DECEMBER 2020 - JANUARY 2021 คณะกรรมการบริหารสถานีวิทยุจุฬาฯ ประวัติรายการดนตรีคลาสสิก ทีปรึกษา ดร.สุพจน์ เธียรวุฒิ รายการดนตรีคลาสสิกของสถานีวิทยุจุฬาฯ ดําเนินการมา อาจารย์สุภาพร โพธิแก้ว อย่างต่อเนืองเป็นเวลาเกือบ 50 ปี โดยเริมออกอากาศ หลังจากสถานีวิทยุจุฬาฯก่อตงไั ด้ไม่นาน (เมือ พ.ศ. 2508) ประธาน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล ผู้จัดทํารายการในระยะแรก คือ คณาจารย์จุฬาฯ และ รองอธิการบดี อาจารย์ดนตรีทีมีใจรักดนตรีคลาสสิก อาทิ ศาสตราจารย์ กรรมการ ดร.กําธร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศาสตราจารย์ ไขแสง ศุขะ- ศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ วัฒนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมัยสารท สนิทวงศ์ ณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐชานนท์ โกมุทพฒิพงศุ ์ อยุธยา และอาจารย์ ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ เป็นต้น อาจารย์ ดร.อลงกรณ์ ปริวุฒิพงศ์ ตังแต่ปี พ.ศ.2511 อาจารย์ ชัชวาลย์ ทาสุคนธ์ และ อาจารย์ สรายุทธ ทรัพย์สุข อาจารย์ สมโภช รอดบุญ ซึงเป็นเจ้าหน้าทีประจําของ นางสาวอรนุช อนุศักดิเสถียร สถานีรับช่วงดําเนินรายการต่อมา อาจารย์ สมโภช ถึงแก่ นายณรงค์ สุทธิรักษ์ กรรมในปี พ.ศ.2531 และทางสถานีได้ดําเนินงานต่อมา รักษาการ กรรมการผ้อูํานวยการสถานี โดยได้ รับความร่วมมือจากบุคลากรผู้ทรงคุณวุฒิหลาย อาจารย์ สุภาพร โพธิแก้ว ท่านของจุฬาฯ ตังแต่ปี พ.ศ. 2533 สีส้ ม เอียมสรรพางค์ และ สดับพิณ รัตนเรือง รับช่วงดําเนินงานต่อมาจนถึงปัจจุบัน รายการ จุลสารรายสองเดือน Music of the Masters เป็นของ ดนตรีคลาสสิกออก อากาศทุกคืน ระหว่างเวลา 22:00 - สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทความที 24:00 น. ตีพิมพ์ในจุลสารและบทวิทยุของรายการดนตรีคลาสสิก เป็นลิขสิทธิของผู้ จัดทํา ห้ ามผู้ใดนําไปตีพิมพ์หรื อ สถานีวิทยุจุฬาฯได้ ปิ ดรับสมัครสมาชิกรายการดนตรี เผยแพร่ซาในํ ทุกๆ ส่วน คลาสสิกและการจัดส่งจุลสาร Music of the Masters ทางไปรษณีย์แล้ว ปัจจุบันได้ มีการเผยแพร่จุลสาร Music ผ้จูัดทํา : สดับพิณ รัตนเรือง of the Masters ในรูปแบบของสือออนไลน์ ทีสามารถอ่าน : สีส้ม เอียมสรรพางค์ และดาวน์โหลดได้ทาง https://curadio.chula.ac.th โดย ออกแบบรูปเล่ม : แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่มีค่าใช้จ่าย ติดตามรับฟังรายการดนตรีคลาสสิค ทุกวันจันทร์ – อาทิตย์ เวลา 22.00 – 24.00 น. ดําเนินรายการ โดย อ.สีส้ม เอียมสรรพางค์ รับฟังสดและย้อนหลัง ทางสถานีวิทยุจุฬาฯ FM 101.5 MHz https://curadio.chula.ac.th 1 คณะกรรมการบริหารสถานีวิทยุจุฬาฯ ประวัติรายการดนตรีคลาสสิก ทีปรึกษา ดร.สุพจน์ เธียรวุฒิ รายการดนตรีคลาสสิกของสถานีวิทยุจุฬาฯ ดําเนินการมา Music of the Masters อาจารย์สุภาพร โพธิแก้ว อย่างต่อเนืองเป็นเวลาเกือบ 50 ปี โดยเริมออกอากาศ หลังจากสถานีวิทยุจุฬาฯก่อตงไั ด้ไม่นาน (เมือ พ.