SP/01/2004 สัมมนาวิชาการประจําป 2547 BOT Symposium 2004 ภาวะหนี้ครัวเรือนไทย: ความเสี่ยงและนัยเชิงนโยบาย Rising Thai Household Debt: Assessing Risks and Policy Implications นายยรรยง ไทยเจริญ นายเกียรติพงศ อริยปรัชญา และ น.ส. ฐิติมา ชูเชิด สายนโยบายการเงิน กันยายน 2547 บทสรุป ขอคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เปนความเห็นของผูเขียน ซึ่งไม จําเปนตองสอดคลองกับความเห็นของธนาคารแหงประเทศไทย การเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือนไทยเปนประเด็นที่ไดรับความสนใจอยางแพรหลายในปจจุบัน งานวิจัยนี้ไดประเมินความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากหนี้ภาคครัวเรือนและไดชี้ใหเห็นถึงนัยเชิงนโยบายที่สําคัญ โดย ใชขอมูลจากโครงการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนโดยสํานักงานสถิติแหงชาติ และขอมูลจาก การสํารวจของธนาคารแหงประเทศไทย รวมถึงฐานขอมูลจากธนาคารพาณิชยตางๆ เพื่อใหการวิเคราะหถึง สาเหตุและการกระจายตัวของหนี้ครัวเรือนเปนไปโดยสมบูรณยิ่งขึ้น การศึกษาพบวา หนี้ภาคครัวเรือนในระดับปจจุบันนั้นยังไมกอใหเกิดปญหาตอเสถียรภาพของ ระบบสถาบันการเงินและเศรษฐกิจมหภาค อยางไรก็ดี ครัวเรือนบางกลุมโดยเฉพาะผูที่มีรายไดต่ํา มี การศึกษานอย มีความรูความเขาใจทางการเงินไมมาก หรือพึ่งพาแหลงเงินทุนนอกระบบเปนหลัก ไดแสดง ใหเห็นถึงสัญญาณของภาวะกดทางการเงินอันเกิดจากการมีภาระหนี้หนัก นอกจากนั้น ครัวเรือนบางกลุม อาจจะมีความเปราะบางจากการคาดการณอนาคตดานรายไดและทิศทางอัตราดอกเบี้ยดีเกินความเปนจริง รวมทั้งปจจัยเสี่ยงจากทัศนคติเกี่ยวกับการผิดนัดชําระหนี้และการคาดหวังความชวยเหลือจากรัฐบาลซึ่งอาจมี นัยตอเสถียรภาพของระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจและภาระผูกพันของภาครัฐไดในอนาคต บทความสรุป ดวยการเสนอแนวทางนโยบายเพื่อรองรับความเสี่ยงที่อาจเกิดจากระดับหนี้ภาคครัวเรือนที่สูงขึ้น รวมถึง มาตรการเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งใหกับภาคครัวเรือนภายใตการเขาถึงแหลงทุนที่จะมีมากขึ้นในอนาคต ผูเขียนขอขอบค ุณ ดร.อัจนา ไวความดี คุณนิตยา พิบูลยรัตนกิจ ดร.ทิตนันทิ์ มัลลิกะมาส และดร.รุง โปษยานนท มัลลิกะมาสที่ใหคําแนะนําและ การสนับสนุนอย างดียิ่ง ขอขอบคุณสําหรับความรวมมือและการประสานงานอยางใกลชิดของสวนวิชาการ สํานักงานภาค ธนาคารแหงประเทศไทย ทั้ง 3 สาขา โดยเฉพาะคุณนาฏนอย แกวบรรจง คุณศิริพร ศิริปญญวัฒน และคุณโรจนลักษณ ปรีชา ตัวแทนคณะวิจัยหนี้ครัวเรือนจากสํานักงานภาค ที่มารวมปฏิบัติงานที่สํานักงานใหญ สําหรับขั้นตอนการออกแบบคําถาม การปฏิบัติงานภาคสนาม และการวิเคราะหผลผูเขียนขอขอบคุณสํานักงาน สถิติแหงชาติเปนอยางสูงที่ใหความอนุเคราะห โดยเฉพาะคุณจีราวรรณ บุญเพิ่ม คุณอรพินท แมททิว คุณโสภณ ตติยานันทพงศ คุณจํารักษ ไวทยาชีวะ และคุณบรรพต ตีเมืองสอง สําหรับขอมูลประกอบการศึกษาและการสุมตัวอยางเพื่อการออกสํารวจ นอกจากนี้ ขอขอบคุณเปนพิเศษสําหรับคุณศุภโชค ไชยสุวรรณ สําหรับการใหความชวยเหลือดานขอมูลสินเชื่อในระบบ รวมถึงเพื่อนพนักงานในทีมเศรษฐกิจมหภาค ทีมดัชนีชี้เศรษฐกิจ และ สายนโยบายการเงินที่ใหกําลังใจและการสนับสนุนดวยดี รวมถึงผูชวยวิจัย ไดแก คุณธิดารัตน สาทิพจันทร คุณกษมา เฉยใจชื่น และคุณภาวัช ศิวาพานิช สําหรับขอผิดพลาดใดๆ ที่ปรากฎขึ้นในงานวิจัยนี้ ผูเขียนยินดีที่จะนอมรับไวทั้งหมด บทสรุปสําหรับผูบริหาร ภาวะหนี้ครัวเรือนไทย ความเสี่ยงและนัยเชิงนโยบาย ในชวงหลายปที่ผานมา หนี้เฉลี่ยของครัวเรือนไทยไดขยายตวอยั างรวดเร็ว โดยสัดสวนหนี้ ตอรายไดเพิ่มขึ้นเทาตัวนบจากชั วงกอนวิกฤตเปนตนมา ซึ่งปรากฏการณที่คลายคลึงกันนกี้ ็เปนสิ่งที่ เกิดขึ้นในหลายประเทศเชนเดียวกัน สําหรับประเทศไทยนั้น การเพิ่มขึ้นของหนี้ไดกระจายตัวไปในทุก กลุมรายไดและกลุมอายุของครัวเรือนที่อยในทู ุกภาคของประเทศ การเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือนสระดู ับซึ่ง ไมเคยมีมากอนนี้จึงเปนประเด็นเศรษฐกิจที่ไดรับความสนใจอยางแพรหลายในปจจบุ ัน โดยหลักการแลว การเพิ่มขึ้นของหนี้ภาคครัวเรือนไมจ ําเปนจะตองเปนปญหาเสมอไปเพราะ เปนสิ่งที่สะทอนให เห็นถึงสภาวะในบางชวงของคร ัวเรอนทื ี่ปรารถนาจะใชสินเชื่อเพื่อรักษาระดับการใช จายไมใหผันผวนจนเกินไป และหากวิเคราะหจากเครื่องชี้ฐานะทางการเงินของครัวเรือนไทยในระดับ มหภาค (Macro-prudential Indicators) ปจจุบันยังไมมีสัญญาณที่บงชี้วาภาคครัวเรือนไทยมีหนี้สูง เกินไป หรือวาคุณภาพของสินเชื่อของภาคครัวเรือนมีแนวโนมเลวลง เพราะแมระดับหนี้ครัวเรือนจะ เพิ่มขึ้นมาก แตหากเทียบเปนสัดสวนตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) หรือตอรายไดสุทธิของ ครัวเรือนแลว ยังอยูในระดับไมสูงนักเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคหรือกลุมประเทศที่ พัฒนาแลว นอกจากนี้ แมวาสัดสวนหนี้เสียของสินเชื่อสวนบุคคลจะยังอยูในระดับสูง ก็เปนผลพวงจาก ชวงวิกฤตเศรษฐกิจ และสดสั วนดังกลาวก็โนมลดลงเปนลําดับ อยางไรก็ดี ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในปจจุบันก็คือ ครัวเรือนควรตระหนักวาการเพิ่มขึ้นของ ระดับหนี้ตอรายไดจะทําใหคร ัวเรือนมีความออนไหว (sensitive) มากขึ้นตอปจจัยเสี่ยงตางๆ อาทิ การ ลดลงของรายได การวางงาน และการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยเงินกู ดังนั้น การเพิ่มขึ้นของหนี้ภาค ครัวเรือนจึงมีความสําคัญและมีนัยอยางกวางขวางใน 5 ประเด็น ไดแก ฐานะทางการเงินของครัวเรือน เสถียรภาพของระบบสถาบันการเงิน เศรษฐกิจมหภาค สังคม และการดําเนินนโยบายที่เหมาะสมของผู วางนโยบาย งานวิจัยนี้ไดศึกษาเพื่อตอบคําถามที่สําคัญ 5 ขอ ไดแก (1) หนี้ครัวเรือนเพิ่มขนดึ้ วยสาเหตุ ใด (2) ความเสี่ยงที่ตามมาจากการเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือนคืออะไร และใครเปนผูที่ตกอยูในกลุมเสี่ยง นั้น (3) อะไรคือนัยที่มีตอเสถียรภาพของระบบการเงิน (4) นัยที่มีตอการอุปโภคบริโภคและการออม โดยรวมเปนอยางไร และ (5) ผูวางนโยบายควรดําเนนการอยิ างไรเพื่อใหการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สามารถเกิดขนไดึ้ อยางยั่งยืนในสภาวะทหนี่ ี้ครัวเรือนกาลํ ังกอตัวสูงขนึ้ ในการศึกษาเพื่อตอบคําถามดังกลาวนั้นจําเปนตองวิเคราะหขอมูลหนี้ครัวเรือนลกลงไปในึ ระดับจุลภาค โดยงานวิจัยนี้ไดอาศัยขอมูลการสํารวจครัวเรือนลาสุด 3 โครงการที่สําคัญ ไดแก โครงการ สํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน โดยสํานักงานสถิตแหิ งชาติ (ไตรมาส 1 ป 2547) ประกอบกับขอม ูลจากการสํารวจของธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) 2 โครงการ คือ โครงการศึกษา ความตองการบริการทางการเงิน (ป 2546) และโครงการสํารวจทัศนคติครวเรั ือนตอการกอหนี้และการ ออม (ป 2547) งานวิจัยนี้คนพบวา ในภาพรวมแลวสถานการณ หน ี้ครัวเรือนไทยยังอยูในระดับที่บริหาร จัดการไดและไมนาจะนําไปสูปญหาในวงกวาง แตจะมีครัวเรือนเพียงบางกลุมที่มีความเปราะบางเปน พิเศษตอปจจัยเสี่ยงตางๆ ที่อาจกระทบตอความสามารถในการชําระหนี้ได สําหรับครัวเรือนที่มีหนี้กลุม อื่นๆ ก็อาจไดรับผลกระทบจากปจจัยเสี่ยงเหลานี้เชนกัน แตก็ยังมีความสามารถที่จะรองรับไดอยู โดย เมื่อปจจัยเสี่ยงเกิดขึ้นทุกครัวเรือนก็จะตองม ีการปรับพฤติกรรมการใชจายใหสอดคลองกับสถานการณ ในอนาคต นอกจากนี้ การที่ครัวเรือนมีความเปราะบางมากขนนึ้ ั้นเปนสิ่งทสะที่ อนใหเหนถ็ ึงความ ออนไหวตอการดําเนินนโยบายการเงินในอนาคตมากขึ้น ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงเสนอขอเสนอแนะเชิง นโยบายใหมีการพัฒนาระดับความรูความเขาใจทางการเงินของผูบริโภค และการเพิ่มโอกาสในการ เขาถึงแหลงเงนทิ ุนในระบบสถาบันการเงนิ ที่จะชวยสรางความมั่นใจไดวาครัวเรอนสามารถทื ี่จะทําการ กูยืมได โดยกอใหเกิดความเสี่ยงตอฐานะทางการเงินของครัวเรือนเอง ตอระบบสถาบันการเงนิ และตอ เศรษฐกิจโดยรวมที่นอยที่สดุ งานวิจัยนี้ไดแบงการศึกษาเปน 6 สวน ดังนี้ (1) บทนํา (2) การนําเสนอกรอบทฤษฎีที่ใช อธิบายพฤติกรรมการบริโภคและการกูยมของครื ัวเรือน ไดแก ทฤษฎีวัฏจักรชวี ติ (Life-cycle Model) และทฤษฎีรายไดถาวร (Permanent Income Theory) ที่ประยุกตใหเหมาะสมกับกรณีประเทศไทย เพื่อที่จะทําความเขาใจในเหตุผลเบื้องหลังของการเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือน การศึกษาในสวนนี้พบวา อัตราดอกเบี้ยที่อยูในระดับต่ํา โครงสรางประชากรที่เปลี่ยนไป และโอกาสการเขาถึงแหลงเงนทิ ุนที่ดีขึ้น ลวนแตมีสวนกอใหเกิดภาวะหนี้ครัวเรือนดังเชนทฤษฎีไดกลาวไว แมสิ่งที่คนพบจะสอดคลองกับทฤษฎี ที่วา การเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือนเปนผลสืบเนื่องจากระดับการพัฒนาทางเศรษฐกจทิ ี่ดีขึ้น แตความเสี่ยง ที่มีตอเสถียรภาพเศรษฐกจในปิ จจุบันนั้นยังเปนสิ่งทตี่ องศึกษาในลําดับถัดไป (3) การศึกษาขอมูลของ ครัวเรือนทั้งขอม ูลในภาพรวมและระดบจั ุลภาค โดยวิเคราะหการกระจายตัวของหนี้ครัวเรือนในมิติตางๆ เชน แหลงที่ตงของครั้ ัวเรือน รายได อาชีพ แหลงเงินกู และวตถั ุประสงคในการก ู นอกจากนี้ (4) การศึกษาความเปราะบางของครัวเรือนในระดับมหภาคและจุลภาค ซึ่งพบวา เครื่องชี้ฐานะทางการเงินในระดับมหภาคของภาคครวเรั