P6-60-T4.Pdf

P6-60-T4.Pdf

ก ค ำน ำ ทรัพยากรป่าอนุรักษ์ของประเทศไทยจัดว่ามีความหลากหลายทางชีวภาพสูงทั้งด้านพืช สัตว์ รวมถึงเห็ดราต่างๆ แต่ในปัจจุบันฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์หลายแห่งยัง ขาดอยู่อีกมาก กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จึงได้จัดท าโครงการส ารวจความหลากหลาย ทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ขึ้น โดยให้หน่วยงานที่ตั้งอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ออกส ารวจในพื้นที่ป่า อนุรักษ์ในความรับผิดชอบ ซึ่งส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 ได้ด าเนินการส ารวจความหลากหลายทาง ชีวภาพ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้าง ในปีงบประมาณ 2560 เพื่อส ารวจและศึกษาความ หลากหลายของระดับถิ่นที่อยู่อาศัย ระบบนิเวศ โครงสร้าง องค์ประกอบของชนิดพันธุ์ในแต่ละสังคม เพื่อน ามาจัดท าบัญชีรายชื่อพรรณพืช แมลง และเห็ดรา และรวบรวมข้อมูลพันธุ์พืชที่เป็นพืชประจ าถิ่น พืชเฉพาะถิ่น พืชที่หายาก พืชที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เป็นต้น อุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้าง ในปัจจุบันยังเป็นผืนป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลาย ทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่แบคทีเรีย เห็ดรา แมลง พืชพรรณ สัตว์ป่า อยู่ร่วมกันเป็นสังคมได้อย่าง กลมกลืน ดังนั้นจึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องท าการศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพไว้ เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการด าเนินการในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงน าไปพัฒนาการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ให้ยั่งยืนสืบไป การศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ คือ การศึกษาการมีความผิดแผกแตกต่าง ระหว่างสิ่งมีชีวิตจากทุกแหล่ง สามารถจ าแนกได้ 3 ระดับ คือ ระดับพันธุกรรม ระดับชนิดพันธุ์ และระดับ นิเวศ โดยโครงการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้างในครั้งนี้ เป็น การศึกษาความหลากหลายในระดับชนิดพันธุ์ ได้แก่ ความหลากหลายของพืช แมลง และ เห็ดรา ซึ่ง การส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในโครงการนี้จะมีการก าหนดพื้นที่ส ารวจ การก าหนดแปลง ตัวอย่างพืชพรรณเพื่อใช้เป็นตัวแทนส าหรับการส ารวจ และศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ การ คัดเลือกแปลงตัวอย่างดังกล่าวต้องเป็นไปตามหลักวิชาการและต้องเป็นตัวแทนที่ดีของพื้นที่นั้นๆ เพื่อ ให้ผลการศึกษามีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด รายงานฉบับนี้ เป็นผลการด าเนินงานโครงการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ อุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้าง จังหวัดสงขลา ประจ าปีงบประมาณ 2560 หวังว่าจะเป็นประโยชน์ใน การศึกษาค้นคว้าวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และเป็นข้อมูลในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป 62 สรุปผลการศึกษา จากผลการส ารวจผีเสื้อกลางวันที่พบในพื้นที่ป่าดิบชื้นในอุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้าง