Ethnobotany of Edible Plants from Mangrove and Beach Forest In

Ethnobotany of Edible Plants from Mangrove and Beach Forest In

ว.วิทย. มข. 40(3) 981-991 (2555) KKU Sci. J. 40(3) 981-991 (2012) พฤกษศาสตร#พื้นบ(านของพืชกินได(จากป0าชายเลน และป0าชายหาดบริเวณคาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา Ethnobotany of EdiblE Plants from MangrovE and BEach ForEst in Sating Phra PEninsula, Songkhla ProvincE อรทัย เนียมสุวรรณ 1* นฤมล เสงนนท1 กรกนก ยิ่งเจริญ 1 และ พัชรินทร สิงหดํา 1 บทคัดยRอ การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจพืชกินได"จากป#าชายเลนและป#าชายหาดใน 3 อําเภอของคาบสมุทร สทิงพระ จังหวัดสงขลา คือ สิงหนคร สทิงพระ และระโนด ระหว/างเดือน กรกฎาคม-พฤศจิกายน 2553 กับผู"ให" ข"อมูลจํานวน 5 ท/าน โดยการสัมภาษณแบบกึ่งมีโครงสร"าง ด"วยคําถามหลักคือ ชนิดของพืช ชื่อพื้นเมือง ส/วนที่ใช" และวิธีการใช" นําพืชที่สํารวจได"มาตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร และวิเคราะหผลโดยสถิติเชิงพรรณนาและการตีความ ผลการศึกษาพบว/ามีพืชกินได"จํานวน 40 ชนิด จัดเป;นพืชป#าชายเลนอย/างเดียว 32.5% พืชป#าชายหาดอย/างเดียว 50% และพืชที่พบทั้งสองบริเวณ 17.5% วงศที่พบชนิดพืชมากที่สุด 3 อันดับ คือ Myrtaceae 4 ชนิด Euphorbiaceae Fabaceae และ Rhamnaceae วงศละ 3 ชนิด ASteraceae Pteridaceae Rutaceae และ Sapindaceae วงศละ 2 ชนิด ส/วนของพืชที่นํามาใช"เป;นอาหารมากที่สุด 3 อันดับ คือ ใบ 40% ผล 38% และ ดอก/ช/อดอก และส/วนเหนือดิน 10% ผลการศึกษาครั้งนี้จะเป;นข"อมูลพื้นฐานในการส/งเสริมให"ประชาชนสามารถ จัดหาพืชผักธรรมชาติ มาใช"บริโภคในชีวิตประจําวันมากขึ้นเพื่อลดรายจ/ายในการซื้อพืชผักเศรษฐกิจ 1คณะการแพทยแผนไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ/ จ.สงขลา 90110 *CorreSponding Author, E-mai: [email protected] 982 KKU Science Journal Volume 40 Number 3 REsEarch ABSTRACT ThiS Study aimed to Survey edible plantS from mangrove and beach foreSt from 3 diStrictS of Sating Phra peninSula, Songkhla Province including Singhanakhon, Sating Phra and Ranode. Semi-Structure interviewS were done with 5 old informantS between July to November 2010. The main iSSueS for conSulting were plant SpecieS uSed, vernacular name, plant part uSed and how to conSume each plant. Then, collected plantS were identified. The reSultS Showed that 40 SpecieS were uSed. Among them, 32.5% were mangrove plantS only, 50% were beach plantS only and 17.5% were both mangrove and beach plantS. The moSt SpecieS found were in family Myrtaceae (4 SpecieS), Euphorbiaceae, Fabaceae, and Rhamnaceae (3 SpecieS) and ASteraceae, Pteridaceae, Rutaceae, and Sapindaceae (2 SpecieS), reSpectively. The plant partS moStly uSed were leaveS (40%), fruitS (38%) and flowerS/infloreScenceS and aerial part (10%), reSpectively. In concluSion, thiS reSult will be the baSiS information for promoting conSumption of wild edible plantS of Thai people to decreaSe expenSe in buying economic plant. คําสําคัญ: พืชกินได" ป#าชายเลน ป#าชายหาด คาบสมุทรสทิงพระ สงขลา KEywords: Edible plant, Mangrove foreSt, Beach foreSt, Sating Phra peninSula, Songkhla บทนํา การใช"พืชป#าเป;นอาหารจํานวนมาก อย/างไรก็ตาม พืชกินได" (edible plant) คือ พืชที่มีหนึ่ง ความรู"เหล/านั้นมักสืบทอดอยู/ในคนสูงอายุในชนบท หรือหลายส/วนสามารถใช"เป;นอาหารได" ถ"าเก็บเกี่ยวใน ส/วนลูกหลานซึ่งเป;นคนรุ/นใหม/จะรู"จักพืชอาหาร ระยะที่เหมาะสมและมีวิธีการเตรียมที่เหมาะสม เฉพาะที่มีขายตามตลาด จึงเป;นเรื่องน/าเสียดายที่ (KallaS, 1996) ประเทศไทยตั้งอยู/ในเขตร"อนชื้นของ ความรู"เรื่องพืชกินได"จากป#าจะสูญหายไปกับการจากไป โลก และเป;นบริเวณที่มีความหลากหลายของพรรณพืช ของคนรุ/นเก/า ดังนั้นจึงมีความจําเป;นอย/างยิ่งที่จะได" สูง มีพืชที่มีท/อลําเลียงในประเทศประมาณ 10,000 ทําการศึกษาและรวบรวมองคความรู"เกี่ยวกับพืช ชนิด ในปuจจุบันพบว/าไม/เกิน 2 เปอรเซ็นตของจํานวน อาหารป#า ทั้งหมดที่นํามาใช"ประโยชน (ธวัชชัย, 2532) และการใช" การวิจัยในอดีตจํานวนมากในประเทศไทย ประโยชนจากพืชมากเป;นอันดับต"น ๆ ก็คือการนําพืช พบว/าพืชป#ากินได"นั้น มักได"รับการศึกษาในกลุ/มชนที่ มาใช"เป;นอาหาร โดยสามารถยืนยันได"จากการศึกษา อาศัยอยู/ในพื้นที่ป#าแบบเต็งรัง ป#าดิบเขา ป#า- การนําพรรณพืชมาใช"ประโยชนในคนไทย และพบว/า เบญจพรรณ หรือป#าดิบชิ้น แต/ป#าชายเลนและป#า หลายกลุ/มประชากร เช/น ชาวลัวะ ชาวถิ่น ชาว ชายหาดซึ่งมีพรรณพืชที่แตกต/างออกไป รวมทั้งมีกลุ/ม กะเหรี่ยง มีการนําพืชป#ามาใช"เป;นอาหารมากที่สุด คนที่อาศัยอยู/บริเวณใกล"เคียงและใช"ประโยชนจากป#า (วิทยา, 2549; ไพศาล, 2544 และ ขวัญฤทัย, 2551) ดังกล/าวเช/นกัน กลับมีการศึกษาถึงพืชป#ากินได"จํานวน จึงเห็นได"ว/าประเทศไทยมีองคความรู"พื้นบ"านเกี่ยวกับ น"อย (Upho, 2005; อรุณ, 2543) งานวิจัย วารสารวิทยาศาสตร มข. ปyที่ 40 ฉบับที่ 3 983 ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจ ปากระวะ อําเภอระโนด รวมทั้งคัดเลือกผู"ให"ข"อมูลหลัก พืชป#ากินได"หรือพืชอาหาร จากป#าชายเลนและป#า เป;นผู"สูงอายุในพื้นที่ศึกษา จํานวน 5 คน ชายหาด บริเวณคาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา เพื่อ 2. ดําเนินการวิจัยภาคสนามเพื่อรวบรวมความรู(เรื่อง รวบรวมภูมิปuญญาการใช"พืชอาหารเอาไว"ก/อนที่จะสูญ พืชสมุนไพร หายไป และเพื่อเป;นข"อมูลพื้นฐานในการส/งเสริมการ ดําเนินการตั้งแต/เดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน บริโภคผักจากธรรมชาติ หรือผักพื้นบ"านต/อไป พ.