รวมบทคัดย่อ 36 ภายใต้หัวข้อ การอนุรักษ์สัตว์ป่าไร้พรมแดน (Transboundary wildlife conservation) จัดโดย คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กรมป่าไม้ องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ 17-18 ธันวาคม 2558 ณ ห้องประชุมจงรักปรีชานนท์ ตึกวนศาสตร์ 72 ปี คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ สนับสนุนเงินทุนในการจัดสัมมนาโดย แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า-ประเทศไทย WWF ประเทศไทย บริษัท บางจากปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) สมาคมศิษย์เก่าวนศาสตร์ สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย สารบัญ หน้า คํากล่าวรายงานการสัมมนา 36 โดย คณบดีคณะวนศาสตร์ I คํากล่าวเปิด 36 โดย รักษาการแทนรองอธิการบดีอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ II คําประกาศเกียรติคุณ คําสดุดี คําไว้อาลัย III 36 15 รวมบทคัดย่อ(ภาคบรรยาย) 22 รวมบทคัดย่อ(ภาคโปสเตอร์) 65 ประกาศคณะวนศาสตร์ ดําเนินการ 36 76 หนังสืออนุมัติการ 36 81 I คํากล่าวรายงานพิธีเปิด การสัมมนา 36 โดย คณบดีคณะวนศาสตร์ เรียน รักษาการแทนรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองคณบดี หัวหน้าภาควิชา คณาจารย์ ข้าราชการ และ 36 การระดมความคิด ร่วมกัน สร้างสรรค์เครือข่ายความร่วมมือในการอนุรักษ์สัตว์ป่าและถ่ายทอดหลักการอนุรักษ์ คณะ วนศาสตร์เอง 80 และได้ทําการศึกษาวิจัยและ การเรียนการสอนด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่ามาอย่างยาวนาน และยั ป่าเมืองไทย การระลึกถึงโอกาสในวันสําคัญ คือวันคุ้มครองสัตว์ป่า 26 ธันวาคมขอทุกปีอีกด้วย ได้ ง "การอนุรักษ์สัตว์ป่าไร้พรมแดน" ให้สอด เข้าสู้ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community – AEC) โดยการเชิญ นักวิจัยสัตว์ป่าของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มานําเสนอผลการวิจัย จะได้ แลก บทเรียน ในการวางแผนการอนุรักษ์สัตว์ป่า ของของภูมิ ในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป คณะกรรมการจัดงาน สัมมนาฯ ได้มีมติร่วมกันว่าควรมอบรางวัลโครงการด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่าดีเด่น ให้แก่ “โครงการ ปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทยคืนสู่ธรรมชาติ” ประกอบ ด้วยการบรรยายพิเศษ การเสนอผลงานทาง วิชาการภาคบรรยาย 20 ภาคโปสเตอร์มากกว่า 10 ญญา ตรี โท และเอก (Young wildlifer) ของ มหาวิทยาลัยต่างๆ ทรัพยากรธรรมชาติเขตร้อนแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สมาคมศิษย์เก่าวนศาสตร์ WWF- ประเทศไทย สมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า-ประเทศไทย สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศ ไทยและบริษัท บางจากปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 36 ขอขอบคุณ ท่านรักษาการแทนรองอธิการบดี รักษาการแทนรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้มากรุณา กล่าวเปิดการสัมมนาทางวิชาการและมอบรางวัลให้กับโครงการด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่าดีเด่นต่อไป ครับ II คํากล่าวเปิดการสัมมนาทางวิชาการ 36 โดย รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝ่ายบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรียน คณบดี อาจารย์ คณะกรรมการจัดการสัมมนา ข้ารา ผมได้ฟังคํากล่าวรายงานของคณบดีคณะวนศาสตร์ ใน 36 "การอนุรักษ์สัตว์ป่าไร้พรมแดน" ถือ ได้ว่าเป็นการตอบสนองต่อการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community – AEC) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยมิใช่มองแต่ความร่วมมือกันในการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงอย่าง เดียว และได้เห็นผลผลิต วารสาร จํานวนมาก ทุกปีและผมขอแสดงว่ายินดีและ โครงการด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่าดีเด่น คือ “โครงการปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทยคืนสู่ธรรมชาติ” ของ 36 และขออํานวยพรให้ท่านผู้เข้าร่วมการสัมมนา และครอบครัว จงประสบแต่ความสุขความเจริญใน III โครงการด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่าดีเด่น โครงการปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทยคืนสู่ธรรมชาติ โครงการปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทยคืนสู่ธรรมชาติ องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ นกกระเรียน Sarus crane จํานวนมากตามทุ่งนา หนองบึง ปัจจุบันนกกระเรียนจัดเป็นสัตว์ป่าสงวน 1 ใน 15 ชนิดของ ประเทศไทยตาม พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 จากรายงานล่าสุด มีการสํารวจนก 500-1500 ได้รับบริจาคจากประชาชนในบริเวณชายแดนไทยลาว-เขมร ในช่วงปี พ.ศ. 2532-2540 จํานวน 33 7 .ศ. 2540 สวนสัตว์ ปัจจุบันมีนกกระเรียนพันธุ์ไทยมากกว่า 100 ละ . 50 150 สามารถปล่อยลูกนกกระเรียนให้หากินในธรรมชาติได้ ได้แก่การฝึกลูกนกกระเรียนโดยวิธี isolation-rearing technique (International Crane Foundation : ICF) รัฐวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา และประสบ ICF ให้ความ ช่วยเห สําเร็จ จากความสามารถในการเพาะขยายพันธุ์นกกระเรียนและฝึกลูกนกการดังกล่าว จึงทําให้ เห็นนก กระเรียนพั ลักษณะทางชีววิทยาของนกกระเรียน นกกระเรียนพันธุ์ไทย (Eastern Sarus Crane) จัดอยู่ในวงศ์นกกระเรียน (Genus Grus) ชนิด พันธุ์ Grus antigone 3 ชนิดพันธุ์ย่อย (NPWRC, 2007) คือ 1. Grus antigone antigone นกกระเรียนสายพันธุ์อินเดีย (Indian Sarus Crane) พบกระจาย อยู่ในแถบประเทศอินเดีย เนปาล ปากีสถาน และบังคลาเทศ 2. Grus antigone sharpie นกกระเรียนสายพันธุ์ไทยหรือสายพันธุ์เอเชียตะวันออก (Eastern Sarus Crane) และมาเลเซีย 3. Grus antigone gillae นกกระเรียนสายพันธุ์ออสเตรเลีย (Australian Sarus Crane) พบ ทางตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงบางส่วนของรัฐควีนแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย นกกระเรียน Sarus มีขนาดเล็กกว่าเพศผู้ 5-12 กิโลกรัม ความยาวปากจรดปลายหาง 180-220 ซม. อินเดีย แต่มีขนาดใหญ่กว่าสายพันธุ์ออสเตรเลีย (NPWRC, 2007) ขนปกคลุมลําตัวมีสีเทาเข้ม ส่วนบนเป็นแผ่นหนังสีส้มสดหรือสีแดงเข้ม ขามีสีแดง (International Crane Foundation, 2007) 4-5 จับคู่แบบผัวเดียวเมียเดียว (Monogamous) ะสาหร่ายต่างๆ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ เป้าหมาย : 30% ของ วัตถุประสงค์ : 1) ธรรมชาติของประเทศไทย 2) พัฒนาเทคนิคและวิธีการในการปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทยคืนสู่ ธรรมชาติ 3) ติดตามและประเมินศักยภาพของประชากรนกกระเรียนพันธุ์ไทยหลัง การปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ 4) ฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพของนักวิทยาศาสตร์ไทยในการฝึกลูกนก กระเรียนโดยวิธี isolation-rearing technique 5) หล่งการเรียนรู้ และประชาสัมพันธ์การปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ 6) 7) มิตรต่ 1) เปรียบเทียบในการประเมิน 2) กระเรียน 3) 10 ตัว 4) ทําการฝึกกลุ่มประชากรทดลองด้วยวิธี Isolation technique (imprinting) International Crane Foundation (ICF) รัฐวิสคอนซิน ประเทศ สหรัฐอเมริกา และสหพันธรัฐรัสเซีย 5) (release) ปรับตัวให้เคยชินกับสภาพแวดล้อม 6) 7) ติดตามประชากรภายหลังปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ 8) ประชาสัมพันธ์ และจัดสร้างเครือข่ายทางด้านการอนุรักษ์ โดยดําเนินงานร่วมกับ 9) สนับสนุนให้เกษตรกรและ 10) ระยะเวลาดําเนินงาน 1 ตุลาคม 2551 ถึงปัจจุบัน หน่วยงานหลัก : องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ หน่วยงานสนับสนุน : 1. สํานักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2. 3. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 4. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 5. มหาวิทยาลัยมหิดล 6. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 7. สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย 8. 9. โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ 10. มูลนิธิอนุรักษ์นกกระเรียนสากล งบประมาณสนับสนุนโครงการ เป็นจํานวนเงินมากกว่า 20 ล้านบาท ผลการดําเนินงาน 1: โดยการประชุมคณะทํางาน พันธุ์ไทยโดยอ้างอิงจากแหล่งการกระจายเดิมในอดีต จํานวน 6 แห่ง คือ 1) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าอ่าง 2) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย 3) เขตห้ามล่าสัตว์ ป่าหนองบงคาย จังหวัดเชียงราย 4) 5) จังหวัดบุรีรัมย์ และ 6) (ทุ่งกะมัง) จังหวัดชัยภูมิ (Rapid Assessment) โดย (Criteria and Indicators) (International Crane Foundation: ICF) .ศ. 2553 ผ่านมา พบว่าหญ้าแห้วทรงกระเทียมกําลังอยู่ในระหว่างการสร้างหัว (Tuber) Ang Tropreang Thmal Ang Tropreang Thmal 2: การเพาะขยายพันธุ์และการฝึกลูกนกด้วยวิธีการ Isolation rearing technique วิธีการ Isolation rearing technique Isolation technique คือ Mr. George W. Archibald จากประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยในปี 2553 สวนสัตว์นครราชสีมาได้สร้างศูนย์การขยายพันธุ์นกกระเรียนไทย โดยวิธี Isolation rearing technique ธรรมชาติ ปัจจุบัน ปี 2558 ได้มีการปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทยกลับคื 72 ตัว 3: ใส่ห่วงขา แบ่งเป็น ขาขวา ใส่ห่วงขาอะลูมิเนียมมีหมายเลข ขนาด 17A ได้รับการสนับสนุนจาก กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส่วนขาซ้ายใส่ห่วงขาสี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.1 เซนติเมตร จํานวน 3 3 สีจะหมายถึงสีประจําตัวของนกกระเรียนแต่ละตัว และติด อุปกรณ์ติดตามตัวสัตว์โดยใช้ระบบสัญญาณวิทยุ (Radio transmitter) ขนาดกว้าง 31 มิลลิเมตร ยาว 85 