ตน คิดเปน 0.10 %ของพรรณไมที่พบ ไดแก ตะครอ 2. จากโครงสรางทางดานตั้ง ( stratification) โดยทําการแบงชั้นเรือนยอดของแตละสังคมจาก แผนภาพการกระจายโครงสรางทางดานตั้ง (Profile Digram) ของแปลงสํารวจพรรณไม (ภาพที่ 7) ซึ่งพิจารณา จาก Prpfile Diagram, Plot Plan และคา IVI พบวา พบวาลักษณะโครงสรางสังคมพืชมี 3 ชั้นเรือนยอด ดังนี้ 2.1 ชั้นเรือนยอดบนสุด ความสูงประมาณ 16 เมตร เชน เต็ง รัง มะกอกปา เปนตน 2.2 ชั้นเรือนยอดชั้นรอง ความสูงประมาณ 10 เมตร เชน ขวาว ยอปา ติ้วเกลียง เปนตน 2.3 เรือนยอดชั้นลาง ความสูงประมาณ 6 เมตร เชน รกฟา ปอเลียงฝาย แคบิด เปนตน 3. คาความสําคัญของชนิดพันธุ (Importance Value , IV) (ตารางที่ 6) 4. คาดัชนีความหลากชนิดของพืชพันธุ ( index of species diversity) คํานวนจากสูตรของ Shanon Wiener โดยใช log ฐาน 2 มีคาดัชนีความหลากชนิด(H')เทากับ 3.585 คํานวนจากการใชโปรแกรม SPECDIV.EXE มีคาดัชนีความหลากชนิด(H')เทากับ 3.585 ซึ่งผลที่ไดมีคาเทากัน (ภาพที่ 6) 23

5. คาความสม่ําเสมอ (Shannon Evenness) คํานวนจากสูตรของ Shanon Wiener โดยใช log ฐาน 2 มีคาดัชนีความสม่ําเสมอ(J')เทากับ 0.361 คํานวนจากการใชโปรแกรม SPECDIV.EXE มีคาดัชนีความ สม่ําเสมอ(J')เทากับ 0.635 ซึ่งผลที่ไดมีคาไมเทากัน (ภาพที่ 6)

ภาพที่ 6 คาดัชนีความหลากชนิดของพืชพันธุ (index of species diversity)และคาความสม่ําเสมอ (Shannon Evenness)

24

ตารางที่ 5 ขอมูลความหลากชนิดของพรรณไมที่สํารวจพบ

ที่ วงศ(Family) สกุล(genus) ชื่อสามัญ 1 ANACARDIACEAE Buchanania lanzan Spreng. มะมวงหัวแมงวัน 2 ANACARDIACEAE Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman มะกอกปา 3 ANACARDIACEAE Semecarpus albescens Kurz รักขี้หมู 4 ANACARDIACEAE Gluta usitata (Wall.) Ding Hou รักใหญ 5 ANNONACEAE Uvaria dulcis Dunal นมวัว 6 BIGNONIACEAE Mayodendron igneum (Kurz) Kurz กาสะลองคํา 7 BIGNONIACEAE Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis แคบิด 8 BIGNONIACEAE Markhamia kerrii Spargue แคหางคาง 9 BURSERACEAE Canarium subulatum Guillaumin มะกอกเกลื้อน 10 COMBRETACEAE mucronata Craib & Hutch. ตะแบกเลือด 11 COMBRETACEAE Terminalia alata B. Heyne ex Roth รกฟา 12 COMBRETACEAE Terminalia chebula Retz. var. chebula สมอไทย 13 COMBRETACEAE Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. สมอพิเภก 14 DIPTEROCARPACEAE Shorea obtusa Wall. ex Blume เต็ง 15 DIPTEROCARPACEAE Shorea siamensis Miq. รัง 16 DIPTEROCARPACEAE Shorea roxburghii G. Don พะยอม 17 DIPTEROCARPACEAE Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. ยางเหียง 18 EBENACEAE Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don ตับเตาตน 19 FABACEAE Millettia brandisiana Kurz กระพี้จั่น 20 FABACEAE Albizia odoratissima (L. f.) Benth. กางขี้มอด 21 FABACEAE Dalbergia assamica Benth. เก็ดดํา 22 FABACEAE Dalbergia oliveri Gamble ex Prain เก็ดแดง 23 FABACEAE Cassia fistula L. คูน 24 FABACEAE Xylia xylocarpa (Roxb.) W. Theob. var. xylocarpa แดง 25 FABACEAE Pterocarpus macrocarpus Kurz ประดู

25

ตารางที่ 5 ขอมูลความหลากชนิดของพรรณไมที่สํารวจพบ (ตอ)

ที่ วงศ(Family) สกุล(genus) ชื่อสามัญ 26 FABACEAE Senna garrettiana (Craib) H. S. Irwin & Barneby แสมสาร 27 FAGACEAE Quercus kerrii Craib กอแพะ 28 FAGACEAE Quercus rex Hemsl. กอตลับ 29 HYPERICACEAE Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume ติ้วเกลี้ยง 30 LAMIACEAE Vitex peduncularis Wall. ex Schauer กาสามปก 31 LAMIACEAE Vitex pinnata L. ตีนนก 32 LAMIACEAE Vitex canescens Kurz ผาเสี้ยน 33 LOGANIACEAE Strychnos nux-vomica L. แสลงใจ 34 LYTHRACEAE Lagerstroemia cuspidata C. B. Clarke ตะแบก 35 MALVACEAE Bombax anceps Pierre งิ้วปา 36 MALVACEAE Eriolaena candollei Wall. ปอเลียงฝาย 37 MALVACEAE Grewia laevigatav Vahl ยาบขี้ไก 38 MELIACEAE Chukrasia tabularis A. Juss. ยมหิน 39 MYRTACEAE Syzygium cumini (L.) Skeels หวา 40 OCHNACEAE Ochna integerrima (Lour.) Merr. ตาลเหลือง 41 OPILIACEAE Melientha suavis Pierre ผักหวาน 42 PENTAPHYLACACEAE Anneslea fragrans Wall. สารภีปา 43 PHYLLANTHACEAE Aporosa yunnanensis (Pax & K. Hoffm) เหมือดโลด 44 RUBIACEAE Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale ขวาว 45 RUBIACEAE Wendlandia tinctoria (Roxb.) DC. แขงกวาง 46 RUBIACEAE Gardenia philastrei Pierre ex Pit. คํามอกหลวง 47 RUBIACEAE Ceriscoides turgida (Roxb.) Tirveng. ดิ๊กเดียม 48 RUBIACEAE Morinda coreia Buch.-Ham ยอปา 49 RUBIACEAE Canthium parvifolium Roxb. หนามมะเค็ด 50 SAPINDACEAE Schleichera oleosa (Lour.) Merr. ตะครอ

