ความชุกชุมและเขตการแพรกระจายของผีเสื้อกลางคืนคางคาวในประเทศไทย

Abundance and distribution of spp. (: ) in

สุรชัย ชลดํารงคกุล

กลุมงานกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาปาไม, สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

Abstract Surveying on abundance and distribution of Lyssa spp. was done by using black light trap at 46 forest stations throughout Thailand from January 2004 to December 2006. Two species of Lyssa spp. were found during surveying period: L. zampa and L. menoetius. The Near Threatened species; L. zampa was found all year round and distributed throughout the country. While, the Critically Endangered (CR) species; L. menoetius found only at Hala-Bala Wildlife research station, Narathiwat province (6oN).

Key words: Abundance, distribution, conservation status, Lyssa spp.

บทคัดยอ การสํารวจความชุกชุมและเขตการแพรกระจายของผีเสื้อกลางคืนคางคาว (Lyssa spp.) ใน ประเทศไทย ดวยกับดักแสงไฟแบล็คไลท ในพื้นที่ปาไม 46 แหง กระจายทั่วประเทศไทย ตั้งแตเดือน มกราคม 2547 ถึง ธันวาคม 2549 ซึ่งพบผีเสื้อกลางคืนคางคาว 2 ชนิด คือ ผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา () และผีเสื้อกลางคืนคางคาวปกษใต (L. menoetius) โดยผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดามี สถานภาพใกลถูกคุกคาม (Near Threatened; NT) เปนผีเสื้อที่มีความชุกชุมสามารถพบไดตลอดป และมี เขตการแพรกระจายทั่วประเทศ สวนผีเสื้อกลางคืนคางคาวปกษใต มีสถานภาพที่ใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (Critically Endangered; CR) เขตแพรกระจายเฉพาะที่สถานีวิจัยสัตวปา ปาพรุ ปาฮาลา บาลา จังหวัด นราธิวาส (6oN) เทานั้น