ศ. 2553 เดือนละ 1 ครั้ง โดยการสัมภาษณผู"รู" เดือน ละ 1 ท/าน รวมทั้งโครงการจํานวน 5 ท/าน เป;นการ ระเบียบวิธีวิจัย สัมภาษณแบบกึ่งมีโครงสร"าง ซึ่งหัวข"อหลักที่ใช"ในการ 1. พื้นที่ศึกษา สัมภาษณ คือ ชื่อพื้นเมืองของพืชกินได" ส/วนที่ใช" และ คาบสมุทรสทิงพระจังหวัดสงขลา วิธีการใช" ข"อมูลการใช"ประโยชนพันธุพืชแต/ละชนิดจะ ประกอบด"วย 4 อําเภอ คือ อําเภอระโนด อําเภอสทิง ได"รับการยืนยันจากผู"รู"อย/างน"อย 2 ท/าน ซึ่งการ พระ อําเภอกระแสสินธุ และอําเภอสิงหนคร ทิศเหนือ สัมภาษณจะดําเนินการในบริเวณบ"านของผู"ถูก ติดต/อกับอําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช และ สัมภาษณและขณะเก็บตัวอย/างในพื้นที่ศึกษา จังหวัดพัทลุง ทิศใต"ติดต/ออําเภอเมืองสงขลาและอําเภอ 3. จัดเตรียมตัวอยRางพันธุ#ไม(แห(ง หาดใหญ/ ทิศตะวันออกติดต/อทะเลอ/าวไทย (ภาพที่ 1) จัดเตรียมตัวอย/างพันธุไม"แห"งของพืชอาหาร ทิศตะวันตกติดต/อทะเลสาบสงขลา มีพื้นที่ 1,228.2 ทุกชนิดตามวิธีการของก/องกานดา (2541) เพื่อทําเป;น ตารางกิโลเมตร มีประชากร 211,714 คน ส/วนใหญ/ ตัวอย/างอ"างอิง และเก็บรักษาไว"ที่พิพิธภัณฑพืช เป;นชาวไทยพุทธ อาชีพหลักคือทํานา รองลงมาคือ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร และพิพิธภัณฑพืช ประมงชายฝu{ง (สํานักงานสถิติจังหวัดสงขลา, 2553) สมุนไพร คณะการแพทยแผนไทย มหาวิทยาลัย ภูมิประเทศของคาบสมุทรมีลักษณะเป;นสันดอน ทอด สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ/ เป;นแนวยาวแคบ ๆ กั้นอ/าวไทยไว"ภายนอก และมีห"วง 4. ตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร#ของพืช น้ําทะเลสาบสงขลาอยู/ภายใน เริ่มตั้งแต/อําเภอระโนด ดําเนินการโดยใช"เอกสารทางอนุกรมวิธานพืช ไปสิ้นสุดที่ปากน้ําทะเลสาบสงขลา ของประเทศไทย (Flora of Thailand) และประเทศ การศึกษาครั้งนี้เลือกพื้นที่ป#าชายเลนและป#า เพื่อนบ"าน (เช/น Flora MaleSiana, Flora of China, ชายหาด จาก 3 อําเภอ คือ สิงหนคร สทิงพระ และระ และ Flora of BritiSh India เป;นต"น) และเปรียบเทียบ โนด ได"แก/ ป#าชายเลนบ"านชะแล" ป#าชายเลนบ"านบ/อ กับตัวอย/างอ"างอิงในพิพิธภัณฑพืช ภาควิชาชีววิทยา ปาบ ป#าชายเลนบ"านหัวเขา ป#าชายหาดหาดแก"ว ป#า คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชายหาดม/วงงาม อําเภอสิงหนคร ป#าชายหาดดีหลวง 5. วิเคราะห#ข(อมูล อําเภอสทิงพระ ป#าชายหาดบ/อตรุ และป#าชายหาด- โดยการใช"สถิติเชิงพรรณนาและการตีความ รวมทั้งนําข"อมูลที่ได"เปรียบเทียบกับผลการศึกษาที่ ใกล"เคียงในอดีต 984 KKU Science Journal Volume 40 Number 3 REsEarch ภาพที่ 1 แสดงพื้นที่ศึกษา ซ"าย: จังหวัดสงขลา (ก และ ข) และ คาบสมุทรสทิงพระ (ก) ขวา : คาบสมุทรสทิงพระ แสดงอําเภอที่เลือกศึกษา ผลการศึกษาและวิจารณ#ผล ป#าชายเลนจํานวน 13 ชนิด (32.5%) เป;นพืชที่พบ จากการศึกษาสามารถรวบรวมพืชอาหารป#า เฉพาะในป#าชายหาดจํานวน 20 ชนิด (50%) และเป;น ได" 40 ชนิด (SpecieS) (ตารางที่ 1) จัดอยู/ใน 37 สกุล พืชที่พบทั้งป#าชายเลนและป#าชายหาดจํานวน 7 ชนิด (genuS) และ 27 วงศ (family) เป;นพืชที่พบเฉพาะใน (17.5%) (ภาพที่ 2) ภาพที่ 2 แสดงร"อยละของพืชที่พบในพื้นที่ศึกษา (ป#าชายเลน ป#าชายหาด และป#าชายเลนและป#าชายหาด) งานวิจัย วารสารวิทยาศาสตร มข. ปyที่ 40 ฉบับที่ 3 985 ตารางที่ 1 แสดงชนิดพืชกินได" จากป#าชายเลนและป#าชายหาดในคาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา ลักษณะ บริเวณ สRวนที่ ตัวอยRาง ชื่อวิทยาศาสตร# วงศ# ชื่อท(องถิ่น การนํามาใช( วิสัย ที่พบ ใช( อ(างอิง Acrosticum speciosum N. Sengnon Pteridaceae H ปรงทะเล M ใบ แกงคั่วกลิ้ง แกงเลียง Willd. 