26

ตารางที่ 6 ขอมูลสรุปคา IVI ของพรรณไมที่สํารวจพบทั้งหมด

จํานวน จํานวน Ba density density frequency Dominance RD RF RBa IVI ชนิดไม (ตน) แปลง m2 (tree/Rai) (tree/ha) (%) (m2/ha) (%) (%) (%) (%) เต็ง 333 36 21.9579 1065.60 6660.00 360.00 439.16 34.37 34.37 10.88 79.61 รัง 229 39 8.6070 732.80 4580.00 390.00 172.14 23.63 23.63 11.78 59.05 ขวาว 33 23 1.0015 105.60 660.00 230.00 20.03 3.41 3.41 6.95 13.76 ประดู 35 18 0.7872 112.00 700.00 180.00 15.74 3.61 3.61 5.44 12.66 ปอเลียงฝาย 39 13 1.4903 124.80 780.00 130.00 29.81 4.02 4.02 3.93 11.98 แขงกวาง 29 11 0.1483 92.80 580.00 110.00 2.97 2.99 2.99 3.32 9.31 รกฟา 23 13 0.8738 73.60 460.00 130.00 17.48 2.37 2.37 3.93 8.67 กระพี้จั่น 19 12 1.8745 60.80 380.00 120.00 37.49 1.96 1.96 3.63 7.55 เก็ดดํา 17 11 0.5749 54.40 340.00 110.00 11.50 1.75 1.75 3.32 6.83 มะกอกปา 15 12 0.5807 48.00 300.00 120.00 11.61 1.55 1.55 3.63 6.72 ยอปา 12 11 0.4400 38.40 240.00 110.00 8.80 1.24 1.24 3.32 5.80 มะกอกเกลื้อน 16 7 0.1311 51.20 320.00 70.00 2.62 1.65 1.65 2.11 5.42 รักใหญ 14 8 0.4362 44.80 280.00 80.00 8.72 1.44 1.44 2.42 5.31 รักขี้หมู 11 9 0.8436 35.20 220.00 90.00 16.87 1.14 1.14 2.72 4.99 ตะแบก 10 9 0.3531 32.00 200.00 90.00 7.06 1.03 1.03 2.72 4.78 ยางเหียง 13 5 0.0773 41.60 260.00 50.00 1.55 1.34 1.34 1.51 4.19 แคบิด 10 5 0.2784 32.00 200.00 50.00 5.57 1.03 1.03 1.51 3.57 26

27

ตารางที่ 6 ขอมูลสรุปคา IVI ของพรรณไมที่สํารวจพบทั้งหมด (ตอ)

จํานวน จํานวน Ba density density frequency Dominance RD RF RBa IVI ชนิดไม (ตน) แปลง m2 (tree/Rai) (tree/ha) (%) (m2/ha) (%) (%) (%) (%) สมอพิเภก 7 7 0.0859 22.40 140.00 70.00 1.72 0.72 0.72 2.11 3.56 แสมสาร 8 6 0.3725 25.60 160.00 60.00 7.45 0.83 0.83 1.81 3.46 มะมวงหัวแมงวัน 7 6 0.2502 22.40 140.00 60.00 5.00 0.72 0.72 1.81 3.26 แดง 6 6 0.6715 19.20 120.00 60.00 13.43 0.62 0.62 1.81 3.05 ตาลเหลือง 7 5 0.1054 22.40 140.00 50.00 2.11 0.72 0.72 1.51 2.96 แสลงใจ 7 5 0.0482 22.40 140.00 50.00 0.96 0.72 0.72 1.51 2.96

ดิ๊กเดียม 7 3 0.0235 22.40 140.00 30.00 0.47 0.72 0.72 0.91 2.35 งิ้วปา 5 4 0.0254 16.00 100.00 40.00 0.51 0.52 0.52 1.21 2.24 ยาบขี้ไก 5 4 0.0865 16.00 100.00 40.00 1.73 0.52 0.52 1.21 2.24 ตีนนก 6 3 0.0176 19.20 120.00 30.00 0.35 0.62 0.62 0.91 2.14 กอแพะ 4 4 0.0367 12.80 80.00 40.00 0.73 0.41 0.41 1.21 2.03 ยมหิน 4 4 0.2567 12.80 80.00 40.00 5.13 0.41 0.41 1.21 2.03 แคหางคาง 4 3 0.0382 12.80 80.00 30.00 0.76 0.41 0.41 0.91 1.73 ติ้วเกลี้ยง 4 3 0.0534 12.80 80.00 30.00 1.07 0.41 0.41 0.91 1.73 หวา 4 3 0.5157 12.80 80.00 30.00 10.31 0.41 0.41 0.91 1.73 ตับเตาตน 3 3 0.0318 9.60 60.00 30.00 0.64 0.31 0.31 0.91 1.53 กอตลับ 3 2 0.0486 9.60 60.00 20.00 0.97 0.31 0.31 0.60 1.22 2 7

28

ตารางที่ 6 ขอมูลสรุปคา IVI ของพรรณไมที่สํารวจพบทั้งหมด (ตอ)

จํานวน จํานวน Ba density density frequency Dominance RD RF RBa IVI ชนิดไม (ตน) แปลง m2 (tree/Rai) (tree/ha) (%) (m2/ha) (%) (%) (%) (%) หนามมะเค็ด 3 2 0.1341 9.60 60.00 20.00 2.68 0.31 0.31 0.60 1.22 ผักหวาน 2 2 0.0047 6.40 40.00 20.00 0.09 0.21 0.21 0.60 1.02 คํามอกหลวง 2 1 0.0092 6.40 40.00 10.00 0.18 0.21 0.21 0.30 0.71 กางขี้มอด 1 1 0.0022 3.20 20.00 10.00 0.04 0.10 0.10 0.30 0.51 กาสะลองคํา 1 1 0.0351 3.20 20.00 10.00 0.70 0.10 0.10 0.30 0.51 กาสามปก 1 1 0.0074 3.20 20.00 10.00 0.15 0.10 0.10 0.30 0.51 เก็ดแดง 1 1 0.0081 3.20 20.00 10.00 0.16 0.10 0.10 0.30 0.51 คูน 1 1 0.0047 3.20 20.00 10.00 0.09 0.10 0.10 0.30 0.51 ตะครอ 1 1 0.0057 3.20 20.00 10.00 0.11 0.10 0.10 0.30 0.51 ตะแบกเลือด 1 1 0.0099 3.20 20.00 10.00 0.20 0.10 0.10 0.30 0.51 นมวัว 1 1 0.0076 3.20 20.00 10.00 0.15 0.10 0.10 0.30 0.51 ผาเสี้ยน 1 1 0.2771 3.20 20.00 10.00 5.54 0.10 0.10 0.30 0.51 พะยอม 1 1 0.0488 3.20 20.00 10.00 0.98 0.10 0.10 0.30 0.51 สมอไทย 1 1 0.0257 3.20 20.00 10.00 0.51 0.10 0.10 0.30 0.51 สารภีปา 1 1 0.0024 3.20 20.00 10.00 0.05 0.10 0.10 0.30 0.51 เหมือดโลด 1 1 0.0032 3.20 20.00 10.00 0.06 0.10 0.10 0.30 0.51 28

29

รวม 969.00 331.00 43.7094 3100.80 19380.00 3310.00 874.19 100.00 100.00 100.00 300.00 30

A B C

D E F

G H I

ภาพชุดที่ 1 ตัวอยางพรรณไมที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพรและจังหวัด อุตรดิตถ วงศ ANACARDIACEAE (A) มะมวงหัวแมงวัน Buchanania lanzan Spreng.; วงศ DIPTEROCARPACEAE (B-C) (B) เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume; (C) รัง Shorea siamensis Miq.; วงศ FABACEAE (D-E) (D) ยมหิน Chukrasia tabularis A. Juss.; (E)กอแพะ Quercus kerrii Craib; วงศ LOGANIACEAE (F) แสลงใจ Strychnos nux-vomica L.; วงศ RUBIACEAE (G-I) (G) ขวาว Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale; วงศ RUBIACEAE (H)แขงกวาง Wendlandia tinctoria (Roxb.) DC.; 31

วงศ RUBIACEAE (I) คํามอกหลวง Gardenia philastrei Pierre ex Pit.

