ฉบับที่ 13 ปีที่ 5 เดือนมกราคม – เมษายน 2560 No.13 Vol.5 January – April 2017

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

วารสารสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา Journal of Environment and Development ฉบับที่ 13 ปี ที่ 5 เดือนมกราคม –เดือนเมษายน 2560 No.13 Vol.5 January – April 2017

วตั ถุประสงค์ กองบรรณาธิการ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวจิ ยั ทางส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา 1. ศาสตราจารย์อานวย ยัสโยธา 2. เพื่อเป็นสื่อกลางทางการแสดงความคิดเห็นเชิง 2. รองศาสตราจารย์ ดร.วิชิต เรืองแป้น วิชาการของคณาจารย์และนักวิชาการและภายในและ 3. รองศาสตราจารย์ ดร.วิชิต สุวรรณโนภาส ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ประมาณ เทพสงเคราะห์ 3. เพื่อส่งเสริมการเสนอผลงานทางวิชาการด้าน 5. Professor. Dr.Mashhor Monsor ส่ิงแวดลอ้ ม ของนักวิชาการท่ัวไปในรูปแบบบทความ 6. Professor. Dr.Ho Sinn Chye ทางวิชาการและบทความพิเศษ 7. Dr.W.Md.Rayman.Wan.Abdul.Rahman 8. รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ บุญภิรมย์ เจ้าของ 9. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิษฏว์ ชั มน่ั เศรษฐวทิ ย ์ หลักสูตรปริญญาโท-เอก สาขาส่ิงแวดลอ้ มกบั 10. ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร.วิไลวัลย์ แกว้ ตาทิพย ์ การพัฒนา และสาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ 11. รองศาสตราจารย์ดุษฎี มัชฌิมาภิโร ส่ิงแวดลอ้ ม คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร 12. ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ มานมิตร วทิ ยอภิบาลกลุ 13. ผชู้ ่วยศาสตราจารยธ์ นากร ปามุทา ที่ปรึกษาภายใน 14. ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ พิ ฒั น์ ถาวโรฤทธ์ิ 1. อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 15. ดร.นฤทธ์ิ ดวงสุวรรณ 2. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ ที่ปรึกษาภายนอก 1. นางสาวดวงพร หนูจันทร์ 1. ศาสตราจารย์อานวย ยัสโยธา 2. นางสาวจุฑามาศ แกว้ มณี 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค ์ศรีสวสั ด์ิ 3. นางสาวไซนะ มูเล็ง 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศกั ด์ิ ล่ิมสกลุ ส านักงาน บรรณาธิการ โครงการปริญญาโท-เอก สาขาส่ิงแวดล้อมกับการ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.วิชิต เรืองแป้น พัฒนา และสาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ ม คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95000 โทร 086-9577808

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

รายชื่อกรรมการกลั่นกรอง (Peer reviews)

1. ศาสตราจารย์ ดร.เกษม จันทร์แกว้ 20. รองศาสตราจารย์ ดร.ประมาณ เทพสงเคราะห์ 2. ศาสตราจารย์ ดร.สนิท อกั ษรแกว้ 21. รองศาสตราจารย์ ดร.นิคม ชูศิริ 3. ศาสตราจารย์ ดร.เปี่ยมศกั ด์ิ เมนะเศวต 22. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพันธ์ หิรัญญะชาติธาดา 4. ศาสตราจารย ์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ 23. รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ บุญภิรมย์ 5. ศาสตราจารย์ ดร.ศรีศกั ด์ิ จามรมาน 24. รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา จรจิต 6. ศาสตราจารย์ ดร.ครองชัย หัตถา 25. รองศาสตราจารย์ลาดวน เกษตรสุนทร 7. ศาสตราจารย์อานวย ยัสโยธา 26. รองศาสตราจารย์ดุษฎี มัชฌิมาภิโร 8. Professor.Dr.Martine Hossaert-Mckey 27. ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ดร.เยาวนิจ กิตติธรกลุ 9. Professor.Dr.Md.Sani Ibrahim 28. ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ดร.วิไลวัลย์ แกว้ ตาทิพย ์ 10. Professor.Dr.Ho Sinn Chye 29. ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ดร.นิตยา เรืองแป้น 11. Professor.Dr.Mashhor Monsor 30. ดร.นฤทธ์ิ ดวงสุวรรณ 12. รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ ศรีสวสั ด์ิ 31. ดร.เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์ 13. รองศาสตราจารย์ ดร.วิชิต สุวรรณโนภาส 32. ดร.ซีตีไซยีดะห์ สายวารี 14. รองศาสตราจารย์ ดร.วัน เดชพิชัย 33. ดร.ตายูดิน อุสมาน 15. รองศาสตราจารย์ ดร.เพียงจันทร์ เศรตศรีสกุล 34. ดร.ประภาศ ปานเจ้ียง 16. รองศาสตราจารย์ ดร.ซุกรี หะยีสาแม 35. ดร.จักรพันธ์ นาน่วม 17. รองศาสตราจารย์ ดร.วสุธร ตันวัฒนกุล 36. ดร.นิรันด์ิเกียรติ ล่ิวคุณูปการ 18. รองศาสตราจารย์ ดร.นงเยาว ์สวา่ งเจริญ 37. Dr.W.Md.Rayman.Wan.Abdul.Rahman 19. รองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิริบารุงสุข 38. ดร.วันฮารงค์ บินอิสริส

กาหนดออก การสมัครเป็นสมาชิก ปีละ 3 ฉบับ ยื่นใบสมัครพร้อมเงินสดหรือธนาณัติส่ังจ่าย ค่าสมาชิกวารสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ในนาม นางสาวดวงพร ปีละ 120 บาท (รวมคา่ ส่ง) หนูจันทร์ สาขาส่ิงแวดล้อมกับการพัฒนา คณะ การส่งต้นฉบับบทความ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร อ าเภอเมือง ติดตอ่ ส่งตน้ ฉบบั ไดท้ ี่ จังหวัดยะลา 95000 นางสาวดวงพร หนูจันทร์

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

บทบรรณาธิการ

ส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นาเป็นศาสตร์และศิลป์ มีความเป็นศาสตร์ คือ ผูท้ ี่คิดคน้ สร้างองคค์ วามรู้ที่เป็น หลักการ แนวคิด ทฤษฎีส าหรับการใชท้ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีความเป็นศิลป์ มีผู้นาองค์ความรู้ ตา่ งๆ ไปใชใ้ หเ้ หมาะสมสถานภาพศึกษาการณ์ เหตุการณ์ ท้งั ในดา้ นบุคคล ทรัพยากร เวลา และสถานที่ รวมท้งั เทคโนโลยี สาระส าคญั ทางวิชาการและผลงานวิจัยฉบับน้ี มุ่งสู่ศาสตร์ที่ผูจ้ ัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ ม สามารถ ประยกุ ตไ์ ปใช ้ ไดแ้ ก่ แนวคิดการทา งานของการพฒั นาส่ิงแวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาที่ยง่ั ยืน เป็นองค์ความรู้ของสมองมนุษยซ์ ีกขวาและซีกซา้ ยที่ทา หน้าที่แตกต่างกนั แต่ประสานกนั เพื่อแสดงพฤติกรรม ต่างๆ ออกมาในการท างานให้ส าเร็จ ปัจจัยพหุระดับส่งผลต่อประสิทธิผลการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ ม ความสมดุลระหวา่ งศาสตร์และศิลป์ ในสาระต่างๆ จะช่วยสร้างสรรค์ความดี ความงาม ความสุข ทางการดา เนินงานทางส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อพฒั นาสงั คมใหย้ ง่ั ยนื ตลอดไป ขอขอบคุณผู้เขียนบทความทางวิชาการและผตู้ รวจแกไ้ ขมา ณ โอกาสน้ี

รองศาสตราจารย์ ดร.วิชิต เรืองแป้น บรรณาธิการ

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ...... ค พฤตกิ รรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานตามทศั นะของครูผู้สอนในอา เภอระแงะ สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3...... 1 ปรัชญา สุวรรณมณี สันติบุญภิรมย์ และ เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์ ปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอเมืองนราธิวาส สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1...... 13 ฮาซัน เจ๊ะเง๊าะ สันติ บุญภิรมย์ และ จรุณี เกา้ เอ้ียน สมรรถนะการบริหารวชิ าการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเลก็ ในอา เภอรามนั สังกดั ส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1...... 27 บัดดือรี ยีปาโละ สันติ บุญภิรมย์ และ เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์ การบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดปัตตานี...... 40 พนัสพร เจ๊ะเลาะ เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์ และ ดุษฎี มัชฌิมาภิโร ปัจจยั ทมี่ คี วามสัมพนั ธ์กบั คณุ ภาพชีวติ ผู้สูงอายุในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ กรณีศึกษาตา บลบาละ อา เภอกา บัง จังหวัดยะลา...... 57 มันโซร์ ดอเลาะ และ ชมพูนุช สุภาพวานิช การพฒั นารูปแบบการใช้ทฤษฎเี ศรษฐกจิ พอเพยี งกบั พนื้ ทกี่ ารเกษตรในสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ในอนาคต ในประเทศไทย...... 70 วรวุธ จันทร์ดิษฐวงษ์ วิชิต เรืองแป้น สุนิตย์ โรจนสุวรรณ และ จริยาภรณ์ มาสวสั ด์ิ ระเบียบข้นั ตอนการตีพิมพ์วารสาร...... 79

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

Contents page Editorial...... C The Management Behavior of the Basic Education Director According to Teachers’ Attitude in Primary Educational Service Area Office 3, Ra-ngae, Narathiwat Province...... 1 Pratya Suwanmanee, Sunti Bunphirom and Naowarat Treepaiboon Problems of Budget Management in Basic Educational Institution at Mueang Narathiwat District under Narathiwat Primary Educational Service Area Office 1 ...... 13 Hasan Jengoh, Sunti Bunphirom and Jarunee Kao-ian Academic Administration Competencies of Small School Administrators in Under Yala Primary Educational Service Area office 1...... 27 Buderee yeepaloh, Sunti Bunphirom and Naowarat Treepaiboon Administration of Educational Institutes and Effectiveness Educational Institutes of Primary Educational Service Pattani Province...... 40 Panussaporn jehloh, Naowarat Treepaiboon ans Dusadee Matchimapiro Factors Related the Quality of Life among the Elderly in the Southern Border Provinces: A case study of Bala Sub-district, Kabang District, ...... 57 Mansor Dolo and Chompunuch Supapvanich The Development of Model Using the Philosophy of Sufficiency Economy with Agriculture in Three Southern Border Provinces in in Future...... 70 Worawout Jundittawong, Vichit Rangpan, Sunit Roachanasuwan and Jariyaporn Masawat Steps of Submitting Articles...... 79

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

1 พฤตกิ รรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานตามทศั นะของครูผู้สอนในอา เภอระแงะ สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 The Management Behavior of the Basic Education Director According to Teachers’ Attitude in Primary Educational Service Area Office 3, Amphoe Ra-ngae, Narathiwat Province. ปรัชญา สุวรรณมณี1 สันติบุญภิรมย์2 และ เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์3 1นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา 2-3อาจารย์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

บทคัดย่อ ทัศนะของครูผู้สอนในอําเภอระแงะ สังกดั สาํ นกั งานเขต การศึกษาคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษา พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ตามตัวแปร ระดับพฤติกรรมการบริหารของผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้นั วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาด พ้ืนฐานตามทัศนะของครูผูส้ อนในอาํ เภอระแงะ สังกดั โรงเรียน พบวา่ ภาพรวมไม่แตกต่างกนั แต่ในรายดา้ น สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต แตกตา่ งกนั สาํ หรับตวั แปรขนาดของโรงเรียน 3. ข้อเสนอ 3 (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร แนะเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผูบ้ ริหารสถาน สถานศึกษา ข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของครูผูส้ อนในอาํ เภอ ศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทัศนะของครูผู้สอนในอําเภอระแงะ ระแงะ สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส นราธิวาส เขต 3 จําแนกตาม วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ เขต 3 ได้แก่ ผูบ้ ริหารควรสนับสนุนงานวิชาการให้กับ ในการปฏิบัติงาน และขนาดโรงเรียน และ (3) ประมวล ชุมชน ควรสนบั สนุนการทาํ วิจยั ในช้นั เรียนทุกกลุ่มสาระ ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร ควรมีการตรวจและแนะนําในการจัดทําทะเบียนวัสดุ สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของครูผูส้ อนในอาํ เภอ ครุภัณฑ์ และบัญชีพัสดุของสถานศึกษา ควรสร้างเกณฑ์ ระแงะ สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงานของครูอย่างเป็ นธรรม ควร นราธิวาส เขต 3 กลุ่มตวั อยา่ ง คือ ครูผูส้ อน จาํ นวน 218 สร้างเกณฑ์ในการพิจารณาให้บุคลากรย้ายหรือเปลี่ยน คน เครื่องมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบขอ้ มูล คือ แบบสอบถาม ตาํ แหน่งตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายกาํ หนด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป เพื่อคํานวณหา ควรส่งเสริมการประชาสัมพันธ์งานการศึกษาของ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าทดสอบ โรงเรียน และควรส่งเสริมงานให้บริการสาธารณะแก่ ค่าที (t-test) และค่าทดสอบค่าเอฟ (F-test) เมื่อพบวา่ มี ชุมชน ความแตกต่างกันจึงทดสอบ โดยวิธีการของเชฟเฟ คาส าคัญ : พฤติกรรมการบริหาร ผบู้ ริหารสถานศึกษาข้นั (Scheffe's method) พ้ืนฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1. ระดับพฤติกรรมการ Abstract บริหารของผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามทัศนะ The objectives of this research were 1) to study ของครูผูส้ อนในอาํ เภอระแงะสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ the management behavior of the basic education director การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 พบวา่ ภาพรวม according to teachers’ attitude in Primary Educational และรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก 2. ผลการเปรียบเทียบพฤติ Service Area Office 3, Amphoe Ra-ngae, Narathiwat กรรมการบริหารของผบู้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตาม Province, 2) to compare the management behavior of the JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

2 basic education director according to teachers’ attitude the public relations of school activity, and the public in Primary Educational Service Area Office 3, Amphoe service for communication. Ra-ngae, Narathiwat Province, classified by educational Keywords : Management Behavior, Basic Education level, work experience and school size, and 3) to Director evaluate the suggestions of the management behavior of ______the basic education director according to teachers’ บทน า attitude in Primary Educational Service Area Office 3, สภาวะโลกปัจจุบันที่มีความเจริญก้าวหน้า Amphoe Ra-ngae, Narathiwat Province. The samples of ทางด้านเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ๆ ที่มีการ this study consisted of 218 teachers. The study เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและเกิดข้ึนตลอดเวลา จึงส่งผล instrument was a questionnaire. Statistical analysis ต่อการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจและสังคมของทุก included percentages, means, standard deviations, t-test ประเทศ ดังน้ันทุกประเทศจึงตอ้ งพฒั นาประชากรของ and F-test. The differences will be examined by ตนเองให้พร้อม เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและ Scheffe’s method. เอาชนะวิกฤตการณ์ต่างๆ ที่กาํ ลังเผชิญอยู่ ส่ิงสําคัญที่ The study results were as follow: 1. The ก่อให้เกิดความได้เปรียบในสังคมปัจจุบัน คือ ความรู้ management behavior of the basic education director ความสามารถและการมีคุณธรรมจริยธรรมโดยผ่าน according to teachers’ attitude in Primary Educational กระบวนการเรียนรู้และการศึกษา ดว้ ยเหตุน้ี การจดั การ Service Area Office 3, Amphoe Ra-ngae, Narathiwat ศึกษาเพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงเป็นปัจจัยสําคัญที่ Province was at a high level. 2. The comparative results รัฐบาลจาํ เป็นตอ้ งดาํ เนินการอยา่ งต่อเนื่องและเป็นระบบ of the management behavior of the basic education เพื่อส่งเสริมพัฒนานุคลากรของชาติให้มีคุณภาพ director according to teachers’ attitude in Primary (สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานราธิวาส เขต 1, 2553:1) Educational Service Area Office 3, Amphoe Ra-ngae, สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. Narathiwat Province, classified by educational level, 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) work experience and school size found that overall did พ.ศ.2553 ซึ่งเป็นกฎหมายสําคัญในการบริหารและจัด not significantly differ but school size. 3. The การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ suggestions of management behavior of the basic และสังคม เพื่อพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญ education director according to teachers’ attitude in กา้ วหน้าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก จึงทําให้การ Primary Educational Service Area Office 3, Amphoe ปฏิรูปการศึกษาที่จะนาํ ไปสู่การพฒั นาที่ยง่ั ยนื Ra-ngae, Narathiwat Province were that the director ผู้ที่มีบทบาทสําคัญในการปฏิรูปการศึกษา คือ should support the academic work for community, ผู้บริหารสถานศึกษา ซ่ึงเป็ นผู้ที่มีหน้าที่ในกําหนด classroom research, examination and suggestion for นโยบายแนวทางการบริหารสถานศึกษาให้มีประสิทธิผล registering the materials, equipments and articles น่ันคือ พฤติกรรมของผูส้ ถานศึกษา ซ่ึงมีความสัมพนั ธ์ number in school. Moreover, the director should ใกลช้ ิดกบั คุณภาพของสถานศึกษาที่จะสะท้อนให้เห็น encourage teacher performance appraisal criterion ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานในสถานศึกษาหรือ equally, legally criterion for transferring or promotion, หน่วยงานน้ันได้เป็ นอย่างดี เนื่องจากพฤติกรรมของ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

3 ผู้บริหารสถานศึกษาที่เหมาะสมและพึงประสงค์ จะไป ปัญหาด้านการบริหารการเงิน ได้แก่ โรงเรียน โน้มน้าวให้บุคลากรในสถานศึกษา เกิดความพึงพอใจ หลายโรงปฏิบตั ิงานดา้ นการเงินบญั ชีและพสั ดุไม่เป็นไป ร่ วมมือปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เกิด ตามกฎหมาย ส่งผลให้การดาํ เนินงานตามโครงการลา้ ชา้ ประสิทธิผลบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือ นโยบาย และมี ไมเ่ ป็นไปตามแผนที่วางไว ้(สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา คุณภาพได้มาตรฐานตามที่วางไว้ หากผู้บริหาร ประถมศึกษานราธิวาสเขต 3, 2555 : 18 ) สถานศึกษามีพฤติกรรมไม่เหมาะสมอาจจะส่งผลให้ ปัญหาด้านการบริหารท่ัวไป ได้แก่ โรงเรียน บุคลากรปฏิบัติงานได้ประสิทธิผลน้อย (สมคะเน โต จดั ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนยงั ไม่เป็นรูปธรรมและ วัฒนา, 2557 : 61-67) จึงจาํ เป็นอยา่ งย่ิงที่จะตอ้ งศึกษา ผูบ้ ริหารสถานศึกษาให้ความสําคญั ค่อนขา้ งน้อย การ พฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อเป็นแนวทางการ พฒั นาโรงเรียนที่เป็นตน้ แบบหรือแกนนาํ ประเภทต่างๆ บริหารสถานศึกษาใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุด ยังขาดระบบขาดการกํากับติดตามประเมินผลอย่าง พฤติกรรมการบริหารโรงเรียนให้ประสบ ต่อเนื่องและไม่มีผลงานที่เป็นรูปธรรม ขาดแหล่งเรียนรู้ ความสําเร็จทางด้านการจัดการศึกษาน้ัน องค์ประกอบ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ยังมีน้อย การจัดระบบข้อมูล สําคัญของความสําเร็จในอันดับต้นๆ คือ พฤติกรรมการ สารสนเทศของสํานักงานเขตพ้ืนที่และสถานศึกษาเพื่อ บริหารที่ไดแ้ สดงออกถึงความร่วมมือกบั บุคลากร สังคม สนบั สนุนการบริหารจดั การไม่สมบูรณ์ สืบเนื่องจากขาด และชุมชน ใหเ้ กิดการยอมรับ ใหค้ วามร่วมมือ และปฏิบัติ ความตระหนักและทักษะในการจัดการ นําผลการวิจัยมา ตาม จะส่งผลใหส้ ถานศึกษาประสบความสาํ เร็จ ซ่ึงปัจจยั ใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการศึกษานอ้ ย การติดตามกาํ กบั หลกั ยอ่ มข้ึนอยูก่ บั ผูบ้ ริหารสถานศึกษาเพราะ ผู้บริหาร และประเมินผลการดาํ เนินงานยงั ไม่มีประสิทธิภาพ ขาด สถานศึกษาในฐานะผู้นําของสถานศึกษาที่มีหน้าที่ การจดั ระบบที่ดี และขาดการสร้างความเขา้ ใจแก่ผูม้ ีส่วน บทบาทและความรับผิดชอบตอ่ การจดั การศึกษา โดยตรง ที่เกี่ยวขอ้ ง (สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา จะต้องเป็ นผู้นําการเปลี่ยนแปลงท้ังระบบและ นราธิวาสเขต 3, 2555 : 22) ปัญหาด้านการบริหารวิชาการ กระบวนการนามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา (นิโรธ ไดแ้ ก่ ผเู้รียนขาดทกั ษะในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ สมัตตภาพงศ์, 2550 : 5) คิดไตร่ตรอง คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดอย่างมี อย่างไรก็ตาม สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา วสิ ยั ทศั น์ นกั เรียนอา่ นเขียนไมไ่ ด ้ มีคอ่ นขา้ งมากใหผ้ ลส่ง ประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 มีปัญหาในการบริหารงาน ให้คะแนนเฉลี่ยการทดสอบระดับชาติต่ํากว่าเกณฑ์ ในด้านต่างๆ ดังน้ี (สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษาผา่ นเกณฑก์ ารประเมินภายในในระดับพอใช้ ประถมศึกษานราธิวาสเขต 3, 2555 : 17) มีจํานวนมาก นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษยังไม่ไดร้ ับ ปัญหาดา้ นการบริหารงานบุคคล ไดแ้ ก่ บุคลากร การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ การจัดการศึกษาให้เด็กในวัย ไม่เพียงพอกบั ปริมาณงานตามโครงสร้างและมาตรฐาน เรียนยงั ไม่ครบทุกคนเพราะยงั มีเด็กออกกลางคนั สูงและ ตาํ แหน่ง ขาดความรู้ความเขา้ ใจในการดาํ เนินการตาม เด็กพิการยงั ไม่สามารถเรียนร่วมกับเด็กปกติได้ท่ัวถึง เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ขาด โรงเรียนขนาดเล็กขาดแคลนสื่อและอุปกรณ์การสอน ความเขา้ ใจเป้ าประสงคต์ วั ช้ีวดั ที่ชดั เจน และขาดบุคลากร โดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยีอยู่ในสภาพเก่า เช่น เครื่อง ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน เช่น ดา้ น ICT เป็นต้น คอมพิวเตอร์ไม่สามารถรองรับโปรแกรมที่ทันสมยั ได ้ (สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต เป็นตน้ และการใชว้ สั ดุอุปกรณ์ยงั ไม่มีประสิทธิภาพและ 3, 2555 : 17 ) ความคุ้มค่า สืบเนื่องจาก ขาดการบริหารจัดการที่ดี JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

4 (สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต ครูผู้สอนในอําเภอระแงะ จํานวน 218 คน จากน้นั ทาํ การ 3, 2555 : 22 ) สุ่มแบบวิธีทําการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random อีกท้งั ผลการวิเคราะห์การวัดผลการจัดการศึกษา Sampling)โดยวิธีการจับสลากแบบไม่คืนกลบั (ผ่องศรี ข้นั พ้ืนฐาน (O-Net) สาํ หรับในช่วงช้นั ที่ 4 ของสํานักงาน วาณิชย์ศุภวงศ์, 2546 : 11) เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจยั คร้ังน้ี คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (สพฐ.) โดยจัดสอบ 5 เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยผู้ศึกษาค้นคว้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ สร้างข้ึนโดยอาศัยแนวคิดจากเอกสารและงานวิจัยที่ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ เกี่ยวขอ้ ง แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกบั สถานภาพผู้ตอบ พบวา่ โรงเรียนส่วนใหญ่มีคะแนน อยตู่ ่าํ กวา่ ค่าเฉลี่ยใน แบบสอบถามเกี่ยวกบั วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการ ทุกวิชา โดยเขตพ้ืนที่การศึกษาที่ได้คะแนนต่ําสุดน้ัน ปฏิบัติงาน และขนาดโรงเรียน ส่วนใหญ่เป็นเขตพ้ืนที่การศึกษาใน 3 จังหวัดชายแดน ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกบั พฤติกรรม การ ภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดนราธิวาส เขต 3 มีค่าเฉลี่ย บริหารของผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามทัศนะ เท่ากบั 40.49 คะแนน (สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ของครูผูส้ อนในอาํ เภอระแงะ สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ ประถมศึกษานราธิวาส เขต 3, 2558) การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ตามขอบข่ายและ ดงั น้ัน จากสภาพปัญหาดงั กล่าวขา้ งตน้ ผูว้ ิจยั จึง ภารกิจงาน 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านการบริหารงานวิชาการ ตระหนักถึงความสําคัญของ พฤติกรรมการบริหารของ ด้านการบริหารงานงบประมาณ ด้านการบริหารงาน ผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของครูผูส้ อน บุคคล และดา้ นการบริหารงานทว่ั ไป ในอําเภอระแงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั พฤติกรรม การ ประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ว่าเป็ นอย่างไร เพื่อเป็ น บริหารของผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามทัศนะ แนวทางในการแกไ้ ขปรับปรุงการบริหารการศึกษาของ ของครูผูส้ อนในอาํ เภอระแงะ สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ ผบู้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ตลอดจนเป็นแนวทางใน การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 การปฏิบตั ิงานตา่ งๆ ของผู้บริหารสถานศึกษาในอําเภอระ การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยขอหนังสือนําจาก แงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สํานักงานบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา แนะนํา นราธิวาส เขต 3 ใหบ้ รรลุจุดมุง่ หมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ ตัวผู้ศึกษา และขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูลจาก และประสิทธิผลมากยง่ิ ข้ึน ครูผู้สอนในอําเภอระแงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 จาก 41 โรงเรียน วิธีดาเนินการศึกษา จํานวน 218 คน เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บขอ้ มูลจาก ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี เป็นครูผสู้ อนใน กลุ่มตัวอย่าง ผู้ศึกษาขอความร่วมมือจากผู้ตอบ อําเภอระแงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา แบบสอบถามให้ส่งแบบสอบถามคืนหลังจากได้รับ ประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 จํานวน 476 คน กลุ่มตวั อยา่ ง แบบสอบถามไปแล้ว 4 สัปดาห์ ผู้ศึกษาติดตามเก็บ ในการศึกษาคร้ังน้ีไดแ้ ก่ ครูผูส้ อนในอําเภอระแงะ สังกดั แบบสอบถามคืนด้วยตนเอง รวบรวมแบบสอบถาม และ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ตรวจสอบความสมบูรณ์ ปรากฏวา่ สมบูรณ์ 218 ฉบับ คิด 3 คาํ นวณจากการใช้สูตรยามาเน่ (Yamane อ้างถึงใน เป็นร้อยละ 100 แลว้ นาํ ผลไปวเิ คราะห์ทางสถิติตอ่ ไป ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2549 : 47) ไดจ้ าํ นวนกลุ่มตวั อยา่ ง การวิเคราะห์ข้อมูล ดําเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตาม JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

5 ระเบียบวิธีทางสถิติด้วยการใช้โปรแกรมสําเร็จรูป พบว่า ระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร ตามลาํ ดบั ข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทัศนะของครูผู้สอนในอําเภอ 1. ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามตามประเภท ระแงะ สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ของตัวแปรที่ทําการศึกษาประกอบด้วย วุฒิการศึกษา นราธิวาส เขต ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุก ประสบ การณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาดโรงเรียน ด้าน สอดคล้องกบั สุธาสินี วิยาภรณ์ (2545 : 90) ซึ่งได้ วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยการหาค่าความถี่ (Frequency) และ ค่า ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่าง พฤติกรรมการบริหารของ ร้อยละ (Percentage) ผูบ้ ริหารโรงเรียนกบั ผลการบริหารงานโรงเรียน สังกดั 2. ระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดนครปฐม ปีการศึกษา สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของครูผูส้ อนในอาํ เภอ 2545 ผลการวิจัยพบว่า ระดับพฤติกรรมการบริหารของ ระแงะ สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา และระดับผลการบริหารงาน นราธิวาส เขต 3 โดยหาคา่ เฉลี่ยเลขคณิต x และค่าส่วน โรงเรียน สงั กดั สาํ นกั งานการประถมศึกษาจังหวัดนครปฐม เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยใู่ นระดบั มาก นอกจากน้นั ยงั สอดคลอ้ งกบั บุญญารัตน์ 3. เปรียบเทียบพฤติกรรมการบริหารของ ทองสุวรรณ์ (2558 : 99) ซึ่งได้ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมผู้นํา ผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของครูผูส้ อน กับการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด ในอําเภอระแงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดยะลา ประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ตามตัวแปรวุฒิการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ระดับพฤติกรรมผู้นําของผู้บริหาร โดยการทดสอบค่าที (t-test) ประสบการณ์ในการ สถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ปฏิบตั ิงาน และขนาดโรงเรียน โดยการทดสอบคา่ เอฟ (F- ศึกษา จงั หวดั ยะลาในภาพรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดบั test) หากพบวา่ มีความแตกต่างอยา่ งมีนยั สําคญั ทางสถิติ มาก ผลการศึกษาเป็นเช่นน้ี อาจเนื่องมาจากผูบ้ ริหารที่จะ จะทาํ การทดสอบความแตกตา่ งของคา่ เฉลี่ยเป็นรายคู ่ โดย เข้าสู่ตําแหน่ง จะต้องผ่านการฝึ กอบรมอย่างเข้มจาก ใช้การเปรียบเทียบพหุคุณ (Multiple comparison สถาบันพัฒนาผู้บริหารของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้มี Procedure) ตามวิธีการของเชฟเฟ Scheffe’s Method ผู้บริหารความรู้ความสามารถและพฤติกรรมการบริหาร (อา้ งอิงจาก ผอ่ งศรี วาณิชยศ์ ุภวงศ,์ 2546 : 182) งานตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาํ หนด นอกจากน้ันผูบ้ ริหาร สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานในอาํ เภอระแงะ สังกดั สํานกั งาน ผลการศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ได้รับ ผลการศึกษา เรื่อง พฤติกรรมการบริหาร การพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องตามแผนกลยุทธ์ที่ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามทัศนะของ พฒั นาระบบการบริหารจัดการ ของสํานักงานเขตพ้ืนที่ ครูผู้สอนในอําเภอระแงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ในโครงการต่างๆ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 นํามาอภิปรายผล อาทิ การประชุม สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษา การ ตามวตั ถุประสงคแ์ ละสมมติฐานดงั น้ี ประชุมสัมมนาเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 1. วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อศึกษาระดับพฤติ ผู้บริหารสถานศึกษา การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร กรรมการบริหารของผบู้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตาม จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสํานักงานเขตพ้ืนที่ฯ การ ทัศนะของครูผู้สอนในอําเภอระแงะ สังกดั สํานักงานเขต อบรมเสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ระบบการ พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ผลการศึกษา ควบคุมภายในให้แก่สถานศึกษาและบุคลากรในสังกดั JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

