THAI JOURNAL OF BOTANY 4 (1): 1-13. 2012. บทความวิชาการ วารสารพฤกษศาสตรไทย 4 (1): 1-13. 2555. ไลเคนกับการใชเปนยารักษาโรค Lichen for Traditional Medicine ขวัญเรือน พาปอง* KHWANRUAN PAPONG* ภาควชาชิ ววี ทยาและพิ พิ ธภิ ณฑั เห ดท็ มี่ ฤทธี ทางยาิ์ คณะวทยาศาสตริ มหาวทยาลิ ยมหาสารคามั จ.มหาสารคาม 44150 Department of Biology and Medicinal Mushroom Museum, Faculty of Science, Mahasarakham University, Maha Sarakham 44150, Thailand บทคัดยอ. ไลเคนเปนสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรเห็ดรามีรูปแบบการเจริญเติบโตที่เปนเอกลักษณ คือ การเจริญเติบโตอยูรวมกันแบบพึ่งพาอาศัยระหวางสาหรายและรา จากรายงานการใชไลเคนเปนยา พบในรายงานของภูมิปญญาของชาวอินเดีย (traditional Indian medicine) ภูมิปญญาของชาวจีน (traditional Chinese medicine) และภูมิปญญาของชาวยุโรป (homeopathic and western medical herbals) โดยพบวาหลายโรคท มี่ การใชี ไลเคนในการร กษาั เชน โรคไขขออ กเสบั โรคผมรวง โรคทองผ กู โรคไต โรคเรื้อน โรคคอหอยอักเสบ โรคพิษสุนัขบา โรคติดเชื้อ โรคพยาธิและการติดเชื้อหนอนพยาธิ มีรายงานการนำสารธรรมชาติที่ไลเคนสรางขึ้นไปใชเปนยาในภูมิปญญาทองถิ่นอยางกวางขวาง เชน กรดอุสนิค (usnic acid) และสารแอทราโนริน (atranorin) นอกจากนี้มีการทดสอบสารธรรมชาติของ ไลเคนในสัตวทดลอง เชน เพื่อยับยั้งจุลชีพกอโรค ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลลมะเร็ง และเพิ่ม ประสิทธิภาพใหกับภูมิคุมกัน ดังนั้นสารธรรมชาติที่ไลเคนสรางขึ้นมามีรายงานถึงศักยภาพการนำไป ใชประโยชนเปนยารักษาโรคอยางกวางขวาง ABSTRACT. Lichens are a unique life style in the Kingdom Fungi. They are a symbiosis between algae or cyanobacteria and fungi. They have been used in traditional medicine; including traditional Indian medicine, traditional Chinese medicine, homeopathy and western medical herbals. The diverse diseases for which lichens have been used include arthritis, alopecia, constipation, kidney diseases, leprosy, pharyngitis, rabies, infections, worms and infestation. The secondary metabolites, such as usnic acid and atranorin have been reported * Corresponding author: [email protected] Received: 24 February 2012 Accepted: 15 June 2012 2 ขวัญเรือน พาปอง to be bioactive in traditional medicine. Animal investigations on secondary metabolites of lichens have demonstrated antimicrobial, antitumor and immunomodulatory activity. Therefore, the secondary compounds in lichens have high potential of medical use. คำสำคัญ: ไลเคน, ภูมิปญญา KEYWORDS: Lichen, traditional medicine บทนำ medicine) หรือเรียกวา อายุรเวช (ayurveda) จากภูมิปญญาของชาวจีน (traditional Chinese