32

ภาพที่ 7 Profile Digram ของแปลงสํารวจพรรณไม 30

29

31

3.2 ผลการสํารวจดานแมลง ผีเสื้อกลางวัน

ผีเสื้อกลางวัน สํารวจพบจํานวน 55 ชนิด 491 ตัว ดังนี้ 1. วงศ HESPERIDAE พบจํานวน 4 ชนิด 7 ตัว พบในฤดูรอน 1 ตัว พบในฤดูฝน 6 ตัว 2. วงศ LYCAENIDAE พบจํานวน 10 ชนิด 112 ตัว พบในฤดูรอน 59 ตัว พบในฤดูฝน 53 ตัว 3. วงศ NYMPHALIDAE พบจํานวน 27 ชนิด 194 ตัว พบในฤดูรอน 19 ตัว พบในฤดูฝน 175 ตัว 4. วงศ PAPILIONIDAE พบจํานวน 6 ชนิด 45 ตัว พบในฤดูรอน 1 ตัว พบในฤดูฝน 44 ตัว 5. วงศ PIERIDAE พบจํานวน 8 ชนิด 133 ตัว พบในฤดูรอน 34 ตัว พบในฤดูฝน 99 ตัว (ตารางที่ 7)

นําจํานวนตัวและจํานวนชนิดมาคํานวณหาคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพตามสูตรของ Shannon’s Index ( )และคาความสม่ําเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness ( ) ไดดังนี้ ในฤดูรอน คา เทากับ 3.825 คา เทากับ 0.560 ในฤดูฝน คา เทากับ 4.843 คา เทากับ 0.566 ในฤดูรอน และฤดูฝน คา เทากับ 5.011 คา เทากับ 0.561 (ภาพที่ 8)

ภาพที่ 8 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ( )และคาความสม่ําเสมอ ( )ดานแมลง ผีเสื้อกลางวัน 32

เปรียบเทียบขอมูลโดยแผนผัง Venn diagram ขอมูลในฤดูรอน 22 ชนิด ฤดูฝน 49 ชนิด ทั้งฤดู รอนและฤดูฝน 15 ฃนิด คํานวณหาคาความคลายคลึงกันโดยวิธีของ Sorensen (Indices of similslity or Community coefficients : ISs) เทากับ 42.25 % (ภาพที่ 9)

15ชนิด ฤดูฝน 34 ชนิด ISs ฤดูรอน 7 ชนิด 42.25 %

ภาพที่ 9 คาดัชนีความคลายคลึง (Iss)ดานแมลง ผีเสื้อกลางวัน 33

ตารางที่ 7 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบ

ฤดู ฤดู ที่ วงศ ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อสามัญ รอน ฝน 1 HESPERIDAE Halpe sikkima Moore, 1882 ผีเสื้อจุดเหลี่ยมสิกขิม - 1 2 HESPERIDAE Caprona agama (Moore,1858) ผีเสื้อสีตางฤดูประจุด - 2 3 HESPERIIDAE Badamia exclamationis (Fabricius,1775) ผีเสื้อหนาเข็มสีตาล 1 2 4 HESPERIIDAE Hasora chromus (Cramer,1780) ผีเสื้อหนาเข็มสวนแถบขาว - 1 5 LYCAENIDAE Catochrysops strabo (Fabricius,1793) ผีเสื้อฟาดอกถั่วธรรมดา 13 - 6 LYCAENIDAE Leptotes plinius (Fabricius,1793) ผีเสื้อฟาลาย 17 3 7 LYCAENIDAE Jamides bochus (Stoll,1782) ผีเสื้อฟาวาวสีคล้ํา 8 - 8 LYCAENIDAE Jamides celeno (Fabricius,1793) ผีเสื้อฟาวาวสีตางฤดู 16 2 9 LYCAENIDAE Chilades lajus (Stoll,1780) ผีเสื้อฟาหนอนมะนาว - 35 10 LYCAENIDAE Cigaritis syama (Moore,1884) ผีเสื้อลายขีดเงินกระบอง 3 - 11 LYCAENIDAE Loxura atymnus (Stoll,1780) ผีเสื้อแสดหางยาว - 5 12 LYCAENIDAE Castalius rosimon (Fabricius,1775) ผีเสื้อหนอนพุทราธรรมดา - 3 13 LYCAENIDAE Curetis acuta Moore,1879 ผีเสื้อหมากสุกมุมหัก 2 4 14 LYCAENIDAE Abisara geza Fruhstorfer, 1904 ผีเสื้อปกกึ่งหุบจุดเดน - 1 15 NYMPHALIDAE Parthenos sylvia Moore,1879 ผีเสื้อชางรอน - 2 16 NYMPHALIDAE Polyura eudamippus (Lathy,1898) ผีเสื้อมาขาวโคนปกดํา - 1 17 NYMPHALIDAE Polyura athamas (Moore, 1879) ผีเสื้อเหลืองหนามธรรมดา - 1 18 NYMPHALIDAE Parantica melaneus (Fruhstorfer,1910) ผีเสื้อลายเสือสีตาล - 1 19 NYMPHALIDAE Lexias pardalis (Fruhstorfer,1913) ผีเสื้ออาชดุคธรรมดา 1 - 20 NYMPHALIDAE Pantoporia hordonia (Stoll,1790) ผีเสื้อกะลาสีแดงธรรมดา - 2 21 NYMPHALIDAE Phaedyma columella (Moore,1881) ผีเสื้อกะลาสีเทาแถบสั้น 3 10 22 NYMPHALIDAE Neptis hylas Moore,1874 ผีเสื้อกะลาสีธรรมดา - 14 23 NYMPHALIDAE Euploea mulciber (Cramer,1777) ผีเสื้อจรกาเมียลาย 3 9 24 NYMPHALIDAE Euploea core Lucas,1853 ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ - 30 25 NYMPHALIDAE Mycalesis intermedia (Moore,1892) ผีเสือตาลพุมคั่นกลาง - 14 26 NYMPHALIDAE Mycalesis thailandica Aoki & ผีเสื้อตาลพุมไทย - 11 Yamaguchi, 1984 34

27 NYMPHALIDAE Mycalesis perseus (Fabricius 1775) ผีเสื้อตาลพุมธรรมดา - 12 28 NYMPHALIDAE Hypolimnas bolina (Drury, 1773) ผีเสื้อปกไขใหญ - 1 35

ตารางที่ 7 บัญชีรายชื่อแมลงที่สํารวจพบ (ตอ)