คําสําคัญ: ความชุกชุม, เขตการแพรกระจาย, สถานภาพ, ผีเสื้อกลางคนคื างคาว คํานํา ผีเสื้อกลางคืนคางคาว เปนผีเสื้อกลางคืนในวงศ Uraniidae วงศยอย ซึ่งเปนผีเสื้อ ขนาดใหญ ประกอบดวย 4 สกุล คือ , , และ Lyssa โดยผีเสื้อในสกุล Urania, Chrysiridia และ Alcides เปนผีเสื้อที่มักหากินกลางวัน (Diurnal) และมีสีสันที่สดใส สวนผีเสื้อในสกุล Lyssa เปนผีเสื้อที่หากินกลางคืน (Nocturnal) มีลักษณะเดนที่ปกคูหลังมีหางสีขาวคอนขางยาว เปนผีเสื้อ ที่พบเห็นไดงาย ทั้งในเขตเพาะปลูกการเกษตร และในเขตกอสราง ในเวลากลางคืนมักพบบนถนน โดย ตาของผีเสื้อจะสะทอนแสงไฟเปนสีแดง (Barlow, 1982) ผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา (Lyssa zampa) มีเขตการแพรกระจายตั้งแตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของเทือกเขาหิมาลัย ถึงภาคใตของจีน และประเทศไทย หมูเกาะอันดามัน ฟลิปปนส และ สุราเวสี (Holloway, 1998) รวมถึง Indo-Australian (Sivasothi, 2005) ถิ่นที่อยูอาศัย คอนขางกวาง พบไดทั้งในปาจนกระทั่งในเมือง ตั้งแตปาต่ํา จนถึงปาบนเขา ที่ระดับความสูง 2,600 เมตร บนเขาคินาบาลู ในซาบาห (Holloway, 1998) มีการแพรกระจายงายและกวาง ซึ่ง Tokeshi and Yoko-O (2007) รายงานวามีการพบ ผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา (Lyssa zampa) ครั้งแรกใน แผนดินใหญของญี่ปุน ทางภาคตะวันตกของเกาะกิวชิว ในเดือนพฤษภาคม 2549 ซึ่งสันนิฐานวามาจาก พายุไตฝุนที่พัดพามาจากฟลิปปนส เปนระยะทางถึง 3,000 กิโลเมตร สําหรับประเทศไทยพบไดทั่วไป รวมทั้งในกรุงเทพมหานคร (นิรนาม, 2550) สวนผีเสื้อกลางคืนคางคาวปกษใต (L. menoetius) มีรายงาน เขตการแพรกระจายในบอรเนียว ฟลิปปนส ซังเกอร (Sangir) สุราเวสี ในอินโดนีเซีย นอกจากนี้ยังได พบที่บริเวณภาคใตตอนลางติดตอกับชายแดนมาเลเซีย ซึ่งพบในปาต่ํา โดยเฉพาะในปาเสื่อมโทรม (Secondary forest) (Holloway, 1998) พืชอาหารของตัวหนอนผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา คือ ในวงศ (Mohn, 2000; Sivasothi, 2005) E. peltatum (คลาย) ในบอรเนียว (Holloway, 1998) และ E. malaccense (ตะพง) (Lees and Smith, 1991) ผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา (Lyssa zampa) เปนสัตวปาคุมครอง ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2537 ภายใตพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 ซึ่งหามการครอบครอง และ การคา ปจจุบันเปนสัตวปาที่หามการนําเขา สงออก (สป. 6) ซึ่งหมายความวา สามารถครอบครอง ทํา การคาภายในประเทศ ยกเวนการคาระหวางประเทศ ตองขออนุญาตจากอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตว ปา และพันธุพืช ซึ่งเปนการผอนปรนใหสามารถทําการคาได จากเดิมที่ไมสามารถกระทําได ดังนั้นจึงมี ความจําเปนจะตองมีการติดตาม เฝาระวัง การเปลี่ยนแปลงประชากรเพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอ ประชากรของผีเสื้อกลางคืนคางคาวในธรรมชาติ ภายหลังการผอนปรน เพื่อประโยชนในการอนุรักษ อุปกรณและวิธีการ ติดตั้งกับดักแสงไฟแบล็คไลท ในพื้นที่ปาไม 46 แหง กระจายทั่วประเทศ ตั้งแตแนวเสนรุงที่ 6 องศาเหนือ ในเขตซุนดาแลนด จนถึงแนวเสนรุงที่ 20 องศาเหนือ (ยกเวนแนวเสนรุงที่ 10 และ 12 ที่ ไมสามารถหาพื้นที่ติดตั้งกับดักแสงไฟได) ทําการเปดไฟทุกวันในระหวางเวลา 18.00 – 06.00 น. ตั้งแต เดือนมกราคม 2547 – ธันวาคม 2549 ทําการสํารวจและเก็บตัวอยางในเวลา 22.00 น. และ 06.00 น. พรอมบันทึกขอมูลวันที่ฝนตก และสงขอมูลและตัวอยางใหกลุมงานกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาปาไม กรุงเทพฯ หรือศูนยวิจัยกีฏวิทยาปาไม ที่ 1, 2 และ 3 จังหวัดลําปาง ขอนแกน และจันทบุรี ตามลําดับ เพื่อจําแนกชนิด รวบรวม เพื่อจัดการขอมูล และวิเคราะหขอมูล กําหนดจุดที่พบผีเสื้อกลางคืนคางคาว ในแผนที่ประเทศไทย และทําการวิเคราะหขอมูลความ ชุกชุม (Abundance) ในแตละแนวเสนรุง ดัดแปลงจากวิธีการของ Hughes และคณะ (2003) และฤดูกาล การปรากฏของผีเสื้อโดยแยกเปนในสวนของแผนดินใหญ (Indo-china) ที่อยูเหนือแนวคอคอดกระ (Isthmus of Kra; 10.30o N) และในเขตคาบสมุทร (Peninsula) ซึ่งอยูใตแนวคอคอดกระ สําหรับความชุก ชุม จะวิเคราะหความชุกชุมสัมพัทธ (Relative abundance) ดังนี้ ความชุกชุมสัมพัทธ = จํานวนตัวทั้งหมด ตัว/การสํารวจ 1 ครั้ง จํานวนวนทั ี่สํารวจ x 2 การประเมินสถานภาพโดยใช IUCN Categories and Criteria (V.3.1) (IUCN, 2006) ผล