พบผีเสื้อ กลางวันทั้งหมด ทั้งหมด 521 ตัว 105 ชนิด 5 วงศ์ วงศ์ที่พบจ านวนชนิดผีเสื้อกลางวันมากที่สุด คือ วงศ์ผีเสื้อ ขาหน้าพู่ (Nymphalidae) 56 ชนิด วงศ์ที่พบจ านวนชนิดผีเสื้อกลางวันน้อยที่สุด คือ วงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (Hesperiidae) 4 ชนิด ผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุด ได้แก่ ผีเสื้อเณรภูเขา (Eurema simulatrix tecmessa) จ านวน 35 ตัว ความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวันพบในฤดูร้อน 82 ชนิด มากกว่าในฤดูฝนที่พบ 66 ชนิด ค่า ดัชนีความหลากหลายชนิดพันธุ์ในพื้นเท่ากับ 4.1864 ในฤดูฝนและฤดูร้อนเท่ากับ 3.7738 และ 3.9921 ตามล าดับ ค่าความสม่ าเสมอรวมของพื้นที่เท่ากับ 0.8995 ในฤดูฝนและฤดูร้อนเท่ากับ 0.9007 และ 0.9059 ตามล าดับ และค่าดัชนีความคล้ายคลึงกันของผีเสื้อกลางวันในฤดูร้อนและฤดูฝน เท่ากับ 58.11 ็ ค่า ดัชนีความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันในเส้นทางที่ 3 มีค่ามากที่สุด คือ 3.7042 และเส้นทางที่ 2 มีค่าน้อย สุด คือ 3.3464 ค่าความสม่ าเสมอของเส้นทางที่ 4 มีค่ามากที่สุด คือ 0.9295 และเส้นทางที่ 1 มีค่าความ สม่ าเสมอน้อยสุด คือ 0.8874 ส่วนการใช้กับดักแสงไฟ พบผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด 156 ตัว 112 ชนิด 15 วงศ์ และพบด้วงทั้งหมด 17 ตัว 7 ชนิด 4 วงศ์ 63 4.3 ผลการส ารวจความหลากหลายของเห็ด จากการส ารวจความหลากหลายของชนิดเห็ดบริเวณป่าดิบชื้น อุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้าง พบ เห็ดจ านวนรวมทั้งหมด 17 ตัวอย่าง สามารถจ าแนกได้จ านวน 15 ตัวอย่าง ซึ่งจัดอยู่ใน 10 สกุล 8 วงศ์ ในจ านวนนี้สามารถจ าแนกได้ถึงระดับชนิดเพียง (species) 1 ชนิด จ าแนกได้ถึงแค่ระดับสกุล (Genus) 10 ตัวอย่าง และจ าแนกได้ถึงแค่ระดับวงศ์ (Family) 6 ตัวอย่าง ส่วนเห็ดอีก 2 ตัวอย่าง ไม่สามารถ จ าแนกได้ โดยพบเห็ดในวงศ์ Polyporaceae, Russulaceae และวงศ์ Stereaceae มากที่สุดตามล าดับ บัญชีรายชื่อเห็ดที่พบในป่าดิบชื้น อุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้าง (ตารางที่ 6) จากการน าจ านวนเห็ดที่พบมาค านวณหาค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ โดยวิธี Shannon - Wiener index (H′) และค่าความสม่ าเสมอ Shannon Evenness (J′) มีค่าเท่ากับ 1.5836 และ 0.5479 ตามล าดับ และเมื่อคิดในแต่ละแปลงศึกษา ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิด พันธุ์ (H′) และค่าความสม่ าเสมอ (J′) จ าแนกตามรายแปลง พบว่า แปลงที่ 1 เท่ากับ 1.2234 และ 0.6287 ตามล าดับ แปลงที่ 2 เท่ากับ 0.6077 และ 0.4384 ตามล าดับ แปลงที่ 3 เท่ากับ 1.0590 และ 0.9639 ตามล าดับ แปลงที่ 4 เท่ากับ 0.6222 และ 0.3198 ตามล าดับ (ภาพที่ 15) ภาพที่ 15 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ Shannon - Wiener index (H′) และค่า ความสม่ าเสมอ Shannon Evenness (J′) ของเห็ดที่พบในแต่ละแปลงส ารวจใน ป่าดิบชื้นอุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้าง 4 แปลง 64 A B C D E F ภาพชุดที่ 5 ตัวอย่างเห็ดที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้าง A วงศ์ Lentinaceae (A) A. Lentinus sp. ; วงศ์ Polyporaceae (B-E) B. เห็ดกรวยทองตากู (Microporus