ฤดู ฤดู ที่ วงศ ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อสามัญ รอน ฝน 29 NYMPHALIDAE Junonia lemonias (Linnaeus,1758) ผีเสื้อแพนซีสีตาล 5 26 30 NYMPHALIDAE Junonia hierta (Fabricius,1798) ผีเสื้อแพนซีเหลือง - 5 31 NYMPHALIDAE Cupha erymanthis (Drury,1773) ผีเสื้อลายขี้เมี่ยง 2 - 32 NYMPHALIDAE Tirumala septentrionis (Butler,1874) ผีเสื้อลายเสือฟาเขม 1 - 33 NYMPHALIDAE Melanitis leda (Linnaeus,1758) ผีเสื้อสายัณหสีตาลธรรมดา - 7 34 NYMPHALIDAE Ypthima baldus (Fabricius,1775) ผีเสื้อสีตาลจุดตาหาธรรมดา - 4 35 NYMPHALIDAE Ypthima singorensis Aoki & ผีเสื้อสีตาลจุดตาหาเมืองสิงห - 4 Uémura,1984 36 NYMPHALIDAE Phalanta phalantha (Drury,1773) ผีเสื้อเสือดาวใหญ - 2 37 NYMPHALIDAE Danaus genutia (Cramer,1779) ผีเสื้อหนอนขาวสารลายเสือ - 5 38 NYMPHALIDAE Ariadne merione (Moore, 1884) ผีเสื้อหนอนละหุงธรรมดา - 2 39 NYMPHALIDAE Ariadne specularia (Fruhstorfer,1906) ผีเสื้อหนอนละหุงลายแถบ 1 4 40 NYMPHALIDAE Ariadne ariadne (Fruhstorfer,1899 ผีเสื้อหนอนละหุงลายหยัก 2 2 41 NYMPHALIDAE Cynitia lepidea (Fruhstorfer,1913) ผีเสื้อเคาทเทา 1 6 42 PAPILIONIDAE Papilio polytes Cramer,1775 ผีเสื้อหางติ่งธรรมดา 1 9 43 PAPILIONIDAE Papilio demoleus wallace,1865 ผีเสื้อหนอนมะนาว - 25 44 PAPILIONIDAE Graphium nomius (Moore,1878) ผีเสื้อหางดาบลายจุด - 5 45 PAPILIONIDAE Papilio helenus Linnaeus,1758 ผีเสื้อหางติ่งเฮเลน - 1 46 PAPILIONIDAE Pachliopta aristolochiae ผีเสื้อหางตุมจุดชมพู - 3 (Rothschild,1908) 47 PAPILIONIDAE Troides aeacus (C. & R. Felder, 1860) ผีเสื้อถุงทองธรรมดา - 1 48 PIERIDAE Eurema hecabe (Linnaeus,1758) ผีเสื้อเณรธรรมดา 12 25 49 PIERIDAE Eurema simulatrix (Fruhstorfer,1910) ผีเสือเณรภูเขา 3 14 50 PIERIDAE Eurema blanda (Wallace, 1867) ผีเสื้อเณรสามจุด - 3 51 PIERIDAE Ixias pyrene H.Druce, 1874 ผีเสื้อปลายปกสมเล็ก - 11 52 PIERIDAE Hebomoia glaucippe (Linnaeus,1758) ผีเสื้อปลายปกสมใหญ - 2 53 PIERIDAE Catopsilia pomona (Fabricius,1775) ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา 13 35 36

54 PIERIDAE Appias olferna Swinhoe,1890 ผีเสื้อหนอนใบกุมเสนดํา 3 6 55 PIERIDAE Cepora nerissa (Moore,1879) ผีเสื้อเหลืองสยามลายขีด 3 3

37

A B C

D E F

G H I

ภาพชุดที่ 2 ตัวอยางผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา วงศ LYCAENIDAE (A) ผีเสื้อปกกึ่งหุบจุดเดน Abisara geza Fruhstorfer, 1914 ; วงศ NYMPHALIDAE (B-G) (B) ผีเสื้อเคาทเทา Cynitia lepidea (Fruhstorfer,1913) ; (C) ผีเสื้อชางรอน ผีเสื้อขลิบมรกต Parthenos sylvia Moore,1879 ; (D) ผีเสื้อมาขาวโคนปกดํา Polyura eudamippus (Lathy,1898) ; (E) ผีเสื้อมาเขียวธรรมดา,ผีเสื้อเหลืองหนามธรรมดาPolyura athamas (Moore, 1879) ; (F) ผีเสื้อลายเสือสีตาล Parantica melaneus (Fruhstorfer,1910) ; (G) ผีเสื้ออาชดุคธรรมดา Lexias pardalis (Fruhstorfer,1913) ; วงศ PAPILIONIDAE (H-I)(H) ผีเสื้อถุงทองธรรมดา Troides aeacus (C. & R. Felder, 1860) ; (I) ผีเสื้อหางติ่งธรรมดา Papilio polytes Cramer,1775 38

39

3.3 ผลการสํารวจดานแมลง ผีเสื้อกลางคืนและดวงขนาดใหญ สํารวจพบผีเสื้อกลางคืน ดวงขนาดใหญ จํานวน 59 ชนิด 207 ตัว ดังนี้ 1. วงศ Arctiidae พบจํานวน 5 ชนิด 6 ตัว ในฤดูฝน 5 ตัว ในฤดูรอน 1 ตัว 2. วงศ Cotocalinae พบจํานวน 1 ชนิด 2 ตัว ในฤดูฝน 2 ตัว 3. วงศ Crambidae พบจํานวน 7 ชนิด 13 ตัว ในฤดูฝน 10 ตัว ในฤดูรอน 3 ตัว 4. วงศ Drepanidae พบจํานวน 3 ชนิด 6 ตัว ในฤดูฝน 6 ตัว 5. วงศ Ennominae พบจํานวน 1 ชนิด 2 ตัว ในฤดูรอน 2 ตัว 6. วงศ พบจํานวน 6 ชนิด 18 ตัว ในฤดูฝน 14 ตัว ในฤดูรอน 4 ตัว 7. วงศ Geometridae พบจํานวน 11 ชนิด 104 ตัว ในฤดูฝน 102 ตัว ในฤดูรอน 2 ตัว 8. วงศ Lasiocampidae พบจํานวน 1 ชนิด 1 ตัว ในฤดูฝน 1 ตัว 9. วงศ Noctuidae พบจํานวน 16 ชนิด 35 ตัว ในฤดูฝน 33 ตัว ในฤดูรอน 2 ตัว 10. วงศ Notodontidae พบจํานวน 2 ชนิด 9 ตัว ในฤดูฝน 9 ตัว 11. วงศ Saturniidae พบจํานวน 1 ชนิด 1 ตัว ในฤดูฝน 1 ตัว ว 12. วงศ Sphingidae พบจํานวน 4 ชนิด 7 ตัว ในฤดูฝน 5 ตัว ในฤดูรอน 2 ตัว 13. วงศ Thyrididae พบจํานวน 1 ชนิด 1 ตัว ในฤดูฝน 1 ตัว 14. วงศ Uraniidae พบจํานวน 1 ชนิด 2 ตัว ในฤดูฝน 2 ตัว (ตารางที่ 8)

นําจํานวนตัวและจํานวนชนิดมาคํานวณหาคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพตามสูตรของ Shannon’s Index ( )และคาความสม่ําเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness ( ) ไดดังนี้ ในฤดูรอน คา เทากับ 3.735 คา เทากับ 0.914 ในฤดูฝน คา เทากับ 4.635 คา เทากับ 0.612 ในฤดูรอน และฤดูฝน คา เทากับ 4.869 คา เทากับ 0.633 (ภาพที่ 10) 40

ภาพที่ 10 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ( )และคาความสม่ําเสมอ ( )ดานแมลง ผีเสื้อกลางคืน 41

เปรียบเทียบขอมูลโดยแผนผัง Venn diagram ขอมูลในฤดูรอน 14 ชนิด ฤดูฝน 51 ชนิด ทั้งฤดู รอนและฤดูฝน 5 ชนิด คํานวณหาคาความคลายคลึงกันโดยวิธีของ Sorensen (Indices of similslity or Community coefficients : ISs) เทากับ 15.38 % (ภาพที่ 11)

