Anomala Grandis; 9

Anomala Grandis; 9

ก1 ค าน า ความหลากหลายทางชีวภาพ (biological diversity หรือ biodiversity) หมายถึง สิ่งมีชีวิต นานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบนิเวศ อันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลกทั้งระดับ พันธุกรรมหรือยีน (gene) ขึ้นไปถึงระดับชนิดหรือสปีชีส์ (species) จนถึงความหลากหลายของกลุ่มสิ่งมีชีวิต เชิงนิเวศวิทยา (ecological community) ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพมีอยู่อย่างมากมายทั้ง ทางตรงและทางอ้อม ประโยชน์ทางตรง ได้แก่ การให้เนื้อไม้ เป็นอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษา โรค สําหรับประโยชน์ทางอ้อม ได้แก่ คุณค่าในการรักษาระบบนิเวศให้สามารถดํารงอยู่ได้ เช่น การรักษาหน้า ดิน การตรึงไนโตรเจนสู่ดิน การควบคุมความชื้น รวมถึงการท่องเที่ยวและนันทนาการ การรักษาความ หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่หนึ่งๆ ให้คงความอุดมสมบูรณ์ จําเป็นต้องมีข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่นั้นก่อน การศึกษาข้อมูลดังกล่าวจะทําให้ทราบถึงการมีอยู่ของความหลากหลายทางชีวภาพในแต่ละ พื้นที่ ทําให้สามารถนําไปใช้ในการวางแผนบริหารจัดการทรัพยากรความหลากหลายในระดับพื้นที่และ ระดับประเทศให้คงความอุดมสมบูรณ์ต่อไปในอนาคต กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้เห็นความสําคัญในการอนุรักษ์ความหลากหลาย ทางชีวภาพ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จึงได้ส่งแผนการดําเนินการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพใน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าให้สําหรับสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 (บ้านโป่ง) โดยกลุ่มงานวิชาการดําเนินการ รายงานฉบับนี้เป็นรายงานผลการสํารวจความหลากหลายชนิดพรรณพืช แมลง และเห็ด ในป่าเบญจพรรณ พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี จังหวัดราชบุรี ซึ่งเป็นข้อมูลส่วนหนึ่งของความหลากหลายที่มีอยู่ในเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี สําหรับข้อมูลการสํารวจความหลากหลายที่ได้ดําเนินการที่ผ่านมา จะได้รวบรวม ในภาพรวมของเขตรักษาพันธุ์ต่อไป คณะผู้จัดทํา ข2 สารบัญ เรื่อง หน้า คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค สารบัญภาพ ง บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ดําเนินการ 1 บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 4 บทที่ 3 อุปกรณ์ และวิธีการสํารวจ 8 บทที่ 4 ผลการสํารวจ 4.1 ผลการสํารวจความหลากหลายของพรรณไม้ 16 4.2 ผลการสํารวจความหลากหลายของแมลง 29 4.3 ผลการสํารวจความหลากหลายของเห็ด 70 บทที่ 5 สรุปและวิจารณ์ผลการสํารวจ 81 บทที่ 6 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ 83 กิตติกรรมประกาศ 84 เอกสารอ้างอิง 85 คณะผู้ดําเนินการ 87 ค1 สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 บัญชีรายชื่อไม้ต้นที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 20 2 ค่าดัชนีความสําคัญของไม้ใหญ่ในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 23 3 บัญชีรายชื่อไม้หนุ่มที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 26 4 ค่าดัชนีความสําคัญของไม้หนุ่มในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 28 5 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 37 6 จํานวนชนิดของผีเสื้อกลางวันในแต่ละฤดูที่พบในป่าเบญจพรรณ 41 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 7 รายชื่อแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 61 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 8 บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 78 2ง สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 แผนที่แสดงตําแหน่งจุดสํารวจในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี จังหวัดราชบุรี 9 2 โครงสร้างป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี จังหวัดราชบุรี 25 3 แผนภาพ Venn diagram เปรียบเทียบข้อมูลของผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในฤดูร้อน 42 และฤดูฝนป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 4 จํานวนชนิดผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบจําแนกตามฤดูในป่าเบญจพรรณ 43 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 5 จํานวนชนิดผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบจําแนกตามวงศ์ในป่าเบญจพรรณ 43 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 6 แผนภาพ Venn diagram เปรียบเทียบข้อมูลของแมลงปีกแข็งที่สํารวจพบในฤดูร้อนและ 68 ฤดูฝนป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 7 จํานวนชนิดแมลงปีกแข็งที่สํารวจพบจําแนกตามวงศ์ในป่าเบญจพรรณ 68 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 8 แผนภาพ Venn diagram เปรียบเทียบข้อมูลของผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในฤดูร้อน 69 และฤดูฝนป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 9 จํานวนชนิดผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบจําแนกตามวงศ์ในป่าเบญจพรรณ 69 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี ภาพชุดที่ หน้า 1.1 ตัวอย่างพรรณไม้ที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 18 1.2 ตัวอย่างพรรณไม้ที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 19 1.3 ตัวอย่างพรรณไม้ที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 20 จ3 สารบัญภาพ ภาพชุดที่ หน้า 2.1 ตัวอย่างผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 30 2.2 ตัวอย่างผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 31 2.3 ตัวอย่างผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 32 2.4 ตัวอย่างผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 33 2.5 ตัวอย่างผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 34 2.6 ตัวอย่างผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 35 3.1 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 45 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.2 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 46 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.3 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 47 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.4 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 48 