xanthopus) , C. Coriolus sp. , D. Polyporus sp. , E. Polyporaceae 1. ; วงศ์ Russulaceae (F) F. Russula sp. ตารางที่ 6 บัญชีรายชอื่ เห็ดที่ส้ารวจพบในพื้นที่อทุ ยานแห่งชาตเิ ขาน้าค้าง วัสดอุ าศัย/ ล้าดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อันดับ ชนิดป่าที่พบ จ านวนดอก พืชอาศัย 1 Cantharellaceae 1 - Cantharellaceae Cantharellales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 2 - Gadoderma sp. Gadodermataceae Polyporales ตน้ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 3 - Phellinus sp. Hymenochaetaceae Hymenochaetales ตน้ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 4 - Lentinus sp. Lentinaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 5 - Coriolus sp. Polyporaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 6 กรวยทองตากู Microporus xanthopus Polyporaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 51 7 - Polyporus sp. Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 8 - Trametes sp. Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 9 Polyporaceae 1 - Polyporaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 35 10 Polyporaceae 2 - Polyporaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 11 Polyporaceae 3 - Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 12 Polyporaceae 4 - Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 13 - Russula sp. Russulaceae Russulales พื้นดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 15 14 Russulaceae1 - Russulaceae Russulales พื้นดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 15 - Stereum ostrea Stereaceae Russulales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 20 65 ตารางที่ 6 (ตอ่ ) วัสดอุ าศัย/ ล้าดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อันดับ ชนิดป่าที่พบ จ านวนดอก พืชอาศัย 16 เหด็ นวิ้ มอื คนตาย Xylaria sp. Xylariaceae Xylariales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 15 17 Unk 1 - - - ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 16 18 Unk 2 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 210 ค าอธบิ าย : 1. ประเภทป่า ตามการจัดจ าแนกตามหนังสือป่าของประเทศไทย (ธวชั ชัย สันตสิ ุข, 2550) 2. การเรียงล าดบั เรียงตามชอื่ อนั ดบั และวงศ์เป็นหลัก (A-Z) 66 67 บทที่ 5 สรุปและวิจารณ์ผลการส ารวจ ความหลากหลายของพรรณไม้ จากการศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้ป่าดิบชื้น จ านวน 4 แปลง ในพื้นที่รวม 0.4 เฮกแตร์ พบว่ามี ความหลากหลายของพรรณพืชทั้งหมด 172 ชนิด เป็นชนิดที่มีความโตขนาดเส้นรอบวงตั้งแต่ 15 เซนติเมตรขึ้นไป จ านวน 131 ชนิด (รวมกับที่ไม่สามารถจ าแนกชนิดได้ 31 ชนิด) ใน 82 สกุล 38 วงศ์ มีจ านวนต้นไม้ทั้งหมด 500 ต้น หรือความหนาแน่นเฉลี่ย 1,250 ต้น/เฮกแตร์ มีพื้นที่หน้าตัดเฉลี่ย 93.37 ตร.ม/เฮกแตร์ ในระดับวงศ์ พรรณไม้ในวงศ์ DIPTEROCARPACEAE มีจ านวนต้นมากที่สุด (73 ต้น) รองลงมาคือวงศ์ FABACEAE ( 59 ต้น) วงศ์ FAGACEAE ( 33 ต้น) ตามล าดับ พรรณไม้ในวงศ์ DIPTEROCARPACEAE มีความเด่น สูงสุด (26.03 ตร.