ือนในปจจบุ ันยังไมมีสัญญาณบงชี้ถึงอันตราย ใดๆ ในสวนนี้ไดหยิบยกปจจัยเสี่ยงตอเสถียรภาพฐานะทางการเงินของครัวเรือนในดานราคา รายได และอัตราดอกเบี้ยขึ้นมาวิเคราะหทางเศรษฐมติ ิโดยใชแบบจ ําลองภาวะกดดันทางการเงินของครัวเรือนที่ ประมาณขึ้นจากขอมูลการสํารวจของ ธปท. และเมื่อผนวกผลการศึกษาดังกลาวเข ากบขั อมูลโครงการ สํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนของสํานักงานสถิติแหงชาต ิแลว แบบจําลองชี้ใหเห็นวา ครัวเรือนโดยรวมมีความยดหยื ุนพอสมควรในการรองรับปจจัยเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยและรายไดที่อาจ เกิดขึ้น อยางไรก็ดี ยังมีครัวเรือนบางกลมทุ ี่แสดงถึงความเปราะบางเปนพิเศษตอป จจัยเสี่ยงเหลานี้ (5) การวิเคราะหน ัยที่มีตอระบบสถาบันการเงิน และตอเศรษฐกิจมหภาค ในสวนนี้ไดทําการเชื่อมโยงความ มีเสถียรภาพของภาคครัวเรือนเขากับระบบสถาบันการเงิน และคนพบว าความเสี่ยงที่เกิดขึ้นตอสถาบัน การเงินนั้นมีไมเทากัน นอกจากนี้ การเปนหนี้ของภาคครัวเรือนยังแสดงนัยตอเศรษฐกิจมหภาคจาก ความออนไหวในการบริโภคภาคเอกชน และการลดลงของการออมภาคครัวเรือน สุดทาย (6) การพิจารณาแนวโนมของหนี้ภาคครัวเรอนในอนาคตื ซึ่งคนพบวา หนี้ภาค ครัวเรือนไทยจะยังคงเพิ่มขนอยึ้ างตอเนื่อง แตในอัตราที่ชะลอลง จากขอสรุปดังกลาวจึงนํามาซึ่งการ เสนอแนะนัยเชิงนโยบายหลัก 3 ดาน ประการแรก คือ ดานนโยบายการเงิน การพิจารณาอัตรา ดอกเบี้ยนโยบายควรคํานึงถึงความเสี่ยงที่ภาวะอัตราดอกเบี้ยต่ําตอเน ื่องเปนเวลานานจะนําไปสูปญหา การสะสมหนี้เกินควรของภาคครัวเรือน ในขณะเดียวกัน ธนาคารกลางจําตองตระหนักถึงประสิทธิภาพ ของนโยบายการเงินที่มากขึ้นเมื่อระดับหนี้ภาคครัวเรอนสื ูงขึ้น เนื่องจากการบริโภคและความสามารถใน การชําระหนี้ของภาคครัวเรอนจะมื ีความออนไหวมากขึ้นตอการเปลยนแปลงของอี่ ัตราดอกเบี้ย ประการตอมา คือ ดานนโยบายกํากับดูแลสถาบันการเงิน ควรเพิ่มประสิทธภาพของกรอบการกิ ํากับ ดูแลสถาบันการเงิน โดยใหมีการตรวจสอบแบบบูรณาการเพื่อใหสถาบันการเงินที่ดําเนินธุรกิจใหบริการ สินเชื่อสวนบคคลอยุ ูภายใตมาตรฐานการตรวจสอบและกํากับที่รอบคอบและรัดกมเทุ าเทียมกนั และ ประการสุดทาย ดานนโยบายพื้นฐาน ภายใตสภาวการณที่สินเชื่อผูบริโภคมีการเติบโตอยางตอเนื่อง ทุกฝายที่เกยวขี่ องควรรวมม ือกันเพื่อยกระดับตลาดสินเชื่อผูบริโภคใหมีประสิทธิภาพและเสถยรภาพี ยิ่งขึ้น โดยมาตรการที่ควรใหความสําคญั ไดแก การสงเสริมใหมีการจัดเก็บและรวมก ันใชฐานขอมูล ประวตั ิลูกคาระหวางสถาบนการเงั ินตางๆ อยางแพรหลาย การพัฒนาระดับความรูความเขาใจทาง การเงินของผูบริโภค การเพิ่มประสิทธิภาพของโครงสรางทางกฎหมายเพื่อรองรับการปรับโครงสราง หนี้สวนบุคคลที่อาจเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของหนี้ภาคครัวเรือน และการสรางฐานขอมูลฐานะทาง การเงินของภาคครัวเรือนในระดับประเทศ ทั้งนี้ แมวาความเสี่ยงของภาวะหนี้ครัวเรือนในปจจุบันยังอยูในระดับที่สามารถจดการไดั
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages62 Page
-
File Size-