รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของมัคคุเทศก์ ในจังหวัดมหาสารคามเพื่อรองรับการเข้าส่ประชาคมอาเซียนโดยบู ูรณาการแนวคิด ของการเรียนการสอนภาษา 3 รูปแบบ และเน้นการใช้ภาษาอังกฤษ ในสถานการณ์จริง English Language Competency Development of Tour Guides in Maha Sarakham Province in Preparation for the ASEAN Community by Integrating Three Concept-Centered Instructional Models and Using English in Actual Situations ณรงค์ฤทธิ์ โสภา พูลศักดิ์ ศิริโสม เกตน์สิรี จาปีหอม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2559 ลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2559) รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของมัคคุเทศก ์ ในจังหวัดมหาสารคามเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยบูรณาการแนวคิด ของการเรียนการสอนภาษา 3 รูปแบบ และเน้นการใช้ภาษาอังกฤษ ในสถานการณ์จริง English Language Competency Development of Tour Guides in Maha Sarakham Province in Preparation for the ASEAN Community by Integrating Three Concept-Centered Instructional Models and Using English in Actual Situations ณรงค์ฤทธิ์ โสภา พูลศักดิ์ ศิริโสม เกตน์สิรี จาปีหอม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2559 ลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผนดิน่ ปีงบประมาณ 2559) ก กิตติกรรมประกาศ งานวิจัย เรื่องการพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของมัคคุเทศกในจังหวัด์ มหาสารคามเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยบูรณาการแนวคิดของการเรียนการสอนภาษา 3 รูปแบบและเน้นการใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์จริง สาเร็จลงได้ด้วยดี เพราะได้รับการสนับสนุน ด้านงบประมาณจากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และได้รับความร่วมมือ อยางดียิ่ งในการตอบแบบสอบถามของ่ นักศึกษาปีที่ 3 หลักสูตรสาขาวิชาภาษาอังกฤษ สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ สาขาวิชาการโรงแรมและการทองเที่ยว่ คณะวิทยาการจัด มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ผศ. ดร. สมเกียรติ ภูพัฒนวิบูลณ์่ อาจารย์ประจาหลักสูตรภาษาตะวันตก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ. ดร. ลดาวัลย์ วัฒนบุตร ผู้อานวยการส านักวิเทศสัมพันธ์และการจัด การศึกษานานาชาติ ดร. สุขศิลป์ ประสงค์สุข อาจารย์เกตน์สิรี จาปีหอม อาจารย์ประจาหลักสูตร ภาษาอังกฤษ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ ดร. กชธมน วงศ์คา อาจารย์ประจาหลักสูตร การโรงแรมและการทองเที่ยว่ คณะวิทยาการจัดการ และ Mr. Ross Niswanger อาจารย์ประจา สานัก วิเทศสัมพันธ์และการจัดการศึกษานานาชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สาหรับค าแนะ เกี่ยวกบั ความเหมาะสมและความถูกต้องทางภาษาและเนื้อหา ขอขอบพระคุณ ผศ. ดร. พูลศักดิ์ ศิริโสม อาจารย์ประจา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สาหรับค าแนะน า เกี่ยวกบั สถิติที่ใช้สาหรับงานวิจัย และขอขอบคุณนายสุระศักดิ์ สุตะภักดิ์ และนายจิรวัฒน์ สุราสา ที่ให้ความ อนุเคราะห์เกี่ยวกบการออกแบบและจัดรูปเลั ่ม ประโยชน์ของงานวิจัยเล่มนี้ ขอมอบเป็นเครื่องบูชา พระคุณบิดามารดาที่ให้ชีวิต น้องๆ ที่ให้ กาลังใจ ครู อาจารย์ ที่ให้ความรู้ และคาแนะน า ตลอดจนเพื่อนร่วมงานที่ให้ความช่วยเหลือทั้งกาลังใจ และกาลังกาย แก่ผู้วิจัยจนประสบผลสาเร็จ คณะผู้วิจัย 2559 ข ชื่อเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของมัคคุเทศกในจังหวัดมหาสารคาม์ เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยบูรณาการแนวคิดของการเรียนการสอน ภาษา 3 รูปแบบและเน้นการใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์จริง ผ้วิจัยู รศ. ดร. ณรงค์ฤทธิ์ โสภา หัวหน้าโครงการวิจัย ผศ. ดร. พูนศักด์ศักดิ์ ศิริโสม ผู้ร่วมวิจัย อาจารย์เกต น์สิรี จาปีหอม ผู้ร่วมวิจัย หน่วยงาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปีที่ได้รับทุน 