001 N. Sengnon Acrosticum aureum L. Pteridaceae H ปรงทะเล M ใบ แกงคั่วกลิ้ง แกงเลียง 127 1) ลวก จิ้มน้ําพริก N. Sengnon Amaranthus viridis L. Amaranthaceae H ผักโขม B ใบ 2) แกงเลียง 081 Asperagus recemosus ส/วน N. Sengnon ASparagaceae C รากสามสิบ B แกงส"ม แกงเลียง Willd. เหนือดิน 117 Barringtonia เป;นผักสดจิ้มน้ําพริก หรือ N. Sengnon acutangula (L.) Lecythidaceae T จิกน้ํา M ใบ ดอก เป;นผักเคียงกับอาหารรสเผ็ด 034 Gaertn. Bruguiera cylindrica ขูดเอาผิวออก นําไปนึ่ง แล"ว N. Sengnon Rhizophoraceae T ถั่วขาว M ฝuก (ผล) (L.) Blume คลุกกับมะพร"าว เป;นขนม 004 Canavalia rosea (Sw.) N. Sengnon Fabaceae C ถั่วผี B ดอก เป;นผักสดจิ้มน้ําพริก DC. 020 Cardiospermum N. Sengnon Sapindaceae C โคกกระออม B ใบ ลวกจิ้มน้ําพริก halicacabum L. 077 Cayratia trifolia (L.) เถาคันขาว/ N. Sengnon Vitaceae C B, M ผล แกงส"ม แกงพุงปลา Domin เถาคันแดง 071 Ceratopteris ส/วน N. Sengnon thalictroides (L.) Parkeraceae H กูดเขากวาง M ต"มกับกะทิ แล"วจิ้มน้ําพริก เหนือดิน 119 Brongn. Clausena excavata สําปะหลุย/ N. Sengnon Rutaceae S B, M ใบ เป;นผักในข"าวยํา Burm.f. หมุย 125 Colubrina asiatica (L.) N. Sengnon Rhamnaceae C คันทรง M ใบ เป;นผักสดจิ้มน้ําพริก Brongn. 006 N. Sengnon Derris trifoliata Lour. Fabaceae C ถอบแถบน้ํา M ใบ เป;นผักในข"าวยํา 009 Garcinia hombroniana มังคุดทะเล / N. Sengnon CluSiaceae T B ผล ผลไม" Pierre วา 114 Glycosmis pentaphylla N. Sengnon Rutaceae S เขยตาย B ผล ผลไม" (Retz.) DC 089 Melaleuca cajuputi ช/อดอก/ N. Sengnon Myrtaceae T เสม็ดขาว B, M เป;นผักในข"าวยํา Powell ใบ 014 Microstachys หมากดิบ- N. Sengnon chamaelea (L.) Euphorbiaceae S B ผล ผลไม" น้ําค"าง 079 Müll.Arg. 986 KKU Science Journal Volume 40 Number 3 REsEarch ตารางที่ 1 แสดงชนิดพืชกินได" จากป#าชายเลนและป#าชายหาดในคาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา (ต/อ) ลักษณะ บริเวณ สRวนที่ ตัวอยRาง ชื่อวิทยาศาสตร# วงศ# ชื่อท(องถิ่น การนํามาใช( วิสัย ที่พบ ใช( อ(างอิง Mischocarpus N. Sengnon Sapindaceae T สีฟuน B ผล ผลไม" sundaicus Blume 015 N. Sengnon Morinda elliptic Ridl. Rubiaceae T ยอป#า M ผล ขณะยังอ/อน ใช"เป;นผักสด 010 Nypa fruticans N. Sengnon Arecaceae S จาก M ผล ผลไม"

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    11 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us