6 บริหารจัดการ เป็นต้น ทําให้ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถ คณะกรรมการสถานศึกษา มีความคิดเห็นอยูร่ ะดบั เห็น จดั ส่งเสริมและสนับสนุนการจดั การศึกษาทุกระดบั ได้ ด้วยมากต่อการบริหารงานวิชาการ ผลการค้นคว้าอิสระ สอดคลอ้ งกบั นโยบายของกระทรวง กรม จังหวัด และ เป็ นเช่นน้ี อาจเนื่องมาจากระบบการประกันคุณภาพ ทอ้ งถ่ิน ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากข้ึน ซ่ึงยอ่ มส่งผลให้ การศึกษาไดก้ าํ หนดในมาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานในอาํ เภอระแงะ สังกดั ทักษะที่จําเป็นตามหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วย 4 เรื่อง สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ไดแ้ ก่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนแตล่ ะกลุม่ สาระเป็นไปตาม 3 มีพฤติกรรมการบริหารอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อ เกณฑ์ 1 ผลการประเมินสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตร แยกพิจารณาพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถาน เป็นไปตามเกณฑ์ 1 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ ศึกษาเป็นรายดา้ น ปรากฏผลดงั น้ี และเขียนเป็นไปตาม เกณฑ์ 2 และผลการทดสอบ 1.1 ด้านการบริหารงานวิชาการ ผลการศึกษา ระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ ให้ถือท้ังระบบผลสัมฤทธ์ิ พบว่า ระดับพฤติกรรม การบริหารของผูบ้ ริหารสถาน ทางการเรียนของนักเรียน ดงั น้นั ผู้บริหารสถานศึกษาทุก ศึกษาในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในอําเภอระแงะ สังกัด แห่งจึงต้องให้มีการจัดทําโครงการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 นกั เรียนอยา่ งต่อเนื่อง เพราะการบริหารงานวิชาการเป็น ด้านการบริหารงานวิชาการ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก หัวใจของการบริหารสถานศึกษา อยา่ งกต็ าม ผลการศึกษา สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของกุลชญา เที่ยงตรง (2550 : 221) แม้ว่าระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถาน ซึ่งได้ศึกษาเรื่องการบริหารงานวิชาการตามแนวการ ศึกษาในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานในอาํ เภอระแงะ สังกัด ปฏิรูปการศึกษาของสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สังกดั องคก์ ร สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ปกครองส่วนท้องถ่ิน โรงเรียนเทศบาลเขตการศึกษา 5 3 ดา้ นการบริหาร งานวิชาการจะอยใู่ นระดบั มาก แต่เมื่อ พบว่าสภาพการบริหารงานวิชาการตามแนวการปฏิรูป มาจัดลาํ ดับของการบริหารงานสถานศึกษาท้ัง 4 ด้าน การศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวม อยูใ่ นระดบั มาก พบวา่ มีคา่ เฉลี่ยอยใู่ นระดบั ต่าํ สุด อีกท้งั ผลการวิเคราะห์ นอกจากน้ัน สอดคล้องกับงานวิจัยของจินตนา นันท การวดั ผลการจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (O-Net) สําหรับใน ปรีชา (2544 : อ้างถึงใน เนื่องฟ้า คําตัน, 2549 : 47) ซึ่งได้ ช่วงช้ัน ที่ 4 ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั ศึกษาพฤติกรรมการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา พ้ืนฐาน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 พบวา่ โรงเรียนในจงั หวดั สังกดั สาํ นักงานการประถมศึกษา จงั หวดั สมุทรปราการ นราธิวาส เขต 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 40.49 คะแนน ผลการวิจัยพบวา่ พฤติกรรมการบริหารงานของผูบ้ ริหาร (สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต สถานศึกษาตามการรับรู้ของครูในสังกดั สํานักงานการ 3, 2558) ประกอบกบั สถานการณ์ความไม่สงบในภาคใต้ ประถมศึกษา จังหวดั สมุทรปราการต่อการบริหารงาน กเ็ ป็นสาเหตุสาํ คญั ที่ทาํ ใหผ้ ลสัมฤทธ์ิของนกั เรียนในสาม โรงเรียนโดยรวมทุกงาน อยู่ในระดับปฏิบัติมาก ได้แก่ จงั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ ม่เป็นไปตามเป้ าหมาย ดังน้ัน งานวิชาการ งานบุคคล งานกิจการนักเรียน งานธุรการ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาจึงจาํ เป็นตอ้ งหากลยุทธ์ใหม่ๆ ใน และการเงิน งานอาคารและความสัมพันธ์ระหว่าง การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิและคุณภาพของผูเ้ รียนอยา่ งจริงจงั โรงเรียนกบั ชุมชนและสอดคลอ้ งกบั อินทร วฒุ ิไชย (2545 และหลากหลายรูปแบบอย่างเหมาะสมที่สอดคลอ้ งกบั : 90) ซึ่งได้ศึกษาเรื่องการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สภาพบริบทและสถานการณ์ที่เกิดข้ึนในปัจจุบัน มัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา 1.2 ด้านการบริหารงานงบประมาณ พบว่า เอกชน เขตการศึกษา 8 พบว่า ผูบ้ ริหาร ครูผูส้ อน และ ระดับพฤติกรรมการ บริหารของผู้บริหารสถานศึกษาใน JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

7 สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานในอาํ เภอระแงะ สังกดั สํานกั งาน อยา่ งมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส เขต 3 ด้านการ 1.3 ด้านการบริหารงานบุคคล พบว่า ระดับ บริหารงานงบประมาณ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก พฤติกรรมการ บริหารของผู้บริหารสถานศึกษาใน สอดคล้องกับสุริดา หลังจิ (2556:108)ได้ศึกษาเรื่อง สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานในอาํ เภอระแงะ สังกดั สํานกั งาน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารงานของ เขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส เขต 3 ด้านการ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา บริหารงานบุคคล ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั ประถมศึกษานราธิวาสตามทัศนะของครูผู้สอน งานวิจัยของสอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของสงัด กระจ่างใจ ผลการวิจัย พบว่าประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ (2549 : 90) ซ่ึงได้ศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของครูต่อ บริหารงานของผูบ้ ริหารสถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขต พฤติกรรมการบริหารของผบู้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส โดยภาพรวมอยใู่ น สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 ผล ระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ทุกดา้ นอยู่ การศึกษาพบว่า ภาพรวม 4 ด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อ ในระดบั มากเช่นกนั พิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก นอกจากน้ัน สอดคล้องกับงานวิจัยของมนูญ เรียงลําดบั ดงั น้ี ดา้ นบริหารงานบุคคล ดา้ นบริหารทว่ั ไป ร่มแกว้ (2553 : 143) ได้ทําการวิจัยเรื่องสภาพและปัญหา ด้านงบประมาณ และด้านวิชาการ สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั การบริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานที่เป็นนิติบุคคลของ ของซูใฮมี ศาสน์ศรัทธา (2545 : 90 ) ได้ศึกษาเรื่อง การ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา บริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร จังหวัดปัตตานี ผลการวิจัยพบว่า ระดับสภาพการ สถานศึกษาอําเภอสุไหงปาดี สํานักงานเขตพ้ืนที่การ ดาํ เนินงานการริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 พบวา่ ระดบั การ มาก ผลการคน้ ควา้ อิสระเป็นเช่นน้ี อาจเนื่องมาจากการ บริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร บริหารงานงบประมาณมีระเบียบ แบบแผนมากข้ึน และมี สถานศึกษาอําเภอสุไหงปาดี สํานักงานเขตพ้ืนที่การ การตรวจสอบอย่างจริงจังตามกฎหมาย ทาํ ให้ผูบ้ ริหาร ศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ภาพรวมและรายด้าน สถานศึกษาต้องทําตามระเบียบให้ถูกต้อง และเมื่อนําผล อยใู่ นระดบั มากเช่นเดียวกนั การค้นคว้าอิสระมาจัดลําดับพฤติกรรมการบริหารงาน ผลการศึกษาเป็นเช่นน้ีอาจเนื่องมาจากผู้บริหารมี สถานศึกษาของผูบ้ ริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาข้นั ความตระหนักถึงความสําคัญในการบริหารงาน บุคคล พ้ืนฐานในอาํ เภอระแงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การ เพื่อส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการ ศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส เขต 3 ท้งั 4 ดา้ น พบวา่ มี บริหารงานต่างๆ ของสถานศึกษา ตลอดจนทําให้ ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงสุด คงเป็นเพราะ สํานักงานเขต ครูผูส้ อนและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเกิดความเลื่อมใสต่อ พ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส เขต 3 ได้จัดทํา ผูบ้ ริหาร และเกิดแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ด้วยการจัดอบรม และสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน อีกท้ัง เสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการบริหารงบประมาณ และ สํานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส เขต การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทําข้อมูลพ้ืนฐานทาง 3 ได้ให้ความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรโดยจัดทํา การศึกษา ทําให้ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรที่ โครงการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ด้วยการอบรม รับผิดชอบในอําเภอระแงะ มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจน เสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ระบบการควบคุม มีทักษะการปฏิบัติงานด้านการบริหาร งานงบประมาณ ภายในให้แก่สถานศึกษาและบุคลากรในสังกดั และเมื่อ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

8 นําผลการค้นคว้าอิสระมาจัดลําดับพฤติกรรมการบริหาร ประเมินผลการบริหารและจดั การศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน และ งานสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษา โครงการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การศึกษาข้นั ข้ันพ้ืนฐานในอาํ เภอระแงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ พ้ืนฐานของสํานักงานเขตพ้ืนที่ฯ ทําให้ผู้บริหารสถาน การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ท้งั 4 ดา้ น พบวา่ ศึกษามีแนวทางในการพัฒนาดา้ นการบริหารงานทว่ั ไป มีค่าเฉลี่ยเป็นอนั ดับที่สองรองจากการบริหารงานด้าน ได้อย่างเป็ นระบบย่ิงข้ึน อย่างไรก็ตาม เมื่อนําผลการ งบประมาณ ศึกษามาจัดลําดับพฤติกรรมการบริหารงานสถานศึกษา 1.4 ด้านการบริหารงานท่ัวไป พบว่า ระดับ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานใน พฤติกรรมการ บริหารของผู้บริหารสถานศึกษาใน อําเภอระแงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานในอาํ เภอระแงะ สังกดั สํานกั งาน ประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ท้งั 4 ดา้ น พบวา่ มีค่าเฉลี่ย เขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส เขต 3 ด้านการ เป็นอนั ดบั ที่สาม ดงั น้นั ผูบ้ ริหารจึงควรจดั ทาํ แผนปฏิบตั ิ บริหารงานทว่ั ไป ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั การที่สอดคลอ้ งกบั บริบทและความตอ้ งการของผูเ้ รียน งานวิจัยของเฉลา พวงมาลัย (2551 : 101) ซึ่งได้ศึกษา และชุมชน ตลอดจนเปิดโอกาสให้หน่วยงานหรือชุมชน สภาพและปัญหาการบริหารงานทว่ั ไปในสถานศึกษาข้นั เขา้ มามีส่วนร่วมในการวางแผนและพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน พ้ืนฐาน ระดบั ช่วงช้นั ที่ 3 และช่วงช้นั ที่ 4 สํานักงานเขต และสถานศึกษา เพื่อก่อให้เกิดความร่วมมือและสามารถ พ้ืนที่การศึกษา ราชบุรี เขต 1 อาํ เภอปากท่อ พบวา่ สภาพ พัฒนาสถานศึกษาได้ตามเป้ าหมาย ที่กาํ หนดร่วมกัน การบริหารงานบริหารทว่ั ไปโดยภาพรวม อยใู่ นระดบั การ ระหวา่ งสถานศึกษากบั ชุมชน ปฏิบตั ิงานบริหารทว่ั ไปตามองคป์ ระกอบดา้ นการบริหาร 2. วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อเปรียบเทียบพฤติ 10 ด้านของสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ กรรมการบริหารของผบู้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตาม การศึกษาราชบุรี เขต 1 อาํ เภอปากท่อ อยใู่ นระดบั มาก ทศั นะของครูผูส้ อนในอาํ เภอระแงะ สังกดั สํานักงานเขต นอกจากน้นั ยงั สอดคลอ้ งกบั ศิริกาญจน์ ไกรบาํ รุง พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 จําแนกตาม (2553 : 67) ซึ่งได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาสภาพการบริหาร วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และขนาดโรงเรียน อภิปราย งานทว่ั ไปในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สังกดั สาํ นกั งานเขต ผลไดด้ งั น้ี พ้ืนที่การศึกษาชัยภูมิ ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร 2.1 ระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สถานศึกษา และครูธุรการ ผลการศึกษาพบว่า โดย สถานศึกษาในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของครู ภาพรวม อยูใ่ นระดบั มากเช่นเดียวกนั ผลการศึกษาเป็น ในอําเภอระแงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เช่นน้ี อาจเนื่องมาจากผบู้ ริหารสถานศึกษามีการปรับปรุง ประถมศึกษานราธิวาส เขต 3จําแนกตามวุฒิการศึกษา ภูมิทศั น์ให้สวยงานอยูเ่ สมอ ส่วนด้านงานเองสารมีการ พบวา่ ภาพรวมไม่แตกต่างกนั สอดคลอ้ งกบั บุญส่ง เจริญ จัดทําแผนในการทํางาน คือแผนกลยุทธ์ แผนการ ศรี (2550 : 123) ซ่ึงไดศ้ ึกษาเรื่องการศึกษาการมีส่วนร่วม ปฏิบตั ิการประจาํ ปี และยงั มีปฏิทินในการทาํ งานวา่ ตอ้ ง ในการบริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานของรองอาํ นวยการ ทําอะไรบ้าง ทําให้ครูมีทัศนะคติ ที่ดีต่อพฤติกรรมการ โรงเรียน สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษานครราชสีมา บริหารทว่ั ไปของผบู้ ริหารสถานศึกษาอยใู่ นระดบั มาก อีก เขต 1-7 ผลการศึกษาพบว่า ภาพรวมและรายดา้ นอยู่ใน ท้งั สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส ระดับมากทุกด้าน เมื่อนํามาเปรียบเทียบตามระดับ เขต 3 ไดม้ ีโครงการประชุมสัมมนาเพ่ิมประสิทธิภาพการ การศึกษา พบวา่ โดยภาพรวมและรายดา้ นไม่แตกต่างกนั บริหารจัดการผู้บริหารสถานศึกษา โครงการติดตามและ เช่นเดียวดัน ผลการศึกษาเป็ นเช่นน้ี อาจเนื่องมาจาก JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

9 ผบู้ ริหารสถานศึกษาในอาํ เภอ ระแงะ สงั กดั สาํ นกั งานเขต มีทักษะและความ สามารถในการบริหารจัดการด้านการ พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ได้รับการ บริหารบุคคลอยา่ งมีประสิทธิภาพ อีกท้งั ปัจจุบนในการั พัฒนาศักยภาพตามนโยบายของสํานักงานเขตพัฒนา ปฏิรูปการศึกษา หน่วยงานที่รับผิดชอบจาํ เป็นต้องจัด พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และสํานักงานเขต อบรมให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ผูบ้ ริหารสถานศึกษา พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 อย่าง และครูผสู้ อนอยา่ งตอ่ เนื่องตามระบบการประกนั คุณภาพ ต่อเนื่อง ทําให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะและ การศึกษา ที่มีการติดตามและประเมินผลทุกปี เพื่อพัฒนา ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการบริหารบุคคล คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานสู่ความเป็ นเลิศของ อย่างมีประสิทธิภาพ ทาํ ให้ทาํ ให้ครูผูส้ อนในอาํ เภอระ สถานศึกษา ตลอดจนเตรียมการเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน แงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ทาํ ใหค้ รูผสู้ อนในอาํ เภอระแงะ สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ นราธิวาส เขต 3 ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีทัศนะ การศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส เขต 3 ที่มีประสบการณ์ เกี่ยวกบั พฤติกรรมการบริหารของผบู้ ริหารไมแ่ ตกตา่ งกนั ในการปฏิบตั ิงานต่างกนั จึงรับรู้ตระหนัก ศึกษาเรียนรู้ 2.2 ระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร และพฒั นาตนเองอยูเ่ สมอ ทาํ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจใน สถานศึกษาในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทัศนะของครู การพัฒนาสถานศึกษา ตลอดจนเข้าใจพฤติกรรมการ ในอําเภอระแงะ จําแนกตามประสบการณ์การทํางาน บริหารของผบู้ ริหารสถานศึกษาไมแ่ ตกตา่ งกนั พบว่าภาพรวมไม่แตกต่างกัน สอดคล้องกับสุรัตน์ 2.3 ระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร ไชยชมพู (2549 : 59) ซ่ึงไดศ้ ึกษาความพึงพอใจของครูตอ่ สถานศึกษาในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของครู พฤติกรรมการบริหารของผบู้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ในอําเภอระแงะ จําแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่า สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 ผลการ ภาพรวมไม่แตกต่างกนั เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า วจิ ยั พบวา่ ความพึงพอใจของครูตอ่ พฤติกรรมการบริหาร แตกต่างกนั 2 ด้าน ได้แก่ ดา้ นการบริหารงานวิชาการ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สังกดั สาํ นกั งานเขต และดา้ นการบริหารงานทว่ั ไป อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ พ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 ในภาพรวม 4 ดา้ นอยใู่ น ระดับ .05 สอดคลอ้ งกบั บุญส่ง เจริญศรี (2550 : 123) ซึ่ง ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ทุกดา้ นอยใู่ น ไดศ้ ึกษาเรื่อง การมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาข้นั ระดับมาก เรียงลาํ ดบั ดงั น้ี ด้านบริหารงานบุคคล ด้าน พ้ืนฐานของรองอาํ นวยการโรงเรียน สังกดั สาํ นกั งานเขต บริหารทว่ั ไป ด้านงบประมาณ และด้านวิชาการ การ พ้ืนที่การศึกษานครราชสีมา เขต 1-7 ผลการศึกษาพบวา่ เปรียบเทียบความพึงพอใจของครูต่อพฤติกรรมการ การศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาข้ัน บริหารของผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัด พ้ืนฐานของรองอาํ นวยการโรงเรียน สังกดั สาํ นกั งานเขต สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 จําแนกตาม พ้ืนที่การศึกษานครราชสีมา เขต 1-7 โดยภาพรวมและราย ประสบการณ์ พบวา่ ไม่แตกต่างกนั ผลการศึกษาเป็น ด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อนํามาเปรียบเทียบกับ เช่นน้ีอาจเนื่องมาจาก ผู้บริหารสถานศึกษาในอําเภอระ ระดบั การศึกษา และขนาดโรงเรียน พบวา่ โดยภาพรวม แงะ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา และรายดา้ นไมแ่ ตกตา่ งกนั อยา่ งไรกตาม็ สุรัตน์ ไชยชมพู นราธิวาส เขต 3 ได้รับการพัฒนาศักยภาพตามนโยบาย (2549 : 59) ซ่ึงได้ศึกษาความพึงพอใจของครูต่อพฤติ ของสํานกั งานเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดน กรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ภาคใต ้ และสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 เมื่อ นราธิวาส เขต 3 อยา่ งต่อเนื่อง ทาํ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจ เปรียบเทียบความพึงพอใจของครูต่อพฤติกรรมการ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

10 บริหารของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัด และกาํ ลงั ใจครูและบุคลากรในสถานศึกษา และผู้บริหาร สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 จําแนกตาม ควรอนุญาตหรือเสนอขออนุญาตการลาของบุคลากรตาม ขนาดโรงเรียน พบว่า ไม่แตกต่างกนั ผลการศึกษาเป็น อํานาจหน้าที่ที่กฎหมายกาํ หนด เช่นน้ี น่ันคือ พฤติกรรมการบริหารของผูบ้ ริหารสถาน 4. ด้านการบริหารงานงบประมาณ ได้แก่ ศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของครูผูส้ อนในอาํ เภอระแงะ ผูบ้ ริหารควรส่งเสริมการจัดทาํ แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปี สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษา และผู้บริหารควรดําเนินงานธุรการ ให้รวดเร็ว นราธิวาส เขต 3 ภาพรวมไมแ่ ตกต่างกนั และเมื่อพิจารณา ข้อเสนอแนะส าหรับการค้นคว้าอิสระครั้งต่อไป เป็นรายด้าน พบว่า แตกต่างกนั 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการ 1 ควรศึกษาเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาความ บริหารงานวชิ าการ และดา้ นการบริหารงานทว่ั ไป อยา่ งมี คิดเห็นของผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั การศึกษา เช่น ผูป้ กครอง และ นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อาจเนื่องมาจากขนาด คณะกรรมการสถานศึกษา เป็นต้น เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก โรงเรียน ส่งผลให้เกิดความแตกต่างกนั ของสถานศึกษา ที่หลากหลาย อันจะนํามาซึ่งแนวทางการพัฒนาสถาน ในด้านโครงสร้าง จํานวนนักเรียน จํานวนครู การได้รับ ศึกษาไดถ้ ูกตอ้ ง ครบถว้ น และสมบูรณ์มากยง่ิ ข้ึน งบประมาณในการพัฒนาสถานศึกษา ภาระงานความ 2 ควรศึกษาขยายกลุ่มประชากรเป็นระดับ รับผิดชอบ และรูปแบบการบริหารจดั การที่ต่างกนั ปัจจยั จังหวัด หรือในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นต้น เพื่อ ต่างๆ เหล่าน้ีย่อมทําให้ศักยภาพและพฤติกรรมการ ก่อให้เกิดประโยชน์ในการพฒั นาผูบ้ ริหารสถานศึกษา บริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ปฏิบัติงานในโรงเรียน ระดับนโยบายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีบริบท ขนาดใหญ่แตกต่างกบั ผูบ้ ริหารสถานศึกษาที่ปฏิบตั ิงาน เหมือนกันในระดับจังหวดั หรือสามจังหวดั ชายแดน ในโรงเรียนขนาดเล็กแตกต่างกนั ใน ดา้ นการบริหารงาน ภาคใต้ที่เป็นรูปธรรม วชิ าการ และดา้ นการบริหารงานทว่ั ไปนน่ั เอง กิตติกรรมประกาศ ข้อเสนอแนะ การศึกษาน้ีสําเร็ จลุล่วงด้วยดี ด้วยความ ข้อเสนอแนะในการน าผลการศึกษาไปใช้ อนุเคราะห์ของบุคคลและหน่วยงาน ที่เกี่ยวขอ้ งหลายแห่ง 1. ด้านการบริหารงานวิชาการ ไดแ้ ก่ ผู้บริหาร ซ่ึงไมอ่ าจนาํ มากลา่ วไดท้ ้งั หมด ผูท้ ี่มีพระคุณท่านแรกคือ ควรจัดสภาพที่เป็นแวดลอ้ มให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ และ รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ บุญภิรมย์ ประธานกรรมการที่ ผบู้ ริหารควรผูบ้ ริหารส่งเสริมการส่งเสริมและสนบั สนุน ปรึกษา ที่ให้ความช่วยเหลืออย่างดีย่ิงโดยได้เอาใจใส่ งานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และ ตรวจแกก้ ารศึกษาค้นควา้ เล่มน้ีเพื่อให้มีความสมบูรณ์ สถาบันอื่นที่จัดการศึกษา ที่สุด และให้กําลังใจแก่ผู้ศึกษาตลอด ท่านที่สองคือ 2. ด้านการบริหารงานงบประมาณ ได้แก่ ผ ู้ ดร.เนาวรัตน์ ตรีไพรบูลย์ ซ่ึงให้คาํ ปรึกษาอีกท่านหน่ึง บริหารควรมีการวัดผล ประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อ ที่สละเวลาให้คาํ ปรึกษาและช่วยเหลือให้ขอ้ คิดอีกแง่มุม ปรับปรุงแกไ้ ขให้เกิดประสิทธิภาพ และผู้บริหารควร หนึ่ง ทําให้การศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ีสําเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ส่งเสริมการจัดทําแผนโครงการตามภาระงานอย่าง ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง มา ณ โอกาสน้ี เหมาะสม ขอขอบ พระคุณสํานักงานบัณฑิตศึกษาที่อํานวยความ 3. ดา้ นการบริหารงานวิชาการ ได้แก่ ผูบ้ ริหาร สะดวกทุกเรื่องในการจัดทําการศึกษา ขอขอบ พระคุณ ควรส่งเสริมการจดั ทาํ โครงการ/กิจกรรม เพื่อบาํ รุงขวญั ผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาตรวจสอบความเที่ยงตรงของ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

11 เครื่องมือศึกษา คือ นายประพันธ์ ท้านพันแดง ผู้อํานวย 3 ที่ได้ให้การทดลองใช้ (Try Out) เพื่อหาค่าความเชื่อมน่ั การโรงเรียนบ้านกอแนะเหนือ นายนิพนธ์ ชินไชยชนะ (Reliability) ของเครื่องมือ ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านกาหนัวะนายเสริมสุข ไกนนรา ขอขอบพระคุณผู้บริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ข้าราชการบํานาญ นางปิยวรรณ ไกรนรา และนายนิยอ อําเภอระแงะ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา บาฮา ศึกษานิเทศ ที่ให้ความกรุณาเป็นผู้เชี่ยวชาญในการ นราธิวาส เขต 3 ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ให้คณะครูได้ พิจารณาตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือให้มีความ ตอบแบบสอบถามและได้ช่วยเก็บรวบรมข้อมูล และ สมบูรณ์ย่ิงข้ึน ขอขอบพระคุณครูผู้สอน อําเภอจะแนะ จัดส่งให้ผู้ศึกษาด้วยความเรียบร้อยและติดตาม สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต แบบสอบถามจนครบตามกลุม่ เป้ าหมาย

เอกสารอ้างอิง กุลชญา เที่ยงตรง. (2550). การบริหารงานวชิ าการตามแนวการปฏริ ูปการศึกษาของสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน สังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียนเทศบาลเขตการศึกษา 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1, สํานักงาน. (2553). แผนกลลยุทธ์.นราธิวาส :ผแู้ ตง่ . เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3, สํานักงาน. (2555). แผนกลลยุทธ์. นราธิวาส : ผแู้ ตง่ . เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3, สํานักงาน. (2558). แผนกลลยุทธ์. นราธิวาส : ผแู้ ตง่ . จินตนา นันทปรีชา. (2544). การศึกษาพฤตกิ รรมการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั ส านักงานการ ประถมศึกษา จงั หวดั สมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เฉลา พวงมาลัย. (2551). สภาพและปัญหาการบริหารงานทั่วไปในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรี เขต 1 อาเภอปากท่อ . วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหา บัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั หมูบ่ า้ นจอมบึง. ซูใฮมี ศาสน์ศรัทธา. (2545). การบริหารงานบุคคลตามหลกั ธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาอา เภอสุไหงปาด ี ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2. ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2549). การวจิ ยั และวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถิตดิ ้วย SPSS. กรุงเทพฯ : วีอินเตอร์ พรินท์. นิโรธ สมัตตภาพงศ์. (2550). ปัจจยั พฤตกิ รรมการบริหารทสี่ ่งผลต่อวสิ ัยทศั น์ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช. บุญญารัตน์ ทองสุวรรณ์. (2558). พฤตกิ รรมผู้น ากบั การบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาสังกดั ส านักงานเขตพนื้ ที่ การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดยะลา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

12 บุญส่ง เจริญศรี. (2550). การมสี ่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานของรองผู้อา นวยการโรงเรียนสังกดั ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 1-7. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. ผอ่ งศรี วาณิชย์ศุกวงศ์. (2546). เอกสารคาสอนระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา . พิมพค์ ร้ังที่ 4. ปัตตานี: ฝ่ายเทคโนโลยีการศึกษา สํานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. (22 กรกฎาคม 2553). ราชกจิ จานุเบกษา. 127 (45 ก). 1-22. มนูญ ร่มแกว้ . (2553). สภาพและปัญหาการบริหารสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานทเี่ ป็นนิตบิ ุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกดั ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. ศิริกาญจน์ ไกรบํารุง. (2553). การศึกษาสภาพการบริหารงานทั่วไปในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาชัยภูมติ ามความคดิ เห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูธุรการ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สงัด กระจ่างใจ. (2549). ความพงึ พอใจของครูต่อพฤตกิ รรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน สังกดั ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาชลบุรี เขต 1.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. สมคะเน โตวัฒนา. (2557). พฤตกิ รรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานวชิ าชีพ สังกัด ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานีเขต 2. .วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์. สุธาสินี วิริยาภรณ์. (2545). พฤตกิ รรมการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนกบั ผลการบริหารงานโรงเรียน สังกดั ส านักงาน การประถมศึกษา จังหวัดนครปฐม.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิต วิทยาลัย .มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. สุรัตน์ ไชยชมพู. (2549). ความพงึ พอใจของครูต่อพฤตกิ รรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน สังกัด ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาชลบุรี เขต 1.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. สุริดา หลังจิ. (2556). ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาสังกดั ส านักงานเขตพนื้ ท ี่ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสตามทศั นะของครูผู้สอน.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. อินทร วุฒิไชย. (2545). การบริหารงานวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 8.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

13 ปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอเมืองนราธิ วาส สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 Problems of Budget Management in Basic Educational Institution at Mueang Narathiwat District under Narathiwat Primary Educational Service Area Office 1 ฮาซัน เจ๊ะเง๊าะ1 สันติ บุญภิรมย์2 และ จรุณี เกา้ เอ้ียน3 1นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2,3อาจารย์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

บทคัดย่อ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (  ) และค่าส่วนเบี่ยงเบน ปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษา มาตรฐาน ( ) พบวา่ ข้นั พ้ืนฐาน อาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกัดสํานักงานเขต 1. ระดับปัญหาการบริหารงานงบประมาณใน พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 มี สถานศึกษาข้นั ข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของบุคลากรทางการ วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัญหาการบริหารงาน บริหารงานงบประมาณอําเภอเมืองนราธิวาส สังกัด งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามทัศนะของ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต บุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณอําเภอเมือง 1 ภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง นราธิวาสสงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา 2. ผลการเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงาน นราธิวาส เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงาน งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามทัศนะของ งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามทัศนะของ บุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณอําเภอเมือง บุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณอําเภอเมือง นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส เขต 1 จําแนกตามตัวแปรตําแหน่ง ศึกษานราธิวาส เขต 1 จําแนกตามตัวแปรที่ศึกษา บุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณ ประสบการณ์ใน ประกอบด้วยตําแหน่งบุคลากรทางการบริหารงาน การดาํ รงตาํ แหน่ง และขนาดของสถานศึกษา ภาพรวม งบประมาณ ประสบการณ์ในการดํารงตาํ แหน่ง และ และรายดา้ น ไมแ่ ตกตา่ งกนั ขนาดของสถานศึกษาและ 3) เพื่อประมวลข้อเสนอแนะ 3. ผลการประมวลข้อเสนอแนะในการบริหาร การบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน งานงบประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของ ตามทัศนะของบุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณ บุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณอําเภอเมือง อําเภอเมืองนราธิวาส สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 การศึกษาคร้ังน้ี ศึกษานราธิวาส เขต 1 ได้แก่ สถานศึกษาควรจัดทํา ทําการศึกษาจากประชากร คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และ แผนการใช้งบประมาณที่ได้รับจัดสรรประจําปี และมีการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้ัน จัดทํารายละเอียดการบริหารงบประมาณตามโครงสร้าง พ้ืนฐานอาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ แผนงาน โครงการต่างๆ ให้ชัดเจน ผู้รับผิดชอบในการ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 จํานวน 82 คน บริหารงานงบประมาณ ควรศึกษาทาํ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามวิเคราะห์ นโยบาย แผนพฒั นา หลกั เกณฑก์ ารจดั สรร ของหน่วยตน้ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป เพื่อคํานวณหา สังกัด ควรจัดให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตามและ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

14 ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการใช้จ่าย Office 1. The tool used in this study was questionnaires. งบประมาณการจัดการศึกษา ควรเสนอแผนการระดมทุน Data analysis of population was processed through และทรัพยากรทางการศึกษาและทุนการศึกษาต่อ software package for calculation to frequency, คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ควรจัดทําบัญชี percentage, mean, and standard deviation. รายงานทางการเงินตามรูปแบบกาํ หนดให้ถูกตอ้ ง และ The study outcomes were as the following : ควรดาํ เนินการบริหารจัดซ้ือพสั ดุและสินทรัพยเ์ ป็นไป 1. The overall level of problems of budget ตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งอยา่ งถูกตอ้ ง management in Basic Educational Institution as คาส าคัญ : การบริหารงานงบประมาณ สถานศึกษาข้นั perceived by budget management officers at Mueang พ้ืนฐาน อําเภอเมืองนราธิวาส Narathiwat District under Narathiwat Primary Abstract Educational Service Area Office 1 were at a moderate Independence study title “Problems of Budget level. Management in Basic Educational Institution at Mueang 2. The comparative results of problems in Narathiwat District under Narathiwat Primary budget management in Basic Educational Institution as Educational Service Area Office 1”. This independent perceived by budget management officers at Mueang study were 1) to study the level of problems of budget Narathiwat District under Narathiwat Primary management in Basic Educational Institution as Educational Service Area Office 1 clarified by variants perceived by budget management officers at Mueang of budget management officers, experience in taking the Narathiwat Districtunder Narathiwat Primary positions and the size of schools in overview and each Educational Service Area Office 1, 2) to compare the aspect were not different. problems of budget management in Basic Educational 3. The study found that the suggestions about Institution as perceived by budget management officers the budgets management were schools should make the at Mueang Narathiwat District under Narathiwat budgets plan, budget allocations and make a clear and Primary Educational Service Area Office 1, by accurate report on budgets management according to the classifying variable according to position of officers who structure of the projects. Moreover, the budgets manage the budgets, personal experiences and school’s administrators should study and understand the policies, size, and (3) to gather up suggestions of budget development plans, the rules and regulations of the management in Basic Educational Institution as budgets allocations. They also have to monitor, follow perceived by budget management officers at Mueang and evaluate the efficiency and the effectiveness on how Narathiwat District under Narathiwat Primary people spending budgets in schools. They should present Educational Service Area Office 1. The population used raising fund plan and funds for further education to the in the independent study were 82 of administrators and committee of basic education and also make an chief of budget management division in Basic accounting report with accurate forms and formats. Educational Institution at Mueang Narathiwat District Furthermore, they also have to manage the process on under Narathiwat Primary Educational Service Area how to purchase the procurement and assets according to JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

15 rules and conditions stated. ผูด้ าํ รงตาํ แหน่งดังกล่าวมอบอาํ นาจให้แก่ผูอ้ าํ นวยการ Key words : Budget Management, Basic Educational สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือผอู้ าํ นวยการสถานศึกษา Institution, Mueang Narathiwat District ท้ังน้ีให้คํานึงถึงความเป็นอิสระและการบริหารงานที่ คลอ่ งตวั ภายใตห้ ลกั การบริหารงานการศึกษา ดงั ต่อไปน้ี บทน า 1) อํานาจหน้าที่ในการพิจารณาและให้ความเห็นชอบ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ เกี่ยวกบั งบประมาณและ การดาํ เนินการทางงบประมาณ แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 หมวด 5 วา่ ดว้ ยการ ของผู้อํานวยการสถานศึกษาหรือผู้อํานวยการสํานักงาน บริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 39 ให้กระทรวง เขตพ้ืนที่การศึกษา รวมตลอดถึงหลักการ การให้สถาน กระจายอาํ นาจการบริหารและการจัดการศึกษา ท้งั ดา้ น ศึกษาหรือสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีอาํ นาจทํานิติ วิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการ กรรมสัญญาในวงเงินงบประมาณที่ได้รับอนุมัติแล้ว 2) บริหารงานทว่ั ไป ไปยงั คณะกรรมการ และสาํ นกั งานเขต หลักเกณฑ์การพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา และ พ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษา ดําเนินการทางวินัย กบั ครูและบุคลากรทางการศึกษาโดย โดยตรงและหมวด 8 วา่ ดว้ ยทรัพยากรและการลงทุนเพื่อ สัมพนั ธ์กบั แนวทางที่กาํ หนดในกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบียบ การศึกษา มาตรา 60 ให้รัฐจดั สรรงบประมาณแผ่นดิน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (พระราชบัญญัติ ให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสําคัญสูงสุดต่อการ ระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ.2546, พฒั นาที่ยง่ั ยนื ของประเทศโดยจดั สรรเป็นเงินงบประมาณ 2546 : 17-18) เพื่อการศึกษา และมาตรา 62 ให้มีระบบการตรวจสอบ การกระจายอํานาจในการบริหารงบประมาณให้ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ สถานศึกษา ถือเป็ นภารกิจที่สําคัญภารกิจหน่ึงของ ใชจ้ ่ายงบประมาณการจดั การศึกษาให้สอดคลอ้ งกบั หลัก ผูบ้ ริหาร จากที่ผ่านมาผูบ้ ริหารโรงเรียนไม่ได้บริหาร การศึกษา แนวการจัดการศึกษาและคุณภาพมาตรฐาน งบประมาณเอง เพราะกรม ตน้ สังกดั จะเป็นฝ่ายตดั สินใจ การศึกษา โดยหน่วยงานภายในและหน่วยงานของรัฐที่มี และบริหารจดั การงบประมาณเกือบท้งั หมด จะมอบหมาย หน้าที่ตรวจสอบภายนอก (พระราชบัญญัติการศึกษา ให้โรงเรียนดาํ เนินการในส่วนงบประมาณค่าวสั ดุเพียง แห่งชาติ พ.ศ. 2542, 2542 : 17-18) เลก็ นอ้ ยเท่าน้นั ปัจจุบนั โรงเรียนมีบทบาทในการบริหาร อีกท้ังพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ งบประมาณด้วยตนเอง ตามขอบข่ายภารกิจงาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 44 ยงั กาํ หนดให้มี งบประมาณ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546 : 39) ไดแ้ ก่ 1) การกระจายอํานาจที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การจัดทําและเสนอของบประมาณ 2) การจัดสรรงบ การศึกษาแห่งชาติดว้ ย คือ ให้ปลดั กระทรวง เลขาธิการ ประมาณ 3) การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและ สภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ัน รายงานผลการใช้เงินและ ผลการดําเนินงาน 4) การระดม พ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา 5) การบริหารงาน เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระจายอํานาจ การเงิน 6) การบริหารบัญชี 7) การบริหารพัสดุและ การบริหารและการจัดการศึกษาท้ังด้านวิชาการ ด้าน สินทรัพย์ ซึ่ง (ราตรี ธวัชกาญจน์, 2551 : 2) ได้ระบุ งบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคลากรและด้านการ ลกั ษณะการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาไวว้ า่ ใน บริหารทว่ั ไป ไปยงั คณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษา และ ปัจจุบนั กาํ หนดใหส้ าํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นหน่วย สาํ นกั งานเจตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง ให้ งบประมาณและหน่วยบริหารการเงินโดยสถานศึกษา JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

16 สามารถกาํ หนดความตองการและเสนอของบประมาณ้ ศึกษานราธิวาส เขต 1, 2554 : 3-4) พบวา่ ส่วนใหญ่มีการ ผ่านสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา งบประมาณที่ได้รับ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการดําเนินการบริหาร จดั สรรอยู่ในรูปของเงินกอ้ น ที่สถานศึกษามีอาํ นาจใน งบประมาณไม่มากนัก การบริหารงานงบประมาณจะ การบริหารตามกรอบงบประมาณที่ไดร้ ับ สอดคลอ้ งกบั เป็นไปตามความต้องการของผู้บริหารโรงเรียน เพราะ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 แกไ้ ข เป็นผูอ้ นุมตั ิให้จ่ายเงินได ้ โดยเฉพาะหมวดเงินอุดหนุน เพ่ิมเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2554 (สํานักงบประมาณ, 2554 : หมวดคา่ ตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ และหมวดค่าครุภณั ฑ ์ ไม่ปรากฏเลขหน้า)ไดร้ ะบุไวว้ า่ การบริหารงบประมาณ งบดาํ เนินงาน งบลงทุน ที่ดินและส่ิงก่อสร้าง เมื่อมีการ ให้สอดคลอ้ งกบั ระบบและวิธีการจัดการงบประมาณที่ เปลี่ยนแปลงผบู้ ริหาร วธิ ีการดาํ เนินงานการงบประมาณก็ มุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ด้วยการจัดสรร จะเปลี่ยนไปตามผูบ้ ริหารคนใหม่ การดาํ เนินการบริหาร งบประมาณใหก้ บั ส่วนราชการและรัฐวสิ าหกิจเพื่อให้เกิด อาจมีแนวโน้มในการพัฒนาตามความสนใจของผู้บริหาร ประโยชน์สูงสุดและคุม้ ค่า รวมท้งั มอบอาํ นาจและความ คนใหม่ การใชจ้ ่ายอาจไม่มีการวางแผนที่แน่นอน ทาํ ให้ รับผิดชอบใหห้ น่วยปฏิบัติสามารถบริหารงบประมาณได้ การใชจ้ ่ายเงินงบประมาณและการจดั สรรงบประมาณไม่ อยา่ งยดื หยนุ่ คลอ่ งตวั สูงใหบ้ รรลุเป้ าหมายและผลสมั ฤทธ์ิ ถูกต้องตามระเบียบ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการใช้เงิน ของงานตามแผนงาน โดยมีการจดั ทาํ ค่าใชจ้ ่ายต่อหน่วย ของแตล่ ะประเภท แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ การ การบริหารงบประมาณของสํานักงานเขตพ้ืนที่ รายงานผล และสอดรับกบั ระบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ในโรงเรียน เพื่อให้การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายมีความรวดเร็ว มี ประถมศึกษา (สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ประสิทธิภาพ คุม้ ค่า โปร่งใส สามารถตรวจสอบ และ นราธิวาส เขต 1, 2556 : 2) พบว่า ด้านการบริหาร เปิดเผยต่อสาธารณชนได ้ จึงกล่าวสรุปไดว้ า่ (วนิดา ช่วย งบประมาณและสนับสนุนเกี่ยวกับการบริหารการเงิน บํารุง, 2551 : 2) งานบริหารงบประมาณ เป็นงานบริหารที่ และทรัพย์สิน คือ ด้านบุคลากรในระดับสถานศึกษาขาด มีความสาํ คญั ตอ้ งอยใู่ นกรอบมากกวา่ งานดา้ นอื่น ๆ เหตุ ความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ทําให้เกิดความ เพราะการดาํ เนินการทุกอย่างจะตอ้ งเป็นไปตามตวั บท ผิดพลาด ความลา่ ชา้ ตอ้ งมีการเสริมทกั ษะแก่ผูป้ ฏิบตั ิงาน กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรี ด้านการเงินมีการแกไ้ ขเอกสารการเบิกจ่ายบ่อยคร้ัง ทาํ ให้ อยา่ งเคร่งครัด หากผูป้ ฏิบตั ิงานละเลยไม่ปฏิบัติตาม จะ เกิดความล่าชา้ ดา้ นการพสั ดุ การจดั ทาํ เอกสารจดั ซ้ือจดั เกิดผลเสียอยา่ งใหญ่หลวงต่อผูป้ ฏิบตั ิงาน ผูบ้ ริหารและ จ้าง มีการแก้ไขบ่อยคร้ัง วสั ดุ ครุภัณฑ์ที่ได้รับสถาน องคก์ ร จึงจาํ เป็นที่ผูบ้ ริหารตอ้ งกาํ กบั ดูแล ให้คาํ แนะนาํ ศึกษาไมส่ ามารถนาํ ไปใชเ้ กิดประโยชน์ในการบริหารงาน ให้คําปรึ กษา และตัดสินใจทางการเงินร่ วมกับ ตามกาํ หนดเวลา ด้านผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าบริหาร ผู้ปฏิบัติงานและบุคลากรในองคก์ รอยา่ งถูกตอ้ ง ฉับไวอยู่ งบประมาณและพัสดุ ขาดการประสาน งานวางแผน ตลอดเวลา เพื่อให้การบริหารงบประมาณของสถานศึกษา ร่วมกนั เพื่อที่จะหาวสั ดุอุปกรณ์ให้ทนั ต่อความตอ้ งการ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์สูงสุดของ ก่อนเปิ ดเรียน ด้านการดําเนินการจัดซ้ือจัดจ้างล่าช้า องค์กร เนื่องจากเกี่ยวโยงกับระบบการบริหารงบประมาณ การบริหารงานงบประมาณของโรงเรียนประถม ข้นั ตอนปฏิบัติงานมีหลายระดับ และไม่สอดคล้องกับ ศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สภาพความเป็นจริง นราธิวาส เขต 1 (สํานักงานเขตพ้ืนที่การ ศึกษาประถม จากความสําคัญของการบริหารงานงบประมาณ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

17 ข้อบกพร่ อง และปัญหาที่เกิดข้ึนในการบริ หาร ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใชใ้ นการเก็บ งบประมาณที่กล่าวมาข้างต้น และเนื่องจากผู้ศึกษา ข้อมูลการศึกษาคร้ังน้ี คือบุคลากรทางการบริหารงาน ปฏิบัติงานในโรงเรียน อําเภอเมืองนราธิวาส จึงเป็น งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกอบด้วย มูลเหตุจูงใจให้ผู้ศึกษาสนใจที่จะศึกษาค้นคว้า เรื่อง ผูบ้ ริหารสถานศึกษาและหัวหน้ากลุ่มงานบริหารงาน ปัญหาการบริหารงบประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน งบประมาณอาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกดั สํานักงานเขต อําเภอเมืองนราธิวาส สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ปีการศึกษา ประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 วา่ มีปัญหาในการบริหาร 2558 จํานวน 41 โรงเรียน โรงเรียนละ 2 คน รวมท้งั สิ้น งานงบประมาณของสถานศึกษาแต่ละด้านมากน้อย 82 คน เพียงใด เพื่อเป็ นกรอบและแนวทางในการส่งเสริม ขอบเขตด้านเน้ือหา การศึกษาคร้ังน้ีมุ่งศึกษา สนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจในการบริหาร ปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้ัน งบประมาณและเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการบริหาร พ้ืนฐาน อาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ งานงบประมาณใหม้ ีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผล การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ตามขอบข่าย 7 ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและสถานศึกษาให้ ด้าน ตามคู่มือบริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่เป็ นนิติ เจริญกา้ วหนา้ ยง่ิ ข้ึนไป บุคคล (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546 : 39) ไดแ้ ก่ ด้านการ ความสําคัญของการศึกษา จัดทําและเสนอของบประมาณ ด้านการจัดสรร 1. ทําให้ทราบระดับปัญหาของการบริหารงาน งบประมาณ ด้านการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามทัศนะของ รายงานผลการใช้เงินและผลการดําเนินงาน ด้านการ บุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณอําเภอเมือง ระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา ด้านการ นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม บริหารการเงิน ด้านการบริหารบัญชี ด้านการบริหารพัสดุ ศึกษานราธิวาส เขต 1 และสินทรัพย์ 2. ทําให้ทราบผลการเปรียบเทียบปัญหาการ ขอบเขตด้านตัวแปร บริหารงานงบประมาณเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ตัวแปรต้น (Independent Variables) สถานภาพ แกป้ ัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้นั ของประชากร แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ 1. ตําแหน่ง พ้ืนฐานตามทัศนะของบุคลากรทางการบริหารงาน บุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณ จําแนกเป็น 2 งบประมาณอาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกดั สํานักงานเขต กลุม่ คือ ผบู้ ริหารสถานศึกษา และหวั หนา้ กลุ่มบริหารงาน พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 งบประมาณ 2. ประสบการณ์ในการดํารงตาํ แหน่ง จําแนก 3. ทําให้ทราบเกี่ยวกับข้อเสนอแนะปัญหาการ เป็น 2 กลุ่ม คือ ประสบการณ์ต่าํ กวา่ 10 ปี และประสบ บริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานตาม การณ์ 10 ปีข้ึนไป 3. ขนาดของสถานศึกษา จําแนกเป็น 3 ทัศนะของบุคลากรตําแหน่งทางการบริ หารงาน กลุ่มคือ ขนาดเล็ก (นกั เรียนไม่เกิน 120 คน) ขนาดกลาง งบประมาณอาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกดั สํานักงานเขต (นกั เรียนต้งั แต่ 120 - 600 คน) และขนาดใหญ่ (นักเรียน พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 เพื่อใช้ใน เกิน 601 คน ข้ึนไป) การกํากับ ดูแล ควบคุมติดตามและนิเทศเกี่ยวกับการ ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ไดแ้ ก่ ปัญหา บริหารงานงบประมาณไดเ้ หมาะสมยง่ิ ข้ึน การบริหารงานงบประมาณประกอบด้วย 7 ด้าน คือ 1. ขอบเขตของการศึกษา ด้านการจัดทําและเสนอของบประมาณ 2. ด้านการจัดสรร JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

18 งบประมาณ 3. ด้านการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล ประมาน ด้านการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและ และรายงานผลการใช้เงิน 4. ด้านการระดมทรัพยากรและ รายงานผลการใช้เงินและผลการดําเนินงาน ด้านการ การลงทุนเพื่อกาศึกษา 5. ด้านการบริหารการเงิน 6. ด้าน ระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา ด้านการ การบริหารบัญชี 7. ด้านการบริหารพัสดุและสินทรัพย์ บริหารการเงิน ด้านการบริหารบัญชีและด้านการบริหาร พัสดุและสินทรัพย์ วิธีการวิจัย ตอนที่ 3 เป็นขอ้ คาํ ถามปลายเปิดเกี่ยวกบั ขอ้ เสนอ การศึกษาคร้ังน้ี เป็ นการศึกษาเชิงสํารวจ เพื่อ แนะในการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้ัน ศึกษาปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 7 ดา้ นดงั กลา่ ว พ้ืนฐานอาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ ในส่วนของวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษา การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 โดยมีข้นั ตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป การศึกษาดังน้ี ประชากรที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ดําเนินการวเิ คราะห์ ดงั น้ี การศึกษาคร้ังน้ี คือ บุคลากรทางการบริหารงาน 1. วิเคราะห์แบบสอบถามตอนที่ 1 สถานภาพ งบประมาณ ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาและ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาและหัวหน้ากลุ่มบริหารงาน หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษา งบประมาณที่ตอบแบบสอบถาม โดยใช้ความถี่และค่า ข้นั พ้ืนฐานอาํ เภอเมืองนราธิวาส สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ ร้อยละ นําผลการวิเคราะห์เสนอในรูปตารางประกอบคํา การศึกษาประถมศึกษา นราธิวาส เขต 1 จํานวน 41 โรง บรรยาย โรงเรียนละ 2 คน รวมท้งั สิ้น 82 เครื่องมือที่ใชใ้ นการเก็บ 2. วิเคราะห์แบบสอบถามตอนที่ 2 ความคิดเห็น รวบรวมข้อมูลในการศึกษาคร้ังน้ี เป็ นแบบสอบถาม ของผู้บริหารสถานศึกษาและหัวหน้ากลุ่มบริหารงาน (Questionnaire) ซ่ึงผู้ศึกษาสร้างข้ึนโดยประมวล งบประมาณ เกี่ยวกบั ปัญหาการบริหารงานงบประมาณ แนวความคิดที่ได้จากการศึกษาวิเคราะห์เอกสารและ ของสถานศึกษาในอาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกดั สาํ นกั งาน งานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ปัญหาการบริหารงานงบประมาณ เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 เป็น ในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน อาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกดั ภาพรวม รายดา้ นและรายขอ้ โดยหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (µ) สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อต้องการทราบระดับความ 1 แบ่งแบบสอบถามออกเป็น 3 ตอน คือ คิดเห็น แล้วนําข้อมูลไปแปลผลการวิเคราะห์เสนอในรูป ตอนที่ 1 แบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบ ตารางประกอบคําบรรยาย โดยใช้เกณฑ์สัมบูรณ์ เลือกตอบ (Check List) สอบถามเกี่ยวกบั สถานภาพของ (Absolute Criteria) ตามแนวทางของเบสส์ (Best, 1977 : ประชากร ประกอบด้วย ตําแหน่งบุคลากรทางการ 204 - 208 ; อ้างถึงในอุมัร สวาหลัง, 2546 : 99) บริหารงานงบประมาณ ประสบการณ์ในการดํารง 3. วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบปัญหาการ ตาํ แหน่ง และขนาดของสถานศึกษา บริหารงานงบประมาณของสถานศึกษาในอําเภอเมือง ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบ นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม รายการ (Rating Scale) 5 ระดบั สอบถามเกี่ยวกบั ปัญหา ศึกษา นราธิวาส เขต 1 จําแนกตามตัวแปร บุคลากร การบริหารงานงบประมาณของบุคลากรทางการบริหาร ทางการบริหารงบประมาณ ประสบการณ์ในการดํารง งานงบประมาณสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 7 ดา้ นไดแ้ ก่ ดา้ น ตาํ แหน่ง และขนาดของสถานศึกษา นาํ มาวิเคราะห์โดย การจัดทําและเสนอของบประมาณ ด้านการจัดสรรงบ หาค่าเฉลี่ย (  ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) และหา JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

19 คู่ที่แตกต่าง นาํ ขอ้ มูลมานาํ เสนอในรูปตารางประกอบคาํ งบประมาณ มีคา่ เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือดา้ นการจดั สรร บรรยาย งบประมาณและการบริหารการเงินและการตรวจสอบ 4. วิเคราะห์แบบสอบถามตอนที่ 3 วิเคราะห์ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการใช้เงินและผลการ เน้ือหา (Content analysis) เกี่ยวกบั ขอ้ เสนอแนะในแต่ละ ดาํ เนินงานมีคา่ เฉลี่ยต่าํ สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ นพบวา่ ด้าน โดยการประมวลความคิดเห็นและแจกแจงความถี่ใน ด้านการจัดทําและเสนอของบประมาณ ภาพรวม แตล่ ะดา้ น แล้วนําเสนอข้อมูลในรูปความเรียง อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า สถานศึกษามีการจัดทําแผนการใช้เงินงบประมาณที่ได้รับ ผลการศึกษา การจดั สรรประจาํ ปี มีคา่ เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือนักเรียน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการ ครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน บริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานอาํ เภอ ตวั แทนองคก์ รชุมชน มีส่วนร่วมในการจดั ทาํ แผนกลยทุ ธ์ เมืองนราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษามีการจัดทําแผนกลยุทธ์หรือแผนพัฒนา ประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ซ่ึงสามารถสรุปผลไดด้ งั น้ี การศึกษาของสถานศึกษามีคา่ เฉลี่ยต่าํ สุด ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ดา้ นการจดั สรรงบประมาณ ภาพรวมอยใู่ นระดบั สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นประชากร ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ การศึกษาขอ้ มูล ท้งั หมด จาํ นวน 82 คน ส่วนใหญม่ ีประสบการณ์การดาํ รง การจัดสรรงบประมาณที่ทางสํานักงานคณะกรรมการ ตําแหน่งต้ังแต่ 10 ปี ข้ึนไป คิดเป็ นร้อยละ 74.40 ใน การศึกษาข้ันพ้ืนฐานจัดสรรให้กับสํานักงานเขตพ้ืนที่ สถานศึกษาขนาดกลางคิดเป็นร้อยละ 68.29 และเป็น การศึกษาทราบในเรื่องนโยบายแผนพัฒนา หลักเกณฑ์ ตาํ แหน่งบุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณ คิดเป็น การจัดสรร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือการนําเสนอ ร้อยละ 50 จาํ นวนเท่ากนั คือ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาและ แผนปฏิบัติการประจําปี งบประมาณเสนอต่อคณะ หวั หนา้ กลุม่ งานบริหารงานงบประมาณ กรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และสถานศึกษาจดั ทาํ ตอนที่ 2 ระดับปัญหาการบริหารงานงบประมาณ รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจําปี ซึ่งระบุแผนงาน ของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน อ าเภอเมือง โครงการที่สอดคลอ้ งวงเงินงบประมาณมีคา่ เฉลี่ยต่าํ สุด นราธิวาส สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ด้านการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและ ศึกษานราธิวาส เขต 1 รายงานผลการใชเ้ งินและผลการดาํ เนินงาน ภาพรวมอยู่ 1. ผลการวิเคราะห์ระดับปัญหาการบริหารงาน ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ สถาน งบประมาณของบุคลากรทางการบริหารงานงบประมาณ ศึกษาจัดทําแผนการตรวจสอบ ติดตาม การใช้เงินมี ในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน อาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกดั ค่าเฉลี่ยสูงสุดรองลงมาคือสถานศึกษารายงานผลการ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ดาํ เนินการตรวจสอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน 1 ดงั น้ี พ้ืนฐาน และรายงานผลการประเมินการใช้เงินต่อ จากผลการศึกษาพบว่า ระดับปัญหาการบริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานมีคา่ เฉลี่ยต่าํ สุด งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานอําเภอเมือง ด้านการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อ นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม การศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา ศึกษานราธิวาส เขต 1 ภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง เมื่อ เป็นรายขอ้ พบวา่ สถานศึกษาเสนอแผนการระดมทุนและ พิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ดา้ นการจดั ทาํ และเสนอขอ ทรัพยากรทางการศึกษาและทุนการศึกษาต่อคณะ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

20 กรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ไมแ่ ตกตา่ งกนั รองลงมาคือ สถานศึกษาศึกษาวิเคราะห์แหล่งทรัพยากร ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบปัญหาการบริหารงาน บุคคล หน่วยงาน องค์กร ทอ้ งถ่ินที่มีศกั ยภาพในการให้ งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อําเภอเมือง การให้การสนับสนุนการจัดการศึกษา และสถานศึกษา นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม จัดทําแผนการระดมทรัพยากรทางการศึกษาและ ศึกษานราธิวาส เขต 1 จําแนกตามตัวแปร ประสบการณ์ ทุนการศึกษาโดยการกาํ หนดวิธีการแหล่งการสนับสนุน ในการดาํ รงตาํ แหน่ง ภาพรวมและรายดา้ น ไมแ่ ตกตา่ งกนั เป้ าหมาย เวลาดาํ เนินการ และผรู้ ับผิดชอบมีคา่ เฉลี่ยต่าํ สุด ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบปัญหาการบริหารงาน ดา้ นการบริหารการเงิน ภาพรวมอยใู่ นระดบั ปาน งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อําเภอเมือง กลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ การจดั ทาํ แผนการใช้ นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม เงินเมื่อไดร้ ับงบประมาณมีคา่ เฉลี่ยสูงสุดรองลงมาคือการ ศึกษานราธิวาส เขต 1 จําแนกตามตัวแปร ขนาดของ เก็บรักษาเงินเป็ นไปตามระเบียบที่กระทรวงการคลัง สถานศึกษา ภาพรวมและรายดา้ น ไมแ่ ตกตา่ งกนั กาํ หนด และการแต่งต้งั เจ้าหน้าที่ผูร้ ับผิดชอบเป็ นลาย ตอนที่ 3 ประมวลข้อเสนอแนะในการบริหารงาน ลกั ษณ์อกั ษรมีคา่ เฉลี่ยต่าํ สุด งบประมาณในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอ าเภอเมือง ด้านการบริหารบัญชี ภาพรวมอยู่ในระดับปาน นราธิวาส ของผู้บริหารสถานศึกษาและหัวหน้ากลุ่ม กลางเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า การจัดทําบัญชี บริหารงานงบประมาณ รายงานทางการเงินถูกตอ้ งและครบทุกรูปแบบมีค่าเฉลี่ย ผู้ศึกษาได้นําเสนอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สูงสุด รองลงมาคือการจัดทําบัญชีการเงินเป็นปัจจุบัน ที่ไดม้ าสงั เคราะห์โดยเรียงลาํ ดบั ดงั น้ี และการจัดเก็บเอกสารประกอบการจ่ายครบถ้วนเรียง ด้านการจัดทําและเสนอของบประมาณ พบว่า ตามลาํ ดบั การจ่าย มีคา่ เฉลี่ยต่าํ สุด ผู้ตอบแบบสอบถามได้ให้ข้อเสนอแนะ คือ ผู้บริหารและ ด้านการบริหารพสั ดุและสินทรัพย ์ ภาพรวมอยใู่ น เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบควรได้รับการอบรมเกี่ยวกับ ระดบั ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ การจดั หา ระเบียบ ข้อกฎหมายของการบริหารงานงบประมาณ พสั ดุและสินทรัพยเ์ ป็นไปตามระเบียบมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รวมท้ังทราบนโยบายของต้นสังกัด และแนวปฏิบัติที่ รองลงมาคือสถานศึกษาแต่งต้งั คณะกรรมการตรวจสอบ ตรงกนั เขตพ้ืนที่การศึกษา ควรสาํ รวจความตอ้ งการใชง้ บ พสั ดุประจาํ ปีอยา่ งสม่าํ เสมอทุกปี และการบันทึกรายการ ที่แทจ้ ริง รวมท้ังมีการแจง้ งบประมาณที่สถานศึกษาจะ ในบัญชีพัสดุและทะเบียนครุภัณฑ์ถูกตอ้ งมีคา่ เฉลี่ยต่าํ สุด ได้รับเพื่อจะได้จัดทําและเสนอของบประมาณ และ 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบปัญหาการ สถานศึกษาควรให้ชุมชน ผู้ปกครองได้ประสานความ บริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานอาํ เภอ ร่วมมือในการวิเคราะห์วางแผนการบริหารงานประมาณ เมืองนราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ของสถานศึกษา ตามลําดับ ประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ด้านการจัดสรรงบประมาณ พบว่า ผู้ตอบ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบปัญหาการบริหารงาน แบบสอบถามไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะดงั น้ี สถานศึกษาจดั สรร งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อําเภอเมือง งบประมาณมาบริหารในวงเงินงบประมาณจาํ นวนจาํ กดั นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม สถานศึกษาควรจัดสรรงบประมาณให้คุม้ ค่า เขา้ ถึงการ ศึกษานราธิวาส เขต 1 จําแนกตามตัวแปร ตําแหน่ง พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และผู้บริหารควรเห็น ทางการบริหารงานงบประมาณ ภาพรวมและรายด้าน ความสําคัญของแผนการใช้จ่ายเงินที่จัดทําข้ึนเพื่อส่ง JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