ความหลากชนิดและเขตการแพรกระจาย จากการติดตาม พบผีเสื้อกลางคืนคางคาว 2 ชนิด คือ ผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา (Lyssa zampa) และผีเสื้อกลางคืนคางคาวปกษใต (L. menoetius) ผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา (Lyssa zampa) มีการกระจายตั้งแตเขตซุนดาแลนด ในแนวเสน รุงที่ 6 องศาเหนือ จังหวัดนราธิวาส จนถึงแนวเสนรุงที่ 20 องศาเหนือ ที่จังหวัดเชียงใหม (Figure 1) สวนผีเสื้อกลางคืนคางคาวปกษใต (L. menoetius) เปนผีเสื้อที่พบเฉพาะที่สถานีวิจัยสัตวปา ปาพรุ-ปาฮา ลา บาลา อําเภอแวง จังหวัดนราธิวาส บริเวณแนวเสนรุงที่ 6 องศาเหนือ

ความชุกชุม ความชุกชุมของผีเสื้อกลางคืนคางคาว มีความชุกชุมมากที่สุดที่เขตซุนดาแลนด แนวเสนรุงที่ 6 องศาเหนือ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งมีผีเสื้อกลางคืนคางคาวทั้งสองชนิด ดวยความชุกชุม 0.021, 0.088 และ 0.033 ตัว/ การสํารวจ 1 ครั้ง ในป พ.ศ. 2547, 2548 และ 2549 ตามลําดับ สวนผีเสื้อกลางคืนคางคาว ตั้งแตแนวเสนรุงที่ 7 จนถึง 20 องศาเหนือ พบวาเปนผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดาเพียงชนิดเดียว โดย พบวา มีความชุกชุมสูงที่สุดที่บริเวณแนวเสนรุงที่ 13 องศาเหนือ (Figure 1) ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ภาค ตะวันออก ในทองที่จังหวัดจันทบุรี ภาคกลางตอนบน จนถึงจังหวัดประจวบคีรีขันธ ดวยความชุกชุม 0.024, 0.031 และ 0.012 ตัว/ การสํารวจ 1 ครั้ง ในป พ.ศ. 2547, 2548 และ 2549 ตามลําดับ

20 19 18 17 16 15 14 13 12 11 Latitude degree 10 9 8 7 6

0 0.02 0.04 0.06 0.08 0.1 0.12 0.14 0.16 Relative abundance (Individuals/ spot sample)