5 ชนิด ISs

ฤดูฝน 46 ชนิด 15.38 % ฤดูรอน 9 ชนิด

ภาพที่ 11 คาดัชนีความคลายคลึง (Iss)ดานแมลง ผีเสื้อกลางคืน

42

ตารางที่ 8 บัญชีรายชื่อแมลงที่สํารวจพบ

ฤดู ฤดู ที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ รอน ฝน 1 Arctiidae Barsine pluma (Cerny, 2009) - 1 2 Arctiidae Creatonotus transiens (Walker, 1855) - 1 3 Arctiidae Cyana quadrinotata - 1 4 Arctiidae Eilema sp. 1 - 5 Arctiidae Eressa confinis - 2 6 Cotocalinae Erebus macrops (Linnaeus) มอธตานกฮูก - 2 7 Crambidae Herpetogramma licarsisalis - 1 8 Crambidae Meroctena tullalis (Walker, 1859) - 3 9 Crambidae Omiodes indicata (Fabricius, 1775) 1 3 10 Crambidae Parotis marginata (Hampson, 1893) - 2 11 Crambidae Pygospila tyres (Cramer, 1780) - 1 12 Crambidae Lamprosema tampiusalis 1 - 13 Crambidae 1 - 14 Drepanidae Cyclidia orciferaria (Walker, 1860) - 2 15 Drepanidae Teldenia specca (Wilkinson, 1967) - 2 16 Drepanidae - 2 17 Ennominae 2 - 18 Erebidae Hydrillodes sp. - 1 19 Erebidae Hypocala biarcuata (Walker, 1858) - 1 20 Erebidae dotata (Fabricius, 1794) - 2 21 Erebidae Pandesma anysa (Guenée, 1852) 1 3 22 Erebidae Bamra mundata (Walker, 1858) 2 7 23 Erebidae Plecoptera sp 1 - 24 Geometridae Biston bengaliaria (Guenée, 1857) - 1 25 Geometridae Cleora determinata ผีเสื้อหนอนคืบเปลือกไมลายคลื่น - 4 26 Geometridae Cleora alienaria (Walker 1860) - 5 43

27 Geometridae Cusiala boarmoides (Moore,1887) 1 5 28 Geometridae Hemithea tritonaria 1 - 29 Geometridae Hyposidra talaca (Walker, 1860) ผีเสื้อหนอนคืบ - 10 30 Geometridae Peratophyga beta (Holloway, 1994) - 9

44

ตารางที่ 8 บัญชีรายชื่อแมลงที่สํารวจพบ (ตอ)

ฤดู ฤดู ที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ รอน ฝน 31 Geometridae Pingasa chlora - 3 32 Geometridae Semiothisa eleonora ผีเสื้อหนอนคืบทองเงิน - 53 33 Geometridae Zamarada denticulata ผีเสื้อหนอนคืบ - 2 34 Geometridae - 10 35 Lasiocampidae Radhica holoxantha 1 - 36 Noctuidae Bastilla crameri (Moore) - 2 37 Noctuidae Episparina tortuosalis (Moore, 1867) - 5 38 Noctuidae Mocis undata (Fabricius) - 2 39 Noctuidae Rema tetraspila Walker - 2 40 Noctuidae Achaea janata (Linnaeus) - 3 41 Noctuidae Asofa ficus (Fabricius) - 1 42 Noctuidae Asota caricae มอธนกเคาแถบคาด - 3 43 Noctuidae Callyna sp. - 2 44 Noctuidae Chrysodeixis chalcites (Esper, 1789) - 1 45 Noctuidae Episparina sp - 2 46 Noctuidae Neochera dominia (Cramer, 1780) ผีเสื้อมอธบุงดําขาวโพด 1 5 47 Noctuidae Oxyodes scrobiculata (Fabricius) - 1 48 Noctuidae Sasunaga sp. - 1 49 Noctuidae - 1 50 Noctuidae Amyna punctum 1 - 51 Noctuidae Callopistria sp - 2 52 Notodontidae Allata sikkima (Moore, 1879) - 2 53 Notodontidae Phalera grotei (Moore, 1859) - 7 54 Saturniidae Attacus atlas Linnaeus,1758 ผีเสื้อหนอนกระทอน - 1 55 Sphingidae Ambulyx sericeipennis 2 - 56 Sphingidae Cephonodes hylas - 1 57 Sphingidae Craspedortha porphyria (Butler, 1876) - 3 45

58 Sphingidae Psilogramma increta (Walker, 1865) - 1 59 Thyrididae Striglina sp - 1 60 Uraniidae Orudiza protheclaria - 2

46

A B C

D E F

G H I

ภาพชุดที่ 3 ตัวอยางผีเสื้อกลางคืนและดวงขนาดใหญที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาดอยหลวง วงศ Drepanidae (A) Cyclidia orciferaria (Walker, 1860); วงศ Erebidae (B-C) (B) Artena dotata (Fabricius, 1794); (C) Pandesma anysa (Guenée, 1852); (D) Radhica holoxantha; วงศ Noctuidae (E-H) (E) Bastilla crameri (Moore); (F) Episparina tortuosalis (Moore, 1867); (G) Mocis undata (Fabricius); (H) Rema tetraspila Walker; วงศ Sphingidae (I) Ambulyx sericeipennis 47

3.4 ผลการสํารวจดานเห็ด

เห็ด สํารวจพบจํานวน 65 ชนิด 953 ดอก ดังนี้ อันดับ Agarcales 20 ชนิด 348 ดอก อันดับ Boletales 4 ชนิด 119 ดอก อันดับ Cantharellales 3 ชนิด 129 ดอก อันดับ Hymenochaetales 9 ชนิด 30 ดอก อันดับ Pezizales 1 ชนิด 2 ดอก อันดับ Phallales 1 ชนิด 1 ดอก อันดับ Polyporales 16 ชนิด 232 ดอก อันดับ Russulales 8 ชนิด 56 ดอก อันดับ Xylariales 3 ชนิด 36 ดอก (ตารางที่ 9)

นําจํานวนดอกและจํานวนชนิดมาคํานวณหาคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพตามสูตรของ Shannon’s Index ( )และคาความสม่ําเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness ( ) ไดดังนี้ ในฤดูรอน คา เทากับ 3.254 คา เทากับ 0.423 ในฤดูฝน คา เทากับ 4.484 คา เทากับ 0.470 รวมทั้งฤดู รอนและฤดูฝน คา เทากับ 5.034 คา เทากับ 0.509 (ภาพที่ 12)

48

ภาพที่ 12 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ( )และคาความสม่ําเสมอ ( )ดานเห็ด 49

เปรียบเทียบขอมูลโดยแผนผัง Venn diagram ขอมูลในฤดูรอน 17 ชนิดฤดูฝน 57 ชนิด ทั้งฤดู รอนและฤดูฝน 9 ชนิด คํานวณหาคาความคลายคลึงกันโดยวิธีของ Sorensen (Indices of similslity or Community coefficients : ISs) เทากับ 24.43 % (ภาพที่ 13)