ศ. 2508) ­­ ­ ประธาน ­ ­ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล ผู้จัดทํารายการในระยะแรก คือ คณาจารย์จุฬาฯ และ รองอธิการบดี อาจารย์ดนตรีทีมีใจรักดนตรีคลาสสิก อาทิ ศาสตราจารย์ กรรมการ ดร.กําธร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศาสตราจารย์ ไขแสง ศุขะ- วัฒนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมัยสารท สนิทวงศ์ ณ ศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ­­­ อยุธยา และอาจารย์ ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ เป็นต้น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐชานนท์ โกมุทพฒิพงศุ ์ ­­ ­ อาจารย์ ดร.อลงกรณ์ ปริวุฒิพงศ์ ตังแต่ปี พ.ศ.2511 อาจารย์ ชัชวาลย์ ทาสุคนธ์ และ ­ อาจารย์ สรายุทธ ทรัพย์สุข อาจารย์ สมโภช รอดบุญ ซึงเป็นเจ้าหน้าทีประจําของ ­ ­ ­ นางสาวอรนุช อนุศักดิเสถียร สถานีรับช่วงดําเนินรายการต่อมา อาจารย์ สมโภช ถึงแก่ นายณรงค์ สุทธิรักษ์ กรรมในปี พ.ศ.2531 และทางสถานีได้ดําเนินงานต่อมา ­ รักษาการ กรรมการผ้อูํานวยการสถานี โดยได้ รับความร่วมมือจากบุคลากรผู้ทรงคุณวุฒิหลาย ­ อาจารย์ สุภาพร โพธิแก้ว ท่านของจุฬาฯ ­ ­­ ­­ ­ ตังแต่ปี พ.ศ. 2533 สีส้ ม เอียมสรรพางค์ และ สดับพิณ ­ รัตนเรือง รับช่วงดําเนินงานต่อมาจนถึงปัจจุบัน รายการ ¡ ­ ­ ­ ­ จุลสารรายสองเดือน Music of the Masters เป็นของ ดนตรีคลาสสิกออก อากาศทุกคืน ระหว่างเวลา 22:00 - สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทความที 24:00 น. ­ ­ ­ ตีพิมพ์ในจุลสารและบทวิทยุของรายการดนตรีคลาสสิก ­ เป็นลิขสิทธิของผู้ จัดทํา ห้ ามผู้ใดนําไปตีพิมพ์หรื อ สถานีวิทยุจุฬาฯได้ ปิ ดรับสมัครสมาชิกรายการดนตรี ­ เผยแพร่ซาในํ ทุกๆ ส่วน คลาสสิกและการจัดส่งจุลสาร Music of the Masters ทางไปรษณีย์แล้ว ปัจจุบันได้ มีการเผยแพร่จุลสาร Music ­­ ­ ­­ ผ้จูัดทํา : สดับพิณ รัตนเรือง of the Masters ในรูปแบบของสือออนไลน์ ทีสามารถอ่าน : สีส้ม เอียมสรรพางค์ ­ และดาวน์โหลดได้ทาง https://curadio.chula.ac.th โดย ออกแบบรูปเล่ม : แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่มีค่าใช้จ่าย ¢ ¢ ­ ­ ­ ­ £ ¤ ติดตามรับฟังรายการดนตรีคลาสสิค ทุกวันจันทร์ – อาทิตย์ เวลา 22.00 – 24.00 น. ดําเนินรายการ โดย อ.สีส้ม เอียมสรรพางค์ ­ รับฟังสดและย้อนหลัง ทางสถานีวิทยุจุฬาฯ FM 101.5 MHz https://curadio.chula.ac.th 1 ส่ฝู ันอันมหัศจรรย์ สดับพิณ รัตนเรือง ฉบับนีขอนําท่านผ อู่้ านผู้ฟังไปสู่ฝันของนกประพั ันธ์เพลงเอกท่านหนึง ทีได้ประมวลเอาความสุข ความทุกข์ ความสมหวังแลผิดหวังจากความรักในชีวิตจริง มาแปรเป็นความฝัน และในทีสุด ได้ถ่ายทอดออกมาเป็นเสียงเพลงให้เราได้ร่วมรับรู้ ผลพวงแห่งความฝันนนั คือ บทประพันธ์ เพลงในชือ “สู่ฝันอันมหัศจรรย์” (Symphonie fantastique, Op 14) ประพันธ์โดย เอ็กตอร์ แบร์ ลิออซ (; ค.