ผลของการใชส้ ารสกดั จากพืชสมุนไพรและน้า มนั หอมระเหยบริสุทธ์ิร่วมกบั ยสี ตป์ ฏิปักษ์ Issatchenkia orientalis VCU24 ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสในมะมว่ งพนั ธุ์น้า ดอกไม ้ PHOUTTHAPHONE XAYAVONGSA วทิ ยานิพนธ์น้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา สิงหาคม 2560 ลิขสิทธ์ิเป็นของมหาวทิ ยาลยั บูรพา กิตติกรรมประกาศ วทิ ยานิพนธ์ฉบบั น้ีสา เร็จไปได ้ ดว้ ยความกรุณาและเมตตาเป็นอยา่ งสูงจากทา่ นอาจารย์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร.อนุเทพ ภาสุระ กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ที่ใหค้ า ปรึกษา ขอ้ ช้ีแนะที่ เป็นประโยชน์ต่อการทา งานวจิ ยั เรื่อยมา ตลอดจนการดูแลความกา้ วหนา้ ของการดา เนินงานตา่ ง ๆ และใหค้ วามช่วยเหลือในการแกไ้ ขขอ้ บกพร่องในวทิ ยานิพนธ์ของขา้ พเจา้ จนกระทง่ั ลุล่วงไปได้ ดว้ ยดี ขา้ พเจา้ มีความรู้สึกซาบซ้ึงในความเมตตากรุณาและความทุม่ เทของอาจารย ์ จึงขอกราบ ขอบพระคุณอาจารยเ์ ป็นอยา่ งสูงไว ้ณ ที่น้ี ข้าพเจ้าขอกราบขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย ์ ดร.ธิดา เดชฮวบ ประธานกรรรมการ วิทยานิพนธ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร.อภิรดี ปิลันธนภาคย์ และ ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร.สุดารัตน์ สวนจิตร กรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ ที่กรุณาใหค้ า แนะนา เพื่อแกไ้ ขว้ ทิ ยานิพนธ์ส่วนบกพร่อง เพื่อใหว้ ทิ ยานิพนธ์เล่มน้ีสมบูรณ์ยง่ิ ข้ึน ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยผ์ ทู้ รงคุณวฒุ ิทุกทา่ นที่ไดป้ ระสิทธิประสาทวชิ าความรู้ ฝึกฝนทกั ษะ กระบวนการคิดและการทา งาน ตลอดระยะเวลาการศึกษามหาบณั ฑิตคร้ังน้ีแก่ ข้าพเจ้า ขอขอบคุณบุคลากรประจาโครงการบัณฑิตศึกษา และภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ทุกทา่ นที่คอยช่วยเหลือและอา นวยความสะดวกในการ ประสานงาน เพื่อขอความอนุเคราะห์การใชเ้ ครื่องมือและสารเคมีตา่ ง ๆ ในการทา งานวจิ ยั ขอขอบคุณกลั ยาณมิตรทุกทา่ นที่ไดใ้ หค้ วามช่วยเหลือและเป็นกา ลงั ใจใหข้ า้ พเจา้ ตลอดมา ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ เพื่อน ๆ นิสิต ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ทุกทา่ นที่เป็นกา ลงั ใจและช่วยเหลือเก้ือกลู ในการเรียนและ การทา งานวทิ ยานิพนธ์น้ี สุดทา้ ยน้ี ขา้ พเจา้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอ่ คา สะหมอง และคุณแมบ่ ุณลดั ชยั วงสา ที่ ทา่ นช่วยสนบั สนุนในดา้ นการศึกษาแก่ขา้ พเจา้ มาต้งั แตว่ ยั เยาว ์ ใหค้ วามรักและความเขา้ ใจตลอดมา ขอขอบคุณครอบครัวที่เป็นเปรียบเหมือนแรงกายและแรงใจที่สา คญั ซ่ึงทา ใหว้ ทิ ยานิพนธ์ฉบบั น้ี สา เร็จลุล่วงลงได ้ โดยหากวิทยานิพนธ์ฉบบั น้ีมีประโยชน์และคุณคา่ ทางการศึกษาตอ่ ผอู้ า่ น ขา้ พเจา้ ขอยกความดีท้งั หมดแด่ทา่ นอาจารย ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร.อนุเทพ ภาสุระ และกรรมการสอบ วทิ ยานิพนธ์ทุกทา่ น รวมท้งั กราบเป็นกตเวทิตาแก่บิดา มารดา คณาจารยแ์ ละผมู้ ีพระคุณที่ไดอ้ บรม เล้ียงดู ใหค้ วามรู้ ความเมตตา แก่ขา้ พเจา้ แต่หากวทิ ยานิพนธ์ฉบบั น้ีมีความบกพร่องประการใด ผู้เขียนขอนอ้ มรับความผิดพลาดไวแ้ ตเ่ พียงผเู้ดียว Phoutthaphone Xayavongsa ง 55910185: สาขาวิชา: วิทยาศาสตร์ชีวภาพ; วท.ม. (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ) คาส าคัญ : ตะไคร้/ ข่า/ เปลือกมังคุด/ สารสกดั หยาบ/สารสกดั บริสุทธ์ิ/ โรคแอนแทรคโนส/ เช้ือรา Colletotrichum gloeosporioides พุทธพร ชัยวงสา: ผลของการใชส้ ารสกดั จากพืชสมุนไพรและน้า มนั หอมระเหยบริสุทธ์ิร่วมกบั ยีสต์ปฏิปักษ์ Issatchenkia orientalis VCU24 ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสในมะมว่ งพนั ธุ์น้า ดอกไม ้ (EFFECTS OF MEDICINAL PLANT CRUDE EXTRACTS, PURE VOLATILE OILS IN COMBINATION WITH ANTAGONISTIC YEAST Issatchenkia orientalis VCU24 IN CONTROLLING ANTRACNOSE OF MANGO CV. NAM DOK MAI) คณะกรรมการควบคุม วิทยานิพนธ์: อนุเทพ ภาสุระ, Ph.D., 130 หน้า. ปี พ.