21 หน่วยงานตน้ สงั กดั ตามลาํ ดบั ไดใ้ ห้ขอ้ เสนอแนะดงั น้ี เขตพ้ืนที่การศึกษาควรจดั อบรม ด้านการตรวจสอบติดตาม ประเมินผลและ การจัดทําบัญชี การรายงานทางการเงินตามแบบที่ถูกต้อง รายงานผลการใช้เงิน ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูต้ อบ ใหแ้ ก่ผบู้ ริหารและเจา้ หนา้ ที่ผรู้ ับผิดชอบ ตามลาํ ดบั แบบสอบถามได้ให้ข้อเสนอแนะ ดังน้ี บุคลากรที่ ดา้ นการบริหารพสั ดุและสินทรัพย ์ พบวา่ ผูต้ อบ รับผิดชอบควรศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการบริหาร แบบสอบถามได้ให้ขอ้ เสนอแนะดังน้ี สถานศึกษาควร งบประมาณสมํ่าเสมอ เพื่อให้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบได้ จัดทาํ ทะเบียนคุมการเบิกจ่ายพสั ดุให้เป็ นปัจจุบันและ ถูกต้อง สามารถตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลได้ ถูกต้อง สถานศึกษาควรจัดสรรบุคลากรที่มีความรู้ สถานศึกษาควรมีระบบการตรวจสอบติดตาม ประเมินผล ความสามารถในการบริหารพัสดุและสินทรัพย์ และควร การใช้เงินในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การใช้ ให้ผูร้ ับผิดชอบไดศ้ ึกษารายละเอียดการจดั ซ้ือจดั จา้ งให้ งบประมาณเป็นไปตามวัตถุประสงค์ สถานศึกษาควรมี มาก เพื่อความคล่องตัวในการบริหารงานงบประมาณ การวางแผนตรวจสอบการใช้งบประมาณของสถานศึกษา ตามลําดับ เพื่อให้งบประมาณที่ได้รับมีการนํามาใช้อย่างถูกต้อง โปร่งใสและก่อใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดแก่ผเู้รียน บุคลากร อภิปรายผลการศึกษา ด้านงบประมาณควรช้ีแจงรายละเอียดการใช้จ่าย ปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษา งบประมาณของสถานศึกษาเพื่อสร้างความเขา้ ใจให้กบั ข้นั พ้ืนฐานอาํ เภอเมืองนราธิวาส สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ บุคลากรอื่นในสถานศึกษา ตามลําดับ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ภาพรวมมีปัญหา ด้านการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อ อยใู่ นระดบั ปานกลางและเมื่อพิจารณารายดา้ น พบวา่ ทุก การศึกษา พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามได้ให้ข้อเสนอแนะ ดา้ นมีปัญหาการบริหารงานงบประมาณอยูใ่ นระดบั ปาน ดงั น้ี สถานศึกษาควรใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน กลาง ดา้ นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การจัดทาํ และเสนอขอ มามีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อ งบประมาณ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของไอพี หะยี การศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการระดมทุนทางสังคม สาแม็ง (2552 : 84) ได้วิจัยเรื่องปัญหาการบริหาร สถานศึกษาควรจดั กิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพนั ธ์อนั ดี งบประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สังกดั สํานักงาน ระหวา่ งสถานศึกษากบั ชุมชน ตามลาํ ดบั เขตพ้ืนที่การศึกษานราธิวาส พบว่าในภาพรวมอยู่ใน ด้านการบริ หารการเงิน พบว่า ผู้ตอบแบบ ระดบั ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ นพบวา่ ทุกดา้ นมี สอบถามไดใ้ ห้ขอ้ เสนอแนะดงั น้ี สถานศึกษาควรจดั ทาํ ปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง สอดคล้องกับบุญชู แผนการใชเ้ งินที่พร้อมจะใชจ้ ่ายเงินเป็นไปตามแผนการ ราชสุวรรณ (2548 : 78-79) ได้วิจัยเรื่องปัญหาการบริหาร ใช้จ่ายของสถานศึกษา เมื่อได้รับจัดสรรงบประมาณ งานงบประมาณและการเงินของผู้บริหารสถานศึกษา สถานศึกษาไม่ควรก่อหน้ีผูกพนั ไวเ้ ป็นจาํ นวนมากทาํ ให้ ข้นั พ้ืนฐาน สังกดั สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษานราธิวาส การบริหารการเงินเกิดความสลบั ซับซ้อนและไม่เป็นไป เขต 2 พบวา่ ภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลางเมื่อพิจารณา ตามแผนการใช้จ่ายเงินสถานศึกษาควรใช้จ่ายเงินของ รายดา้ นพบวา่ ทุกดา้ นอยใู่ นระดบั ปานกลาง สอดคลอ้ งกบั สถานศึกษาให้เป็นไปตามหลกั ฐานการจ่ายเงินเพื่อการ สมพงษ์ ยุลนิตย์ (2548 : 63) ได้ศึกษาปัญหาการบริหาร ตรวจสอบ ตามลําดับ งบประมาณของสถานศึกษาในสังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ ดา้ นการบริหารบญั ชี พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถาม การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 พบวา่ ขา้ ราชการครูมีปัญหาการ บริหารงบประมาณโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

22 พิจารณารายดา้ นพบวา่ มีปัญหาการบริหารงบประมาณอยู่ งบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานอําเภอเมือง ในระดบั ปานกลางทุกดา้ น เช่นเดียวกบั ผลการศึกษาของ นราธิวาส สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม อาซียะห์ วานิ (2556 : 76) ได้วิจัยเรื่อง ปัญหาการบริหาร ศึกษานราธิวาส เขต 1 จําแนกตามตําแหน่งบุคลากร งานงบประมาณในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัด ทางการบริหารงานงบประมาณ พบว่า ภาพรวม ไม่มี สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 3 ความแตกตา่ งกนั เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ทุกดา้ น พบว่าภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง แต่ไม่ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ยกเวน้ ดา้ นการตรวจสอบ ติดตาม สอดคลอ้ งกบั วนิดา ช่วยบาํ รุง (2551 : บทคดั ยอ่ ) ได้ศึกษา ประเมินผล และรายงานผลการใช้เงินและผลการ ระดับปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาข้นั ดาํ เนินงานมีคา่ เฉลี่ย อยใู่ นระดบั ต่าํ ท้งั น้ีอาจเป็นเพราะวา่ พ้ืนฐาน สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี สถานศึกษาแต่งต้ังเจ้าหน้าที่ในด้านน้ีโดยตรง และ เขต 3 พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และไม่ กาํ หนดปฏิทินการตรวจสอบและรายงานผลที่ชดั เจน ซ่ึง สอดคลอ้ งกบั ราตรี ธวชั กาญจน์ (2551 : บทคดั ย่อ) ได้ ไม่สอดคลอ้ งกบั สมมติฐาน สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ ศึกษาปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาข้นั วนิดา ช่วยบาํ รุง (2551:91) ได้วิจัยเรื่อง การศึกษาปัญหา พ้ืนฐา น สังกัด สํานักงาน เ ข ต พ้ืนที่ การ ศึ กษ า การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สังกดั นครศรีธรรมราช เขต 2 พบวา่ ในภาพรวมและรายดา้ นอยู่ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 พบว่า ในระดับน้อย ท้งั น้ีอาจเป็นเพราะวา่ แนวคิดการบริหาร ผู้บริหารโรงเรียนและเจ้าหน้าที่การเงินโรงเรียนที่มี งบประมาณ (กระทรวง ศึกษาธิการ, 2546 : 39) การ ตาํ แหน่งตา่ งกนั มีความคิดเห็นเกี่ยวกบั ปัญหาการบริหาร บริหารงบประมาณของสถานศึกษามุ่งเน้นความเป็ น งบประมาณในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกนั ซ่ึง อิสระในการบริหารจัดการ มีความคล่องตัว โปร่งใส ประชุม รอดประเสริฐ (2539 : 1) กล่าวถึงการบริหาร ตรวจสอบได ้ ยึดหลกั การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิและ งบประมาณว่า เป็ นวิธีทางการเงินที่ผู้บริหารได้วาง บริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ดังน้ันผูบ้ ริหาร รูปแบบหรือแนวการดาํ เนินงานของตนหรือหน่วยงาน และหวั หนา้ กลุม่ บริหารงานงบประมาณตอ้ งมีความรู้และ ของตน โดยแสดงถึงรายรับและรายจ่ายของโครงการที่จะ เข้าใจในขอบข่ายภารกิจการบริหารงบประมาณที่ ดําเนินการไว ้ ท้ังเป็ นการควบคุมการดําเนินงานทาง ประกอบไปด้วยขอบข่ายงาน 7 ด้านตลอดจนการ การเงินของผูบ้ ริหารหรือหน่วยงานด้วย ในเมื่อรูปแบบ บริหารงานตอ้ งสอดคลอ้ งกบั พระราชบัญญตั ิการศึกษา หรือแนวการดาํ เนินงานในหน่วยงานเดียวกนั ถา้ ปัญหา แห่งชาติ พ.ศ.2542 พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร เกิดข้ึนทุกตําแหน่งก็ประสบปัญหาไม่ต่างกัน แต่ไม่ ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และหลักสูตร สอดคล้องกับงานวิจัยสมพงษ์ ยุลนิตย์ (2548 : 63) ได้ แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ซึ่งผู้บริหาร ศึกษาปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาใน และหัวหน้ากลุ่มบริหารงานงบประมาณจะตอ้ งบริหาร สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 พบวา่ งานงบประมาณและการเงินให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์เป็นไป ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อปัญหาการบริหาร ตามข้อตกลงนโยบายการให้บริการ และสามารถบริหาร งบประมาณของสถานศึกษาสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา จัดการทรัพยากรที่ได้อยา่ งพอเพียงและมีประสิทธิภาพ ร้อยเอ็ดเขต 2 ระหว่างครูผู้สอนและผู้บริหารพบว่า ดว้ ยเหตุผลน้ีจึงอาจมีผลให้การบริหารดังกล่าวมีปัญหา ข้าราชการครูที่เป็นครูผู้สอนและผู้บริหารมีปัญหาการ บา้ ง ไมเ่ กิดประสิทธิผลเพียงพอ บริหารงบประมาณแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ ผลการเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงาน ระดับ 0.05 ทุกด้าน ผลการคน้ ควา้ อิสระเป็นเช่นน้ีอาจ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

23 เป็ นเพราะว่าผู้บริหารและหัวหน้ากลุ่มบริหารงาน งบประมาณต้องมีความระมัดระวงั ถูกต้อง โปร่งใส งบประมาณมีบทบาทในการบริหารงบประมาณเป็นไป สามารถตรวจสอบได ้จึงไมจ่ าํ เป็นตอ้ งอาศยั ประสบการณ์ ในทิศทางเดียวกันท้ังน้ีก็เพื่อมุ่งหวงั ให้การดาํ เนินงาน ในการดาํ รงตาํ แหน่ง เพราะฉะน้ันผูม้ ีประสบการณ์มาก เป็ นไปอย่างรวดเร็ว คล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได ้ หรือน้อยต่างก็มีความเสี่ยงต่อปัญหา อุปสรรคในการ ส่งผลให้เกิดคุณภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผูเ้ รียน ปฏิบตั ิหนา้ ที่เท่าเทียมกนั สถานศึกษา ชุมชน และประเทศชาติและที่สําคัญต้อง ผลการเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงบประมาณ ปฏิบัติหน้าที่ รับผิดชอบภายใต้กฎหมายข้อบังคับเอกสาร ในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานอาํ เภอเมืองนราธิวาส สังกัด สง่ั การ ระเบียบการบริหารงานงบประมาณให้ถูกตอ้ ง ไม่ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต วา่ จะอยใู่ นตาํ แหน่งใด 1 จาํ แนกตามขนาดของสถานศึกษาพบว่าภาพรวมไม่มี ผลการเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงานงบ ความแตกต่างกัน ซ่ึงไม่สอดคล้องกับสมมติฐาน ประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานอาํ เภอเมืองนราธิวาส สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของไอพี หะยีสาแม็ง (2552 : 76) ที่ สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส ศึกษาปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาข้นั เขต 1 จําแนกตามประสบการณ์ในการดํารงตาํ แหน่ง พ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานราธิวาส พบวา่ ภาพรวม ไม่มีความความแตกต่างกนั เมื่อพิจารณา พบว่า ผูบ้ ริหารที่มีจาํ นวนนักเรียนในความรับผิดชอบ เป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านไม่มีความความแตกต่างกนั แตกตา่ งกนั มีความคิดเห็นต่อกระบวนการบริหารการเงิน ซ่ึงไมส่ อดคลอ้ งกบั สมมติฐาน สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ ไม่แตกต่างกัน เป็ นไปตามบัญชา อึ๋งสกุล (2538 : ไม่ บุญชู ราชสุวรรณ (2548 : 82) ที่ศึกษาปัญหาการบริหาร ปรากฏเลขหน้า) ระบุสาเหตุของปัญหาอาจเกิดจาก 3 งบประมาณและการเงินของผูบ้ ริหาร สถานศึกษาข้ัน ประการ คือ บุคคล วิธีการบริหารและสภาพแวดล้อม พ้ืนฐาน สังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนที่นราธิวาส เขต 2 พบวา่ ขนาดโรงเรียนที่แตกต่างกนั ย่อมมีปัญหาเกิดข้ึนแต่ไม่ ผบู้ ริหาร สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานที่มีประสบการณ์ต่างกนั สอดคลอ้ งกบั ธงชัย เปรมชนม์ (2550 : 70-72 ) ได้วิจัย มีความเห็นต่อปัญหาการบริหารงบประมาณและการเงิน เรื่อง สภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณในสถาน ไมแ่ ตกตา่ งกนั สอดคลอ้ งกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการการ ศึกษาข้นั พ้ืนฐานที่เป็นนิติบุคคลสงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ ประถมศึกษาแห่งชาติ (2545 : 48) ได้กล่าวถึงหลกั การ การศึกษาจันทบุรีเขต 1 พบวา่ ผลการเปรียบเทียบสภาพ บริหารงานงบประมาณหรือการใช้งบประมาณว่ามี 5 การบริหารงบประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานที่เป็น ประการ ดงั น้ี 1) ตรงตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข 2) ตรง นิติบุคคลสงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาจนั ทบุรีเขต 1 ตามวัตถุประสงค์ นโยบาย เป้าหมายของแผนงาน งาน พบวา่ โรงเรียนท้งั สามขนาดโดยภาพรวมแตกตา่ งกนั อยา่ ง โครงการ 3) ถูกต้องตามระเบียบวิธีการงบประมาณ มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลเป็ นเช่นน้ีอาจ การเงินและพัสดุ 4) ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด ไม่จาํ เป็นต้อง เป็นเพราะวา่ งานบริหารการเงินและงบประมาณเป็นงาน เป็นผูม้ ีประสบการณ์มากหรือนอ้ ย ผลเป็นเช่นน้ีอาจเป็น ที่เป็ นตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ที่ เพราะว่าบุคลากรทางการบริหารงบประมาณที่มี เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัดและสถานศึกษาในสังกัด ประสบการณ์มากหรือน้อย ต้องปฏิบัติหน้าที่ความ สํานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีฐานะเป็ น รับผิดชอบเป็ นไปตามหลักการ กฎระเบียบ คําส่ัง หน่วยงานหน่ึง ซ่ึงไม่ว่าสถานศึกษาน้ันจะมีขนาดใดก็ ขอ้ บงั คบั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั กรอบงานงบประมาณที่เหมือนกนั ตาม กต็ อ้ งรับผิดชอบงานงบประมาณและการเงินดว้ ยกนั และเปลี่ยนแปลงตามนโยบายใหมๆ่ ตลอดจนการเบิกจ่าย ท้ังน้ัน ดังน้ัน ผู้บริหารโรงเรียนที่ปฏิบัติงานอยู่ใน JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

24 สถานศึกษาขนาดต่างกนั แต่มีบทบาทหน้าที่และความ กิตติกรรมประกาศ รับผิดชอบในการบริหารงานงบประมาณและการเงิน การศึกษาฉบับน้ีสําเร็จลุล่วงไปด้วยดีด้วยความ เหมือนกนั อนุเคราะห์จากอาจารย์ที่ปรึกษา คือ รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ บุญภิรมย์ ที่ได้ให้คาํ แนะนําตรวจสอบแก้ไข ข้อเสนอแนะ เสนอแนะและติดตามความกา้ วหน้ารวมท้งั ช้ีแนะขอ้ มูล ข้อเสนอแนะในการน าผลการศึกษาไปใช้ ทางด้านวิชาการ ผู้ศึกษามีความซาบซ้ึงเป็ นอย่างย่ิง 1. สถานศึกษาควรจัดทําแผนการใช้งบประมาณ นอกจากน้ีผู้ค้นคว้าได้รับความกรุ ณาจากผู้ช่วย ที่ได้รับจัดสรรประจําปี และมีการจัดทํารายละเอียดการ ศาสตราจารย์ ดร.จรุณี เกา้ เอ้ียนที่ไดใ้ ห้คาํ ปรึกษาแนะนาํ บริหารงบประมาณตามโครงสร้างแผนงาน โครงการ เพ่ิมเติมอย่างดีย่ิงทําให้งานศึกษาคร้ังน้ีสําเร็จลุล่วงได้ ตา่ งๆ ให้ชัดเจน ดว้ ยดีผศู้ ึกษาขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงไว ้ณ โอกาสน้ี 2. ผู้รับผิดชอบในการบริหารงานงบประมาณ ขอขอบพระคุณ คณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ควรศึกษาทําความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย แผนพฒั นา ยะลา ทุกท่านที่กรุณาถ่ายทอด ความรู้ แนวคิด คาํ ปรึกษา หลักเกณฑ์การจัดสรร ของหน่วยตน้ สงั กดั และข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการศึกษาตลอด 3. ควรจัดให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตามและ หลักสูตร และการค้นคว้าอิสระจนเสร็จสมบูรณ์ ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการใช้จ่าย ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาตรวจ งบประมาณการจัดการศึกษา สอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือศึกษา คือ นายอุสมัน 4. สถานศึกษาควรเสนอแผนการระดมทุนและ สะมะแอ ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านจูดแดง นายมะพอลี ทรัพยากรทางการศึกษาและทุนการศึกษาต่อคณะกรรม ปะดอ ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านลาเวง นายรอมลี หะมิ การสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านกาโดะ นายฮาซัน อาแวหะมะ 5. สถานศึกษาควรจัดทําบัญชีรายงานทางการ ครูชํานาญการ โรงเรียนบ้านอูแตตูวอ และ นายสุรินทร์ เงินตามรูปแบบกาํ หนดใหถ้ ูกตอ้ ง ยาดํา ครูชํานาญการโรงเรียนบ้านเขาดิน 6. สถานศึกษาควรดาํ เนินการบริหารจดั ซ้ือพสั ดุ ขอขอบพระคุณ ผูบ้ ริหารและหัวหนา้ กลุ่มบริหาร และสินทรัพยเ์ ป็นไปตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง งานงบประมาณในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานอําเภอยี่งอได้ อยา่ งถูกตอ้ ง ตอบแบบสอบถามสําหรับการทดลองเครื่องมือ ตลอดจน ข้อเสนอแนะในการทาการ ศึกษาครั้งต่อไป ผู้บริหารและหัวหน้ากลุ่มบริหารงานงบประมาณใน 1. ควรศึกษาความพร้อมในการบริหาร สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานอาํ เภอเมืองนราธิวาสทุกท่านที่ได้ งบประมาณของผูบ้ ริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาข้นั ให้ความอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถามและที่กรุณาให้ พ้ืนฐาน ขอ้ มูลในการศึกษาในคร้ังน้ี 2. ควรศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการบริหาร สุดท้าย ผู้ศึกษาขอขอบคุณ สมาชิกครอบครัว งบประมาณของสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน รวมถึงผู้บริหาร ครูและบุคลากรในโรงเรียนบ้านจูดแดง 3. ควรศึกษาประสิทธิภาพการบริหาร ทุกท่าน ที่ใหค้ วามช่วยเหลือ เป็นกาํ ลงั ใจในการศึกษาจน งบประมาณในสถานศึกษาตามทัศนะของครูและ สําเร็จ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

25 เอกสารอ้างอิง ข้อมูลสารสนเทศ 2558. (2558). [Online]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nara1.org/web/index.php/aoc/2558. [2558, กนั ยายน 5] เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1, สํานักงาน. (2554). การติดตามตรวจสอบการบริหารงบประมาณใน สถานศึกษา. นราธิวาส : หน่วยตรวจสอบภายใน สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1. เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1, สํานักงาน. (2556). การติดตามตรวจสอบการ บริหารงบประมาณใน สถานศึกษา. นราธิวาส : หน่วยตรวจสอบภายใน สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1. คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, สํานักงาน. (2545). การวางแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. งบประมาณ,สํานัก. (2554). ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่4) พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ: สํานักงบประมาณ. ธงชัย เปรมชนม์. (2550). สภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณในสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐานที่เป็ นนิติบุคคลสังกัด ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาจนั ทบุรีเขต 1. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (บริหารการศึกษา). ชลบุรี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ถายเอกสาร. บัญชา อึ๋งสกุล. (2538). การแก้ปัญหาเพอื่ การตดั สินใจของผู้บริหารในสถานศึกษาด้วยวธิ ีการเชิงระบบ. สารพัน หลักสูตร. 14 (122) :กรกฎาคม- –กนั ยายน. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. (2545). ราชกจิ จานุเบกษา. ฉบับกฤษฎี. ฉบับกฤษฎี. 119 ตอน 123 ก. วันที่ 19 ธันวาคม 2545. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. (2542). ราชกจิ จานุเบกษา. ฉบับกฤษฎี. 122 ตอน 36. วันที่ 19 สิงหาคม 2542. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546. (2546). ราชกจิ จานุเบกษา. ฉบับกฤษฎี. 120 ตอน 62 ก. วันที่ 6 กรกฎาคม 2546. ราตรี ธวัชกาญจน์. (2551). การศึกษาปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขต พื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2. ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. วนิดา ช่วยบาํ รุง. (2551). การศึกษาปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขต พนื้ ทกี่ ารศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3.ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2546). การบริหารสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานทเี่ ป็นนิตบิ ุคคล. กรุงเทพ ฯ : องคก์ ารรับส่งสินคา้ และพัสดุภัณฑ์. สมพงษ์ ยุบลนิตย์. (2548). การศึกษาปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาใน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

26 อาซียะห์ วานิ. (2556). ปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปัตตานี เขต 3. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. อานนท์ เรืองวุฒิ. (2548). ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษานครนายก. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อุมัร สวาหลัง. (2546). การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ตามทศั นะของผู้บริหารและครู โรงเรียนประถมศึกษาในจงั หวดั สตูล. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ไอพี หะยีสาแม็ง. (2552). ปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษานราธิวาส. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

27 สมรรถนะการบริหารวชิ าการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเลก็ ในอา เภอรามนั สังกดั ส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 Academic Administration Competencies of Small School Administrators in Raman District Under Yala Primary Educational Service Area office 1 บัดดือรี ยีปาโละ1 สันติ บุญภิรมย์2 และ เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์3 1นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา 2+3อาจารย์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

บทคัดย่อ 2. ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหารงาน การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษา วิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรามัน ระดับสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจังหวัดยะลา เขต 1 สถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนขนาดเล็กใน จําแนกตามตัวแปร วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน อาํ เภอรามนั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา และช่วงช้นั ที่สอนพบวา่ ทุกตวั แปร ไมแ่ ตกตา่ งกนั ยะลา เขต1 (2) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหารงาน 3. ผลการประมวลปัญหาและข้อเสนอแนะ วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู เกี่ยวกบั สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผูบ้ ริหาร โรงเรียนขนาดเล็กในอาํ เภอรามันสํานักงานเขตพ้ืนที่ โรงเรียนขนาดเล็กในอาํ เภอรามนั สังกดั สํานักงานเขต การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต1 จําแนกตามตัวแปร พ้ืนที่การศึกษาจงั หวัดยะลา เขต 1 ปัญหาไดแ้ ก่ ปัญหาจดั ประกอบด้วย วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน และ ครูผู้สอนเข้าสอนไม่ตรงกับความรู้ความสามารถ ช่วงช้นั ที่สอน และ(3) เพื่อประมวลปัญหาและข้อเสนอ ครูผสู้ อนวเิ คราะห์หลกั สูตรไม่เป็น และไม่สามารถนาํ ไป แนะเกี่ยวกับสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของ จดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดต้ รงหลกั สูตร ผูบ้ ริหาร ผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูโรงเรียน ขาดความต่อเนื่องในการนิเทศการจัดการเรียนรู้ใน ขนาดเล็กในอาํ เภอรามนั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษา และบุคลากรขาดความรู้ในเรื่องกระบวนการ ประถมศึกษายะลา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างคือ ครูผู้สอน วจิ ยั ในช้นั เรียนอยา่ งถูกตอ้ ง และขอ้ เสนอแนะไดแ้ ก่ ควร โรงเรียนขนาดเล็กในอาํ เภอรามนั สังกดั สํานักงานเขต จดั ครูผูส้ อนผูส้ อนให้ตรงกบั ความรู้ความสามารถ ควรมี พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 จํานวน 135 คน การจดั อบรมการวิเคราะห์หลกั สูตรเพื่อนาํ ไปจดั กิจกรรม เครื่องมือที่ใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม การเรียน การสอนได้ตรงหลักสูตร ผู้บริหารควรมีการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป สถิติที่ใช้ใน นิเทศการจดั การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง และควรสนับสนุน การวิเคราะห์ขอ้ มูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบน ให้บุคลากรเขา้ รับการอบรมเรื่องกระบวนการวิจยั ในช้นั มาตรฐาน คา่ ทดสอบทีและคา่ ทดสอบเอฟ เรียน ผลการศึกษา พบวา่ คําสําคัญ : สมรรถนะ การบริหารวิชาการ ผู้บริหาร 1. ระดับสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของ สถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรามัน สังกัด Abstract สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจังหวดั ยะลา เขต 1 พบว่า The purposes of this research were (1) to study ภาพรวมและรายดา้ น อยใู่ นระดบั มาก level of academic management competency of JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

28 administrators according to the teacher’s perspectives in raman district’ office of the Basic Education in Yala small schools in Raman district, Office of the Basic Primary Educational Area1 are found as follows: They Education in Yala Primary Educational Area 1, (2) to do not put the right men on the right jobs. Teachers lack compare academic management competency knowledge in analyzing The curriculum and are unable administrators according to teacher’s perspectives in to apply it to their subjects. Furthermore, school small schools in Raman district, Office of the Basic administrators lack continuity in advising and Education in Yala Primary Educational Area 1. variables supervising their staff and teachers lack accurate are educational degree, experiences of teaching and level knowledge of the action research. Suggestions are as of education and (3) to evaluate problems and follows: It is important to put the right men to the right suggestions related to academic management jobs. Curriculum analysis training should be held. competency of administrators according to the teacher’s School administrators should superrise their staff perspectives in small schools in Raman district, Office continuously. Teachers should be supported to attend the of the Basic Education in Yala Primary Educational classroom research training. Area 1. The research samples in this study were 135 Keywords : Competencies, Academic Administration, teachers from small schools in raman district, office of small school Administrators the Basic Education in Yala Primary Educational Area1. ______And the research instrument used for collecting data was บทน า questionnaire. The data were analyzed by using , t-test พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติได้บัญญตั ิให้ and F-test Therefore, the results were shown in the คนไทยมีสิทธิและโอกาสเสมอกนั ในการรับการศึกษาข้นั percentage, arithmetic mean and standard deviation. พ้ืนฐานไมน่ อ้ ยกวา่ 12 ปีก่อนระดบั อุดมศึกษาที่รัฐตอ้ งจดั The research results will show as follows: ให้อยา่ งทว่ั ถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใชจ้ ่าย และได้ 1. The level of academic management บัญญัติให้มีการกระจายอํานาจการบริหารและการจัด competency of administrators in small schools in Raman การศึกษาไปยังสถานศึกษาโดยตรง อีกท้งั พระราชบญั ญตั ิ district, Office of the Basic Education in Yala Primary การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 มาตรา 6และมาตรา 39 ที่ Educational Area 1 was high overrall. บัญญัติ ให้กระทรวงศึกษาธิการกระจายอํานาจการบริหาร 2. For the comparative results of academic และจัดการศึกษาท้ังด้านวิชาการ งบประมาณ การ management competency of administrators according to บริหารงานบุคคล และการบริหารทว่ั ไปสู่คณะกรรมการ teacher’s perspectives in small schools in Raman สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และสถานศึกษา district, office of the Basic Education in Yala Primary ในเขตพ้ืนที่การศึกษาให้มากที่สุด และดว้ ยเจตนารมณ์ที่ Educational Area1, all variables were not significantly จะให้สถานศึกษาดาํ เนินการโดยอิสระ คล่องตวั รวดเร็ว different. สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้รียน สถานศึกษา ชุมชน 3. Problems and suggestions related to ทอ้ งถ่ิน และการมีส่วนร่วมจากผูม้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั การ academic management competency of administrators จัดการศึกษา ทุกฝ่ายซึ่งเป็นปัจจัยสําคัญทําให้สถานศึกษา according to teachers’ perspectives in small schools in มีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ สามารถพัฒนา JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