Figure 1. Distribution and abundance of the Giant Uranid (Lyssa spp.) in Thailand สถานภาพ สถานภาพของผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา (Lyssa zampa) อยูในกลุมใกลถูกคุกคาม (Near threatened; NT) กลาวคือ ความชุกชุมของผีเสื้อในระยะเวลา 3 ป ที่สํารวจ ประกอบดวยผีเสื้อมากกวา 3 รุน (Generation) มีความชุกชุมปที่ 2 (พ.ศ. 2548) เพิ่มขึ้น แตขณะที่ความชุกชุมในปที่ 3 (พ.ศ. 2549) ลดลงและลดลงมากกวาปที่ 1 (พ.ศ. 2547) (Table 1) ขณะที่ผีเสื้อกลางคืนคางคาวปกษใต (L. menoetius) มีสถานภาพเปนผีเสื้อที่ถูกคุกคาม และใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (Critically Endangered; CR) เนื่องจากเปน ผีเสื้อที่พบในพื้นที่เดียว (single location) คือเฉพาะที่สถานีวิจัยสัตวปา ปาพรุ ปาฮาลา บาลา จังหวัด นราธิวาส ซึ่งเปนการพบในพื้นที่เพียงที่เดียวตลอดทั้ง 3 ป ไมมีการพบในพื้นที่อื่นใดอีกเลย Table 1. Abundance of Giant Uranid moths (Lyssa spp.) during the light trapping period (January 2004 to December 2006) Relative abundance Latitude (oN) 2004 2005 2006 6 0.02067 0.0879 0.0329 7 0 0.0082 0 8 0.00579 0.0176 0.0082 9 0.01042 0.0014 0.0088 11 0 0 0 13 0.02355 0.0311 0.0118 14 0.00111 0.0012 0 15 0.00148 0.0009 0 16 0.00294 0.001 0 17 0.00115 0.0015 0 18 0.00383 0 0.0011 19 0.02363 0.0025 0.0045 20 0.0024 0.0012 0.0021 average 0.00852 0.0101 0.0044

0.05 0.2

0.045 (A) 0.18 0.04 0.16 (B)

0.035 0.14 0.03 0.12 0.025 0.1

0.02 0.08 (Individuals/ spot sample) spot (Individuals/ 0.015 sample) spot (Individuals/ 0.06 Relative abundance abundanceRelative 0.01 0.04

0.005 0.02

0 0 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Month Month Figure 2. Seasonal of the Giant Uranid moths (Lyssa spp.) appearance in Thailand; Appearance phenomena of the moths above the Isthmus of Kra (A), and below the Isthmus of Kra (B)

ฤดูกาลปรากฏ ผีเสื้อกลางคืนคางคาวสามารถพบไดตั้งแตเดือนมกราคม จนถึงเดือนธันวาคม และเนื่องจาก สภาพภูมิอากาศของพื้นที่ประเทศไทย แบงไดเปน 2 สวน คือ สวนที่เปนแผนดินใหญ ตั้งแตเหนือแนว คอคอดกระ (Isthmus of Kra; 10.3oN) ขึ้นไป จะมีลักษณะภูมิประเทศและพืชพันธุที่แตกตางจากพื้นที่ที่ เปนคาบสมุทรที่ตั้งอยูใตแนวคอคอดกระ ซึ่งรูปแบบการปรากฏของผีเสื้อกลางคืนคางคาวในพื้นที่ที่เปน แผนดินใหญ จะมีลักษณะขึ้นลง โดยพบผีเสื้อสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน ซึ่งเปนชวงฤดูแลง มีฝนตก นอยมากเฉลี่ยประมาณ 3 วัน ขณะที่ ผีเสื้อกลางคืนคางคาวในพื้นที่ที่เปนคาบสมุทร ใตแนวคอคอดกระ พบวาผีเสื้อพบในปริมาณสูงสุดในเดือนกรกฎาคมซึ่งเปนชวงตนฤดูฝนมีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 13 วัน

