Small Carnivore Conservation

Small Carnivore Conservation

Current distribution and conservation status of small carnivores in Thailand: a baseline review W. CHUTIPONG1*, N. TANTIPISANUH1, D. NGOPRASERT1, A. J. LYNAM2, R. STEINMETZ3, K. E. JENKS4,5, L. I. GRASSMAN Jr6, M. TEWES6, S. KITAMURA7, M. C. BAKER5,8, W. MCSHEA5, N. BHUMPAKPHAN9, R. SUKMASUANG9, G. A. GALE1, F. K. HARICH10, A. C. TREYDTE10, P. CUTTER3, P. B. CUTTER11, S. SUWANRAT12, K. SIRIPATTARANUKUL9, HALA-BALA WILDLIFE RESEARCH STATION13, WILDLIFE RESEARCH DIVISION13 and J. W. DUCKWORTH14 Abstract The status and distribution of small carnivores in Thailand are poorly documented even though parts of the country fall within a global core area for small carnivore conservation. Small carnivore records were compiled from most camera-trap programmes in Thailand during 1996–2013, from 21 survey areas with a total effort of about 80,000 camera-trap nights. Some records from this period generated by other methods were also collated, mainly from the authors, their correspondents through social networks, and the literature. Most photographic records were validated by independent reviewers. Of 24 species of small carnivore known from Thailand, nine were not camera-trapped by any contributing survey. No 1996–2013 records were traced from anywhere in Thailand for one species, Siberian Weasel Mustela sibirica, nor any from the 21 survey areas for another, Hairy-nosed Otter Lutra sumatrana. Six of these nine (three weasel Mustela species, Asian Small-clawed Otter Aonyx cinereus, Small-toothed Palm Civet Arctogalidia trivirgata and Otter Civet Cynogale bennettii) were recorded by other surveyors and/or other means in at least one of the 21 camera-trap survey areas; another (Eurasian Otter L. lutra) had been camera-trapped in one such area shortly before 1996. Conventional camera-trapping evidently has limited ability to detect these seven species. The number of camera-trap sta- of survey effort, random chance and perhaps other factors. Common Palm Civet Paradoxurus hermaphroditus, Large Indian Civet Viverrations with zibetha records, Hog varied Badger widely Arctonyx across collaris species,, Crab-eating presumably Mongoose reflecting differencesHerpestes urva in species and Yellow-throated abundance and Marten behaviour, Martes patterns flav- igula were camera-trapped in most survey areas. Hog Badger and Large Indian Civet are healthier in status in Thailand than in some neighbouring countries, consistent with longer-term and greater commitment to protected areas and wildlife laws in the country. The three species of highest priority for national conservation action, Hairy-nosed Otter, Otter Civet and Large-spotted Civet Viverra megaspila, are threatened mainly by conversion and degradation of their habitats, forested coastal wetlands (the former two) and forest on gentle-terrain under 300–400 m asl (the latter). Immediate habitat protection is required. Among eight species of less clear conservation status, three species of otter, Binturong Arctictis binturong and Banded Civet Hemigalus derbyanus are arguably of higher action priority because all are considered globally threatened. Rapid conversion of natural habitats threatens these species’ survival in Thailand. Comprehensive survey of semi-natural wetlands is probably the highest national survey priority for small carnivores (including cats [Felidae]). Any surveys, particularly in the north and any research, even of common species, would add to the knowledge base from which to conserve Thai small carnivores. Available resources for small carnivore in Thailand should be directed towards the priority species and habitats wherever possible. Keywords: altitudinal distribution, camera-trapping, conservation, habitat use, locality records, protected areas, social network สถานภาพและการแพร่กระจายของสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กในประเทศไทย บทคัดย่อ ประเทศไทยตั้งอยู่ในศูนย์กลางพื้นที่ที่มีความส าคัญระดับโลกต่อการอนุรักษ์สัตว์ผู้ล่าขนาดเล็ก ถึงกระนั้นองค์ความรู้ ความเข้าใจทางด้านสถานภาพ และการแพร่กระจายของสัตว์ในกลุ่มนี้ยังขาดความชัดเจนค่อนข้างมาก ข้อมูลที่เผยแพร่ในรายงานฉบับนี้ ได้มาจากการรวบรวมข้อมูลการสารวจด้วยกล้องดัก ถ่ายภาพอัติโนมัติจาก 21 พื้นที่ ซึ่งประกอบไปด้วยอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และพื้นที่ที่ไม่ใช่พื้นที่อนุรักษ์ ที่ท าการส ารวจในระหว่างปีพ.ศ. 2539 – 2556 รวมจ านวนวันส ารวจด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัติโนมัติทั้งสิ้นประมาณ 80,000 วัน นอกจากนั้นยังรวบรวมข้อมูลการพบเห็นโดยตรงผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Facebook) และข้อมูลที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่มาก่อนแล้ว ภาพจากกล้องดักถ่ายและที่ได้รับจากเครือข่ายออนไลน์เกือบทั้งหมดได้ผ่านการตรวจสอบ ความถูกต้องในการจ าแนกชนิดจากผู้เชี่ยวชาญอิสระ จากจ านวนสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กทั้งหมด 24 ชนิดที่มีรายงานการปรากฏในประเทศไทย มี 9 ชนิดที่ส ารวจไม่ พบด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติ จากข้อมูลที่รวบรวมมาทั้งหมดในช่วงเวลาดังกล่าว ไม่พบหลักฐานการปรากฏของเพียงพอนเหลือง (Mustela sibirica) และ ไม่พบหลักฐานการปรากฏของนากจมูกขน (Lutra sumatrana) ใน 21 พื้นที่ อย่างไรก็ตามมีการส ารวจพบสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กด้วยวิธีการอื่นๆ รวมทั้งจาก การศึกษาอื่นๆ จ านวน 6 ชนิด จาก 9 ชนิดข้างต้น ได้แก่ เพียงพอน (Mustela) ทั้ง 3 ชนิด นากเล็กเล็บสั้น (Aonyx cinereus) อีเห็นหน้าขาว (Arctogalidia trivirgata) และอีเห็นน้ า (Cynogale bennettii) ทั้งนี้มีการส ารวจพบนากยูเรเชีย (L. lutra) ในพื้นที่หนึ่งจาก 21 พื้นที่ด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติก่อนปี พ.ศ. 2539 ทั้งนี้สะท้อนให้เห็นถึงข้อจ ากัดของการส ารวจสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติอย่างน้อยที่สุดกับ 7 ชนิดดังกล่าว สัตว์แต่ละชนิดมี การกระจาย (จ านวนจุดติดกล้องที่ถ่ายภาพได้) แตกต่างกันค่อนข้างมาก ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากความชุกชุมและพฤติกรรม รวมถึงการออกแบบการศึกษา ความ บังเอิญ และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่เป็นที่แน่ชัด อีเห็นข้างลาย (Paradoxurus hermaphroditus) ชะมดแผงหางปล้อง (Viverra zibetha) หมูหริ่ง (Arctonyx collaris) พังพอนกินปู (Herpestes urva) และหมาไม้ (Martes flavigula) เป็นสัตว์ที่ส ารวจพบด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติจากเกือบทุกพื้นที่ หมูหริ่งและชะมดแผงหางปล้องใน Small Carnivoreประเทศไทย Conservationมีสถานภาพที่ดีกว่าประเทศเพื่อนบ้าน, Vol. 51: 96–136, ในภูมิภาคนี้ December โดยเปรียบเทียบ 2014 96 ทั้งนี้น่าจะมีสาเหตุมาจากการที่ประเทศไทยมีการบังคับใช้กฎหมายเพื่อสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่ามาอย่างยาวนานกว่าประเทศอื่นๆ สัตว์ผู้ล่าขนาดเล็ก 3 ชนิดที่ต้องได้รับการการอนุรักษ์อย่างเร่งด่วนที่สุด ได้แก่ นากจมูกขน อีเห็นน้ า และ ชะมดแผงสันหางด า (V. megaspila) เนื่องจากการสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งได้แก่ พื้นที่ชุ่มน้ าตามแนวชายฝั่ง และป่าที่ราบต่ า (ต่ากว่า 300-400 เมตร) ด้วยเหตุ นี้การปกป้องคุ้มครองถิ่นที่อยู่อาศัยจึงเป็นสิ่งจ าเป็นเร่งด่วน สัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กที่มีสถานภาพด้านการอนุรักษ์ยังไม่ชัดเจน มีจ านวน 8 ชนิด ได้แก่ นาก 3 ชนิด หมีขอ (Arctictis binturong) และอีเห็นลายพาด (Hemigalus derbyanus) อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษาอย่างเร่งด่วน เพราะสัตว์กลุ่มนี้มีความเสี่ยงต่อการ สูญพันธุ์ในระดับโลก เนื่องจากพื้นที่ชุ่มน้ าเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยที่ส าคัญของสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กหลายชนิดที่มีสถานภาพถูกคุกคามในระดับโลก (รวมทั้งสัตว์ในกลุ่มแมวป่า [Felidae] ด้วย) ดังนั้นควรได้รับความส าคัญในล าดับสูงสุดในการส ารวจเพื่อประเมินสถานภาพของสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็ก อย่างไรก็ตามการส ารวจในพื้นที่อื่นๆ โดยเฉพาะทางภาคเหนือก็มีความจ าเป็นเช่นกัน ถึงแม้ว่าจะเป็นการส ารวจชนิดพันธุ์ที่พบเจอได้ทั่วไป แต่จะมีส่วนช่วยเพิ่มพูนองค์ความรู้พื้นฐานในการอนุรักษ์ สัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กของประเทศไทยต่อไป ในการสนับสนุนการศึกษาวิจัยสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็ก ควรพิจารณาให้ความส าคัญกับชนิดพันธุ์และถิ่นที่อยู่อาศัยที่ถูก คุกคาม สถานภาพและการแพร่กระจายของสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กในประเทศไทย บทคัดย่อ ประเทศไทยตั้งอยู่ในศูนย์กลางพื้นที่ที่มีความส าคัญระดับโลกต่อการอนุรักษ์สัตว์ผู้ล่าขนาดเล็ก ถึงกระนั้นองค์ความรู้ ความเข้าใจทางด้านสถานภาพ และการแพร่กระจายของสัตว์ในกลุ่มนี้ยังขาดความชัดเจนค่อนข้างมาก ข้อมูลที่เผยแพร่ในรายงานฉบับนี้ ได้มาจากการรวบรวมข้อมูลการสารวจด้วยกล้องดัก ถ่ายภาพอัติโนมัติจาก 21 พื้นที่ ซึ่งประกอบไปด้วยอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และพื้นที่ที่ไม่ใช่พื้นที่อนุรักษ์ ที่ท าการส ารวจในระหว่างปีพ.ศ. 2539 – 2556 รวมจ านวนวันส ารวจด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัติโนมัติทั้งสิ้นประมาณ 80,000 วัน นอกจากนั้นยังรวบรวมข้อมูลการพบเห็นโดยตรงผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Facebook) และข้อมูลที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่มาก่อนแล้ว ภาพจากกล้องดักถ่ายและที่ได้รับจากเครือข่ายออนไลน์เกือบทั้งหมดได้ผ่านการตรวจสอบ ความถูกต้องในการจ าแนกชนิดจากผู้เชี่ยวชาญอิสระ จากจ านวนสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กทั้งหมด 24 ชนิดที่มีรายงานการปรากฏในประเทศไทย มี 9 ชนิดที่ส ารวจไม่ พบด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติ จากข้อมูลที่รวบรวมมาทั้งหมดในช่วงเวลาดังกล่าว ไม่พบหลักฐานการปรากฏของเพียงพอนเหลือง (Mustela sibirica) และ ไม่พบหลักฐานการปรากฏของนากจมูกขน (Lutra sumatrana) ใน 21 พื้นที่ อย่างไรก็ตามมีการส ารวจพบสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กด้วยวิธีการอื่นๆ รวมทั้งจาก การศึกษาอื่นๆ จ านวน 6 ชนิด จาก 9 ชนิดข้างต้น ได้แก่ เพียงพอน (Mustela) ทั้ง 3 ชนิด นากเล็กเล็บสั้น (Aonyx cinereus) อีเห็นหน้าขาว (Arctogalidia trivirgata) และอีเห็นน้ า (Cynogale bennettii) ทั้งนี้มีการส ารวจพบนากยูเรเชีย (L. lutra) ในพื้นที่หนึ่งจาก 21 พื้นที่ด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติก่อนปี พ.ศ. 2539 ทั้งนี้สะท้อนให้เห็นถึงข้อจ ากัดของการส ารวจสัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติอย่างน้อยที่สุดกับ 7 ชนิดดังกล่าว สัตว์แต่ละชนิดมี การกระจาย (จ านวนจุดติดกล้องที่ถ่ายภาพได้) แตกต่างกันค่อนข้างมาก ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากความชุกชุมและพฤติกรรม รวมถึงการออกSmallแบบการ carnivoresศึกษา ความ of Thailand บังเอิญ และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่เป็นที่แน่ชัด อีเห็นข้างลาย (Paradoxurus hermaphroditus) ชะมดแผงหางปล้อง (Viverra zibetha) หมูหริ่ง (Arctonyx collaris) พังพอนกินปู (Herpestes urva) และหมาไม้ (Martes flavigula) เป็นสัตว์ที่ส ารวจพบด้วยกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติจากเกือบทุกพื้นที่ หมูหริ่งและชะมดแผงหางปล้องใน ประเทศไทยมีสถานภาพที่ดีกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ในภูมิภาคนี้ โดยเปรียบเทียบ ทั้งนี้น่าจะมีสาเหตุมาจากการที่ประเทศไทยมีการบังคับใช้กฎหมายเพื่อสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่ามาอย่างยาวนานกว่าประเทศอื่นๆ สัตว์ผู้ล่าขนาดเล็ก

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    41 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us