29 หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวัดผล วิริยะบรรเจิด, 2551 : 10) ดังน้ัน การศึกษาจึงเป็ น ประเมินผล รวมท้งั ปัจจยั เก้ือหนุนการพฒั นาคุณภาพการ เครื่องมือสําคญั ในการพฒั นาประเทศท้ังด้านเศรษฐกิจ ผู้เรี ยน ชุมชน ท้องถ่ินได้อย่างมีคุณภาพและมี การเมืองและสังคม รัฐต้องจัดการศึกษาให้มีคุณภาพเพื่อ ประสิทธิภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 36) จะทําให้ประชากรของประเทศเป็นผู้มีความรู้ จากการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติ ความสามารถ เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ การศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 ที่ผา่ นมา (พ.ศ.2542 สติปัญญา ความรู้ จริยธรรม และวัฒนธรรมในการ – 2551) ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในด้านคุณภาพ ดาํ รงชีวติ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสุข ผูเ้ รียนและสถานศึกษา พบว่าผลสัมฤทธ์ิของผูเ้ รียนใน พ้ืนที่สามจงั หวดั ชายแดนภาคใตป้ ระกอบไปดว้ ย วชิ าหลกั ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาสมีความพิเศษ สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม มีคา่ เฉลี่ยต่าํ กวา่ ร้อยละ นอกเหนือจากจังหวัดอื่นๆ เช่นมีความหลากหลายด้าน 50 และพบวา่ สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานจาํ นวนมากยงั ไม่ได้ ขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่งเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม มาตรฐานตามเกณฑ์ประเมินของ สํานักงานรับรอง ประกอบกบั มีการก่อเหตุการณ์ความไมส่ งบส่งกระทบต่อ มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาด้านการเพ่ิม การจัดการศึกษา ครูส่วนใหญ่จึงหวาดกลัว ไม่กล้าไป ประสิทธิภาพการบริหาร และการจัดการศึกษา การ โรงเรียน และโรงเรียนปิดบ่อย ทาํ ให้ครูสอนไม่เต็มที่ จึง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการกระจายอาํ นาจการบริหาร เป็นสาเหตุทําให้ความเจริญก้าวหน้าในพ้ืนที่ล่าช้า และการจดั การศึกษา พบวา่ แต่ละหน่วยงานยังขาดอิสระ (กมั ภณฑ์ จุนโท, 2551 : 47) ซ่ึงมีผลกระทบต่อการจดั และความคล่องตัวในการบริหารงาน และการจัด การศึกษาด้านนโยบาย แผนงาน การบริหารจัดการ การศึกษาเท่าที่ควร (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีปัญหาและ 2553 : 7-8) การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. อุปสรรคในการจัดการศึกษาในด้านการบริหารการ 2552 - 2561) จึงเกิดข้ึนโดยมุ่งเน้นให้คนไทยไดเ้ รียนรู้ พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ด้านการจัดการเรียนการ ตลอดชีวติ อยา่ งมีคุณภาพโดยมีเป้ าหมายหลกั สามประการ สอนของครู และข้อจํากัดอื่นๆ ที่กระทบต่อการจัด คือ พัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการศึกษา และการเรียนรู้ การศึกษาในเขตพ้ืนที่สามจังหวดั ชายแดนภาคใต ้ (ประ ของคนไทย เพ่ิมโอกาสทางการศึกษา เรียนรู้อยา่ งทว่ั ถึง สิทธ์เมฆสุวรรณ 2549 : 146 ; อา้ งถึงในกนั ติยา สนธิเมือง และมีคุณภาพส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของ ,2553 : 101) สังคมในการบริหาร และจัดการศึกษา (สํานักงาน ผลการวิจยั ของกนั ติยา สนธิเมือง (2553 : 102) เลขาธิการสภาการศึกษา, 2552 : 11 - 12) เรื่องการบริหารงานวิชาการในภาวะความไม่สงบของ สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานซ่ึงจําเป็ นและมีความ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนสังกดั สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา สาํ คญั อยา่ งยง่ิ ตอ่ การจดั การศึกษาของประเทศ เพราะเป็น ประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 พบว่า การจัดการศึกษามี การศึกษาเพื่อปวงชน สําหรับประชาชนคนไทยทุกคน ปัญหาตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปน้ีคือ การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ และครอบคลุมการศึกษาภาคบังคับส่งผลต่อความ ของครู ได้แก่ การจัดทําแผนการเรียนรู้โดยไม่ยึด เจริญกา้ วหน้าในการพฒั นาประเทศทุกดา้ น ส่งเสริมการ หลักสูตร ครูขาดทักษะด้าน ICT ที่ทันสมัย ขาดแคลนสื่อ กระจายอํานาจให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด การสอนที่ทนั สมยั ขาดขวญั และกาํ ลงั ใจในการสอนของ การศึกษา เพื่อนาํ ไปสู่เป้ าหมายคุณภาพการศึกษาและการ ครูและการบริหารของผู้อํานวยการโรงเรียนต้องคอยระวัง เรียนรู้ที่มุ่งเน้นคุณธรรมนําความรู้อย่างแท้จริง (สุรพล ดูแลตนเองและนักเรียนในโรงเรียนอยูเ่ สมอดา้ นการวดั JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

30 และประเมินผลน้นั ครูผูส้ อนโดยส่วนใหญ่ไม่เขา้ ใจและ ดังน้ันจากสภาพปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ขาดความรู้ในการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล ขาด ดงั กล่าวขา้ งตน้ น้ัน ผูศึกษา้ จึงมีมูลเหตุจูงใจในการศึกษา การพัฒนาในด้านการวัดผลประเมินผลที่หลากหลาย เรื่อง สรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถาน ครูผู้สอนไม่เข้าใจวิธีการวัดตามสภาพจริง ไม่กล้า ศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษายะลา เขต 1 ออกแบบวดั ผล ตลอดจนขาดคู่มือการวดั ผล การวดั ผล โรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรามัน เพื่อนําผลที่ได้มาจาก ตามแนวทางใหม่ใช้เวลามากไม่เหมาะสมกบั ห้องเรียน การศึกษานําเสนอเป็นข้อมูลในการศึกษาสําหรับวางแผน ดงั น้นั ผูอ้ าํ นวยการควรให้ความสาํ คญั ในการติดตามการ งานวิชาการของสถานศึกษาในอําเภอรามัน สํานักงานเขต วัดผลประเมินผล เพื่อพัฒนาคุณภาพเครื่องมือวัดผล พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ตลอดจนอาจเป็น ประเมินผลของครูให้มีประสิทธิภาพต่อเนื่องเป็ นต้น ข้อมูลพ้ืนฐานที่จะนําไปประกอบ พิจารณาในการ นอกจากน้ัน ผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สนับสนุน ส่งเสริมการบริหารสถานศึกษาให้เจริญ ระดับชาติ (O-NET) ของสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา กา้ วหนา้ ตอ่ ไป โดยมีวัตถุประสงค์ คือ ประถมศึกษายะลา เขต 1ต้งั แต่ปี การศึกษา 2554 จนถึงปี 1. เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะการบริหารงาน การศึกษา 2558 อย่างต่อเนื่อง พบว่า นักเรียนช้ัน วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของ ประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยไม่ถึงร้อยละ 50 ครูผู้สอนโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรามัน สํานักงานเขต ปรากฏผลดงั น้ี ภาษาไทย 46.66 สังคมศึกษา ศาสนาและ พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 วัฒนธรรม 46.30 ภาษาอังกฤษ 42.29 คณิตศาสตร์ 46.60 2. เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหารงาน วิทยาศาสตร์ 38.48 สุขศึกษาและพลศึกษา 52.02 ศิลปะ วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของ 41.25 และ การงานอาชีพและเทคโนโลยี 47.94 ปี ครูผู้สอนโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรามันสํานักงานเขต การศึกษา 2555 ผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 จําแนกตามตัว ระดับชาติ (O-NET) พบวา่ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 แปร วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน และช่วงช้นั ที่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ปรากฏผลดังน้ี ภาษาไทย 37.56 สอน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 35.71 ภาษาอังกฤษ 3. เพื่อประมวลปัญหาและขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั 33.65 คณิตศาสตร์ 27.65 วิทยาศาสตร์ 31.20 สุขศึกษา สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถาน และพลศึกษา 42.99 ศิลปะ 44.54 และการงานอาชีพและ ศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอนโรงเรียนขนาดเล็กใน เทคโนโลยี 41.70 และปีการศึกษา 2556 พบวา่ นกั เรียนช้นั อําเภอรามัน สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ปรากฏผลดงั น้ี ยะลา เขต 1 ภาษาไทย 35.71 สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 30.95 ความสําคัญของการศึกษา ภาษาอังกฤษ 30.20 คณิตศาสตร์ 31.16 วิทยาศาสตร์ 1. ทําให้ทราบระดับสมรรถนะการบริหารงาน 31.13 สุขศึกษาและพลศึกษา 48.40 ศิลปะ 36.76 และ วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40.27 จากคะแนนเฉลี่ยร้อย โรงเรียนขนาดเล็กในอาํ เภอรามัน สํานักงานเขตพ้ืนที่ ละระดับอําเภอ โดยภาพรวมกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต1เพื่อนําเสนอเป็น กาํ หนดค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละที่คาดหวงั ของทุกวิชาไม่ แนวทางในการปรับปรุงสมรรถนะการบริหารวิชาการ นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50.00 แตผ่ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนทุกกลุ่ม ของผบู้ ริหารสถานศึกษาใหด้ ียง่ิ ข้ึน สาระมีคา่ เฉลี่ยร้อยละของผลสมั ฤทธ์ิต่าํ กวา่ ร้อยละ 50 2. ทําให้ทราบผลการเปรียบเทียบสมรรถนะการ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

31 บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความ ทํางาน และ ช่วงช้ันที่สอน ตัวแปรตาม (Dependent คิดเห็นของครูโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรามัน variable) คือ สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต1 ที่มี ผู้บริหารโรงเรียน ใน 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านบริหารจัดการการ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอนและช่วงช้นั ที่สอน เรียนรู้ ด้านพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านนิเทศการ เพื่อนาํ เสนอเป็นแนวทางในการพฒั นาผบู้ ริหารตอ่ ไป จดั การเรียนรู้ในสถานศึกษาและดา้ นส่งเสริมให้มีการวิจยั 3. ทาํ ให้ทราบปัญหาและขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ (สํานักงานเลขาธิการ สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถาน คุรุสภา, 2548 : 19) ศึกษาตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอ รามนั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา วิธีดาเนินการศึกษา เขต1เพื่อนําเสนอเป็นข้อมูลแนวทางในการพัฒนา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี เป็นครูผูส้ อน สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถาน ผูส้ อนอาํ เภอรามนั สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ศึกษาในสถานศึกษาตอ่ ไป ประถมศึกษายะลา เขต 1 จํานวน 200 คน กลุ่มตวั อยา่ ง ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาคร้ังน้ีไดแ้ ก่ ครูผูส้ อนผูส้ อนอาํ เภอรามนั สังกดั 1. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ครูผู้สอน จํานวน 200 คน คาํ นวณจากการใชส้ ูตรยามาเน่ (Yamane) ไดจ้ าํ นวนกลุ่ม ในโรงเรียนขนาดเลก็ ในอาํ เภอรามนั สังกดั สาํ นกั งานเขต ตวั อยา่ ง ครูผสู้ อนอาํ เภอรามนั จาํ นวน 135 คน จากน้นั ทาํ พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ปีการศึกษา 2556 การสุ่มแบบวิธีทําการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีได้แก่ Sampling)โดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ครูผสู้ อนในโรงเรียนขนาดเลก็ กาํ หนดกลุม่ ตวั อยา่ งโดยใช้ คร้ังน้ีเป็ นแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยผู้ศึกษา สูตรยามาเน่ (Yamane. 1973 : 727-728 อา้ งถึงใน ผอ่ งศรี คน้ ควา้ สร้างข้ึนโดยอาศยั แนวคิดจากเอกสารและงานวิจยั วาณิชย์ศุภวงศ์, 2546 : 104) ไดก้ ลุ่มตวั อยา่ งจาํ นวน 135 ที่เกี่ยวขอ้ งแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ คน ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของ 2. ขอบเขตดา้ นเน้ือหา สมรรถนะการบริหารงาน ผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย วุฒิการศึกษา วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กใน ประสบการณ์การทาํ งานและช่วงช้นั ที่สอน อําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ตอนที่ 2 แบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบมาตรา ประถมศึกษายะลา เขต 1 ท้งั 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านบริหาร ส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ สอบถาม จัดการการเรียนรู้ ด้านพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้าน เกี่ยวกบั สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผูบ้ ริหาร นิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา และดา้ นส่งเสริม โรงเรียนขนาดเล็กในอาํ เภอรามนั สังกดั สํานักงานเขต ให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ พ้ืนที่การศึกษาจงั หวดั ยะลา เขต 1ภายใตข้ อบเขตเน้ือหา 4 (สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2548 : 19) ด้าน จํานวน 50 ข้อ ที่ต้องการศึกษา คือ ด้านบริหาร 3. ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรต้น (Independent จัดการการเรียนรู้ ด้านพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้าน Variables) ไดแ้ ก่ สถานภาพของครูผู้สอนในโรงเรียนขนาด นิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา ดา้ นส่งเสริมให้มี เล็กในอําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ประถมศึกษายะลา เขต 1 ได้ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การ ตอนที่ 3 เป็นขอ้ คาํ ถามปลายเปิ ดเกี่ยวกบั ปัญหา JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

32 และข้อเสนอแนะสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของ ไดแ้ ก่ ผูบ้ ริหารส่งเสริมให้มีการจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรามัน สังกัด อยา่ งหลากหลาย และ ผบู้ ริหารส่งเสริมให้ครูผูส้ อนจดั ทาํ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาจงั หวดั ยะลา เขต 1 แผนการจดั การเรียนรู้ตามสาระและหน่วยการเรียนรู้ ส่วน ขอ้ ที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าที่สุด คือ ผู้บริหารวางแผนการจัดสรร ผลการศึกษา งบประมาณในการผลิตสื่อ จากการวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องสมรรถนะการ 2.3 จากการวิเคราะห์สมรรถนะการบริหาร บริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กใน งานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรา อาํ เภอรามนั สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจงั หวดั มนั ตามความคิดเห็นของครูผูส้ อนสังกดั สํานักงานเขต ยะลา เขต 1 ปรากฏผลดงั น้ี พ้ืนที่การศึกษายะลา เขต 1 โดยภาพร่วมอยใู่ นระดบั มาก 1. ผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ส่วนมากมีวุฒิ เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ อยใู่ นระดบั มากทุกขอ้ โดย การศึกษาในระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 87.40 มี เรียงลาํ ดบั จากคา่ เฉลี่ยสูงที่สุดไปนอ้ ยที่สุด คือ ผูบ้ ริหารมี ประสบการณ์การทาํ งาน มากกวา่ 10 ปีข้ึนไปมากที่สุด คิด การส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดทําหลักสูตรสถานศึกษามี เป็นร้อยละ 72.59 และมีช่วงช้นั ที่ 1 (ป.1-ป.3) มากที่สุด คิด ค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ได้แก่ ผู้บริหารพัฒนาและ เป็นร้อยละ 52.59 ปรับปรุงหลักสูตร และผู้บริหารนําผลประเมินการใช้ 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ของ หลักสูตรไปปรับปรุงพฒั นาหลกั สูตรส่วนขอ้ ที่มีค่าเฉลี่ย การคน้ ควา้ อิสระสรุปไดด้ งั น้ี ต่าํ ที่สุด คือ ผูบ้ ริหารส่งเสริมให้มีการจัดทําสาระการ 2.1 จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยสมรรถนะการ เรียนรู้ในทอ้ งถ่ิน บริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กใน 2.4 จากการวิเคราะห์สมรรถนะการบริหาร อาํ เภอรามนั สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษายะลา เขต1 งานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอ พบวา่ โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก เมื่อพิจารณารายด้าน รามนั สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษายะลา เขต 1โดย พบวา่ อยใู่ นระดบั มาก โดยเรียงตามลาํ ดบั ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ภาพร่วมอยูใ่ นระดบั มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ ไปน้อยที่สุด คือ ด้านบริหารจัดการการเรียนรู้ รองลงมา อยูใ่ นระดบั มากทุกขอ้ โดยเรียงลาํ ดบั จากค่าเฉลี่ยสูงสุด ไดแ้ ก่ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และด้านการ ไปน้อยที่สุด คือ ส่งเสริมให้ครูผูส้ อนนาํ ผลการนิเทศมา นิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา ส่วนด้านที่มี พัฒนาปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมี ค่าเฉลี่ยต่าํ ที่สุด คือ ด้านการส่งเสริมให้มีการวิจัยเพื่อ ค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ไดแ้ ก่ ผูบ้ ริหารแนะนาํ ครูผูส้ อน พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน 2.2 จากการวิเคราะห์สมรรถนะการบริหาร และผูบ้ ริหารให้การช้ีแนะให้ความช่วยเหลือครูผูส้ อนใน งานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของ การจัดการเรียนการสอน ส่วนขอ้ ที่มีค่าเฉลี่ยต่าํ ที่สุด คือ ครูผสู้ อน อาํ เภอรามนั สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ผบู้ ริหารช้ีแจงครูผสู้ อนใหท้ ราบจุดที่ครูผสู้ อนตอ้ งพฒั นา ยะลา เขต 1 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ 2.5 จากการวิเคราะห์สมรรถนะการบริหาร พิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ โดย งานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรา เรียงลาํ ดบั จากค่าเฉลี่ยสูงที่สุดไปน้อยที่สุด คือ ส่งเสริม มนั ตามความคิดเห็นของครูผูส้ อนสังกดั สํานักงานเขต สนับสนุนรวมท้ังอาํ นวยความสะดวกให้ครูผู้สอนได้ พ้ืนที่การศึกษายะลา เขต 1 โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ รองลงมา เมื่อพิจารณารายขอ้ อยใู่ นระดบั มากทุกขอ้ โดยเรียงลาํ ดบั JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

33 จากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยที่สุด คือ ผู้บริหารสามารถ สรุปได้คือ กาํ หนดนโยบายเกี่ยวกบั การวิจยั ในช้นั เรียน รองลงไดแ้ ก่ 3.1.1 สภาพปัญหาเกี่ยวกบั สมรรถนะการ ผูบ้ ริหารส่งเสริมให้ครูผูส้ อนนาํ ผลการวิจยั ไปใชใ้ นการ บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน แกป้ ัญหาการเรียนการสอนปรับปรุงหรือพฒั นาคุณภาพ ขนาดเล็กในอําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และ ผู้บริหาร การศึกษาประถมศึกษายะลาเขต ๑ปัญหาด้านนิเทศการ ส่งเสริมให้ครูผูส้ อนมีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องการทาํ จัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา ปัญหา ด้านนิเทศการจัดการ วิจยั ในช้นั เรียน ส่วนดา้ นที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุดคือ ผู้บริหาร เรียนรู้ในสถานศึกษา อันดับแรก คือ ผู้บริหารขาดความ ดาํ เนินการจดั ทาํ คูม่ ือเกี่ยวกบั การวจิ ยั ในช้นั เรียน ต่อเนื่องในการนิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา 2.6 ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหาร รองลงมา ครูผูส้ อนไม่นาํ ผลการนิเทศมาพฒั นาปรับปรุง งานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามลาํ ดบั ในอําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา 3.1.2 สภาพปัญหาเกี่ยวกบั สมรรถนะการ ประถม ศึกษายะลาเขต 1 จําแนกตามวุฒิการศึกษาโดย บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน ภาพรวมไม่แตกต่างกนั เมื่อพิจารณารายดา้ น พบวา่ ดา้ น ขนาดเล็กในอาํ เภอรามนั สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การ นิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา แตกต่างกนั อยา่ มี ศึกษาประถมศึกษายะลาเขต ๑ ปัญหา ดา้ นการส่งเสริมให้ นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05โดยครูผู้สอนที่มีวุฒิ มีการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ อันดับแรก การศึกษาปริญญาตรีมีความคิดเห็น สูงกวา่ ครูผูส้ อนที่มี คือ บุคลากรขาดความรู้ในเรื่องกระบวนการ วิจยั ในช้นั วุฒิการศึกษาปริญญาโท เรียนอยา่ งถูกตอ้ ง รองลงมา ไดแ้ ก่ ขาดงบประมาณในการ 2.7 ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหาร จัดหาอุปกรณ์ส่ิงอาํ นวยความสะดวกสนับสนุนการทํา งานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก วจิ ยั ในช้นั เรียน ช่วงเวลาการในการดาํ เนินการวิจยั มีจาํ กดั ในอําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามลําดับ ประถม ศึกษายะลาเขต 1 จาํ แนกตามช่วงช้นั ที่สอนพบวา่ 3.2 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสมรรถนะการ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกนั เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน ด้านพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาแตกตา่ งกนั และครูผู้สอน ขนาดเล็กในอําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ ที่สอนช่วงช้ันที่1 (ป.1-ป.3) มีความคิดเห็นสูงกว่า การศึกษาประถมศึกษายะลาเขต ๑สรุปไดด้ งั น้ี ครูผู้สอนช่วงช้นั ที่2 (ป.4-ป.6) 3.2.1 ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั สมรรถนะการ 3. ประมวลสภาพปัญหาและข้อเสนอแนะ บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน เกี่ยวกบั สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร ขนาดเล็กในอําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ สถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอนโรงเรียนขนาด การศึกษาประถมศึกษายะลาเขต ๑ด้านบริหารจัดการการ เล็กในอําเภอรามัน สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม เรียนรู้ อันดับแรก คือ ควรจัดครูผู้สอนผู้สอนให้ตรงกบั ศึกษายะลา เขต1สรุปไดด้ งั น้ี ความรู้ความสามารถ รองลงมา ได้แก่ ควรมีการพฒั นา 3.1 สภาพปัญหาเกี่ยวกับสมรรถนะการ ครูผู้สอนให้มีการใช้สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนที่ บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความ ทันสมัย ควรสนับสนุนงบประมาณเพียงพอต่อการ คิดเห็นของครูผู้สอนโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอรามัน พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ควรสนับสนุนงบประมาณ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 เพียงพอต่อการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ ควรส่งเสริมดา้ น JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

34 จดั การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่องตามลาํ ดบั การศึกษาประถม ศึกษายะลา เขต 1 นํามาอภิปรายผลตาม 3.2.2 ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั สมรรถนะการ วตั ถุประสงคแ์ ละสมมติฐานดงั น้ี บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน 1. วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อศึกษาระดับ ขนาดเล็กในอําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถาน การศึกษาประถมศึกษายะลาเขต ๑ด้านพัฒนาหลักสูตร ศึกษาตามทัศนะของครูผู้สอนโรงเรียนขนาดเล็กอําเภอรามัน สถานศึกษา อันดับแรก คือ ควรมีการจัดอบรมการ สังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต วเิ คราะห์หลกั สูตรเพื่อนาํ ไปจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 1 ผลการศึกษา มีดงั น้ี ได้ตรงหลักสูตร รองลงมา ได้แก่ ควรจัดหลักสูตรที่ ระดับสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของ สะท้อนสภาพความต้องการที่แท้จริงของสถานศึกษาและ ผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครูผู้สอนโรงเรียนขนาด ท้องถ่ิน ควรมีการพัฒนากระบวนการของการพัฒนา เล็กอําเภอรามันสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา หลักสูตรตามลําดับ ประถมศึกษายะลา เขต 1 ท้งั 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริหาร 3.2.3 ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั สมรรถนะการ จัดการการเรียนรู้ ด้านพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้าน บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน นิเทศการจดั การเรียนรู้ในสถานศึกษา และดา้ นส่งเสริม ขนาดเล็กในอําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ ให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ โดย การศึกษาประถมศึกษายะลาเขต ๑ด้านนิเทศการจัดการ ภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก สอดคลอ้ งกบั งานวิจัย เรียนรู้ในสถานศึกษา อันดับแรก คือ ผู้บริหารควรมีการ ของเพียรพนั ธ์ กิจพาณิชยเ์ จริญ (2552 : ง–จ) ได้ทําการ นิเทศการจดั การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง รองลงมา ไดแ้ ก่ ควร ศึกษาเรื่อง สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหาร สนับสนุนให้บุคลากร ครูผู้สอนนําผลการนิเทศมาพัฒนา สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตหนองแขม พบว่า ปรับปรุงการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ตามลําดับ สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา 3.2.4 ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั สมรรถนะการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั งานวิจัย บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน ของวิภาดา สิหาบุตร (2555 : ง) ได้ทําการวิจัยเรื่อง ศึกษา ขนาดเล็กในอําเภอรามัน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา การศึกษาประถมศึกษายะลาเขต 1ดา้ นการส่งเสริมให้มี สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ อันดับแรก เขต 1 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก และยัง คือ ควรสนับสนุนให้บุคลากรเข้ารับการอบรมเรื่อง สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของสมชาย ชูเลิศ (2553 : 93) ได้ กระบวนการวิจัยในช้ันเรียน รองลงมา ได้แก่ ควร ทําการศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สนับสนุนงบประมาณในการจัดหาอุปกรณ์ส่ิงอาํ นวย ประถมศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษานนทบุรี ความสะดวกสนับสนุนการทาํ วิจยั ในช้นั เรียน ควรจัด เขต 2 ผลการศึกษา พบวา่ ระดบั ประสิทธิภาพการบริหาร ช่วงเวลาการในการดาํ เนินการวจิ ยั ตามลาํ ดบั งานวชิ าการของผูบ้ ริหารสถานศึกษา โดยภาพรวม พบวา่ อยู่ในระดับมาก นอกจากน้ันยงั สอดคล้องกับพูลทัพย์ อภิปรายผลการวิจัย พันธุออน (2556 : ง) ได้ทําการวิจัยเรื่อง สมรรถนะการ จากผลการศึกษา เรื่อง สมรรถนะการบริหารงาน บริหารวิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษาสังกดั เทศบาล วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครูผู้สอน เมืองนครพนม โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โรงเรียนขนาดเล็กอาํ เภอรามัน สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ เช่นเดียวกนั ดงั ที่จันทรานี สงวนนาม (2553 : 17) ได้ให้ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

35 ความสําคญั ของงานวิชาการไวว้ า่ งานวิชาการเป็นหัวใจ สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สําคัญของสถานศึกษาที่ผู้บริหารจะต้องให้ความสําคัญ ดา้ นการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา พบวา่ อยูใ่ นระดับ เป็นอยา่ งย่ิง ส่วนงานดา้ นอื่นๆ น้ัน แมจ้ ะมีความสําคญั มากและยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของสุณีทรัพย์ เช่นเดียวกนั แต่เป็นเพียงส่วนส่งเสริมสนับสนุนให้งาน ประเสริฐ (2547 : ง) ได้ศึกษาเรื่อง การประเมิน วชิ าการดาํ เนินไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารจะต้อง คุณลักษณะด้านความรู้ความสามารถในการบริหารงาน สนับสนุนให้ครูผูส้ อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่ บรรลุจุดหมายของหลักสูตร เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้าน การศึกษาราชบุรี ด้านหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร ปรากฏผลดงั น้ี อยใู่ นระดบั มาก เช่นเดียวกนั สําหรับด้านบริหารจัดการการเรียนรู้ของผู้บริหาร ด้านการนิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในอาํ เภอ รามัน สังกัด ผู้บริหารโรงเรียนมีระดับปฏิบัติโดยภาพรวม อยใู่ นระดบั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 มาก สอดคลอ้ งกบั วิภาดา สิหาบุตร (2555 : ง) ได้ทําการ พบว่า อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกบั นันทพร ศุภพนั ธุ์ วิจัยเรื่อง สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหาร (2551: ง) ซึ่งได้ศึกษาเรื่อง สมรรถนะการบริหารด้าน สถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม วิชาการของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา ศึกษาระยองเขต 1 ด้านการนิเทศการจัดการเรียนรู้ใน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สถานศึกษา พบว่า อยู่ในระดับมาก และสอดคลอ้ งกับ กรุงเทพมหานครเขต 2 ด้านบริหารจัดการการเรียนรู้ ผลการวิจัยของสุณี ทรัพย์ประเสริฐ (2547 : ง) ซึ่งได้ศึกษา พบว่า อยู่ในระดับ มาก อีกท้ังยงั สอดคลอ้ งกบั งานวิจัย เรื่อง การประเมินคุณลักษณะด้านความรู้ความสามารถ ของเพียรพนั ธ์ กิจพาณิชยเ์ จริญ (2552 : ง–จ) ได้ทําการ ในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษาเรื่อง สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหาร สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาราชบุรี ดา้ นการนิเทศภาย สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตหนองแขม พบว่า ในอยใู่ นระดบั มากเช่นกนั และดา้ นการส่งเสริมให้มีการ สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถาน ศึกษา วิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ผลการวิจัยน้ี ด้านบริหารจัดการการเรียนรู้ พบวา่ อยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั พูลทัพย์ พันธุออน (2556 : ง) ซึ่งได้ทําการ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหาร วิจัยเรื่อง สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในอาํ เภอ รามัน สังกัด สถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองนครพนม ในด้านการ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ส่งเสริมให้มีการวิจยั เพื่อพฒั นาคุณภาพการจดั การเรียนรู้ พบวา่ อยูใ่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั แสงเดือน อรบาํ รุง พบวา่ อยใู่ นระดบั มาก และไดส้ อดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ (2556 : 3) ซึ่งได้ทําการวิจัยเรื่อง สมรรถนะการบริหาร เพียรพนั ธ์ กิจพาณิชยเ์ จริญ (2552 : ง–จ) ได้ทําการศึกษา วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทรรศนะของ เรื่อง สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถาน ครูผูส้ อนโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ศึกษา สังกดั สํานักงานเขตหนองแขม พบว่า สมรรถนะ ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3 ด้านการพัฒนาหลักสูตร การบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการ สถานศึกษาอยใู่ นระดบั มาก ท้งั น้ียงั สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ส่งเสริมให้มีการวิจยั เพื่อพฒั นาคุณภาพการจดั การเรียนรู้ ของเพียรพนั ธ์ กิจพาณิชยเ์ จริญ (2552 : ง–จ) ได้ทําการ พบวา่ อยใู่ นระดบั มาก เช่นเดียวกนั ศึกษา เรื่อง สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหาร ดงั น้นั จึงสรุปวา่ การศึกษาในเรื่องสมรรถนะการ สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตหนองแขม พบว่า บริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ของบุคคลที่เป็น JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