2559 ปีที่แล้วเสร็จ 2559 บทคัดย่อ งานวิจัย เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของมัคคุเทศกในจังหวัด์ มหาสารคามเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยบูรณาการแนวคิดของการเรียนการสอนภาษา 3 รูปแบบและเน้นการใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์จริง ได้แบงออกเป็น่ 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้าง และพัฒนาหลักสูตร (2559) ระยะที่ 2 การใช้หลักสูตรกบกลุั ่มเป้าหมาย (2561) ผู้วิจัยได้รายงาน ผลการวิจัยระยะที่ 1 เทานั่ ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการสาหรับ การพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาและบุคคลากรที่ทางานในสถานที่ท องเที่ยว่ ในจังหวัดมหาสารคาม และเพื่อสร้างและพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษโดยการบูรณา แนวคิดของการเรียนรู้ 3 รูปแบบ คือ การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร และ Teaching –Learning Cycle สาหรับนักศึกษาและบุคคลากรที่ท างานในสถานที่ท องเที่ยวที่เข้าร่ ่วม โครงการพัฒนาอาชีพทางด้านมัคคุเทศก์ ที่มีประสิทธิภาพ กลุ่มประชากรเป้าหมายระยะที่ 1 ประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีภาคปกติชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ และภาษา อังกิจธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ นักศึกษาสาชาวิชาการโรงแรมและการทองเที่ยว่ คณะวิทยาการจัดการ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปีการศึกษา 2558 จานวน 5 ห้อง รวม 171 คน และผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ทาน่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมินตนเอง แบบสอบถาม และแบบประเมินหลักสูตร สถิติที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ คาร้อยละ่ คาความถี่่ คาเฉลี่ย่ และ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน่ ค ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการประเมินความรู้และความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก ใน์ จังหวัดมหาสารคาม ของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ และสาขาวิชาการ ทองเที่ยวและการโรงแรม่ โดยภาพรวม คาคะแนนเฉลี่ย่ อยูในระดับดี่ (X= 3.66) พิจารณารายด้าน พบวา่ มีสามด้านที่มีคาเฉลี่ยอยู่ ในระดับดี่ ได้แก่ การจัดการเกี่ยวกบการทั องเที่ยว่ ความรู้เกี่ยวกบั สถานที่ทองเที่ยวในจังหวัดมหาสารคาม่ คาเฉลี่ยอยู่ ในระดับดี่ เทาก่ บั 3.76 3.63 และ 3.62 ตามลาดับ ส่วนความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษสาหรับการเป็นมัคคุเทศก ในจังหวัดมหาสารคาม์ คาเฉลี่ยอยู่ ในระดับปานกลาง่ เทาก่ บั 3.43 2. ผลการสารวจ ความต้องการพัฒนาความสามารถการในการใช้ภาษาอังกฤษสาหรับ มัคคุเทศกในจังหวัดมหาสารคาม์ ของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ และ สาขาวิชาการโรงแรม และการทองเที่ยว่ โดยภาพรวม คาคะแนนเฉลี่ย่ อยูในระดับมาก่ 4.07พิจารณา รายด้าน พบวา่ นักศึกษาต้องการพัฒนาทั้ง แปด ด้าน มีคาเฉลี่ยอยู่ ในระดับมาก่ ประกอบด้วย การ ประเมินผลการเรียนรู้ อาจารย์สอน ตระหนักและความสาคัญในการพัฒนาภาษาอังกฤษ รูปแบบการ อบรม ประโยชน์ของการพัฒนา ระยะเวลาในการอบรม ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก ์ และ ความรู้ เกี่ยวกบสถานที่ทั องเที่ยวในจังหมาสารคาม่ คาเฉลี่ยเท่ าก่ บั 4.39 4.31 4.27 4.25 4.23 3.98 3.63 และ 3.54 ตามลาดับ 3. ผลการประเมินหาคาดรรชนีความสอดคล้องของหลักสูตร่ โดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ทาน่ พบวา่ คาเฉลี่ยดรรชนีความสอดคล้องของหลักสูตร่ อยูในระดับมาก่ คาเฉลี่ยเท่ าก่ บั .82และคาเฉลี่ยของความ่ ถูกต้องและความเหมาะสมของหลักสูตร มีคาเฉลี่ยอยู่ ในระดับมากที่สุด่ เทาก่ บั 4.66 พิจารณารายด้าน พบวา่ ผู้เชี่ยวชาญ ประเมินคาความถูกต้องและความเหมาะสมของหลักสูตร่ อยูในระดับสูง่ ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ระยะเวลาอบรม 60 ชัวโมง่ สถานที่อบรม สานักวิเทศสัมพันธ์และสถานที่ท