9 ชนิด ฤดูฝน 48 ชนิด ISs ฤดูรอน 8 ชนิด 24.43 %

ภาพที่ 13 คาดัชนีความคลายคลึง (Iss)ดานเห็ด

50

ตารางที่ 9 บัญชีราชชื่อเห็ดที่สํารวจพบ

ที่ อันดับ วงศ ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อสามัญ วัสดุ/พืช จํานวนดอก อาศัย ฝน รอน 1 Agarcales Pluteaceae Amanita hemibapha เห็ดระโงกเหลือง ดิน 14 - 2 Agarcales Pluteaceae Amanita princeps เห็ดระโงกขาว ดิน 8 - 3 Agarcales Pluteaceae Amanita hemibapha เห็ดระโงกเหลือง ดิน 9 - 4 Agarcales Pluteaceae Amanita princeps เห็ดระโงกขาว ดิน 4 - 5 Agarcales Tricholomataceae ขอนไม 7 - 6 Agarcales Tricholomataceae Termitomyces microcarpus เห็ดขาวตอก ขอนไม 32 - 7 Agarcales Tricholomataceae Termitomyces sp. เห็ดโคนปลวก ขอนไม 7 - 8 Agaricales Agaricaceae Agaricus trisulphuratus Berk. เห็ดกระดุมทองเหลือง ดิน 2 - 9 Agaricales Agaricaceae ดิน 1 - 10 Agaricales Clavariaceae Clavulinopsis miyabeana เห็ดปะการังพวงแสด ขอนไม 28 - 11 Agaricales Cortinariaceae Cortinarius sp. ดิน 54 - 12 Agaricales Marasmiaceae Marasmius sp. 1 ขอนไม 2 - 13 Agaricales Marasmiaceae Marasmius sp. 2 ขอนไม 18 - 14 Agaricales Marasmiaceae Marasmius sp. 3 ขอนไม 5 - 15 Agaricales Marasmiaceae Marasmius sp. 4 ขอนไม 1 - 16 Agaricales Marasmiaceae Marasmiellus candidus เห็ดเกล็ดขาว ขอนไม 3 - 17 Agaricales Nidulariaceae Cyathus striatus เห็ดรังนก ขอนไม 21 9 18 Agaricales Schizophallceae Schizophyllum commune Fr. เห็ดตีนตุกแก ขอนไม 37 29 19 Agaricales Tricholomataceae Termitomyces indicus เห็ดโคนปลวกขาวตอก ขอนไม 49 - ยอดน้ําตาล 20 Agaricales Tricholomataceae Hygrocybe coccineocrenata เห็ดประทัดจีน ขอนไม 8 - 21 Boletales Boletaceae Boletus pallidus Frost. เห็ดผึ้งขาว ขอนไม 5 - 22 Boletales Sclerodermataceae Astraeus hygrometricus (Pers.) เห็ดเผาะ ขอนไม 43 22 Morgan 23 Boletales Sclerodermataceae Sclaroderma sp. ขอนไม 46 - 24 Boletales ดิน 3 - 25 Cantharellales Cantharellaceae Craterellus aureus เห็ดขมิ้นนอย ดิน 79 - 26 Cantharellales Cantharellaceae Craterellus cibarius เห็ดขมิ้นใหญ ดิน 9 - 27 Cantharellales Clavulinaceae Clavulina cristata เห็ดปะการังหงอนไก ขอนไม 41 - 51

28 Hymenochaetales Hymenochaetaceae Phellinus sp. 1 เห็ดหิ้ง ขอนไม 2 -

ตารางที่ 9 บัญชีราชชื่อเห็ดที่สํารวจพบ (ตอ)

วัสดุ/พืช จํานวนดอก ที่ อันดับ วงศ ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อสามัญ อาศัย ฝน รอน 29 Hymenochaetales Hymenochaetaceae Phellinus sp. 2 เห็ดหิ้ง ขอนไม 3 - 30 Hymenochaetales Hymenochaetaceae Auricularia fuscosuccinea เห็ดหูหนูเสวย ขอนไม 8 - (Mont.) Henn. 31 Hymenochaetales Hymenochaetaceae Auricularia auricula (Hook) เห็กหูหนู ขอนไม 4 - Underw) 32 Hymenochaetales Hymenochaetaceae Auricularia polytricha (Mont.) เห็กหูหนู ขอนไม 7 - Sacc. 33 Hymenochaetales 1 ขอนไม - 2 34 Hymenochaetales 2 ขอนไม - 1 35 Hymenochaetales 3 ขอนไม - 1 36 Hymenochaetales 4 ขอนไม - 2- 37 Pezizales Pyronemataceae ดิน 2 - 38 Phallales Gomphaceae Gomphus sp. ดิน 1 - 39 Polyporales Polyporaceae Fomes sp ดิน 1 - 40 Polyporales Polyporaceae Trichaptum byssogenum เห็ดแปรงมะพราว ขอนไม 5 2 (Jungh.) Ryv. 41 Polyporales Polyporaceae Trichaptum sp. ขอนไม - 28 42 Polyporales Polyporaceae Daedalaposis confragosa เห็ดหิ้งแดง ขอนไม 4 - 43 Polyporales Polyporaceae Polyporus sp.1 ขอนไม - 3 44 Polyporales Polyporaceae Lenzites sp.1 ขอนไม 2 - 45 Polyporales Polyporaceae Lentinus sp. 1 ขอนไม 2 - 46 Polyporales Polyporaceae Lentinus sp. 2 ขอนไม 29 - 47 Polyporales Polyporaceae Microporus xanthopus (Fr.) เห็ดกรวยทองตากู ขอนไม 17 21 Kuntze 48 Polyporales Polyporaceae Lenzites polychrous เห็ดขอน ขอนไม 23 57 49 Polyporales Polyporaceae Pycnoporus sanguneus เห็ดขอนแดงรูเล็ก ขอนไม 5 - 50 Polyporales Polyporaceae Hexagonia sp.1 ขอนไม 1 9 52

51 Polyporales Polyporaceae Hexagonia sp.2 ขอนไม - 11 52 Polyporales Polyporaceae Pycnoporus cinnabarinus เห็ดขอนแดงรูใหญ ขอนไม 2 - (Jacq.) P. Karst. 53 Polyporales Polyporaceae Genoderma sp. ขอนไม - 4 ตารางที่ 9 บัญชีราชชื่อเห็ดที่สํารวจพบ (ตอ)

วัสดุ/พืช จํานวนดอก ที่ อันดับ วงศ ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อสามัญ อาศัย ฝน รอน 54 Polyporales Polyporaceae Microporus sp. เห็ดพัด ขอนไม 2 4 55 Russulales Russulaceae Lactarius sp. ดิน 4 - 56 Russulales Russulaceae Lactarius glaucescens crossl. เห็ดขา ดิน 2 - 57 Russulales Russulaceae Russula densifolia (Secr.) Gill เห็ดถานเล็ก ดิน 4 - 58 Russulales Russulaceae Russula nigricans (Bull.) Fr. เห็ดถานใหญ ดิน 1 - 59 Russulales Russulaceae Russula alboareolata Hongo. เห็ดน้ําแปง ดิน 18 - 60 Russulales Russulaceae Russula emitica (Schaeff.&Fr.) เห็ดน้ําหมาก ดิน 20 - S.F.Gray 61 Russulales Russulaceae Lactarius sp. เห็ดฟาน ดิน 3 - 62 Russulales Russulaceae Lactarius piperatus (Scop ex เห็ดขิง ดิน 4 - Fr.) S.F.G. 63 Xylariales Xylariaceae Xylaria sp. 1 ขอนไม 25 - 64 Xylariales Xylariaceae Xylaria sp. 2 ขอนไม 5 3 65 Xylariales Xylariaceae Xylaria polymorpha ดิน 3 -