36 การช้ีชัดลงไปว่าบุคคลคนน้ันมีสมรรถนะหรือความ บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในสถาน สามารถเป็นอยา่ งไรน้นั ต้องศึกษาถึงองค์ประกอบในทาง ศึกษาอําเภอกรงปิ นัง สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ทฤษฎีอยา่ งครบถว้ น แลว้ จึงมาทาํ นายไดว้ า่ มีสมรรถนะ ประถมศึกษายะลา เขต 1 ผลการศึกษา พบวา่ ระดบั การ หรือไม ่ อยา่ งไร ตอ่ ไป เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ประสบการณ์การ 2. วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อเปรียบเทียบ ทาํ งาน ไม่แตกต่างกนั รวมท้ังยงั สอดคลอ้ งกบั งานวิจัย สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถาน ของสมเกียรติ ทองแดง (2548 : 77-78) ได้ทําการศึกษา ศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอนโรงเรียนขนาดเล็กใน เรื่อง ปัญหาการบริหารวิชาการในโรงเรียนใน สังกัด อาํ เภอรามนั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชลบุรี ผลการศึกษา พบว่า ยะลา เขต1 จําแนกตามตัวแปร วุฒิการศึกษา ประสบ ระดับการเปรี ยบเที ยบความแตกต่างระหว่าง การณ์การสอน และช่วงช้นั ที่สอน จึงทําการอภิปรายผล ประสบการณ์การทาํ งาน ไมแ่ ตกตา่ งกนั เช่นเดียวกนั การคน้ ควา้ อิสระตามลาํ ดบั ของตวั แปรที่ศึกษา ดงั น้ี ผลการศึกษาเป็นเช่นน้ีอาจเนื่องมาจากครูมีความ 2.1 วุฒิการศึกษา จากการวิเคราะห์ พบว่า ตื่นตัวในการพัฒนาตนเอง จึงส่งผลให้ทุกคนรับรู้ ภาพรวมไม่แตกต่างกนั ซ่ึงไม่สอดคลอ้ งกบั สมมติฐาน สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารที่ไม่ ที่ต้งั ไว ้ ท้ังน้ีไดส้ อดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของสมชาย ชูเลิศ แตกต่างกัน และเห็นว่าผู้บริหารมีสมรรถนะและมี (2553 : 93) ได้ทําการศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการ ความสามารถในการบริหารการจัดสถานศึกษามีการจัด ของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ โครงสร้างและการบริหารงานอยา่ งเป็นระบบ การศึกษานนทบุรี เขต 2 ผลการศึกษา พบวา่ ระดบั การ 2.3 ช่วงช้ันที่สอน จากการวิเคราะห์ พบว่า เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งวฒุ ิการศึกษา พบวา่ ไม่ ภาพรวมไม่แตกต่างกนั ซ่ึงไม่สอดคลอ้ งกบั สมมติฐาน แตกตา่ งกนั ที่ต้งั ไว ้แตส่ อดคลอ้ ง กบั งานวจิ ยั ของอนุกูล มานะวรพงศ ์ ผลการศึกษาเป็นเช่นน้ีอาจเนื่องมาจากครูผูส้ อนที่ (2555 : 101) ซึ่งได้ทําการวิจัยเรื่องศึกษาสมรรถนะการ วฒุ ิการศึกษาแตกต่างกนั มีทศั นะเกี่ยวกบั สมรรถนะการ บริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนระดับมัธยม บริหารงานวิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษา ไม่แตกต่าง ศึกษา สังกดั นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาระยอง เขต 1 ผล กนั เพราะครูผูส้ อนไดร้ ับการช้ีแนะและให้ความร่วมม้ือ การศึกษา พบว่า เมื่อจาํ แนกตามช่วงช้ันไม่แตกต่างกัน การบริหารวชิ าการของผบู้ ริหารสถานศึกษาอยา่ งเท่าเทียม และยงั สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของเพียรพนั ธ์ กิจพาณิชย์ กนั เจริญ (2552 : ง–จ) ได้ทําการศึกษาเรื่อ สมรรถนะการ 2.2 ประสบการณ์การทํางาน จากการวิเคราะห์ บริหารวิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สาํ นกั งาน พบว่า ภาพรวมไม่แตกต่างกัน ซ่ึงไม่สอดคล้องกับ เขตหนองแขม ผลการศึกษา พบวา่ เมื่อจาํ แนกตามช่วงช้นั สมมติฐานที่ต้งั ไว ้แตส่ อดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของแสงเดือน ไมแ่ ตกตา่ งกนั อรบํารุง (2556 : 197) ซึ่งได้ทําการวิจัยเรื่อง สมรรถนะ ผลการศึกษาเช่นน้ีอาจเนื่องมาจากการบริหารงาน การบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทรรศนะ วิชาการตอ้ งมีการดาํ เนินการทุกช่วงช้ันในสถานศึกษา ของครูผสู้ อนโรงเรียนสงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ครูผูส้ อนแต่ละช้นั มีส่วนร่วมในการบริหารจดั การเรียนรู้ ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3 จําแนกตามประสบการณ์ การพัฒนาหลักสูตร การนิเทศการจัดการเรียนรู้และการ สอนไม่แตกต่าง ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของอับดุล วิจัย ทําให้ได้เห็นความสามรถของผู้บริหารสถานศึกษา รอแม ตอเละ (2550 : ง–จ) ได้ศึกษาเรื่องประสิทธิภาพการ ในการบริหารงานวิชาการทุกด้าน โดยเห็นว่าผูบ้ ริหาร JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

37 สถานศึกษาเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการ อนุเคราะห์จากอาจารย์ที่ปรึกษาคือรองศาสตราจารย์ ดร. บริหารงานวิชาการและให้ความสําคัญในด้านการบริหาร สันติ บุญภิรมย์ ที่ได้ให้คําแนะนําตรวจสอบแก้ไข งานวิชาการ เสนอแนะและติดตามความกา้ วหน้ารวมท้งั ช้ีแนะขอ้ มูล ทางด้านวิชาการ ผูค้ ้นควา้ มีความซาบซ้ึงเป็ นอย่างย่ิง ข้อเสนอแนะ นอกจากน้ี ผูค้ น้ ควา้ ได้รับความกรุณาจาก ดร.เนาวรัตน์ 1. ด้านบริหารจัดการการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ผูบ้ ริหาร ตรีไพบูลย์ที่ไดใ้ ห้คาํ ปรึกษาแนะนาํ เพ่ิมเติมอยา่ งดีย่ิงทาํ ควรเป็นผนู้ าํ ในการจดั กิจกรรมเพื่อพฒั นานกั เรียน เพราะ ให้งานคน้ ควา้ อิสระคร้ังน้ีสําเร็จลุล่วงไดด้ ว้ ยดีผูค้ น้ ควา้ ผู้บริหารเป็นผู้ที่อํานวยการจัดหาทรัพยากรเพื่อการทํา ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง กิจกรรมของนักเรียนและเป็นผูต้ ัดสินใจในการดาํ เนิน ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณา กิจกรรมตา่ งๆ ของโรงเรียน ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือค้นคว้าคือ นาย 2. ด้านพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ อรรถกานต ์ อุศมา ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นกือเม็ง และ ผูบ้ ริหารควรส่งเสริมให้มีการจัดทาํ สาระการเรียนรู้ใน นางประไพ ชา้ งกลาง ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นบึงน้าํ ใส ทอ้ งถ่ิน เพราะทอ้ งถ่ินแต่ละพ้ืนที่น้ันมีบริบทที่แตกต่าง และนายมูฮาํ หมดั มาร์ซูกี ยีเฮง ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ น กนั ซ่ึงตอ้ งนาํ หลกั สูตรมาประยกุ ตใ์ ชเ้ พื่อให้เหมาะสมกบั จะรังตาดงมิตรภาพที่175ที่ให้ความกรุณาเป็นผู้เชี่ยวชาญ ทอ้ งถ่ินน้นั ๆ ในการพิจารณาตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือให้ 3. ด้านนิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา มีความสมบูรณ์ยง่ิ ข้ึน ได้แก่ ผู้บริหารควรใช้เทคนิคการนิเทศหลายรูปแบบ ขอขอบพระคุณผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กใน เพราะครูที่สอนในแต่ละช้ันน้ันมีเทคนิคการสอนที่ อาํ เภอรามนั สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษายะลา เขต แตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ บั ช่วงช้นั ที่สอน 1 ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ให้คณะครูผู้สอนได้ตอบ 4. ดา้ นการส่งเสริมใหม้ ีการวจิ ยั เพื่อพฒั นาคุณภาพ แบบสอบถามสําหรับการทดลองเครื่องมือ การจัดการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ผู้บริหารควรดําเนินการจัดทํา ขอขอบพระคุณผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กใน คู่มือ เกี่ยวกบั การวิจยั ในช้นั เรียน เพราะครูยงั ไม่เขา้ ใจ อาํ เภอรามนั สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษายะลา เขต ข้นั ตอนการทาํ วจิ ยั และกระบวนการทาํ วจิ ยั ที่ถูกตอ้ ง 1 ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ ให้ครูผู้สอนได้ตอบ แบบสอบถามและกรุณาใหค้ รูผสู้ อนทาํ การเกบ็ ขอ้ มูลดว้ ย กิตติกรรมประกาศ ความยนิ ดียง่ิ การศึกษาฉบับน้ีสําเร็จลุล่วงไปด้วยดีด้วยความ

เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตพิ ทธศัุ กราช 2542 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา. กมั ภณฑ ์ จุนโท. (2551). “การนิเทศการศึกษากับความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้, วารสารวิชาการ. 2 (เมษายน – มิถุนายน 2551), 47-49. JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

38 กนั ติยา สนธิเมือง. (2553). การบริหารงานวชิ าการในภาวะความไม่สงบของผู้อา นวยการโรงเรียนสังกดั ส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. กีรติ ยศยง่ิ ยง. (2549). การจดั การความรู้ในองค์การและกรณศี ึกษา. กรุงเทพมหานคร: มิสเตอร์กอ๊ ปป้ี (ประเทศไทย) จาํ กดั . กีรติ ยศยง่ิ ยง. ( 2549). ขีดความสามารถ. กรุงเทพฯ: มิสเตอร์กอ็ ปป้ี.กรุงเทพฯ: เอชอาร์ เซ็นเตอร์. เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1, สํานักงาน. (2554). แผนปฏิบัติการประจาปี . กลุ่มนิเทศตดิ ตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นราธิวาส เขต 1. (อัดสําเนา). จันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. (พิมพค์ ร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ : บุ๊ค พอยท์ นันทพร ศุภะพันธุ์. (2551). สมรรถนะการบริหารด้านวชิ าการของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดบั ประถมศึกษาสังกดั ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหาร การศึกษา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. บัญชา อึ๋งสกุล. (2538). บทบาทของผู้บริหารโรงเรียนมธั ยมศึกษาท ี่ มีต่อการส่งเสริมการวิจัยใน ชั้นเรียน สังกัดกรม สามัญ เขตการศึกษา 12. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ถา่ ยเอกสาร. บุญชู ราชสุวรรณ. (2548). ปัญหาการบริหารงานงบประมาณและการเงนิ ของผ้บู ริหารสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน สังกดั ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาสเขต 2. รายงานการวิจัยหลักสูตรศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการ บริหาร คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ประชุม รอดประเสริฐ. (2539). การบริหารโครงการ. (พิมพคร้ังที่ 4). กรุงเทพ ฯ : เนติกุลการพิมพ์. ผอ่ งศรี วาณิชยศ์ ุภวงศ.์ (2546). เอกสารคาสอนระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา . พิมพ์ครัIงที" 4. ปัตตานี : ฝ่ ายเทคโนโลยี การศึกษา สํานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. เพียรพนั ธ์ กิจพาณิชยเ์ จริญ. (2552). สมรรถนะการบริหารวชิ าการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั ส านักงานเขตหนอง แขม. วิทยานิพนธ์การ บริหารการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ราตรี ธวัชกาญจน์. (2551). ปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานงานพื้นที่ การศึกษานครศรีธรรมราชเขต 2. ภาคนิพนธ์ ค. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. วนิดา ช่วยบาํ รุง. (2551). การศึกษาปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 .ภาคนิพนธ์ ค.ม. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. วิภาดา สีหาบุตร. (2555). สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ประถมศึกษาระยองเขต 1. ปริญญานิพนธ กศ.ม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัย บูรพา. สมเกียรติ ทองแดง. (2548). เรื่อง ปัญหาการบริหารวิชาการในโรงเรียนใน สังกัดส านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาชลบุรี. ปริญญานิพนธกศ.ม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

39 สมชาย ชูเลิศ. (2553). สภาพการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา นนทบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. สมพงษ์ ยุลนิตย์. (2548). ปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์. สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2548). มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา. สุณีทรัพย์ ประเสริฐ. (2548). การประเมนิ คุณลกั ษณะดานความรู้ความสามารถในการบริหารงานวิชาการ ของผู้บริหาร สถานศึกษา ส านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาราชบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ. สุรพล วิริยะบรรเจิด. (2551). คาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี แถลงการณ์ต่อ รัฐสภา. เมื่อวันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม 2551. กรุงเทพ : สาํ นกั พิมพร์ ัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. อุมัร สวาหลัง. (2546). “การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามทัศนะของ ผู้บริหารและครู โรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล”, วิทยานิพนธศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. อับดุลรอแม ตอเละ. (2550). ประสิทธิภาพการบริหารงานวชิ าการของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาอา เภอกรงปินัง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1. ศึกษาศาสตรมหาบณฑัติ เทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานคริทร์. อนุกูล มานะวรพงศ์ (2555 : 101) ศึกษาสมรรถนะการบริหารงานวชิ าการของผู้บริหารโรงเรียนระดบั มธั ยมศึกษา สังกัด นักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 1 วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี, 2555. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี. ไอพี หะยีสาแม็ง. (2552). ปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษานราธิวาส. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. อาซียะห์ วานิ. (2556). ปัญหาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปัตตานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

40 การบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี Administration of Educational Institutes and Effectiveness Educational Institutes of Primary Educational Service Pattani Province. พนัสพร เจ๊ะเลาะ1 เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์2 และ ดุษฎี มัชฌิมาภิโร3 1นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา 2-3อาจารย์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

บทคัดย่อ แตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสําคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 4. ผล การศึกษาน้ีมีวตั ถุประสงค์ เพื่อ 1. ศึกษาการ การเปรียบเทียบประสิทธิผลของสถานศึกษาจําแนกตาม บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษา 2. ศึกษาประสิทธิผล ตัวแปรเพศ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์การทํางาน ของสถานศึกษา 3. เปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกนั ยกเวน้ ตวั แปรประสบการณ์ ของสถานศึกษา 4. เปรียบเทียบประสิทธิผลของ การทาํ งาน พบว่า แตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาํ คญั ทางสถิติที่ สถานศึกษา 5. ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการบริหาร ระดับ .05 5. ความสัมพนั ธ์ระหว่างการบริหารสถาน สถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา และ 6. ศึกษากบั ประสิทธิผลของสถานศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานเขต ประมวลข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการบริหาร พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี โดยมี สถานศึกษาของสถานศึกษา กลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวิจยั ความสัมพันธ์ในทิศทางบวกอยู่ในระดับสูงอย่างมี คร้ังน้ี ไดแ้ ก่ ครูผสู้ อนในสถานศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานเขต นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 6. ผลการประมวลข้อเสนอ พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี ปีการศึกษา แนะเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาของสถานศึกษา 2558 จํานวน 351 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ซึ่ง ไดแ้ ก่ ควรมีการนิเทศภายในสถานศึกษาอยา่ งสม่าํ เสมอ มีความเชื่อมน่ั .95 สถิติที่ใชไ้ ดแ้ ก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ควรมีการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ควรจัดทํา คา่ เฉลี่ย คา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และ แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียน การทดสอบค่าเอฟโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง การสอน ควรมีเจ้าหน้าที่การเงินโดยเฉพาะ ควรจัดหาครู เดียว (One – Way ANOVA) ทดสอบรายคู่ดว้ ยวิธีการ ให้ครบทุกกลุ่มสาระตรงตามวิชาเอก ควรมอบหมาย ของเชฟเฟ่ (Scheffe’s Method) และค่าสัมประสิทธิ หน้าที่ตามความรู้ ความถนัดและความสามารถ ควรจัดให้ สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) มีเจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน ต่อ 1 โรงเรียน และควรจัดทํา ผลการวิจยั พบวา่ 1. ระดับการบริหารสถานศึกษา ข้อมูลสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา คาส าคัญ: การบริหาร ประสิทธิผล สถาบันการศึกษา ประถมศึกษาจงั หวดั ปัตตานีโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก Abstract 2. ระดบั ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกดั สาํ นกั งานเขต The purposes of this research were 1. to study พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจงั หวดั ปัตตานี โดยภาพรวม administration of educational institutes 2. to study อยใู่ นระดบั มาก 3. ผลการเปรียบเทียบการบริหารสถาน effectiveness of educational institutes 3. to compare ศึกษาของสถานศึกษา จําแนกตามตัวแปรเพศวุฒิ administration of educational institutes 4. to compare การศึกษา และประสบการณ์การทํางาน โดยภาพรวมไม่ effectiveness educational of institutes 5. to study the แตกตา่ งกนั ยกเวน้ ตวั แปรประสบการณ์การทาํ งาน พบวา่ relationship between administration of educational JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

41 institutes and effectiveness educational institutes and (6) school should be provide at least one administration to give suggestions on guide lines for administration of officer and school’s information should be updates. educational institutes. Group the respondents in the Keywords : Administration, Effectiveness, Educational study sample are 351 personal working for educational Institutes institutes of Primary Educational Service, Pattani ______Province, 2015 academic year. A tool used in this บทน า research is a questionnaire with reliability of .95. การศึกษาในสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม Statistics used in this research are frequency, ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีและสถานการณ์ในปัจจุบนั percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, One- อย่างรวดเร็ว การศึกษานับว่าเป็นปัจจัยที่มีความสําคญั way ANOVA, Scheffe’s Method and Correlation เป็นอยา่ งย่ิงสาํ หรับเราทุกคน เนื่องจากการศึกษาเขา้ มามี Coefficient. The results of the research are as follows. บทบาทในการดาํ เนินชีวติ ประจาํ วนั และการศึกษาเป็นส่ิง 1.The level of administration of educational institutes of สําคัญในการพัฒนาทักษะด้านความรู้ ความสามารถ Primary Educational Service, Pattani Province is high ความคิด ความประพฤติและคุณธรรมจริยธรรมของ level. 2. The level of effectiveness of educational บุคคลเพื่อให้เป็นคนที่ดีมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพซึ่ง institutes of Primary Educational Service, Pattani สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. Province is high level. 3.When compareing 2542 มาตรา 6 กาํ หนดไวว้ า่ การจดั การศึกษาต้องเป็นไป administration of educational institutes, it is found that เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย gender, education and working experience are not จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมมีจริยธรรมและ significantly different overall. However, working วฒั นธรรมในการดาํ รงชีวิต สามารถอยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ื่นอยา่ ง experience is found different at statistically significant มีความสุข (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ level of .05.4. When compareing effectiveness of สํานักนายกรัฐมนตรี, 2553 : 3) educational institutes, it is found that gender, education การบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวง and working experience are not significantly different ศึกษาธิการภายใต้บทบัญญัติแห่งกฎหมายการศึกษาที่ overall. However, working experience is found different เรียกวา่ “ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช at statistically significant level of .05. 5. The positive 2542 ” แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 39 relationship between administration of educational ให้กระทรวงกระจายอํานาจการบริหารและการจัด institutes and Effectiveness of Educational institutes of การศึกษา ท้ังด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงาน Primary Educational Service, Pattani Province is high at บุคคล และการบริหารท่ัวไป ไปยงั คณะกรรมการและ the statistical significant level of .01. 6. The suggestions สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาในพ้ืนที่ are as follows : Supervision of educational institutes การศึกษาโดยตรงโดยยึดหลักการจัดระบบโครงสร้างและ should be regularly held. Authentic evalution should be กระบวนการจัดการศึกษาให้มีความเป็นเอกภาพในด้าน provided. Budget plans should be initiated and the นโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบตั ิเพื่อให้เกิด finance officer should be provided to run this plan. ความคล่องตัว และมีอิสระในการบริหารจัดการที่มี Teachers should be assigned to teach their majors. Each ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ซ่ึงเป็ นการสร้าง JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

42 รากฐานและความเขม้ แข็งให้กบั สถานศึกษาที่จะสามารถ ผูม้ ีหน้าที่ที่จะตอ้ งส่งเสริมให้เป็นระบบความร่วมมือใน จดั การศึกษาไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ มีมาตรฐานสามารถพัฒนา การปฏิบัติ (ยุกตนันท์ หวานฉํ่า, 2555 : 46) สอดคลอ้ งกบั ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง สอดคลอ้ งกบั นโยบายของสํานักงาน ผลงานวิจัยเรื่องรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัย คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ปี งบประมาณ 2558 ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของสถาน ศึกษาสังกัด สถานศึกษาและสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา บริหาร สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจงั หวดั จัดการโดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิเน้นการกระจายอาํ นาจ การมี ชายแดนภาคใต ้ พบวา่ 1) การเสริมพลังอํานาจผู้บริหาร ส่วนร่วม และมีความรับผิดชอบต่อผลการดําเนินงาน ความเป็นผู้นําของผู้บริหาร วัฒนธรรมสถาน ศึกษาและ (Participation and Accountability) สถานศึกษาที่ไม่ผา่ น ความเป็นผู้นําของครู เป็ นปัจจัยที่มีความ สัมพันธ์ตาม การรับรองคุณภาพภายนอกและที่ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน รูปแบบความสมั พนั ธ์เชิงสาเหตุและมีอิทธิพลทางตรงต่อ ของนักเรียนต่าํ กวา่ ค่าเฉลี่ยของประเทศ ไดร้ ับการแกไ้ ข ประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ แทรกแซง ช่วยเหลือ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล โดย การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาทาํ หนา้ ที่ส่งเสริมสนบั สนุน นอกจากน้ันความเป็นผูนํา้ ของผู้บริหารและวัฒนธรรม และเป็นผู้ประสานงานหลักให้สถานศึกษาทําแผนพัฒนา สถานศึกษามีอิทธิพลทางออ้ มโดยส่งผ่านความเป็นผู้นํา เป็นรายโรงร่วมกบั ผูป้ กครองชุมชน และองคก์ รอื่นๆ ที่ ของครู (สิรินารถ แววสง่า, 2556: 140) เกี่ยวขอ้ งสถานศึกษาบริหารจดั การโดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิเนน้ นอกจากน้นั มีงานวจิ ยั ซ่ึงไดศ้ ึกษาเรื่องปัจจยั ภาวะ การมีส่วนร่วมอยา่ งแทจ้ ริงและการมีความรับผิดชอบต่อ ผูน้ าํ การเปลี่ยนแปลงของผูบ้ ริหารที่มีผลต่อประสิทธิผล ผลการดําเนินงาน ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประสิทธิผลในการบริหารสถานศึกษา เพื่อที่จะมุง่ ปัตตานี เขต 3 พบว่า ด้านความสามารถในการบริหาร ให้เกิดคุณภาพท้ังในด้านผลผลิต กระบวนการจัดการ ความขัดแย้งที่ให้ประโยชน์ของผบู้ ริหารสถานศึกษาน้นั มี และปัจจยั ต่างๆ โดยมุ่งหวงั ให้การจดั การศึกษาพฒั นาท้งั ความสัมพนั ธ์กนั ในระดบั น้อยที่สุดและปัจจยั ภาวะผูน้ าํ ระบบ (Whole School Approach : WSA) บุคคลที่มี การเปลี่ยนแปลงที่เป็นตัวทํานายประสิทธิผลของสถาน ความสําคัญอย่างย่ิงที่จะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ศึกษามี 4 ปัจจยั ไดแ้ ก่ 1) การให้อาํ นาจแก่ครู 2) มนุษย ดงั กล่าวไดก้ ็คือผูบ้ ริหารสถานศึกษา เพราะตอ้ งเป็นผูน้ าํ สัมพันธ์ 3) คุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหาร และ 4) การ และผูป้ ระสานความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่มีความสามารถ พัฒนาวิชาชีพครู สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ทาํ ใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการเรียนการสอน และ ศึกษาจังหวัดปัตตานี มีทิศทางการบริหารจัดการศึกษาคือ การเรียนรู้ รวมท้ังประสานสัมพนั ธ์ ระดม และจัดสรร ประชากรวัยเรียนทุกคน ได้รับโอกาสทางการศึกษาภาค ทรัพยากรไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ (สุพล วังสินธุ์, 2545 : บังคับอย่างท่ัวถึง เท่าเทียมกันอย่างมีคุณภาพตาม 29) จึงอาจกล่าวได้วา่ ประสิทธิผลในการบริหารสถาน มาตรฐานการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เต็มตามศกั ยภาพ ผูเ้ รียน ศึกษาข้ึนอยู่กบั ผูบ้ ริหารเป็นสําคญั ภายใตข้ อ้ จาํ กดั ของ ทุกคนได้รับการส่งเสริม ด้านการใช้สื่อ นวัตกรรม การบริหารสถานศึกษา เป็นแนวทางหน่ึงที่จะช่วยให้การ เทคโนโลยีในการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ผูเ้ รียนทุก ปฏิบัติงานของผู้บริหารบรรลุผลตามเป้าหมายหรือ คนได้รับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ความสํานึกใน วัตถุประสงค์ที่กําหนด คือ การพัฒนาผูบ้ ริหารสถาน ความเป็นคนไทย และวิถีชีวิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ ศึกษา ท้งั น้ีเนื่องจากผูบ้ ริหารสถานศึกษามีฐานะเป็นนัก พอเพียง อยา่ งเหมาะสมและมีคุณภาพ ขา้ ราชการครูและ บริหาร มีหน้าที่ทําให้สถานศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ เป็น บุคลากรทางการศึกษา ได้รับการสนับสนุน ส่งเสริม JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

43 พัฒนาให้มีความรู้ ทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ดา้ นวิชาการควรพฒั นาการจดั การเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ และขวัญกําลังใจในการ และต่อเนื่อง ด้านการบริหารงบประมาณควรเพ่ิมเงิน ปฏิบัติงาน ผู้บริหารทุกคนสามารถบริหารการศึกษา โดย อุดหนุนจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (เงินรายหัว) โดยเฉพาะ ยดึ หลกั ธรรมาภิบาล การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนไดอ้ ยา่ งมี โรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง ด้านการบริหารงาน ประสิทธิภาพ สถานศึกษาทุกแห่ง ได้รับการพฒั นาการ บุคคลควรจดั หาครูให้ครบทุกกลุ่มสาระตรงตามวิชาเอก เรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และอิสลามศึกษา อย่างเพียงพอ และด้านการบริหารท่ัวไปควรจัดให้มี ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรปฏิบัติงานธุรการโดยเฉพาะ เพื่อให้ครูมีเวลา สนับสนุนระดมทรัพยากรและความร่วมมือจากทุกภาค สอนนักเรียนและ จากรายงานผลการปฏิบัติงานประจําปี ส่วนในการจัดการศึกษา โดยให้มีการพัฒนาคุณภาพ 2558 สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานีเขต 2 การศึกษาและจดั ระบบนิเทศ กาํ กบั ติดตาม ดูแลภารกิจ พบปัญหาด้านการปฏิบัติงาน คือ ด้านครูและบุคลากร หลักของสถานศึกษา 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านงบ ทางการศึกษาส่วนใหญข่ าดเทคนิคการใชสื่อไอซีที้ ในการ ประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหาร จัดการเรียนการสอน ด้านการบริหารจัดการผู้บริหารขาด ท่ัวไป ด้วยการยกระดับให้มีมาตรฐานโดยเฉพาะ ความเป็นผู้นําทางวิชาการ การนิเทศติดตามขาด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากขอ้ มูลการทดสอบระดบั ชาติ ประสิทธิภาพไม่เป็นไปตามระบบและขาดความต่อเนื่อง ของสํานักงานมาตรฐานการทดสอบ (O-NET) ปี และสถานศึกษาไมน่ าํ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกไป การศึกษา 2557 พบวา่ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่ต่าํ กวา่ ใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เกณฑ์ที่กาํ หนดในทุกกลุ่มสาระคือ ผลสัมฤทธ์ิทางการ จากความสาํ คญั และสภาพปัญหาดงั กล่าวขา้ งตน้ เรียนช้ันประถมศึกษาช้ันปี ที่ 6 ทุกกลุ่มสาระของ ผู้วิจัยในฐานะเป็ นครูผู้สอนของสถานศึกษาสังกัด สถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี ศึกษาปัตตานีเขต 1 มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 34.66 ผลสัมฤทธ์ิ จึงมีความสนใจที่จะศึกษาการบริหารสถานศึกษากับ ทางการเรียนช้นั ประถมศึกษาช้นั ปีที่ 6 ทุกกลุ่มสาระของ ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ สถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี ซึ่งผลการวิจัยจะ ศึกษาปัตตานี เขต 2 มีค่าเฉลี่ยอยทู่ ี่ 32.76 และผลสัมฤทธ์ิ นําไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางในการ ทางการเรียนช้นั ประถมศึกษาช้นั ปีที่ 6 ทุกกลุ่มสาระของ บริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาให้บริหาร สถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม งานด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ศึกษาปัตตานี เขต 2 มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 40.41 นอกจากน้ัน ประสิทธิผลมากที่สุด สอดคล้องกับความตอ้ งการของ ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ ผู้บริหารและครูผู้สอน เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายและ การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี ต้องได้รับการ ประสบความสาํ เร็จในการบริหารสถานศึกษาตอ่ ไป ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและพฒั นา โดยปัญหาที่เกิดข้ึนมา จากสาเหตุหลายประการจากรายงานวิจัยของมนูญ วิธีการวิจัย ร่มแกว้ (2553 : 137-138) ซึ่งได้ศึกษาเรื่องสภาพและ การวิจัยในคร้ังน้ีเป็ นการศึกษาเชิงสํารวจการ ปัญหาการบริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานที่เป็นนิติบุคคล บริหารสถานศึกษากบั ประสิทธิผลขอสถานศึกษา สังกดั ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจงั หวดั ปัตตานี การศึกษาจังหวดั ปัตตานี ผลการวิจัยพบว่า การบริหาร โดยมีข้นั ตอนการศึกษาดงั น้ี ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษา JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