องเที่ยวจริงใน่ จังหวัดมหาสารคาม ชื่อหลักสูตร คาอธิบายของหลักสูตร จุดประสงค์การเรียนรู้ของหลักสูตร และ วิทยากร สรุปวา่ หลักสูตรภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก มีคุณภาพมาก์ เหมาะสมสาหรับการน าไปใช้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก ทางด้านโบราณคดี์ วัฒนธรรม นิเวศน์ และเกษตรในจังหวัดมหาสารคาม สาหรับนักศึกษาและบุคคลทั วไปที่มีความสนใจ่ สาหรับการวิจัยครั ้ง ตอไป่ ควรพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาตางประเทศอื่น่ ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย เช่น บทเรียน ออนไลน์ หรือ หนังสืออิเล็กโทรนิกส์ ง Title English Language Competency Development of Tour Guides in Maha Sarakham Province in Preparation for the ASEAN Community by Integrating Three Concept-Centered Instructional Models and Using English in Actual Situations Researchers Associate Professor Dr. Narongrit Sopa Head Assistant Professor Dr. Poolsak Sirisom Co-researcher Mrs. Ketsiri Jampeehom Co-researcher Faculty Humanities and Social Sciences, Rajabhat Maha Sarakham University Academic Year 2016 Complete Year 2016 ABSTRACT The research on “English Language Competency Development of Tour Guides in Maha Sarakham Province in Preparation for the ASEAN Community by Integrating Three Concept- Centered Instructional Models and Using English in Actual Situations” was divided into two Phases: 1) Curriculum Design and Development, and 2 Curriculum Implementation. The objectives of the first phase were to analyze problems and needs of students for English language competency development of tour guides and to design and develop an English training curriculum by integrating three concept- centered instructional models and using English in actual situations. The target population was divided into two groups. The first group was 171 third year students of the English Program, Business English Program, and Hotel and Tourism Program of Rajabhat Maha Sarakham University in 2015. The second group was five experts in English, curriculum and instruction and tourism. The instrument was two sets of an assessment form and a questionnaire. The statistics used were the percentage, frequency, mean and standard deviation. จ 1. The research findings showed that the average English competency of the students in English for tour guides was at a high level. Three high rated items of the competency were tourism management, knowledge of the tourist attractions in Maha Sarakham, and English competency (X = 3.76, 3.63 and 3.62. One moderate rated item of the competency was English of the tourist attractions in Maha Sarakham province (X = 3.43). 2. The findings indicated that the overall needs of the students for English competency development was at a high level (X = 4.07). Eight high rated items of the needs were learning assessment, trainer, importance of English competency development, training method, expected outcome, training period and knowledge of tourist attractions in Maha Sarakham (X = 4.39 4.31 4.27 4.25 4.23 3.98 3.63 and 3.54) respectively. 3. Regarding the curriculum design and development, the findings revealed that the IOC index of the curriculum was .82. The overall level of the accuracy and appropriateness of the curriculum was at the highest level (X = 4.66). Six high rated items of the curriculum was training period, training place, title of curriculum, training course description, learning objectives and trainer. In
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages403 Page
-
File Size-