53

A B C

D E F

G H I

ภาพชุดที่ 4 ตัวอยางเห็ดที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานานฝงขวา อันดับ Agarcales (A-D) (A) เห็ดระโงกเหลือง Amanita hemibapha อันดับ Agaricales (B) เห็ดโคนปลวกขาวตอกยอดน้ําตาล Termitomyces indicus อันดับ Agaricales (C) เห็ดตีนตุกแก Schizophyllum commune Fr. อันดับ Agaricales (D) เห็ดรังนก Cyathus striatus อันดับ Cantharellales (E-F) (E) เห็ดขมิ้นนอย Craterellus aureus อันดับ Cantharellales (F) เห็ดปะการังหงอนไก Clavulina cristata อันดับ Polyporales (G-H) (G) เห็ดกรวยทองตากู Microporus xanthopus (Fr.) Kuntze อันดับ Polyporales (H) เห็ดขอน Lenzites polychrous 54

อันดับ Xylariales (I) Xylaria polymorpha 55

บทที่ 4 สรุปและวิจารณผลการสํารวจ

จากการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ เขตรักษาพันธุสัตวปาลําน้ํานาน ฝงขวา จังหวัดแพรและจังหวัดอุตรดิตถ โดยทําการวางแปลงสํารวจในพื้นที่ปาเต็งรัง สํารวจเก็บขอมูล จํานวน 4 แปลงตัวอยาง การสํารวจดานดานพืช พบพรรณไมทั้งหมดจํานวน 21 วงศ 50 ชนิด 696 ตน โดยวงศที่สํารวจ พบมากที่สุดคือ วงศ DIPTEROCARPACEAE สํารวจพบพรรณไมจํานวน 4 ชนิด คิดเปน 8% ของชนิดที่พบ 576 ตน คิดเปน 59.44%ของพรรณไมที่พบ ไดแก เต็ง พะยอม ยางเหียง รัง ตนเต็ง (Shorea obtusa Wall. ex Blume) วงศ DIPTEROCARPACEAE เปนพรรณไมที่สํารวจพบมากที่สุด จํานวน 333 ตน และมีคาความสําคัญ ของชนิดพันธุมากที่สุด เทากับ 79.61 % คาดัชนีความหลากชนิดของพืชพันธุ ( index of species diversity) คํานวนจากสูตรของShanon Wiener โดยใช log ฐาน 2 มีคาดัชนีความหลากชนิด( )เทากับ 3.585 คํานวนจาก การใชโปรแกรม SPECDIV.EXE มีคาดัชนีความหลากชนิด( )เทากับ 3.585 ซึ่งผลที่ไดมีคาเทากันคาความ สม่ําเสมอ (Shannon Evenness) คํานวนจากสูตรของ Shanon Wiener โดยใช log ฐาน 2 มีคาดัชนีความ สม่ําเสมอ( )เทากับ 0.361 คํานวนจากการใชโปรแกรม SPECDIV.EXE มีคาดัชนีความสม่ําเสมอ( )เทากับ 0.635 ซึ่งผลที่ไดมีคาไมเทากัน การสํารวจดานแมลง ผีเสื้อกลางวัน สํารวจพบจํานวน 55 ชนิด 491 ตัววงศ HESPERIDAE พบจํานวน 4 ชนิด 7 ตัว พบในฤดูรอน 1 ตัว พบในฤดูฝน 6 ตัว วงศ LYCAENIDAE พบ จํานวน 10 ชนิด 112 ตัว พบในฤดูรอน 59 ตัว พบในฤดูฝน 53 ตัว วงศ NYMPHALIDAE พบจํานวน 27 ชนิด 194 ตัว พบในฤดูรอน 19 ตัว พบในฤดูฝน 175 ตัว วงศ PAPILIONIDAE พบจํานวน 6 ชนิด 45 ตัว พบในฤดูรอน 1 ตัว พบในฤดูฝน 44 ตัว วงศ PIERIDAE พบจํานวน 8 ชนิด 133 ตัว พบในฤดูรอน 34 ตัว พบในฤดูฝน 99 ตัว นําจํานวนตัวและจํานวนชนิดมาคํานวณหาคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพตามสูตรของ Shannon’s Index ( )และคาความสม่ําเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness ( ) ไดดังนี้ ในฤดูรอน คา เทากับ 3.825 คา เทากับ 0.560 ในฤดูฝน คา เทากับ 4.843 คา เทากับ 0.566 ในฤดูรอนและฤดูฝน คา เทากับ 5.011 คา เทากับ 0.561 เปรียบเทียบขอมูลโดยแผนผัง Venn diagram ขอมูลในฤดูรอน 22 ชนิด ฤดูฝน 49 ชนิด ทั้งฤดูรอนและฤดูฝน 15 ชนิด คํานวณหาคาความคลายคลึงกันโดยวิธีของ Sorensen (Indices of similslity or Community coefficients : ISs) เทากับ 42.25 % การสํารวจดานผีเสื้อกลางคืนและดวงขนาดใหญ สํารวจพบผีเสื้อกลางคืน ดวงขนาดใหญ จํานวน 59 ชนิด 207 ตัว วงศ Arctiidae พบจํานวน 5 ชนิด 6 ตัว ใน 56