มิลลิเมตร และหนา 17 70 สะพายหลัง (Backpack) โดยใช้สาย Teflon coated polyester tubular ribbon ขนาดหน้ากว้าง 0.55 25 เมตร ยาว 50 เมตร สูง 2.5 เมตร เป็นระยะเวลาประมาณ 1-2 ห้ลง 50% นก 4: การปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทยคืนสู่ธรรมชาติ 1 จํานวน 3 ตัว รหัส J1 ปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ เ 31 มีนาคม 2554 2 จํานวน 7 ตัว รหัส J2 31 พฤษภาคม 2554 นกกระเรียนกลุ่ม 3 จํานวน 8 ตัว รหัส S1 5 พฤษภาคม 2555 4 จํานวน 7 ตัว รหัส S2 22 มิถุนายน 2555 บิน จังหวัดบุรีรัมย์ 5 จํานวน 8 ตัว รหัส J3 6 มีนาคม 2556 6 จํานวน 10 ตัว รหัส J4 17 สิงหาคม 2556 7 จํานวน 3 ตัว รหัส J5 6 กุมภาพันธ์ 2556 8 จํานวน 14 ตัว รหัส S3 13 มิถุนายน 2557 9 จํานวน 12 ตัว รหัส J6 12 สิงหาคม 2558 รีรัมย์ ปัจจุบัน จากการสํารวจยังคงพบประชากรนกกระเรียนพันธุ์ไทยอาศัยอยู่ในธรรมชาติ มากกว่า 50 มครองสัตว์ป่า นาย .ศ. 2529 ใน .ศ. 2538 ได้รับบรรจุเข้าเป็นลูกจ้างประจําตําแหน่งพนักงานพิทักษ์ป่า สังกัดกอง ปฏิบัติงานประจําเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว ในปี พ.ศ. 2539 ารทํางาน มีความเป็นผู้ใหญ่ ประกอบกับประสบการณ์ในการ หัวหน้าฝ่ายป้องกันและปราบปราม 14 ตุลาคม 2558 เวลาประมาณ 12.00 น. 16.00 น. ตั พ.ศ. 2557 ระชิด แรงปะทะส่งร่าง เหตุการณ์ นับว่าประเทศไทยได้สูญเสียบุคลากร ปักษ์รักษาสัตว์ป่าเมืองไทยในภาคสนาม 36 จึงขอ และขอสดุดีต่อวีรกรรมของ ท่าน ไว้ คําไว้อาลัย รองศาสตร์วีณา เมฆวิชัย 36 คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอไว้อาลัยแด่การจากไปของรองศาสตราจารย์วีณา เมฆวิชัย อาจารย์ชีววิทยา อาจารย์ 20 สิงหาคม 2558 ด้วยโรคมะเร็ง Ornithology (ปักษีวิทยา) Histology ( ) Anatomy (กายวิภาคศาสตร์) เป็นต้น ในปีพ.ศ. 2547 IUCN (IUCN /SSC Pheasant specialist group) ถวายราชวงศ์ไทย โดยเป็นสมาชิกรุ่นบุกเบิกคณะปฏิบัติงานวิทยาการสํารวจความหลากหลายชนิด บรมราชกุมารี (อพ.สธ.) วิจัยและงานวิชาการในโครงการ Human Chicken Multi-Relationships (HCMR) ถวายเจ้าฟ้าชายอะ กิชิโนะ (โดยทรงเป็นผู้วิจัยหลักในโครงการ) 25 ปี โดยอาจารย์วีณา จากประชากรต่าง ๆ ในประเทศไทย ตลอดระยะเวลา 40 ในระดับชาติ และระดับนานาชาติ จําพวกคู่มือ หนังสือ และบทความวิจัย อาทิเช่น คู่มือการอบรม นยังได้ (จังหวัดน่าน และจังหวัดอุทัยธานี) 10 ปี อาจารย์วีณาฯ ได้เข้าร่วมและนําเสนอผลงา ร่วมแสดงความไว้อาลัยในการจากไปของอาจารย์วีณา เมฆวิชัย และขอให้นักวิจัยและนักอนุรักษ์สัตว์ป่าในอนาคตได้ร่วมกันสานต่อเจตนารมณ์ของ อาจารย์ให้การอนุรักษ์นกยูงและไก่ฟ้า ได้ดํารงอยู่คู่ผืนป่าไทยตลอดไป 15 36 ภายใต้หัวข้อ การอนุรักษ์สัตว์ป่าไร้พรมแดน (Transboundary wildlife conservation) ณ ห้องประชุมจงรักปรีชานนท์ ตึกวนศาสตร์ 72 ปี คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 17 ธันวาคม 2558 08.00 - 09.00 น. ผู้เข้าร่วมสัมมนาฯลงทะเบียน 09.00 – 09.10 น. กล่าวรายงาน โดย คณบดีคณะวนศาสตร์ 09.10 – 09.30น. กล่าวต้อนรับและเปิดการสัมมนา โดย รักษาการแทนรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พิธีมอบรางวัลโครงการการอนุรักษ์สัตว์ป่าดีเด่น
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages84 Page
-
File Size-