ม/เฮกแตร์) รองลงมาคือ วงศ์ CLUSIACEAE (12.91 ตร.ม/เฮกแตร์) และวงศ์ FABACEAE (7.83 ตร.ม/ เฮกแตร์) ตามล าดับ พรรณไม้ในวงศ์ DIPTEROCARPACEAE มีความหลากหลายชนิดมากที่สุด คือ 9 ชนิด รองลงมา คือ ANACARDIACEAE EUPHORBIACEAE และ PHYLLANTHACEAE จ านวน 8 ชนิด วงศ์ ANNONACEAE และ MELIACEAE และ จ านวน 7 ชนิด ตามล าดับ ในระดับชนิด ต้นสยาเหลือง (Shorea curtisii) มีค่าความส าคัญ (IV) สูงที่สุดคือ 18.93 รองลงมาคือ เนียง นก (Archidendron bubalinum) คือ 12.00 ชะมวง(Garcinia cowa) คือ 11.86 แซะ(Callerya atropurpurea) คือ 10.11 และ ยางยูง (Dipterocarpus grandiflorus) คือ 8.56 ตามล าดับ ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ในวงศ์ Dipterocarpace เป็น กลุ่มของต้นไม้ที่มีค่าพื้นที่หน้าตัด (BA) มาก ส่วนชนิดที่มีความหนาแน่นสูงสุดคือ เนียงนก 320 ต้น/เฮกแตร์รอง ลงมาคือ ก่อหมู(Castanopsis javanica) 200 ต้น/เฮกแตร์ และ แซะ 180 ต้น/เฮกแตร์ ตามล าดับ ชนิดที่มีค่า ความเด่นสูงสุดคือ สยาเหลือง 12.37 ตร.ม/เฮกแตร์ รองลงมา คือ ชะมวง 9.81 ตร.ม/เฮกแตร์ และ พลาส้ม (Microcos laurifolia) 5.86 ตร.ม/เฮกแตร์ ตามล าดับ ไม้หนุ่มมีจ านวนทั้งหมด 111 ชนิด จ านวน 399 ต้น ชนิดที่มีค่าความส าคัญสูงที่สุดคือ มะปริง (Bouea oppositifolia) 9.39 รองลงมา ตะเคียนราก (Hopea pierrei) 8.78 และ สยาเหลือง 8.28 ตามล าดับซึ่ง เป็นการทดแทนตามธรรมชาติตามชีพลักษณ์ของพืช และตามความเหมาะสมของพื้นที่ ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพรรณไม้ (Index of species diversity) ในแปลงตัวอย่างขนาด 20x50 ม. ทั้ง 4 แปลง โดยวิธี Shannon-Wiener index (H’) มีค่าเท่ากับ 6. 353 และค่าความสม่ าเสมอ (Shannon Evenness) มีค่าเท่ากับ 0.709 68 ความหลากหลายของแมลง จากผลการส ารวจผีเสื้อกลางวันที่พบในพื้นที่ป่าดิบชื้นในอุทยานแห่งชาติเขาน้ าค้าง พบ ผีเสื้อกลางวันทั้งหมด 521 ตัว 105 ชนิด 5 วงศ์ วงศ์ที่พบจ านวนชนิดผีเสื้อกลางวันมากที่สุด คือ วงศ์ ผีเสื้อขาหน้าพู่ (Nymphalidae) พบจ านวน 56 ชนิด 244 ตัว วงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (Hesperiidae) พบ จ านวนชนิดผีเสื้อกลางวันน้อยที่สุด คือ 4 ชนิด เนื่องจากผีเสื้อในวงศ์นี้มีขนาดเล็กและสีทึบ อีกทั้งบิน ได้เร็วจึงท าให้จับได้ยาก แต่ในธรรมชาติอาจมีจ านวนมาก ผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุด ได้แก่ ผีเสื้อเณร ภูเขา (Eurema simulatrix tecmessa) ที่อยู่ในวงศ์ Pieridae พบจ านวน 35 ตัว อาจเกี่ยวข้องกับพืชอาหารที่ท าให้ เกิดการกระจายของผีเสื้อในวงศ์นี้ ความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวันพบในฤดูร้อน 82 ชนิด พบในฤดูฝน 66 ชนิด และในฤดูร้อนจะพบจ านวนตัวมากกว่า ค่าดัชนีความหลากหลายชนิดพันธุ์ในพื้นที่เท่ากับ 4.1864 ในฤดูฝนและฤดูร้อนเท่ากับ 3.7738 และ 3.9921 ตามล าดับ ค่าความสม่ าเสมอรวมของ พื้นที่เท่ากับ 0.8995 ในฤดูฝนและฤดูร้อนเท่ากับ 0.9007 และ 0.9059 ตามล าดับ และค่าดัชนีความ คล้ายคลึงกันของผีเสื้อกลางวันในฤดูร้อนและฤดูฝน เท่ากับ 58.10 ็ ค่าดัชนีความ หลากหลายของผีเสื้อกลางวันในเส้นทางที่ 3

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    98 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us