ศ. 1803-1869) Berlioz เป็นชาวฝรังเศส มีชีวิตและรังสรรค์ผลงานใน ช่วงเวลาทีกระแสศิลปดนตรีของวัฒนธรรมยุโรปกําลัง เคลือนเข้าสู่ดนตรีแบบโรแมนติก และผลงานทังหลาย ของ Berlioz ไม่ว่าจะเป็นงานดนตรี หรืองานร้ อยกรอง ด้วยภาษา ก็ล้วนเป็นตัวแทนของศิลปินชาวโรแมนติก ในแง่มุมต่างๆได้เป็นอย่างดี Berlioz เกิดและเติบโตในครอบครัวฐานะดี บิดาเป็น แพทย์ และวาดหวังจะให้ลูกชายเจริญรอยตามเป็น แพทย์ด้วย แต่หลังจากเข้าเรียนโรงเรียนแพทย์ได้เพียง ปีเดียว ลูกชายก็หันหลังให้ความหวังและความฝันของ ครอบครัว และตัดสินใจเข้าเรียนทีวิทยาลยการดั นตรีกรุงปารีส (Paris Conservatoire de Musique) ท่ามกลางความผิดหวังของบิดาผู้ตัดรอนความช่วยเหลือทางการเงิน จน Berlioz ต้องดินรนทํางานสารพัดอย่างเพือยังชีพ แต่งานเหล่านีก็เป็นประโยชน์ไม่น้อยสําหรับเส้นทาง 1 2 ดนตรีของ Berlioz เพราะล้วนเป็นงานเกียวข้องกับดนตรีในรูปแบบต่างๆ เช่น สอนดนตรี หรือ ขับร้องประสานเสียงกบคณะนั ักร้ องประจําโรงละครต่างๆ เป็นต้น จนกระทงเั มืออายุราว 27 ปีในปี ค.ศ. 1830 ความสามารถทางด้านการประพันธ์เพลงก็เป็นที ประจักษ์และยอมรับกันอย่างกว้างขวาง เมือเขาได้รับรางวัลปรีเดอโรม (Prix de Rome) สําหรับบทประพันธ์เพลงยอดเยียมประจําปีจากสถาบันแห่งกรุงโรม ประเทศอิตาลี รางวัลนี เป็นรางวัลใหญ่และสําคัญทีสดรางวุ ัลหนึงของยุโรป จากนนั Berlioz ก็มีผลงานการประพันธ์ออกมาอีกมากมาย และได้ รับการยอมรับระดับ นานาชาติ แต่ทีน่าเศร้ าคือ ผลงานของเขากลับไม่ค่อยเป็นทียอมรับของชาวฝรังเศสเอง ซึงเป็น เรืองทีน่าปวดร้ าวใจมาก ชาวปารีสใช้เวลานานตราบชัวชีวิตของ Berlioz กว่าจะให้การยอมรับ และยกย่องในดนตรีทีก้าวหน้าแหวกแนวของเขา Berlioz หลงใหลและเทิดทูนเบโธเฟน (Ludwig van Beethoven) เช่นเดียวกับศิลปินโรแมนติก ทังหลาย และยังชืนชมผลงานวรรณกรรมของกวีเอก เชคสเปียร์ (William Shakespeare) และ ผลงานของเชคสเปียร์นีเอง ทีนํา Berlioz มาสู่ดินแดนมหัศจรรย์แห่งความรัก และจุดประกาย ให้เกิดผลงาน Symphonie fantastique ทีจะนําเสนอในบทความนี กล่าวคือเมือ Berlioz อายุประมาณ 26 ปี มีคณะละครอังกฤษ นําเอาละครเวทีของ Shakespeare มาแสดงทีกรุงปารีส โดยมี แฮเรียต สมิธสัน (Harriet Smithson) เป็นนางเอก บทบาทของจูเลียตและโอฟีเลียในจินตนาการของ Shakespeare จากการแสดงของ Smithson เป็นทีชืนชมของชาวฝรังเศสอย่างมาก โดยเฉพาะสําหรับ Berlioz นัน ความชืนชมได้กลายเป็น ความผูกพันทางใจ เขาตกหลุมรักเธออย่างถอนตัวไม่ขึน แต่เรืองราวทงหลายกั ็ติดตามมาด้วย อุปสรรคหนักหน่วง ทังจากครอบครัวและเพือนๆของทงสองั ฝ่ าย รวมทังจาก Smithson เอง 2 3 ทีตอนแรกก็ไม่เล่นด้วยกับความรักของชายหนุ่ม ทําเอา Berlioz ถึงกับจะฆ่าตัวตาย แต่ได้รับ การช่วยชีวิตไว้ได้ อย่างไรก็ตาม อีก 3-4 ปีถัดมา ทงคัู่ก็แต่งงานกัน มีบตรดุ ้วยกัน 1 คน และในทีสุดต่อมาก็เลิกรา จากกัน ต้นปี ค.