สงม่ิ ชี วี ตทิ เร่ี ยกวี า ไลเคน จดอยั ในอาณาจู กรั medicine) และภูมิปญญาของชาวยุโรป เห็ดรา (Kingdom Fungi) สวนใหญอยูใน (homeopathic and western medical herbals) ดิวิชั่นแอสโคไมโคตา (Division Ascomycota) (Agelet & Vallës, 2003) คำวา “ไลเคน” ในการ รายงานวามากถึงรอยละ 98 (ประมาณ 13,500 รักษาโรคซึ่งตรงกับภาษากรีกในคำวา “ลีโพรัส ชนิด) และอยูดิวิชั่นเบสิดิโอไมโคตา (Division (leprous)” ซึ่งอางถึงการรักษาโรคผิวหนังโดย Basidiomycota) พบเพียงรอยละ 0.3 (ประมาณ วธิ การทำใหี ผ วกำพริ าหล ดลอกออกซุ งใช่ึ ประโยชน 50 ชนิด) นอกจากนี้เปนราในกลุมแอนามอฟก ในเรองทำให่ื ผ วสวยอิ อนเยาว ได เช นก นั นอกจากน้ี (Anamorphic fungi) อีกรอยละ 1.5 (ประมาณ มีรายงานการใชไลเคน Lobaria pulmonaria 200 ชนิด) (Hawksworth, 1988; Honegger, รักษาโรคปอดและโรคที่เกี่ยวกับสมองโดยใช 1992; Hawksworth & Honegger, 1994; Kirk ไลเคน Parmelia sulcata (Rizzini, 1952) และ et al., 2001) จากไลเคนเกือบ 20,000 ชนิด มรายงานการรี กษาโรคดั ซี านจากไลเคน Xanthoria พบวาไลเคนหลายชนิดมีศักยภาพในการใชเปน parietina (Bown, 2001) ยารักษาโรคไดและไลเคนบางชนิดสามารถ หลังจากนั้นพบรายงานในศตวรรษที่ 18 ใช รับประทานได (Chevallier, 1996) เนื่องจาก ไลเคน Evernia furfuracea เปนยาครั้งแรก ไลเคนบางชนิดผลิตสารธรรมชาติที่เปนพิษ (Launert, 1981) นอกจากนม้ี ไลเคนอี กหลายชนี ดิ (toxic substance) ดังนั้นการนำไลเคนไป ที่มีหลักฐานอางอิงวาใชรักษาอาการไอ รักษา รับประทานหรือใชรักษาโรคตองพึงระวังและ อาการโรคตัวเหลือง รักษาอาการโรคกลัวน้ำ หลีกเลี่ยงชนิดที่สรางสารธรรมชาติที่เปนพิษ และรักษาอาการโรคผมรวง (Pereira, 1853) ดวยเชนกัน (Agelet & Vallës, 2003) และจากบันทึกการใชสมุนไพรเปนยารักษาโรค พบการใชไลเคนอีกหลายชนิดในสกุล Cladonia, หลักฐานภูมิปญญาการใชไลเคนเปนยา Evernia, Lobaria, Parmelia, Peltigera, จากรายงานพบหลักฐานการใชประโยชน Pertusaria, Physia, Rocella, Usnea และ จากไลเคนตั้งแตศตวรรษที่ 15 จากบันทึกของ Xanthoria (Perez-Llano, 1944b) ภูมิปญญาของชาวอินเดีย (traditional Indian ไลเคนกับการใชเปนยารักษาโรค 3 จากหลักฐานภูมิปญญาการใชไลเคนเปนยา การใชสารธรรมชาต จากไลเคนยิ บยั งแบคท้ั เรี ยี รกษาโรคั พบวาม การใชี ไลเคนหลายชน ดในสกิ ลุ กอใหเกิดโรค Peltigera คนทองถิ่นในประเทศไอรแลนด ใช ความพิเศษของสารธรรมชาติจากไลเคน P. aphthosa เปนยาถายพยาธิ (vermifuge) และ ที่สามารถนำไปใชเปนยาปฏิชีวนะ (antibiotic) P. canina เปนยาระบายอยางออน (laxative) สรางความตื่นเตนใหกับนักวิทยาศาสตรตั้งแต (ตารางที่ 1) นอกจากนี้ยังพบสูตรการใชไลเคน คริสตศตวรรษที่ 15 (Lawrey, 1986) ในป ค.