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.5 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 49 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.6 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 50 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.7 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 51 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.8 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 52 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี ฉ4 สารบัญภาพ ภาพชุดที่ หน้า 3.9 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 53 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.10 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 54 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.11 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 55 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.12 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 56 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.13 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 57 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.14 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 58 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.15 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 59 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 3.16 ตัวอย่างแมลงปีกแข็งและผีเสื้อกลางคืนที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ 60 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 4.1 ตัวอย่างเห็ดที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 71 4.2 ตัวอย่างเห็ดที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 72 4.3 ตัวอย่างเห็ดที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 73 4.4 ตัวอย่างเห็ดที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 74 4.5 ตัวอย่างเห็ดที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 75 4.6 ตัวอย่างเห็ดที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 76 ช5 สารบัญภาพ ภาพชุดที่ หน้า 4.7 ตัวอย่างเห็ดที่สํารวจพบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี 77 1 บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ด าเนินการ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ าภาชี ประวัติการจัดตั้งพื้นที่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี ได้ประกาศตามพระราชกฤษฎีกาเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2521 มีเนื้อที่ประมาณ 489.31 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 305,820 ไร่ ตั้งอยู่ใน ท้องที่ตําบลบ้านบึง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เป็นแหล่งต้นน้ําลําธาร ต้นกําเนิดแม่น้ําภาชี และเป็นแหล่งที่ มีสัตว์ป่าชุกชุม แหล่งน้ําแหล่งอาหารสัตว์อุดมสมบูรณ์ ฉะนั้น เพื่อให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าโดย ปลอดภัย ตลอดจนสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติที่มีอยู่ในพื้นที่ให้คงอยู่ตลอดไปจึงได้ประกาศให้เป็นเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่า ที่ตั้ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชีตั้งอยู่ในแนวเส้นรุ้งประมาณ 13 องศา 8 ลิปดาเหนือ ถึง 13 องศา 27 ลิปดาเหนือ เส้นแวงที่ 99 องศา 10 ลิปดา 12 ฟิลิปดาตะวันออก ถึง 99 องศา 25 ลิปดาตะวันออก มีพื้นที่ทั้งหมด 489.31 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 305,820 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ตําบลบ้านบึง ตําบล บ้านคา และตําบลท่าเคย กิ่งอําเภอบ้านคา ตําบลตะนาวศรี อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ทิศเหนือ อยู่ในเขตอําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ทิศใต้ ติดกับอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันตก ติดกับประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ทิศตะวันออก อยู่ในเขตอําเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ขนาดพื้นที่ มีพื้นที่ 489.31 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 305,820 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิประเทศประกอบไปด้วย ภูเขาสูงสลับซับซ้อนมียอดเขาที่สูงสุดคือ เขาพุน้ําร้อน สูง ประมาณ 1,062 เมตร รองลงมาคือ ยอดเขาใหญ่สูงประมาณ 1,055 เมตร เขาจมูกสูง 995 เมตร มีพื้นที่ราบ ลุ่มน้อยส่วนใหญ่เป็นที่ราบแคบๆ ตามลําห้วยใหญ่เป็นพื้นที่ป่าที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์และเป็นแหล่งกําเนิด 2 แม่น้ําภาชี มีห้วยต้องกินเจ้า ห้วยพุระกํา ห้วยน้ําหนัก ห้วยเจิงเจ้ย ไหลลงมารวมแม่น้ําภาชีทางด้านทิศ ตะวันตกของพื้นที่ยังเป็นแหล่งกําเนิดห้วยพุน้ําร้อน ห้วยสวนพลู ห้วยจารุณีย์ ห้วยลําบัวทอง ห้วยน้ําใส ซึ่งไหล ลงรวมห้วยท่าเคย ในท้องที่ตําบลบ้านบึง ตําบลบ้านคา ตําบลท่าเคย ลงรวมแม่น้ําภาชี ที่ตําบลสวนผึ้ง ไหล ออกสู่แม่น้ําแควใหญ่ที่จังหวัดกาญจนบุรี และออกสู่แม่น้ําแม่กลอง จังหวัดราชบุรี สภาพภูมิอากาศ บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี มีปริมาณน้ําฝนอยู่ในเกณฑ์ต่ํา เพราะอยู่ในเขต เงาฝน ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,548 มิลลิเมตร บางปีมีปริมาณน้ําฝนรวมทั้งปีเพียง 246.3 มิลลิเมตร สําหรับ การกระจายของปริมาณน้ําฝนเป็นรายเดือน มีปริมาณน้ําฝนมากที่สุด เดือนตุลาคม รองลงมาคือ เดือน กันยายนและเดือนพฤศจิกายน ทรัพยากรทางชีวภาพโดยทั่วไป ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี ได้แก่ ทรัพยากรป่าไม้ ลักษณะภูมิประเทศของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ําภาชี เป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน ช่วงชั้น ความสูงจากระดับน้ําทะเล ตั้งแต่ 200 – 1,062 เมตร ทําให้เกิดป่าหลายชนิดกระจายอยู่บนพื้นที่ที่มีความสูง ต่างๆ กัน ประกอบด้วยป่า 4 ประเภท คือ (1) ป่าดิบชื้น ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 27,523.8 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9 ของพื้นที่ โดยมีการ กระจายอยู่ทางตอนใต้และตะวันตกของพื้นที่ และบริเวณลําห้วยสายใหญ่ๆ กระจายอยู่ในหลายระดับความสูง เช่น บริเวณ ลําห้วยน้ําพุร้อน

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    94 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us