สรุปและวิจารณ ผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา (Lyssa zampa) และผีเสื้อกลางคืนคางคาวปกษใต (L. menoetius) มีลักษณะที่แตกตางกันอยางเดนชัดที่ดานทองปกของผีเสื้อกลางคืนคางคาวมีขีดประ สีน้ําตาลสั้น ๆ กระจายตั้งแตแถบสีขาวที่พาดขวางปก ออกมาสูปลายปก สวนผีเสื้อกลางคืนคางคาว ปกษใต จะไมมีรอยขีดประดังกลาว และมีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศไทย ป ค.ศ. 1998 โดยเปน การพบที่พรมแดนทางใตสุด (extreme south of Thailand) ติดตอกับประเทศมาเลเซีย (Holloway, 1998) ผีเสื้อกลางคืนคางคาวในประเทศไทย มีเขตแพรกระจายทุกภาคของประเทศไทย แตพบความ ชุกชุมสูงสุดที่ปาฮาลาบาลา จังหวัดนราธิวาส ซึ่งตั้งอยูในแนวเสนรุงที่ 6 องศาเหนือ ในเขตซุนดาแลนด (Conservation International, 2007) ซึ่งผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดา มีสถานภาพใกลถูกคุกคาม (Near Threatened; NT) จําเปนตองมีมาตรการในการจัดการเพื่อปองกันไมใหตองตกอยูในสภาวะถูกคุกคาม (Threatened) ในอนาคต แตสําหรับผีเสื้อกลางคืนคางคาวปกษใต เปนผีเสื้อที่ตกอยูในสภาวะถูกคุกคาม จนเสี่ยงอยางยิ่งตอการสูญพันธุ (Critically Endangered; CR) จากประเทศไทย แตในขณะเดียวกันกลับ เปนผีเสื้อที่พบไดทั่วไปในหมูเกาะบอรเนียว (Holloway, 1998) การปรากฏของผีเสื้อกลางคืนคางคาวธรรมดาในสวนของผืนดินอินโดจีนซึ่งอยูเหนือแนวคอ คอดกระ และในคาบสมุทรภาคใตที่อยูใตแนวคอคอดกระ มีความแตกตางกันอยางชัดเจน ทั้งนี้เนื่องจาก ภูมิอากาศ และชนิดของพรรณพันธุ มีความแตกตางกัน (Steenis, 1950)

เอกสารอางอิง นิรนาม. 2550. ผีเสื้อกลางคืนคางคาว. Available Source: http://www.ru.ac.th/butterfly/butterfly/newupdate/update010244/-Uraniidae%20 Lyssa%20zampa.htm. Accessed October 15, 2007. Barlow, H.S. 1982. An introduction to the moths of South East Asia. Art Printing Works Sdn. Bhd., , . 305 pp. Conservation International. 2007. Biodiversity hotspots – Sundaland Sundaland – overview, Available Source: http://www.biodiversityhotspots.org/xp/Hotspots/sundaland. Accessed October 18, 2007. Holloway, J.D. 1998. The moths of Borneo: Families Castniidae, Callidulidae, Drepanidae and Uranidae. The Malayan Nature Journal 52: 1-155 Hughes, J.B., P.D. Round and D.S. Woodruff. 2003. The Indochinese-Sundaic fauna transition at the Isthmus of Kra: an analysis of resident forest bird species distributions. Journal of Biogeography 30: 569-580. IUCN. 2006. 2001 categories and criteria (version 3.1). Available Source: http://www.iucnredlist.org/info/categories_criteria2001. Accessed May 15, 2007. Lees, D.C. and N.G. Smith. 1991. Foodplant associations of the Uraniinae and their systematic, evolutionary and ecological significance. Journal of Lepidoptera Society 45: 296-347. Mohn, D.J. 2002. Giant Uranid moth (Uranidae Uraniinae Lyssa zampa) Available Source: http://ccs- hk.org/DM/butterfly/Uranidae/Lyssa-zampa.html. Accessed October 15, 2007. Sivasothi, N. 2005. It’s the season for Lyssa zampa, the large, nocturnal, white-striped moth, Available Source: http://habitatnews.nus.edu.sg/index.php?entry=/nature/20050527- lyssa_zampa.txt. Accessed October 15, 2007. Steenis, C.G.G.J. 1950. The delimitation of Malesia and its main plant geographical division. Flora Malesiana Series 1(1): 120-125. Tokeshi, M. And M. Yoko-O. 2007. New record of the tropical swallowtail moth Lyssa zampa (Butler) (Lepidoptera: Uraniidae) from mainland . Available Source: http://www.blackwell-synergy.com/doi/abs/10.1111/j.1479-8298.2006.00203.x?cookie Set=1&journalCode=ens. Accessed October 10, 2007.