ฤดูฝน 5 ตัว ในฤดูรอน 1 ตัว วงศ Cotocalinae พบจํานวน 1 ชนิด 2 ตัว ในฤดูฝน 2 ตัว วงศ Crambidae พบจํานวน 7 ชนิด 13 ตัว ในฤดูฝน 10 ตัว ในฤดูรอน 3 ตัว วงศ Drepanidae พบจํานวน 3 ชนิด 6 ตัว ในฤดู ฝน 6 ตัว ตัว วงศ Ennominae พบจํานวน 1 ชนิด 2 ตัว ในฤดูรอน 2 ตัว วงศ Erebidae พบจํานวน 6 ชนิด 18 ตัว ในฤดูฝน 14 ตัว ในฤดูรอน 4 ตัว วงศ Geometridae พบจํานวน 11 ชนิด 104 ตัว ในฤดูฝน 102 ตัว ในฤดูรอน 2 ตัว วงศ Lasiocampidae พบจํานวน 1 ชนิด 1 ตัว ในฤดูฝน 1 ตัว วงศ Noctuidae พบจํานวน 16 ชนิด 35 ตัว ในฤดูฝน 33 ตัว ในฤดูรอน 2 ตัว วงศ Notodontidae พบจํานวน 2 ชนิด 9 ตัว ในฤดูฝน 9 ตัว วงศ Saturniidae พบจํานวน 1 ชนิด 1 ตัว ในฤดูฝน 1 ตัว วงศ Sphingidae พบจํานวน 4 ชนิด 7 ตัว ใน ฤดูฝน 5 ตัว ในฤดูรอน 2 ตัว วงศ Thyrididae พบจํานวน 1 ชนิด 1 ตัว ในฤดูฝน 1 ตัว วงศ Uraniidae พบ จํานวน 1 ชนิด 2 ตัว ในฤดูฝน 2 ตัว นําจํานวนตัวและจํานวนชนิดมาคํานวณหาคาดัชนีความหลากหลายทาง ชีวภาพตามสูตรของ Shannon’s Index ( )และคาความสม่ําเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness ( ) ไดดังนี้ ในฤดูรอน คา เทากับ 3.735 คา เทากับ 0.914 ในฤดูฝน คา เทากับ 4.635 คา เทากับ 0.612 ในฤดูรอนและฤดูฝน คา เทากับ 4.869 คา เทากับ 0.633 เปรียบเทียบขอมูลโดยแผนผัง Venn diagram ขอมูลในฤดูรอน 14 ชนิด ฤดูฝน 51 ชนิด ทั้งฤดูรอนและฤดูฝน 5 ชนิด คํานวณหาคาความ คลายคลึงกันโดยวิธีของ Sorensen (Indices of similslity or Community coefficients : ISs) เทากับ 15.38 % การสํารวจดานเห็ด สํารวจพบจํานวน 65 ชนิด 953 ดอก ดังนี้ อันดับ Agarcales 20 ชนิด 348 ดอก อันดับ Boletales 4 ชนิด 119 ดอก อันดับ Cantharellales 3 ชนิด 129 ดอก อันดับ Hymenochaetales 9 ชนิด 30 ดอก อันดับ Pezizales 1 ชนิด 2 ดอก อันดับ Phallales 1 ชนิด 1 ดอก อันดับ olyporales 16 ชนิด 232 ดอก อันดับ Russulales 8 ชนิด 56 ดอก อันดับ ylariales 3 ชนิด 36 ดอก นําจํานวนดอกและ จํานวนชนิดมาคํานวณหาคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพตามสูตรของ Shannon’s Index ( )และคา ความสม่ําเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness ( ) ไดดังนี้ ในฤดูรอน คา เทากับ 3.254 คา เทากับ 0.423 ในฤดูฝน คา เทากับ 4.484 คา เทากับ 0.470 รวมทั้งฤดูรอนและฤดูฝน คา เทากับ 5.034 คา เทากับ 0.509 เปรียบเทียบขอมูลโดยแผนผัง Venn diagram ขอมูลในฤดูรอน 17 ชนิด ฤดูฝน 57 ชนิด ทั้งฤดูรอนและฤดูฝน 9 ชนิด คํานวณหาคาความคลายคลึงกันโดยวิธีของ Sorensen (Indices of similslity or Community coefficients : ISs) เทากับ 24.43 % 57

ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ

๑. สนับสนุนเอกสาร คูมือ หนังสือ สําหรับทําการวิเคราะหและจําแนกขอมูล เพื่อใหได ขอมูลที่ถูกตองและทันสมัย ๒. อุปกรณการเก็บขอมูล เชน กลองถายภาพที่มีคุณภาพ เพื่อการบันทึกภาพที่ชัดเจน สามารถเก็บรายละเอียดไดครบถวน

58

เอกสารอางอิง

กองคุมครองพันธุสัตวปาและพืชปาตามอนุสัญญา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. ๒๕๕๐. คูมือ ศึกษาพันธุพืชปา เลมที่ ๒. ชุมนุมสหกรณกี่เกษตรแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ. เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์และจารุจินต นภีตะภัฏ. 2551. คูมือแมลง. สํานักพิมพสารคดี, กรุงเทพฯ. เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. 2559. คูมือแมลง. สํานักพิมพสารคดี, กรุงเทพฯ. ไซมอน การดเนอร, พินดา สิทธิสุนทร และวิไลวรรณ อนุสารสุนทร. 2543. ตนไมเมืองเหนือ:คูมือศึกษาพรรณ ไมยืนตนในปาภาคเหนือประเทศไทย. บริษัท อมรินทรบุคเซ็นเตอร จํากัด, กรุงเทพฯ. เต็ม สมิตินันทน. 2544. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. สวนพฤกษศาสตรปาไม สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม, กรุงเทพฯ นิวัฒ เสนาะเมือง. 2553. เห็ดเมืองไทย : ความหลากหลายและการใชประโยชน . หจก.ยูนิเวอรแซล กราฟ ฟค แอนด เทรดดิ้ง, กรุงเทพฯ สะอาด บุญเกิด, จเร สดากร, ทิพยพรรณ สดากร. 2543. ชื่อพรรณไมในเมืองไทย พ.ศ.๒๕๔๓ . บริษัท อนิ เมท พริ้นท แอนด ดีไซน จํากัด, กรุงเทพฯ สุรชัย ชลดํารงกุล ศุภชัย แพเทพยและพงษเทพ ทับเที่ยง. 2542. ผีเสื้อ คูมือสํารวจและสื่อความหมาย ธรรมชาติ. บริษัท สทรีท พริ้นติ้ง จํากัด, กรุงเทพฯ สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2556. คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปา ปองกันอุทกภัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรุงเทพฯ สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2557. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย เต็ม สมิติ นันทน ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2557. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรุงเทพฯ สํานักวิจัยอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2553. บันทึกผีเสื้อ. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ สํานักวิจัยอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2553. บันทึกผีเสื้อ พิมพครั้งที่ 2. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุ พืช. กรุงเทพฯ สํานักวิจัยอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2554. คูมือการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่อนุรักษ . กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ. สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2556. คูมือการสํารวจแมลงในเสนทางศึกษาธรรมชาติ. กรมอุทยาน แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2551ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญในประเทศไทย. .กรุงเทพฯ สํานักอนุรักษและจัดการตนน้ํา. 2555. คูมือการเพาะชํากลาไมทองถิ่นเพื่อใชปลูกฟนฟูปาตนน้ําลําธาร . กรม อุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ. 59

Anong Chandrasrikul et al. 2011. Mushrooms (Basidiomycetes) In Thailand. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning Ministry of Natural Resources and Environmen, Bangkok Pisuth Ek-amnuay. 2012. Butterfiles of Thailand. Bangkok http://www.dnp.go.th/botany/mplant/index.aspx 60

คณะผูดําเนินการสํารวจ

ที่ปรึกษา นายสุรชัย อจลบุญ ผูอํานวยการสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 13 (แพร) นายกฤษดา หอมสุด หัวหนากลุมงานวิชาการ นายสัมพันธ ใจสุดาหัวหนาเขตรักษาพันธุสัตวปา ลําน้ํานานฝงขวา จังหวัดแพรและจังหวัดอุตรดิตถ

คณะผูดําเนินการศึกษา (ตามคําสั่งสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 13 (แพร) ที่ 960/2558 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2558 เรื่อง ใหเจาหนาที่ออกไปปฏิบัติงานสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพ และการเผยแพร สรางจิตสํานึกและ การมีสวนรวมในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ ) นางประไพพรรณ ไพศาลศักดิ์ หัวหนาคณะทํางาน นายบรรดาศักดิ์ ปองศรี คณะทํางาน นางสุพรรณี ปองศรี คณะทํางาน นางสาวบัณฑิยา เสียดขุนทด คณะทํางาน นายพสุนนท สบายสุข คณะทํางาน วาที่ร.ต.หญิงเพ็ญณัฏฐา ฮอยไชย คณะทํางาน นายทรงคุณ ลิ้มวิเศษศิลป คณะทํางาน นายสนิท ผาแกว คณะทํางาน นายสมพงค วงศอุติ คณะทํางาน นาบบัญชา วรรณกุล คณะทํางาน นายเกษม ประกาศ คณะทํางาน นายเขมรัตน ปองสกัด คณะทํางาน

61

กลุมงานวิชาการ สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 13 (แพร)