44 คร้ังน้ี ไดแ้ ก่ ครูผสู้ อนในสถานศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานเขต วิเคราะห์รูปแบบความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการบริหารสถาน พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจงั หวดั ปัตตานี จาํ นวนท้งั สิ้น ศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา โดยใช้ค่า 3,950 คน ซ่ึงกาํ หนดกลุม่ ตวั อยา่ งโดยใชต้ ารางสาํ เร็จของ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน เครจซี่และมอร์แกน (Krejcie& Morgan, 1970 : 608 - 609 อ้างถึงในธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2552 : 48 - 49) ทาํ การสุ่ม ผลการวิจัย อยา่ งง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับ ผลการศึกษาเกี่ยวกับขอ้ มูลสถานภาพของกลุ่ม สลาก ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 351 คน ในส่วนของ ตวั อยา่ งส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จาํ นวน 223 คน คิดเป็น เครื่องมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั คร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ใชแ้ บบสอบถามเป็น ร้อยละ 63.50 มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือ เครื่องมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยศึกษาจากเอกสาร เทียบเท่า จาํ นวน 253 คน คิดเป็นร้อยละ 72.10 และมี งานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง แบ่งออกเป็น 4 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ประสบการณ์การทํางาน 6 -10 ปี จํานวน 207 คน คิดเป็น ขอ้ มูลเกี่ยวกบั สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ ร้อยละ 59.00 ผลการศึกษาศึกษาระดับการบริหาร 2 ขอ้ มูลเกี่ยวกบั การบริหารสถานศึกษา ตอนที่ 3 ข้อมูล สถานศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ เกี่ยวกบั ประสิทธิผลของสถานศึกษา และตอนที่ 4 เป็น การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี โดยภาพรวมอยใู่ น แบบสอบถามปลายเปิ ดเกี่ยวกับข้อเสนอแนะในการ ระดับมาก 3.70 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ด้านการ บริหารสถานศึกษา จํานวน 1 ชุด ในการเก็บรวบรวม บริหารงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 3.94 และด้านที่มี ข้อมูล เพื่อให้การวิจัยคร้ังน้ีบรรลุวตั ถุประสงค์ด้วยดี คา่ เฉลี่ยนอ้ ยที่สุดคือ ดา้ นการบริหารทว่ั ไป 3.88 ผู้วิจัยได้กําหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม ด้านวิชาการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3.89 ตวั อย่าง โดยมีข้นั ตอนดังน้ี ขอหนังสือแนะนําตวั ผูว้ ิจัย เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า สถานศึกษามีการ และขออนุญาตเก็บข้อมูล เพื่อการวิจัยจากสํานักงาน ประเมินผลการใชห้ ลกั สูตร กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน และ บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาถึงผู้บริหาร ประเมินการจัดการเรียนรู้ของครูและบุคลากร มีค่าเฉลี่ย สถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม มากที่สุด 3.93 รองลงมาคือสถานศึกษามีการจัดระบบการ ศึกษาจังหวดั ปัตตานี เพื่อขอความร่วมมือในการวิจัย นิเทศภายในสถานศึกษา 3.91 และการบริหารสถานศึกษา ผูว้ ิจยั ส่งหนังสือและแบบสอบถามไปยงั ผูบ้ ริหารสถาน ที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ครูและบุคลากรมีส่วนร่วมใน ศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา การวางแผนการบริหารและจัดการด้านวิชาการ 3.83 จงั หวดั ปัตตานี ซ่ึงเป็นกลุ่มตวั อย่างด้วยตนเอง และให้ ด้านงบประมาณโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผู้ตอบแบบสอบถามส่งคืนภายใน15 วัน ตรวจสอบ 3.94 เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อพบว่า สถานศึกษามีการ แบบสอบถามเพื่อดูความสมบูรณ์ จากที่ส่งไป จาํ นวน จัดทําแผนพฒั นาท้งั ระยะส้ันและระยะยาว มีค่าเฉลี่ยมาก 351 ฉบับ ได้รับคืนจํานวน 351 ฉบับ นําแบบ สอบถามที่ ที่สุด 4.01 รองลงมาคือสถานศึกษามีการจดั หาและจดั ซ้ือ สมบูรณ์แลว้ ไปวเิ คราะห์ขอ้ มูลต่อไป การวิเคราะห์ขอ้ มูล วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่มีคุณภาพ 3.97 และ การบริหารสถาน จากวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 และ วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ใช้ ศึกษาที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ สถานศึกษามีการจัดทํา วิธีการหาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แผนปฏิบตั ิการสอดคลอ้ งกบั กลยทุ ธ์ของสถานศึกษา 3.90 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 และ วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 ใช้วิธีการ ด้านการบริหารงานบุคคล โดยภาพรวมอยู่ใน หาค่าความแตกต่าง โดยการวิเคราะห์หาค่าความ ระดับมาก 3.51 เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า แปรปรวนทางเดียว และวัตถุประสงค์ข้อที่ 5 ใช้วิธีการ สถานศึกษามีการเสริมสร้างให้ครูและบุคลากรมีวินัย JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

45 รักษาระเบียบวินัย คุณธรรมและจริยธรรมในการ ระดับชาติ O-net และ NT เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาํ หนด ปฏิบัติงานมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 4.00 รองลงมาคือ 3.59 สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและบุคลากรได้รับ ด้านความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มี ความกา้ วหน้าในวิชาชีพ 3.91 และ การบริหารสถาน ทศั นคติทางบวกโดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก 3.42 เมื่อ ศึกษาที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ สถานศึกษามีการนิเทศ พิจารณาเป็นข้อ พบว่า นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึง ติดตาม การปฏิบัติงานของครูและบุคลากรอย่างเป็ น ประสงค์และแสดงออกทางพฤติกรรมเป็ นตัวอย่างแก่ ระบบสมํ่าเสมอ 3.84 บุคคลอื่นได้ 3.93 รองลงมา คือ นักเรียนจิตใจร่าเริง ยิ้ม ด้านการบริหารท่ัวไปโดยภาพรวม อยู่ในระดับ แยม้ แจ่มใส และมองโลกในแง่ดี 3.92 ประสิทธิผลของ ปานกลาง 3.49 เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า สถาน สถานศึกษาที่มีค่าเฉลี่ยนอ้ ยที่สุด คือ นักเรียนต้งั ใจเรียน ศึกษาจดั กิจกรรมทศั นศึกษา/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตาม และพัฒนาตนเองค้นคว้าหาความรู้อยเู่ สมอ 3.89 นโยบายเรียนฟรีอยา่ งมีคุณภาพ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 3.95 ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนา รองลงมาคือสถานศึกษามีการดูแล ปรับปรุง ซ่อมแซม สถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3.93 เมื่อ อาคารสถานที่ให้อยู่ในสภาพที่มีความปลอดภัย จัด พิจารณาเป็ นข้อ พบว่า สถานศึกษานํารายงานผลการ สภาพแวดล้อมร่มรื่น มีแหล่งเรียนรู้เพียงพอสําหรับ ปฏิบัติงานของสถานศึกษามาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา นักเรียน 3.92 สถานศึกษามีการจัดระบบส่งเสริ ม 3.97 รองลงมา คือ สถานศึกษาจัดแหล่งเรียนรู้ ห้อง สนบั สนุนและอาํ นวยความสะดวกในการบริหารงานท้งั 4 ปฏิบตั ิการตา่ งๆ ไดเ้ พียงพอต่อจาํ นวนนกั เรียน 3.96 ส่วน ด้าน ในสถานศึกษา 3.84 ประสิทธิผลของสถานศึกษาที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ผลการศึกษาประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกดั สถานศึกษามีการปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารสถานที่และ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจงั หวดปัตตานีั สภาพแวดลอ้ มใหม้ ีบรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การเรียนรู้ 3.85 โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก 3.53 เมื่อพิจารณาเป็นราย ด้านความสามารถในการแก้ไขปัญหาภายใน ด้าน พบว่า ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและ สถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3.88 เมื่อ พัฒนาสถานศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 3.93 รองลงมา คือ พิจารณาเป็นขอ้ พบวา่ ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา ดา้ นความสามารถในการแกไ้ ขปัญหาภายในสถานศึกษา ภายในสถานศึกษาผู้บริหาร ครูและบุคลากร ให้ความ 3.88 และดา้ นที่มีคา่ เฉลี่ยนอ้ ยที่สุด คือ ดา้ นความสามารถ ร่วมมือในการแกไ้ ขปัญหาดา้ นการบริหารดา้ นการจดั การ ในการผลิตนกั เรียนใหม้ ีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูง 2.90 เรียนการสอน 3.93 รองลงมา คือ ผู้บริหาร ครูและ ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มี บุคลากรมีความสามารถในการตดั สินใจและแกป้ ัญหาได้ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ปาน อย่างรวดเร็วและเหมาะสม 3.91 ประสิทธิผลของ กลาง 2.90 เมื่อพิจารณารายขอ้ พบวา่ ครูและบุคลากรมี สถานศึกษาที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ผูบ้ ริหาร ครูและ การพัฒนาความรู้ เทคนิค ในการจัดการเรียนการสอนมี บุคลากรรับรู้ปัญหาร่วมกนั และเต็มใจร่วมมือกนั ในการ ความทนั สมยั และสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์มีค่าเฉลี่ยสูง แกป้ ัญหา 3.83 ที่สุด 3.97 รองลงมา คือ สถานศึกษาจดั กิจกรรมการเรียน ผลการเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาของ การสอนที่หลากหลายทําให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิเป็นไป สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา 3.93 และประสิทธิผลของ ประถมศึกษาจงั หวดั ปัตตานี พบวา่ จําแนกตามตัวแปร สถานศึกษาที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ผลการทดสอบ เพศ โดยภาพรวมพบว่า ครูผูส้ อน สังกัดสํานักงานเขต JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

46 พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวดั ปัตตานี ที่มีเพศ จังหวัดปัตตานี ต่างกนั มีความคิดเห็นที่ไม่แตกต่างกนั เมื่อพิจารณาเป็น รายดา้ น พบว่า ทุกด้านมีทัศนะที่ไม่แตกต่างกนั ยกเวน้ อภิปรายผลการวิจัย ด้านการบริหารท่ัวไปแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคญั ทาง จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ สถิติที่ระดับ .05 จําแนกตามตัวแปรวุฒิการศึกษา โดย ระหว่างการบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของ ภาพรวมพบว่า ครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ สถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี ที่มีวุฒิการศึกษา ศึกษาจังหวัดปัตตานี ต่างกนั มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกนั จาํ แนกตามตวั แปร 1. ผลการวิจัยพบว่า ระดับการบริหารสถาน ประสบการณ์ในการทํางาน โดยรวมพบว่า ครูผูส้ อน ศึกษาของสถานศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัด ประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี โดยภาพรวม พบวา่ อยูใ่ น ปัตตานี ที่มีประสบการณ์ในการทาํ งานที่แตกต่างกนั มี ระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ น จากค่าเฉลี่ยที่มี ความคิดเห็นแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั ค่ามากที่สุด พบว่า ด้านการบริหารงานงบประมาณ ซึ่ง .001 สอดคล้องกบั ยุกตนันท์ หวานฉํ่า (2555 : 49 - 54) ศึกษา ผลการเปรียบเทียบประสิทธิผลของสถานศึกษา เรื่อง การบริหารสถานศึกษากบั ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจงั หวดั ในอาํ เภอคลองหลวง สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ปัตตานี พบวา่ จําแนกตามตัวแปรเพศ โดยภาพรวมพบวา่ ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผลการวิจยั พบวา่ ระดบั การ ครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษา โดยรวมและรายด้าน ศึกษาจงั หวดั ปัตตานี ที่มีเพศต่างกนั มีความคิดเห็นที่ไม่ อยู่ในระดับมากสอดคลอ้ งกบั สุริดา หลงั จิ (2556 : 77) แตกตา่ งกนั จําแนกตามตัวแปรวุฒิการศึกษา โดยภาพรวม ศึกษาเรื่อง ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารงาน พบว่า ครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ ประถมศึกษาจังหวดั ปัตตานี ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกนั มี การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส ผลการวิจยั พบวา่ ระดบั ความคิดเห็นที่ไม่แตกต่างกนั จําแนกตามตัวแปรประสบ การบริหารสถานศึกษาของสถานศึกษา โดยรวมและราย การณ์การทาํ งาน โดยภาพรวมพบวา่ แตกต่างกนั อยา่ งมี ดา้ นอยู่ในระดับมาก สอดคลอ้ งกบั มนูญ ร่มแกว้ (2553 นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 :112 ) ศึกษาเรื่อง สภาพและปัญหาการบริหารสถานศึกษา ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการบริหารสถานศึกษากบั ข้ันพ้ืนฐานที่เป็ นนิติบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจังหวัดปัตตานี การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานีความสัมพันธ์ ผลการวิจยั พบวา่ ระดบั สภาพการดาํ เนินงานการบริหาร ระหว่างการบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของ สถานศึกษาของผู้บริหารสถาน ศึกษา โดยภาพรวมและ สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา รายดา้ นอยู่ในระดับมาก สอดคลอ้ งกบั พรพรรณ อินทร ประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี พบว่ามีความสัมพันธ์ ประเสริฐ (2550 : 57) ศึกษาเรื่อง องค์ประกอบการบริหาร ระหว่าง การบริหารสถานศึกษา กับประสิทธิผลของ สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานในทศวรรษหนา้ ผลการวิจยั พบวา่ สถานศึกษา หมายความว่า การบริหารสถานศึกษา บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มีเอกภาพใน สามารถกาํ หนดหรือมีอิทธิผลต่อประสิทธิผลของสถาน ด้านนโยบายและมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ มีอิสระ ศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ในการกําหนดความต้องการและดําเนินการตัดสินใจ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

47 เกี่ยวกบั การบริหารดา้ นวิชาการ งบประมาณ บริหารงาน การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 1 : กรณีสถานศึกษาที่ บุคคลและบริหาร งานทว่ั ไป โดยมีมาตรฐานและตวั ช้ีวดั มีแนวปฏิบัติเป็นเลิศ ผลการวิจยั พบวา่ โดยรวมและราย คุณภาพสามารถประเมินและตรวจสอบได้ และสอดคล้อง ดา้ นอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั ธนพล มหากาล (2557 กบั เอกลกั ษณ์ ขาวนวล (2551 : 34) ศึกษาเรื่อง การบริหาร :125-134) ศึกษาเรื่องความสัมพนั ธ์ระหว่างการบริหาร งานของผูบ้ ริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สํานักงานเขต เชิงกลยุทธ์กับการบริหารงานงบประมาณแบบมุ่งเน้น พ้ืนที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ผลการวิจยั พบวา่ การ ผลสัมฤทธ์ิในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ บริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มีความพร้อมในดา้ นการ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ผลการวิจัยพบวา่ บริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการ การบริหารงานงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิใน บริหารงานบุคคล และดา้ นการบริหารทว่ั ไป มีการทาํ งาน สถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก อย่างมีระบบ ปฏิบัติตามข้ันตอน และมีการประเมิน สอดคลอ้ งกบั น้าํ เพชร ชาญจึงถาวร (2554 : 48-52) ศึกษา สามารถตรวจสอบได้ สอดคล้องกบั ธีรพงษ์ สําเร (2554 : เรื่องระบบสนับสนุนการตัดสินใจ สําหรับวิเคราะห์ 117) ศึกษาเรื่อง ประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของ ประสิทธิภาพการบริหารงานงบประมาณด้านคุณภาพ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนมิตรภาพสํานกั งาน การศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนสังกดั กรุงเทพมหานคร เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพการบริ หารงาน พบวา่ ระดับประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของ งบประมาณ โดยภาพรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก ผูบ้ ริหารสถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนมิตรภาพตามความ สอดคลอ้ งกบั วิบูรณ์ สิงห์คราม (2553 : 69-92) คิดเห็นของครูผู้สอนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ศึกษาเรื่องประสิทธิผลการบริหารงานบุคคลในโรงเรียน สอดคลอ้ งกบั รุสนานี ลอเซ็ง (2556 : 159-163) ศึกษาเรื่อง สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสกลนคร เขต 3 ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถาน ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิผลการบริหารงานบุคคลใน ศึกษาในสถานศึกษาอาํ เภอบาเจาะสังกดั สํานักงานเขต โรงเรียน โดยรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ ง พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 1 ผลการวิจัย กบั วลั ลภ ขวญั มา (2557 : 77-80) ศึกษาเรื่องการศึกษา พบวา่ ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของผูบ้ ริหาร แบบแผนความสาํ พนั ธ์ระหวา่ งภาวะผนู้ าํ การเปลี่ยนแปลง สถานศึกษาในสถานศึกษาอําเภอบาเจาะ โดยภาพรวม กับประสิทธิผลการบริหารงานบุคคลของผู้บริหาร และรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั ฐิติรัตน์ ฤทธ์ิ สถานศึกษา สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษานครปฐม สมบูรณ์ (2556 : 119-123) ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ ผลการวิจยั พบวา่ ประสิทธิผลการบริหารงานบุคคล โดย ระหว่างแบบภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษากับ ภาพรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั รุสลนั ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกดั แวหามะ (2554) ศึกษาเรื่องความสัมพนั ธ์ระหวา่ งทกั ษะ กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ินกลุ่มการศึกษาทอ้ งถ่ินที่ การบริหารงานกบั การปฏิบตั ิงานตามกระบวนการบริหาร 5 ผลการวิจัยพบวา่ ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการใน งานบุคคลของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขต สถานศึกษาสังกดั กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ินกลุ่ม พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา ผลการวิจยั พบวา่ การ การศึกษาทอ้ งถ่ินที่ 5 โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก ปฏิบัติงานตามกระบวนการบริหารงานบุคคล โดยภาพ สอดคลอ้ งกบั พิศิษฐ์ บุญประสาท (2557 : 105- รวมและรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั เจริญจิตร 109) ศึกษาเรื่องการศึกษาการบริหารงานงบประมาณที่มี คงเพ็ชรศรี (2555 : 70-77) ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ ประสิทธิภาพของสถานศึกษาในสงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ ระหว่างภาวะผูน้ ําการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารงาน JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

48 บุคคลของผู้บริหารโรงเรียน สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ การบริหารและการจัดการศึกษา ด้านวิชาการ งบประมาณ การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ผลการวิจยั พบว่า บริหารงานบุคคล และการบริหารทว่ั ไปสู่สํานักงานเขต การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียน โดยภาพรวม พ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษาให้ และรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก มากที่สุดทําให้สถานศึกษาดําเนินการได้โดยอิสระ และสอดคลอ้ งกบั เสาวภาค พงษา (2552 : 95-103) คล่องตวั รวดเร็วสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รียน ศึกษาเรื่องสภาพการบริหารงานทว่ั ไปในสถานศึกษาข้นั ชุมชน สถานศึกษา ทอ้ งถ่ิน รวมท้งั ผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งใน พ้ืนฐาน สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาอุบลราชธานี การจัดการศึกษาทุกฝ่ายที่ทาํ งานร่วมกันสามารถทาํ ให้ เขต 1 ผลการวิจยั พบวา่ สภาพการบริหารงานทว่ั ไปใน สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ใน นอกจากน้ัน ผู้บริหารสถานศึกษา ก็จะต้องมีความ ระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั ปาลภสั สร์ อัญบุตร (2554 : 91- ตระหนักและเห็นความสําคัญของการจัดการศึกษา 99) ศึกษาเรื่องการศึกษาความตอ้ งการมีส่วนร่วมของ เพื่อให้สถานศึกษามีมาตรฐานการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครองในการบริหารงานท่ัวไป โรงเรียนสังกัด มาตรฐานการเรียนการสอนและมาตรฐานคุณภาพ กรุงเทพมหานคร ผลการวิจยั พบวา่ ความตอ้ งการมีส่วน นักเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษา ผู้บริหาร ร่วมของผูป้ กครองในการบริหารงานทว่ั ไป โดยภาพรวม สถานศึกษาจําเป็นจะต้องมีศาสตร์และศิลป์ในการบริหาร และรายดา้ นอยูใ่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั นิเทศน์ ธาตุ จดั การซ่ึงเป็นส่ิงสําคญั ที่จะทาํ ให้การจดั การศึกษาบรรลุ อินทร์ (2556 : 97-104) ศึกษาเรื่องการบริหารงานทว่ั ไป เป้ าหมายตามที่ต้งั ไว ้ เพื่อให้การบริหารงานมีประสิทธิ ของโรงเรียนขนาดเล็กในเขตพ้ืนที่การศึกษาเชียงใหม ่ ภาพและประสิทธิผล ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีการ เขต 4 ในทัศนะของผู้บริหารและครูผู้สอน ผลการวิจัย พัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความต้ังใจในการทํางาน มี พบวา่ การบริหารงานทว่ั ไปของโรงเรียนขนาดเล็กในเขต ความสามารถในการบริหารจัดการงานในสถานศึกษาจึงมี พ้ืนที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 โดยภาพรวมและรายด้าน การพัฒนาและศึกษาหาความรู้ด้านการบริหารและด้าน อยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั จิตติมา ธมชยากร (2553 : อื่นๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การจดั การศึกษาเพื่อให้สถานศึกษามี 89-97) ศึกษาเรื่องการบริหารงานทว่ั ไปของโรงเรียนใน คุณภาพ สงั กดั เทศบาลเมืองตะกว่ั ป่าจงั หวดั พงั งา ผลการวจิ ยั พบวา่ 2. ผลการวิจัยระดับประสิทธิผลของสถานศึกษา การบริหารงานทว่ั ไปของโรงเรียนในสังกดั เทศบาลเมือง สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจงั หวดั ตะก่ัวป่ าจังหวดั พงั งา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ใน ปัตตานี ระดับมาก จากการวิจัยโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ ผลการวจิ ยั ที่ออกมาเป็นเช่นน้ี ผวู้ จิ ยั มีความเห็นวา่ พิจารณาเป็นรายด้านประสิทธิผลของสถานศึกษาที่มี ตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด พบว่า ด้านความสามารถในการ แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่3) พ.ศ. 2553 ไดก้ าํ หนดทิศทางการ ปรับเปลี่ยนและพัฒนาสถานศึกษา มีประสิทธิผลของ จัดการศึกษาของชาติ ตามมาตรา 6 การจัดการศึกษาต้อง สถานศึกษาอยู่ในระดับมาก และอันดับสุดท้าย ด้าน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย ความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและ เรียนสูง มีประสิทธิผลของสถานศึกษาอยูใ่ นระดบั ปาน วัฒนธรรมในการดาํ รงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ื่นได้ กลาง ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนา อยา่ งมีความสุข และมาตรา 39 ให้มีการกระจายอํานาจ สถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับ และด้านความ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

49 สามารถในการแก้ไขปัญหาภายในสถานศึกษา โดย ระฑิยา อังคุระษี ( 2553 : 95-107) ศึกษาเรื่องประสิทธิผล ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั กาญจนา เกสร ของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ (2555 : 91) ศึกษาเรื่องความสัมพนั ธ์ระหวา่ งวฒั นธรรม การศึกษาอุบลราชธานี เขต 3 ผลการวิจัยพบว่า โดย องคก์ ารกบั ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกดั สาํ นกั งานเขต ภาพรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั มยรุ ีย ์ พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผลการวิจัย สมศรี (2553 : 124-142) ศึกษาเรื่องภาวะผู้นําการ พบวา่ ประสิทธิผลของโรงเรียน สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ เปลี่ยนแปลงของผู้บริหารและประสิทธิผลการบริหาร การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยรวมและราย สถานศึกษา สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษานครพนม เขต 1 ดา้ นอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั ขวญั ใจ เกตุอุดม (2554 ผลการวิจัยพบวา่ โดยภาพรวมและรายด้านอยูใ่ นระดับ : 53-59) ศึกษาเรื่องการศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่าง มาก สอดคลอ้ งกบั กิตติศกั ด์ิ ศรีทอง (2555 : 61-69) ศึกษา พฤติกรรมผูน้ าํ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษากบั ประสิทธิผล เรื่องภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ของโรงเรียน สังกดั องค์การบริหารส่วนจังหวดั ชลบุรี ประสิทธิผลในการบริหารงานของโรงเรียนขยายโอกาส ผลการวิจยั พบวา่ ประสิทธิผลของโรงเรียน โดยภาพรวม สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา และรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั ธนิต ทองอาจ กาญจนบุรี เขต 3 ผลการวิจยั พบวา่ โดยภาพรวมและราย (2553 : 83-88) ศึกษาเรื่องภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงของ ด้านอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับสอดคล้องกับนง ผูบ้ ริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน ในสังกดั ลักษณ์ เรือนทอง (2550 : 141-157) ศึกษาเรื่องรูปแบบการ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามุกดาหาร ผลการวิจยั พบวา่ บริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผล ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิผลของโรงเรียน โดยภาพรวมและรายดา้ นอยใู่ น องค์ประกอบของรูปแบบการบริหารโรงเรียนที่มี ระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั ดวงใจ บุญหลา้ (2556 : 84-91) ประสิทธิผลประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ คือ การเป็น ศึกษาเรื่อง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งแบบภาวะผูน้ าํ กบั ความ องคก์ รแห่งการเรียนรู้ ผูบ้ ริหารและครูเป็นมืออาชีพ การ มีประสิทธิผลของโรงเรียน ในสังกดั สํานกั งานเขตพ้ืนที่ ประกันคุณภาพ การตรวจสอบได้และน่าเชื่อถือ กรศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ผลการวิจยั พบวา่ ประสิทธิ สภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ การมีวิสัยทัศน์และ ผลของโรงเรียน โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับ วตั ถุประสงคร์ ่วมกนั เนน้ การเรียนการสอน การสอนที่มี มาก สอดคลอ้ งกบั ปรีชา ปัญญานฤพล (2552 : 72-76) วตั ถุประสงค ์ และมีความคาดหวงั ตอ่ นกั เรียนสูง ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่สัมพนั ธ์กบั ประสิทธิผลในการบริหาร ผลการวิจยั ออกมาเช่นน้ีเป็นเพราะวา่ ประสิทธิผล สถานศึกษาขนาดเล็ก สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา หรือผลที่เกิดข้ึนตามมาน้ันดีข้ึนไปดว้ ย และประสิทธิผล นครศรีธรรมราช เขต 4 ผลการวิจยั พบวา่ ประสิทธิผลใน เป็นตวั ช้ีวดั ความสาํ เร็จขององคก์ าร องคก์ ารจะอยรู่ อดมี การบริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายดา้ นอยูใ่ น ผลสําเร็จตามเป้าหมาย การประเมินผลของสถานศึกษามี ระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั พนารัตน์ เสนเกตุ (2554 : 69-73) หนา้ ที่ในการส่งเสริมพฒั นาผลิตเยาวชนให้เป็นพลเมืองที่ ศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมรรถภาพทางการนิเทศของ ดี มีความรู้และความสามารถในการพัฒนาประเทศ การที่ ผูบ้ ริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการปฏิบัติงานใน สถานศึกษาจะมีประสิทธิผลได้น้ันจะต้องได้รับความ โรงเรียนประถมศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัด ร่วมมือจากผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาในการ สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 จัดการศึกษาให้ตรงกับเป้ าหมายและวตั ถุประสงค์จน ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิผลการปฏิบัติ งาน โดย สถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาเกิดประสิทธิภาพและมี ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับ ประสิทธิผลได้ตรงตามเป้าหมาย JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