ศ. 1830 ท่ามกลางความทุกข์ใจจากแรงรักครังนี Berlioz ก็เริมลงมือถ่ายทอดชีวิตรัก ออกมาเป็นซิมโฟนีขนาดใหญ่ ทีเขียนกํากับไว้เองว่า “ฉากหนึงแห่งชีวิตศิลปิน” (An Episode in the Life of an Artist) ความหมกมนฝุ่ ันเฟืองแต่เรืองของตนเอง และนําเอาอตตาั ตัวเองมา ผูกพันกับงานศิลปะเช่นน ีดจะเู ป็นลักษณะเด่นอย่างหนึงของศิลปินโรแมนติกทีเดียว Symphonie fantastique หรือ An Episode in the Life of an Artist เป็นบทประพันธ์เพลง ประเภทดนตรีพรรณนา (programme music) หมายถึงบทเพลงบรรเลงซึงมีเรืองราวหรือภาพ อะไรบางอย่าง เป็นจุดกําเนิดและอยเบู่ืองหลังเสียงเพลง สําหรับเพลงบทนี Berlioz เป็นผู้ ผูกโยงเรืองราวเอาไว้เอง โดยอาศัยเรืองราวและความรู้สึกทีเกิดกับตนเอง ผสมผสานกับ จินตนาการฝันเฟืองทีมีอย่างเหลือเฟือในศิลปินโรแมนติก เรืองราวที Berlioz ผูกโยงและรจนากํากับไว้มีเนือความ ดังน..ี. “ศิลปินหนมผุ่ หนึงู้ ทุกข์ทรมานใจจากความรักอันรุนแรง จนคิดฆ่าตัวตายด้วยพิษ ยาฝิน ทว่า ยาฝินนันไม่รุนแรงพอทีจะทําให้ ตาย แต่กลับนําเขาไปพบกับความฝันอันมหัศจรรย์พันลึก ภาพและความรู้สึกต่างๆ ทงงดงามั และป่าเถือนโหดร้าย ดาหน้ากันมาปรากฏให้เห็นอยู่ใน ห้วงจินตนาการ แล้วความรู้สึกตลอดจนอารมณ์ต่างๆ อันลําลึก รวมทังความทรงจําแห่ง ความรักก็แปรเปลียนเป็นจกรวาลแห่งเสียงดนตรั ี 3 4 และแก่นแท้แห่งความทรงจําและท่วงทํานองในเสียงเพลง ซึงสะเทือนอยู่ในความทรงจํา คือ ‘นางผู้เป็นทีรัก’ เธอกลบมาปรากฏซํั าแล้วซําเล ่า ตรงนนตรงนีั ในรูปของท่วงทํานองอันอ่อนโยน และลึกลํา ฉากแรกทีผ่านเข้ามาในห้วงจินตนาการ คือ ภาพของความสุขความทุกข์ ความสมหวังและ ผิดหวังอย่างรุนแรง ซึงนางผู้เป็นทีรักได้บนดาลใั ห้เกิดขึนในชีวิต ฉากถัดมา เขาพบตวเองลั ่องลอยเลือนไหลไปกับเสียงเพลงเต้นรําในงานเลยงี ท่วงทํานองของ ‘เธอ’ ติดตามเขาไปทุกหนทกแห่งุ ฉากต่อมา เขาพบตัวเองอยู่ท่ามกลางธรรมชาติชนบทอันแสนสบาย เสียงเพลงพืนบ้านอัน เรียบง่ายจากเด็กเลียงแกะนําความสงบและสุขใจมาสู่เขาไม่น้อย ดวงอาทิตย์กําลังอัสดง อยู่เบืองหน ้า ท้องฟ้าส่งเสียงครืนครันไกลออกไปเบองหลื ัง และในทีสุดก็ทิงให้เขาอยู่คนเดียวกับ ความเงียบ เขาหลับใหลและโลดแล่นไปกับความฝันอันพิลึกพิลนสั ยดสยอง ในฝันนนั เขาได้ฆ่านางผเปู้ ็น ทีรักและต้องโทษประหารชีวิต ในฉากนนั เขาแลเห็นตัวเองเดินอยู่ในกระบวนแห่มุ่งสูตะแลงแก็ง่ พร้อมเผชิญหน้ากับความตาย ในห้วงเวลาแห่งความเป็นความตายนนั นางผเปู้ ็นทีรักก็พลัน ปรากฏในรูปท่วงทํานองแสนหวาน ทว่ายังไม่ทันจะระลึกถึงนางได้ถ้ วนกระบวนภาพ ใบมีด จากกีโยตินก็หล่นฉับลงมาตัดคอ...วิญญาณเขาละร่างสู่ปรโลก ในฉากสุดท้าย เขาพบตัวเองอยู่ท่ามกลางแม่มดหมอผีแลเหล่าโขมดทังหลายในปรโลก ทงหมดั กําลังเริงระบําแห่งความตายอยู่อย่างป่าเถือน เสียงจากขุมนรกดังอยไมู่ ่เป็นสํารอบตัว เขาได้ มาตกอยทู่่ ามกลางพิธีบูชาอันสยดสยองของเหล่าจิตวิญญาณร้าย 4 5 และทีน่าสยองยิงกว่าสิงใด นางผู้เป็นทีรัก
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages36 Page
-
File Size-