ศ. 2560. การวิจยั น้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาผลของสารสกดั หยาบจากพืชสมุนไพร และน้า มนั หอม ระเหยบริสุทธ์ิ 3 ชนิด ไดแ้ ก่ ตะไคร้หอม ข่า และเปลือกมังคุด น้า มนั หอมระเหยบริสุทธ์ิ Citronellal Eugenol และ Xanthones โดยใช้วิธี Poisoned food technique รวมท้งั การศึกษาการประยกุ ตใ์ ชย้ ีสต์ ปฏิปักษ์ Issatchenkia orientalis VCU24 ร่วมกบั น้า มนั หอมระเหยบางชนิด ในการควบคุมเช้ือรา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุของโรคแอนแทรคโนสในมะม่วงพนั ธุ์น้า ดอกไม ้ ผลการศึกษา พบวา่ สารสกดั หยาบจากตะไคร้หอม และข่า สามารถยบั ย้งั การเจริญของเสน้ ใยเช้ือรา C. gloeosporioides ได้ 100% ที่ความเข้มข้น 0.25% (v/v) และ 0.5% (v/v) ตามลาดับ ในขณะที่ สารสกดั หยาบจากเปลือก มังคุดที่ระดับความเข้มข้น 12% (v/v) สามารถยบั ย้งั การเจริญของเสน้ ใยเช้ือราที่ก่อโรคได ้ 89.9±0.37% สา หรับน้า มนั หอมระเหยบริสุทธ์ิ พบวา่ Eugenol ที่ความเข้มข้น 0.062% (v/v) และ Citronellal ที่ความเข้มข้น 0.5% (v/v) สามารถยบั ย้งั การเจริญของเสน้ ใยเช้ือราได ้98.8±0.00% และ 100% ตามลาดับ ในขณะที่ Xanthones ที่ความเข้มข้น 8.0% (v/v) สามารถยบั ย้งั การเจริญของเสน้ ใยเช้ือราไดดีที่สุด้ 72.6±0.00% ส่วนการใชน้ ้า มนั หอมระเหย Citronellal ความเข้มข้น 0.062% (v/v) ร่วมกบั ยีสตป์ ฏิปักษ ์ I. orientalis VCU24 และชุดทดสอบที่ใช้ Citronellal ความเข้มข้น 0.062% (v/v) เพียงอยา่ งเดียว พบวา่ สามารถลดการเกิดโรคแอนแทรคโนสบนผลมะมว่ งพนั ธุ์น้า ดอกไมไ้ ด ้ เท่ากบั 81.73±2.71% และ 30.13±17.24% ตามลาดับ ในขณะที่ การใช้สารกา จดั เช้ือรา Carbendazim มีประสิทธิภาพในการลดการ เกิดโรคแอนแทรคโนสบนผลมะมว่ งพนั ธุ์น้า ดอกไมได้้ 92.10±1.38% การศึกษาปริมาณเช้ือยีสตป์ ฏิปักษ ์ I. orientalis VCU24 ในรอยแผลบนผลมะมว่ งพนั ธ์น้า ดอกไมใ้ นชุดทดสอบที่แตกต่างกนั พบวา่ ในชุด ควบคุมที่ใส่ยีสตอ์ ยา่ งเดียว ชุดทดสอบที่ใส่น้า มนั หอมระเหย Citronellal ที่ความเข้มข้น 0.062% (v/v) ร่วมกบั ยีสตปฏิปักษ์์ พบวา่ ยีสต ์ I. orientalis VCU24 มีปริมาณเชลล์ยีสต์ไมแ่ ตกต่างกนั ทางสถิติ (p < 0.05) โดยสามารถนับจานวนได้ 8.85±0.52 และ 8.78±0.04 Log10CFU/ wound ตามลาดั บ จ 55910185: MAJOR: BIOLOGICAL SCIENCE; M.Sc. (BIOLOGICAL SCIENCE) KEYWORDS: CITRONELLA GRASS/ GALANGA/ MANGOSTEEN PERICARP/ CRUDE EXTRACT/ ESSENTIAL OIL/ ANTHRACNOSE/ Colletotrichum gloeosporioides PHOUTTHAPHONE XAYAVONGSA: EFFECTS OF MEDICINAL PLANT CRUDE EXTRACTS, PURE VOLATILE OILS IN COMBINATION WITH ANTAGONISTIC YEAST Issatchenkia orientalis VCU24 IN CONTROLLING ANTRACNOSE OF MANGO CV. NAM DOK MAI. ADVISORY COMMITTEE: ANUTHEP PASURA, Ph.D. 130 P. 2017. The objective of this study was to examine the efficacy of medicinal plant crudes from Cymbopogon nardus, Alpinia galangal and Garcinia mangostana, their pure volatile oils; citronellal, eugenol and xanthones using poisoned food technique and application of antagonistic yeast Issatchenkia orientalis VCU24 combined with some volatile oils to control antracnose of mango cv. Nam Dok Mai caused by Colletotrichum gloeosporioides. The results showed that the mycelial growth of C. gloeosporioides was completely inhibited by citronellal grass and galangal crude extracts at 0.25% (v/v) and 0.5% (v/v), respectively. In contrast, mangosteen crude extract at 12% (v/v) concentration inhibited the mycelial growth of C. gloeosporioides by 89.9±0.37%. The effects of pure volatile oils, eugenol and citronellal, inhibited 98.8±0.00% and 100% mycelial growth of C. gloeosporioides at 0.062% (v/v) and 