ศ. เปนยารักษาโรคพิษสุนัขบาหรือโรคกลัวน้ำ โดย 1944 Burkholder และคณะ ไดริเริ่มคนควา ใชไลเคน Peltigera sp. หมักกับพริกไทยดำไว เกยวก่ี บการนำสารธรรมชาตั จากไลเคนไปใชิ ย บยั ง้ั เปนเวลา 4 วัน หลังจากนั้นนำมาผสมกับนมอุน แบคทเรี ียกอใหเกดโรคิ จากผลการทดสอบความ ½ ไพน (pint) ใชดื่มเพื่อรักษาอาการของโรค สามารถในการนำไปใชเป นยาปฏ ชิ วนะี จากไลเคน ดังกลาว 42 ชนิด พบวา 27 ชนิด มีความสามารถยับยั้ง การเจริญเติบโตของแบคทีเรียได (Burkholder หลักฐานการใชสารธรรมชาติจากไลเคน et al., 1944; Bylicka, 1952; Vartia, 1973) เปนยา สารธรรมชาติจากไลเคนที่มีรายงานการนำ สารธรรมชาติจากไลเคนหรือสารทุติยภูมิ ไปใชเปนยาปฏิชีวนะมากที่สุดสารหนึ่งคือ กรด (lichen metabolites) มีการใชประโยชนอยาง อุสนิค (Mordraksi, 1956; Shibamoto & Wei, แพรหลายในการยับยั้งจุลชีพตางๆ เชน ยับยั้ง 1984; Rowe et al., 1991; Dobrescu et al., แบคทีเรียกอใหเกิดโรค (anti-mycobacterial) 1993; Abo-Khatwa et al., 1996; Rowe et al., ตานไวรัส (antiviral) ยับยั้งอาการอักเสบหรือ 1999; Cocchietto, et al., 2002) นอกจากนี้ ใชเปนยาตานการอักเสบ (anti-inflammatory) ยงพบวั าม สารธรรมชาตี อิ กหลายชนี ดทิ ม่ี รายงานี ยาระงับปวด (analgesic) ยาลดไข (antipyretic) การใชเป นยาปฏ ชิ วนะี เชน กรดวลพู นิ คิ (vulpinic ยับยั้งการเพิ่มจำนวนเซลล (anti-proliferative) acid) และแอทราโนรนิ (atranorin) แตพบรายงาน และยับยั้งความเปนพิษตอเซลลสิ่งมีชีวิตที่มีผล การใชสารแอทราโนรินนอยกวา (Lawrey, 1986; จากการใชยาหรือสารเคมี (cytotoxic effects) Lauterwein et al., 1995) สารธรรมชาตจากไลเคนิ เหนได็ ว าป จจ บุ นมั การนำสารธรรมชาตี จากไลเคนิ ในกลุมที่เปนกรด เชน กรดอุสนิค กรดอีเวอมิค มาใชประโยชนเพิ่มขึ้นมากมาย แตอยางไรก็ตาม (evermic acid) และ กรดวูลพินิค พบรายงาน ยังไมพบการตรวจสอบและรายงานมากนัก การยบยั งการเจร้ั ญเติ บโตของแบคทิ เรี ยแกรมบวกี เกยวก่ี บการนำสารธรรมชาตั จากไลเคนไปใชิ เป น ไดดี เชน Staphylococcus aureus, Bacillus ยารักษาอาการของโรคตางๆ จนหายขาด subtilis และ B. megaterium แตพบวาสาร (Müller, 2002) การนำสารจากไลเคนไปใช ในกลุมที่เปนกรดนี้ไมสามารถยับยั้งการเจริญ ประโยชนมีขอจำกัดอาจเนื่องมาจากกลุมของ เตบโตของแบคทิ เรี ยแกรมลบไดี เชน Escherichia สารทุติยภูมิที่ไลเคนแตละชนิดสรางขึ้นมา coli และ Pseudomonas aeruginosa (Lawrey, (Boustie & Grube, 2005) 1986) 4 ขวัญเรือน พาปอง นอกจากนย้ี งพบวั าสารสก ดจากไลเคนทั สก่ี ดั การใชสารธรรมชาติจากไลเคนเปนสารตาน ดวยตัวทำละลายที่แตกตางกัน เชน อะซิโตน อนุมูลอิสระ (acetone) แอลกอฮอล (alcohol) คลอโรฟอรม สารธรรมชาตจากไลเคนหลายชนิ ดมิ รายงานี (chloroform) ไดเอทิลอีเทอร (diethyl ether) การนำไปใชเปนสารตานอนุมูลอิสระ เชน สาร เอทานอล (ethanol) เมทานอล (methanol) และ ฟโนลิค (phenolic) สารเมทิลออเซนิลเลต ปโตรเลียมอีเทอร (petroleum ether) จากไลเคน (methyl orsenillate) กรดออเซนิลลิค (orsenillic หลายชนิดสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของ acid) สารแอทราโนรนิ กรดเลคาโนรคิ (lecanoric แบคทีเรียไดหลายชนิด (ตารางที่ 2) acid) และกรดสติกติก (stictic acid) โดย สารธรรมชาติดังกลาวพบในไลเคน Cetraria การใชสารธรรมชาติจากไลเคนยับยั้งเชื้อรา islandica (Gülcin et al., 2002) Parmotrema กอใหเกิดโรค stuppeum (Jayapraksha & Rao, 2000) และ สารธรรมชาติจากไลเคนหลายชนิดมีฤทธิ์ Usnea articulata (Lohèzic-Le Dèvèhat et al., ในการยับยั้งเชื้อรากอใหเกิดโรคได เชน สาร 2007) พาไรติน (parietin) สารแอนทราควิโนน (anthraquinone) โดยใชตัวทำละลายเมทานอล การใชสารธรรมชาติจากไลเคนตานเซลล (Manojlovic et al., 2005) นอกจากนี้ยังมี มะเร็ง รายงานการนำสารธรรมชาติจากไลเคนไปยับยั้ง การศึกษาการใชสารธรรมชาติจากไลเคน เชื้อรากอโรคพืชบางชนิด ไดแก Microsporum ตอตานเซลลมะเร็งในระดับหองปฏิบัติการพบวา gypseum, Trichophyton mentagrophytes มีสารหลายชนิดมีความสามารถในการยับยั้ง และ T. rubrum โดยใชสารสกัดจากไลเคน การเจริญของเซลลมะเร็งได เชน สารแพนนาริน Protousnea poeppigii และ Usnea florida (pannarin) สารออซนอลิ (orcinol) สารเทนนออรู นิ var. rigida ซึ่งประกอบดวยสารธรรมชาติ เชน (tenuiorin) และสารเมทิลออเซลลิเนต (methyl กรดไอโซไดวาริคาติค (iso-divaricatic acid) orsellinate) จากไลเคน Peltigera leucophlebia 5-โพรพลิเรสออคินอล (5-propylresorcinol) นอกจากนี้พบวาสารเทนนูออรินสามารถยับยั้ง กรดไดวารคาติ คิ (divaricatic acid) และกรดอสนุ คิ การเจริญเติบโตของเซลลมะเร็งเตานม (breast cancer) เซลลมะเร งต็ บอั อน (pancreatic cancer) การใชสารธรรมชาต จากไลเคนยิ บยั งเช้ั อไวร้ื สั และเซลลมะเร็งลำไสใหญ (colon cancer) ใน รายงานการใชสารธรรมชาติจากไลเคน เซลลไลน (cell lines) (Ingolfsdottir et al., ยับยั้งเชื้อไวรัสมีคอนขางนอย สารธรรมชาติ 2002) สารสกัดไบแอนทราควิโนน ไกลโคไซด ชนิดที่นำไปทดสอบ คือ กรดอุสนิคสกัดจาก (bianthraquinone glycosides) และสารคอเลเฟลค ไลเคน Teloschistes chrysophthalmus และ ซโนไซดิ (colleflaccinosides) จากไลเคน Collema สารพาไรตินสกัดจากไลเคน Ramalina celastri flaccidum มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล (Fazio et al., 2007) มะเรงได็ เช นก นั (Rezanka & Dembitsky, 2006) ไลเคนกับการใชเปนยารักษาโรค 5 การใชสารธรรมชาติจากไลเคนเปนสารเพิ่ม (Huneck & Yoshimura, 1996; Mathey et al., ประสิทธิภาพภูมิคุมกัน 2002; Papadopoulou et al., 2007) แตอย างไร ก็ตาม ยังมีการรายงานการพบสารธรรมชาติ ปจจ บุ นมั การใชี สารจากธรรมชาต หลากหลายิ ชนิดใหมๆ เพิ่มขึ้น อาจเนื่องมาจากการศึกษา ชนิด เพื่อเปนสารกระตุนภูมิคุมกันในรางกาย วิจัยเกี่ยวกับไลเคนไดรับความสนใจเพิ่มมากขึ้น ซึ่งนักวิทยาศาสตรและคนทั่วไปใหความสนใจ
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages124 Page
-
File Size-