0.5% (v/v), respectively. However, xanthone at the highest concentration tested at 8.0% (v/v) inhibited the mycelial growth of C. gloeosporioides by 72.6±0.00%. Combined use of 0.062% (v/v) citronellal and I. orientalis VCU24 and 0.062% (v/v) citronellal alone showed the antracnose disease reduction by 81.73±2.71% and 30.13±17.24% on mango cv. Nam Dok Mai, respectively. Whereas, the use of carbendazim showed the antracnose disease reduction at 92.10±1.38%. Viable cell numbers of I. orientalis VCU24 were examined in wounded mango. It was found that control group (yeast only) and treatment group, 0.062% (v/v) of citronellal combined with yeast (I. orientalis VCU24), showed that the cell numbers of yeast I. orientalis VCU24 in the wounds were not significantly different (p < 0.05), and yeast cell numbers were approximately 8.85±0.52 and 8.78±0.04 log10CFU/wound, respectively. สารบัญ หน้า บทคดั ยอ่ ภาษาไทย..................................................................................................................... ง บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ................................................................................................................ จ สารบัญ....................................................................................................................................... ฉ สารบัญตาราง............................................................................................................................. ฌ สารบัญภาพ................................................................................................................................ ญ บทที่ 1 บทนา....................................... .......................................................................................... 1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา.................................................... .................... 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา............................................................................................ 4 สมมติฐานการวิจัย......................................................................................................... 4 ขอบเขตการศึกษา.......................................................................................................... 4 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ............................................................................................ 5 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง.......................................................................................... 5 มะมว่ ง (Mango) ............................................................................................................ 6 โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose disease).................................................................... 8 การจัดการและควบคุมโรคแอนแทรคโนส (Management & Controlling of 14 Anthracnose disease)..................................................................................................... พืชสุมนไพรที่ใช้ในการวิจัย 20 3 วิธีดาเนินการวิจัย........................................................................................................ ........ 38 พืชสมุนไพร..................................................................................................................
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages142 Page
-
File Size-