50 3. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหาร ศึกษาจังหวัดปัตตานี สถานศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ จําแนกตามตัวแปรเพศ โดยภาพรวมพบว่า การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี ครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม จําแนกตามตัวแปรเพศ โดยภาพรวมพบว่า ศึกษาจงั หวดั ปัตตานี ที่มีเพศต่างกนั มีความคิดเห็นที่ไม่ ครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม แตกตา่ งกนั สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของสุริดา หลงั จิ (2556 ศึกษาจงั หวดั ปัตตานี ที่มีเพศต่างกนั มีความคิดเห็นที่ไม่ : 90) ที่ได้ศึกษา ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ แตกต่างกัน สอดคล้องกับงานวิจัยของมานพ ไตรโยธี บริหารงานของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สาํ นกั งานเขต (2552 : 128) ที่ไดศ้ ึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความพึง พ้ืนที่การศึกษานราธิวาส ผลการวจิ ยั พบวา่ เมื่อจาํ แนกตาม พอใจในการปฏิบตั ิงานของขา้ ราชการครูกบั ประสิทธิผล เพศไมแ่ ตกตา่ งกนั การบริหารงานบุคคลในโรงเรียน สังกดั สํานักงานเขต จําแนกตามตัวแปรวุฒิการศึกษา โดยภาพรวม พ้ืนที่การศึกษาสกลนคร เขต 3 ผลการวิจัยพบว่าเมื่อ พบว่า ครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา จาํ แนกตามเพศไมแ่ ตกตา่ งกนั ประถมศึกษาจงั หวดั ปัตตานี ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกนั มี จําแนกตามตัวแปรวุฒิการศึกษา โดยภาพรวม ความคิดเห็นที่ไม่แตกต่างกนั สอดคลอ้ งกบั สุริดา หลงั จิ พบว่า ครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา (2556 : 90) ที่ได้ศึกษา ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ ประถมศึกษาจงั หวดั ปัตตานี ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกนั มี บริหารงานของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สาํ นกั งานเขต ความคิดเห็นที่ไมแ่ ตกตา่ งกนั สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของมา พ้ืนที่การศึกษานราธิวาส ผลการวจิ ยั พบวา่ เมื่อจาํ แนกตาม รีน่า สะนี (2558 : 124) ที่ไดศ้ ึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง เพศไมแ่ ตกตา่ งกนั ภาวะผูน้ าํ กบั การบริหารงานวิชาการของผูบ้ ริหารสถาน จําแนกตามตัวแปรประสบการณ์การทํางานโดย ศึกษาตามความคิดเห็นของขา้ ราชการครู สังกดั สาํ นกั งาน ภาพรวมแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาในจงั หวดั ยะลา พบวา่ เมื่อ เมื่อทาํ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบคู่ที่แตกต่าง จําแนกตามวุฒิการศึกษา ไมแ่ ตกตา่ งกนั กนั 2 คู่ คู่แรก คือ ครูผูส้ อนที่มีประสบการณ์การทาํ งาน จําแนกตามตัวแปรประสบการการณ์ทํางาน โดย 6-10 ปี กบั ครูผูส้ อนที่มีประสบการณ์การทาํ งานนอ้ ยกวา่ ภาพรวมแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 5 ปี และคูท่ ี่สอง คือ ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์การทํางาน เมื่อทาํ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบคู่ที่แตกต่าง 11 ปี ข้ึนไป กบั ครูผสู้ อนที่มีประสบการณ์การทาํ งานนอ้ ย กนั 2 คู่ คู่แรก คือ ครูที่มีประสบการณ์การทาํ งาน 6-10 ปี กวา่ 5 ปี เมื่อเรียงลาํ ดบั ตามค่าเฉลี่ย พบวา่ ครูผูส้ อนที่มี กบั ครูที่มีประสบการณ์การทาํ งานน้อยกวา่ 5 ปี และคู่ที่ ประสบการณ์ในการทาํ งานต่าํ กว่า 5 ปี รองลงมาคือ สอง คือ ครูที่มีประสบการณ์การทํางาน 11 ปี ข้ึนไป กบั ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์การทํางาน 11 ปี และครูผู้สอน ครูที่มีประสบการณ์การทํางานน้อยกว่า 5 ปี เมื่อ ที่มีประสบการณ์การทํางาน 6-10 ปี เรียงลาํ ดบั ตามค่าเฉลี่ย พบวา่ ครูผูส้ อนที่มีประสบการณ์ 5. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการบริหารสถานศึกษา ในการทาํ งานต่าํ กวา่ 5 ปี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ กบั ประสิทธิผลของสถานศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการทํางาน 6-10 ปี และ การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานีโดยรวมมี ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการทํางาน 11 ปีข้ึนไป ความสัมพนั ธ์ทางบวกอยา่ งมีนัยสําคญั ทางสถิติที่ระดับ 4. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิผลของ .01 สถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม 5.1 ความสัมพันธ์ระหว่างด้านวิชาการกับ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

51 ประสิทธิผลของสถานศึกษา มีความสัมพนั ธ์กนั ในระดบั ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า การ ในระดับสูง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 บริหารสถานศึกษากบั ประสิทธิผลของโรงเรียน ในอาํ เภอ สอดคลอ้ งกบั ผลงานวิจยั ของอภิเดช พลเยี่ยม (2556 : 96- คลองหลวง สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม 97) ศึกษาเรื่อง ความสัมพนั ธ์ระหว่างภาวะผูน้ ําทาง ศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยรวมและรายด้านมีความ วิชาการกบั ประสิทธิผลของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สัมพนั ธ์กนั ทางบวกอยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดับ .01 สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 สุริดา หลังจิ (2556 : 98) ศึกษาเรื่อง ประสิทธิ ภาพและ พบว่า ความสัมพนั ธ์ระหว่างภาวะผูน้ ําทางวิชาการกับ ประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา ประสิทธิผลของผบู้ ริหารสถานศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานเขต สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษานราธิวาส ผลการวิจยั พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมและ พบวา่ ประสิทธิภาพและประสิทธิ ผลการบริหารงานของ รายดา้ นมีความสัมพนั ธ์กนั ทางบวกอยา่ งมีนัยสาํ คญั ทาง ผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา สถิติที่ระดับ .01 สอดคลอ้ งกบั ภทั รา พ่ึงไพทูรย ์ (2555 : นราธิวาส โดยรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์กัน 82-83) ศึกษาเรื่อง ความสัมพนั ธ์ระหว่างภาวะผูน้ ําทาง ทางบวกอยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .01 วิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของ 5.3 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดา้ นการบริหารงาน โรงเรียน สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา บุคคลกบั ประสิทธิผลของสถานศึกษามีความสัมพนั ธ์กนั ปราจีนบุรี เขต 1 พบวา่ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งภาวะผูน้ าํ ในระดับในระดับสูง อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .01 ทางวิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษากบั ประสิทธิผลของ สอดคลอ้ งกบั จาํ เรียง นิลพงษ์ (2555 : 91) ศึกษาเรื่อง โรงเรียน สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน ปราจีนบุรี เขต 1 โดยรวมและรายดา้ นมีความสัมพนั ธ์กนั กบั การบริหารงานบุคคลของโรงเรียน สังกดั สํานักงาน ทางบวกอยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 5.2 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดา้ นงบประมาณกบั ผลการวิจยั พบวา่ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการบริหารโดย ประสิทธิผลของสถานศึกษา มีความสัมพนั ธ์กนั ในระดบั ใชโ้ รงเรียนเป็นฐานกบั การบริหารงานบุคคลของโรงเรียน ในระดับสูง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยรวมมีความสัมพนั ธ์กนั ในทิศทางบวกอยใู่ นระดบั สูง สอดคล้องกบั ธนพล มหากาล (2557 : 135-144) ศึกษา อย่างมีนัยสําคญั ทางสถิติที่ระดับ 0.01 สอดคลอ้ งกบั เรื่องความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการบริหารเชิงกลยุทธ์กบั การ เจริญจิตร คงเพ็ชรศรี (2555 : 78-79) ศึกษาเรื่อง ความ บริหารงานงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิใน สัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงกับการ สถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม บริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหารโรงเรียน สังกดั สาํ นกั งาน ศึกษาปทุมธานี เขต 2 พบวา่ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการ เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 3 ผลการวิจยั พบวา่ บริหารเชิงกลยุทธ์กับการบริหารงานงบประมาณแบบ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งภาวะผูน้ าํ การเปลี่ยนแปลงกบั การ มุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิในสถานศึกษา สังกดั สานักงานเขต บริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหารโรงเรียน สังกดั สาํ นกั งาน พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 มีความ เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 3 มีความสมั พนั ธ์กนั สัมพนั ธ์กนั สูง อยา่ งมีนัยสําคญั ทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทางบวกในระดบั สูง อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .01 สอดคลอ้ งกบั ยกุ ตนนั ต ์ หวานฉ่าํ (2555 : 63) ศึกษาเรื่อง สอดคลอ้ งกบอุดมั พินธุรักษ์ (2553 : 100) ศึกษาเรื่อง การบริหารสถานศึกษากบั ประสิทธิผลของโรงเรียน ใน ความสัมพนั ธ์ระหว่างภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงของ อําเภอคลองหลวง สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ผบู้ ริหารสถานศึกษากบั ประสิทธิผลการบริหารงานบุคคล JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

52 โรงเรียนประถมศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ข้อเสนอแนะ อุดรธานี ผลการวจิ ยั พบวา่ ภาวะผนู้ าํ การเปลี่ยนแปลงของ ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ ผบู้ ริหารสถานศึกษากบประสิทธิผลการบริหารงานบุคคลั ด้านวิชาการ มีความสัมพนั ธ์กนั ทางบวก อย่างมีนัยสําคญั ทางสถิติที่ 1. ผูบ้ ริหารควรให้ครูและบุคลากรมีส่วนร่วมในการ ระดับ .01 และสอดคลอ้ งกบั มานพ ไตรโยธี (2552 : 140- วางแผนการบริหารและจัดการด้านวิชาการ 141) ศึกษาเรื่องความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความพึงพอใจใน 2. สถานศึกษาควรมีการจัดทําหลักสูตร การปฏิบัติงานของข้าราชการครูกับประสิทธิผลการ สถานศึกษาให้เหมาะสมและสนองความต้องการของ บริหารงานบุคคลในโรงเรียน สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ ผเู้รียนและทอ้ งถ่ิน การศึกษาสกลนคร เขต 3 ผลการวิจัย พบว่า ความพึง ด้านงบประมาณ พอใจในการปฏิบตั ิงานของขา้ ราชการครูกบั ประสิทธิผล 1. สถานศึกษาต้องจัดจําแผนปฏิบัติการให้ การบริหารงานบุคคลในโรงเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวก สอดคลอ้ งกบั กลยทุ ธ์ของสถานศึกษา อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .01 2. สถานศึกษาต้องเบิกจ่ายงบประมาณให้ 5.4 ความสัมพันธ์ระหว่างด้านการบริหาร สอดคล้องตามแผนปฏิบัติราชการ ทว่ั ไปกบั ประสิทธิผลของสถานศึกษา มีความสัมพนั ธ์กนั ด้านการบริหารงานบุคคล ในระดับในระดับสูง อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .01 1. สถานศึกษาควรมีการนิเทศ ติดตาม การ สอดคลอ้ งกบั อภิชาต ไตรธิเลน (2550 : 137-138) ศึกษา ปฏิบัติงานของครูและบุคลากรอย่างเป็ นระบบและ วิจยั เรื่องสภาพการทาํ งานเป็นทีมในโรงเรียน ที่ส่งผลต่อ สมํ่าเสมอ การบริหารงานท่ัวไปในโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขต 2. สถานศึกษาควรมีการแต่งต้งั ครูและบุคลากร พ้ืนที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 ผลการวิจัยพบวา่ ความ ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมตามความรู้ ความถนัด และ สัมพนั ธ์ระหวา่ งสภาพการทาํ งานเป็นทีมกบั ประสิทธิผล ความสามารถ การบริหารงานทว่ั ไปในโรงเรียนมีความสัมพนั ธ์กนั ใน ดา้ นการบริหารทว่ั ไป เชิงบวก อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 1. สถานศึกษาควรมีการจัดระบบส่งเสริม สอดคลอ้ งกบั พชั ราภรณ์ เย็นมนัส (2558 : 110-112) สนบั สนุนและอาํ นวยความสะดวกในการบริหารงานท้งั 4 ศึกษาเรื่องการศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการทาํ งานเป็น ด้าน ทีมกับการบริหารงานท่ัวไปของสถานศึกษา สังกัด 2. สถานศึกษาควรดําเนินงานด้านธุรการให้มี สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรี ความสะดวกและรวดเร็วมากยง่ิ ข้ึน อยุธยา เขต 1 ผลการวิจยั พบวา่ การทาํ งานเป็นทีมกบั การ บริหารงานทว่ั ไปของสถานศึกษา มีความสัมพนั ธ์กนั ใน ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป ทางบวกระดับสูง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .01 2.1 ควรมีการศึกษา การบริหารสถาน ศึกษา ผลการวิจยั ออกมาเช่นน้ี ผูว้ ิจยั มีความเห็นวา่ ทกั ษะดา้ น กบั ประสิทธิผลของสถานศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาน้ันเป็ นส่วนที่มี การศึกษาประถมศึกษากบั สถานศึกษาในสังกดั องค์กร ความสาํ คญั เป็นอยา่ งมากที่จะทาํ ให้สถานศึกษามีคุณภาพ ปกครองส่วนท้องถ่ิน เพื่อนํามาเปรียบเทียบและนํา และเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน ผลการวจิ ยั มาใชใ้ นการพฒั นาการศึกษาตอ่ ไป ในดา้ นตา่ งๆ 2.2 ควรมีการศึกษาเกี่ ยวกับขอบข่าย JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

53 การบริหารสถานศึกษากบั ประสิทธิผลของสถานศึกษาให้ ศาสตราจารย์ ดร.สมจิตร อุดม ประธานกรรมการสอบ ครอบคลุมท้งั 4 ดา้ น โดยการศึกษาแบบเชิงลึกในแต่ละ วิทยานิพนธ์ที่ให้ความกระจ่าง แนะนํา ช่วยเหลือ ด้าน ตรวจสอบ เสนอแนะข้อมูลอันเป็นประโยชน์ในการวิจัย 2.3 ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อ คร้ังน้ีขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญที่ช่วยตรวจสอบความ ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่ เที่ยงตรงของเครื่องมือและสถานศึกษาที่ให้ความ การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี อนุเคราะห์ทดลองเครื่องมือ ขอขอบพระคุณผู้บริหาร สถานศึกษาในจังหวัดปัตตานีที่ให้ข้อมูลและให้ความ กิตติกรรมประกาศ อนุเคราะห์ในการเกบ็ ขอ้ มูลขา้ ราชการครู โดยได้รับความ การวจิ ยั คร้ังน้ีน้ีสาํ เร็จดว้ ยความกรุณาจาก ผู้มีพระ ร่วมมืออยา่ งดีย่ิง ขอขอบคุณอาจารยท์ ุกท่านทีประสิทธิ คุณท่านแรกคือ ดร.เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์ และ ประสาทวิชา ครอบครัว เพื่อนๆ ที่คอยสนับสนุนและเป็น รองศาสตราจารย์ ดุษฎี มัชฌิมาภิโร อาจารย์ที่ปรึกษา กาํ ลงั ใจ ช่วยในการเก็บขอ้ มูล จัดพิมพ์เข้าเล่มจนสําเร็จ วิทยานิพนธ์ ที่ให้ความช่วยเหลืออยา่ งดีย่ิง โดยได้เอาใจ ลุล่วงไปด้วยดีคุณค่าและประโยชน์อันพึงจะเกิดจาก ใส่ตรวจแกว้ ิทยานิพนธ์ เพื่อให้สมบูรณ์ที่สุด และให้ วิทยานิพนธ์น้ี ผูว้ ิจยั ขอมอบกตญั ญูแด่บิดา มารดาที่คอย กําลังใจแก่ผู้วิจัยตลอดมาขอขอบพระคุณ ผู้ช่วย เป็นกาํ ลงั ใจ ตลอดจนผมู้ ีพระคุณทุกท่าน

เอกสารอ้างอิง กิตติศกั ด์ิ ศรีทอง. (2555). ศึกษาเรื่องภาวะผู้น าของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการบริหารงานของ โรงเรียนขยายโอกาส สังกดั ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3. การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพฒั นาจังหวดั . สํานักงาน. (2553). คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการบริหารงบประมาณ. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี. กาญจนา เกสร. (2555). ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัด ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาคาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ขวัญใจ เดชอุดม. (2554). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของ โรงเรียน สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานีเขต 1. สํานักงาน. (2557). รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2557. ปัตตานี :สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานีเขต 1. เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานีเขต 2. สํานักงาน. (2556). รายงานผลการด าเนินงาน ประจ าปีงบประมาณ2556. ปัตตานี:สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานีเขต 2. เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานีเขต 3. สํานักงาน. (2557). รายงานผลการด าเนินงาน ประจ าปีงบประมาณ2557. ปัตตานี :สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานีเขต 3. JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

54 คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สํานักงาน. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3)พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี, 2553. จิตติมา ธมชยากร (2553). ศึกษาเรื่องการบริหารงานทั่วไปของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองตะกั่วป่าจังหวัดพังงา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เจริญจิตร คงเพ็ชรศรี. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารงานบุคคลของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. ฐิติรัตน์ ฤทธ์ิสมบูรณ์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้น าของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการ บริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. จําเรียง นิลพงษ์. (2555). ความสัมพนั ธ์ระหว่างการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกบั การบริหารงานบุคคลของโรงเรียน สังกดั ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ดวงใจ บุญหล้า. (2556). ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้น ากับความมีประสิทธิผลของโรงเรียน ในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่กรศึกษามัธยมศึกษา เขต 20.วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. ธนพล มหากาล. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารเชิงกลยุทธ์กับการบริหารงานงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลสัมฤทธ์ิในสถานศึกษา สังกดั ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ คณะ ครุศาสตร์อุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ธนิต ทองอาจ. (2553). ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน ในสังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษามุกดาหาร. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). สกลนคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2552). การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS .พิมพค์ ร้ังที่ 10 . นนทบุรี : เอส.อาร์. พริ้นติ้งแมสโปรดกั ส์. ธีรพงษ์ สําเร. (2554). ประสิทธิภาพการบริหารงานวชิ าการของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนมิตรภาพส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. นงลักษณ์ เรือนทอง. (2550). รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผล.วิทยานิพนธ์ดุษฏีบัณฑิต ภาควิชาการบริหาร การศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร. นิเทศน์ ธาตุอินทร์. (2556). การบริหารงานทั่วไปของโรงเรียนขนาดเล็กในเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ในทัศนะ ของผู้บริหารและครูผู้สอน.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่. น ้าเพชร ชาญจึงถาวร. (2554). ระบบสนับสนุนการตดั สินใจ ส าหรับวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารงานงบประมาณ ด้านคุณภาพการศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนสังกดั กรุงเทพมหานคร.มหาวิทยาลัยรามคาแหง . JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

55 เนติกานต์ พัทบุรี. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารงานกับการปฏิบัติงานตามกระบวนการบริหารงาน บุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สังกดั ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาพัทลุง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรม หาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. ปรีชา ปัญญานฤพล. (2552). ศึกษาเรื่องปัจจัยที่สัมพนั ธ์กบั ประสิทธิผลในการบริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 ปาลภัสสร์ อัญบุตร. (2554). ศึกษาเรื่องการศึกษาความตอ้ งการมีส่วนร่วมของผูป้ กครองในการบริหารงานทว่ั ไป โรงเรียนสงั กดั กรุงเทพมหานคร พัชราภรณ์ เย็นมนัส. (2558). ศึกษาเรื่องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการทางานเป็นทีมกับการบริหารงานทั่วไปของ สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสต รมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. พรพรรณ อินทรประเสริฐ. (2550). องค์ประกอบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภัทรา พึ่งไพทูรย์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น าทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของ โรงเรียน สังกดั ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1 วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. มนูญ ร่มแกว้ . (2553). สภาพและปัญหาการบริหารสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐานที่เป็ นนิติบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. มยุรีย์ สมศรี. (2553). ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารและประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา ส านักงานเขต พื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครพนม : มหาวิทยาลัยนครพนม. มานพ ไตรโยธี. (2552). ที่ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูกับ ประสิทธิผลการบริหารงานบุคคลในโรงเรียน สังกดั ส านักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาสกลนคร เขต 3. วิทยานิพนธ ปริญญา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม. มารีน่า สะนี. (2558). ทไี่ ด้ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างภาวะผู้น ากบั การบริหารงานวชิ าการของผู้บริหารสถานศึกษาตาม ความคดิ เห็นของข้าราชการครู สังกัดส านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดยะลา. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. รุสนานี ลอเซ็ง. (2556). ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนอ าเภอบาเจาะ สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ระฑิยา อังคุระษี. ( 2553). ประสิทธิผลของสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สังกดั ส านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 3.วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

56 ยุกตนันท์ หวานฉํ่า. (2555). การบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียน ในอ าเภอคลองหลวง สังกัดส านักงาน เขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี. สิรินารถ แววสง่า (2556). รูปแบบความสัมพนั ธ์เชิงสาเหตุของ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล ของสถานศึกษาสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต.: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สุพล วังสินธุ์. (2545). “การพัฒนาโรงเรียนท้ังระบบเพื่อปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้”. วารสาร ประกนั คุณภาพ. 5 (กรกฎาคม) , 12 - 14. สุริดา หลัง.จิ (2556.). ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพืน้ ที่ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทบยาลัยราชภัฏยะลา. เสาวภาค พงษา. (2552). ศึกษาเรื่องสภาพการบริหารงานทั่วไปในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาอุบลราชธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. อุดม พินธุรักษ์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผล การ บริหารงานบุคคลโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดส านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาอุดรธานี, วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุ ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี. อภิชาต ไตรธิเลน. (2550). ศึกษาเรื่องสภาพการท างานเป็นทีมในโรงเรียน ที่ส่งผลต่อการบริหารงานทั่วไปในโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ คม. (การบริหารการศึกษา).สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. อภิเดช พลเยี่ยม. (2556). ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น าทางวิชาการกับประสิทธิผลของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. เอกลักษณ์ ขาวนวล. (2551). ศึกษาเรื่อง การบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษากาญจนบุรี เขต 4. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

57 ปัจจยั ทมี่ คี วามสัมพนั ธ์กบั คณุ ภาพชีวติ ผู้สูงอายุในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ กรณีศึกษาตาบลบาละ อาเภอกาบัง จังหวัดยะลา Factors Related the Quality of Life among the Elderly in the Southern Border Provinces: A case study of Bala Sub-district, Kabang District, Yala Province มันโซร์ ดอเลาะ1 และ ชมพูนุช สุภาพวานิช2 1นักศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา สถาบันสมทบมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา 2อาจารย์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา

บทคัดย่อ การอยกู่ บั ครอบครัว รายได ้ การเป็นสมาชิกกลุ่ม การเขา้ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา และการนอนหลบั ที่เพียงพอ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ในตําบลบาละ อําเภอกาบัง ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยคร้ังน้ี พบว่า จังหวัดยะลา และเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของ คุณภาพชีวติ ของผสู้ ูงอายอุ ยใู่ นระดบั ปานกลาง ควรมีการ ผู้สูงอายุ ในตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา ตาม จดั กิจกรรมใหค้ วามรู้ในเรื่องของการปฏิบตั ิตนท้งั ในดา้ น ข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยครอบครัว และปัจจัยด้าน ของการรับประทานอาหาร การออกกาํ ลงั กาย การป้ องกนั เศรษฐกิจและสังคม การวิจัยคร้ังน้ีเป็ นการศึกษาใน และจัดการความเครียด และการปฏิบัติศาสนกิจที่ รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) เก็บ เหมาะสมกบั ผูส้ ูงอายุตามบริบทของแต่ละพ้ืนที่ เพื่อใช้ ข้อมูลโดยใชแ้ บบสัมภาษณ์ กลุ่มตวั อยา่ งเป็นผูส้ ูงอายใุ น เป็นแนวทางแก่ผูบ้ ริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งในการ ตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา กลุม่ ตวั อยา่ งท้งั หมด วางแผนพฒั นาคุณภาพชีวติ ที่ดีตอ่ ไป 289 คน มาจากการสุ่มตวั อยา่ งแบบแบ่งช้นั โดยการกาํ หนด คาส าคัญ : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ โควตาร้อยละ 50 ของหมู่บา้ นท้งหมดั 11 หมู่บา้ น โดยการ Abstract จบั ฉลาก จากน้นั กาํ หนดโควตาหมู่ละ ร้อยละ 50 แต่ละ The objectives of this research were to study หมู่บ้านสุ่มตวั อย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย level of quality of life among the elderly in Bala sub- ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบวัดคุณภาพชีวิต district, Kabang district, Yala province and to compare WHOQOL-BREF-THAI มีคา่ ความเชื่อมน่ั 0.82 วิเคราะห์ quality of life among the elderly in Bala sub-district, ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาโดยการแจกแจงความถี่ หา Kabang district, Yala province based each personal ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ information, family factors, economic and social factors. เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตตามข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัย This was a descriptive research with data collection by ครอบครัว และปัจจัยดา้ นเศรษฐกิจและสังคม ของกลุ่ม interviews. The 289 samples which were used with ตวั อยา่ ง โดยใชส้ ถิติ Independent t-test และ One-Way stratified random sampling were from the elderly in Bala ANOVA sub-district, Kabang district, Yala province and 50 ผลการวิจัยพบวา่ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอยูใ่ น percentage of quata from totally 11 villages which each ระดับปานกลางร้อยละ 61.6 ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ คุณภาพชีวิต was used with sample random sampling. The ผูส้ ูงอายอุ ยา่ งมีนัยสําคญั ทางสถิติ คือ ศาสนา อาย ุ ระดบั instruments used in the study were interview and การศึกษา สถานภาพสมรส การออกกาํ ลงั กาย ลกั ษณะ measurement from of quality of life (WHOQOL-BREF- JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

58 THAI) with reliability of 0.82 Frequency distributions, ในศตวรรษที่ 21 ของประเทศไทย กาํ ลงั กา้ วเขา้ สู่ Percentage, and mean were used in data analysis. สังคมผูส้ ูงอายุ โดยพบวา่ ประชากรผูส้ ูงอาย ุ 60 ปีข้ึนไป Independent t-test and One Way ANOVA were used to เพ่ิมจาก 1.5 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2503 เป็น 7.5 ล้านคน ใน compare quality of life based on the personal ปี พ.ศ. 2553 และคาดวา่ จะเพ่ิมถึง 17.7 ล้านคน ในปี พ.ศ. information, family factors, economic and social factors 2573 เมื่อมองถึงสัดส่วนประชากรวยั สูงอายุเพ่ิมสูงข้ึน by the samples เป็นลาํ ดบั เช่นกนั โดยในปี พ.ศ. 2550 ประมาณ 1 ใน 10 The results shows that the elderly have ของประชากรไทยจะเป็นผู้สูงอายุ ในขณะที่แนวโน้ม moderate level of quality of life with percentage of 61.6. ผูส้ ูงอายุอยู่คนเดียวหรืออยู่ลาํ พงั กบั คู่สมรสเพ่ิมมากข้ึน Factors which were statistically significant associated ซ่ึงมีผลต่อการให้การดูแลผูส้ ูงอายุท้ังทางร่างกายและ with quality of life of these elderly were religious, age, จิตใจ อายุย่ิงสูงย่ิงเกิดความเสื่อมถอยของร่างกาย พบวา่ education level, marriage status, exercise ability, family ผูส้ ูงอายุเกินคร่ึง ร้อยละ 57.7 มีปัญหาด้านการมองเห็น characteristics, income, group membership, participation การได้ยิน การหกล้ม จากปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ in religious activities and enough sleep ดงั กล่าว ทาํ ให้มีค่าใช่จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาล เกิด The suggestions for this study were for the ปัญหาและภาระด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม ในระดับ practices in everyday life by the elderly and the elderly’s บุคคล ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ (สาํ นกั ส่งเสริม quality of life being at moderate level it should create สุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2556: 5) activities providing knowledge about conducts in terms วัยสูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ of eating, exercise, stress prevention and management, ของร่างกาย การทาํ หนา้ ที่ของร่างกายลดลง ทาํ ให้เสี่ยงต่อ suitable religious activities to the elderly based on area การเกิดโรค โดยเฉพาะโรคเร้ือรังซ่ึงเป็ นปัญหาทาง context in order to be a guideline for administrators and สุขภาพที่สําคัญของผู้สูงอายุ ในประเทศไทยมีผู้สูงอายุ sectors concerned in further planning to have better ป่ วยดว้ ยโรคเร้ือรังมากกวา่ คร่ึง คือร้อยละ 54.9 จากการ quality of life. สํารวจในปี พ.ศ.2546 – 2552 พบวา่ โรคเร้ือรังที่ผูส้ ูงอายุ Keywords : Factors Related, Quality of Life, Elderly: เป็นมาก 3 ลําดับ คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคของ ______ต่อมไร้ท่อ โรคระบบกล้ามเน้ือกระดูกและข้อ จาก บทน า รายงานการศึกษาเกี่ยวกับผู้สูงอายุไทย พบว่าระดับ ปัจจุบนั สถานการณ์ประชากรที่กาํ ลงั ไดร้ ับความ สุขภาพมีความสัมพันธ์ทางลบกับอายุ กล่าวคือ เมื่อ สนใจมากที่สุดในสังคมโลก คือ โครงสร้างประชากรที่ ผูส้ ูงอายุมีอายุมากมีแนวโน้มที่จะมีสุขภาพไม่ดี มีโรค กาํ ลงั มีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งต่อเนื่อง ทาํ ให้สังคมโลกเขา้ ประจําตัวเพ่ิมข้ึน มีการสํารวจประชากรสูงอายุใน สู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ซึ่งองค์การ ประเทศไทย พ.ศ. 2550 พบว่าผูส้ ูงอายุประเมินภาวะ สหประชาชาติ (UN) ได้ให้นิยามว่า ประเทศใดมี สุขภาพของตนเองวา่ มีสุขภาพดีเพียงร้อยละ 43 สุขภาพ ประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึนไป มีอตั ราส่วนเกินร้อยละ 10 ปานกลาง ร้อยละ 28.29 สุขภาพไม่ดี ร้อยละ 21.5 และ ถือว่าประเทศน้ันได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging สุขภาพไมด่ ีมากๆ ร้อยละ 2.8 ปัจจยั ที่มีความสัมพนั ธ์ต่อ Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged สภาวะสุขภาพของผสู้ ูงอาย ุ ไดแ้ ก่ การรับประทานอาหาร Society) เมื่อมีอตั ราส่วนเพ่ิมข้ึนร้อยละ 20 การออกกาํ ลงั กาย การพกั ผอ่ นนอนหลบั ระดบั การศึกษา JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

59 การประกอบอาชีพ การคมนาคม บทบาทและ จาํ เป็นอยา่ งยง่ิ โดยเนน้ หนกั ในการเตรียมความพร้อมของ สัมพนั ธภาพ การที่ระดบั ภาวะสุขภาพแตกต่างกนั อาจทาํ ผสู้ ูงอาย ุ ครอบครัว ชุมชน และสงั คม ในเรื่องการป้ องกนั ให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุแตกต่างกันออกไป โดย ส่งเสริม ฟ้ื นฟู และรักษาสุขภาพของตนเอง เพื่อให้ คุณภาพชีวิต หมายถึง การรับรู้ความพึงพอใจและการรับรู้ ผูส้ ูงอายุเหล่าน้ันมีสุขภาพสมบูรณ์ท้งั ทางร่างกาย จิตใจ สถานะดา้ นร่างกาย จิตใจ ความสัมพนั ธ์ทางสังคม และ อารมณ์ และสังคม ตลอดจนสนับสนุนให้สามารถ สภาพแวดล้อมของบุคคลในการดํารงชีวิตในสังคม ดํารงชีวิตได้อย่างมีคุณค่า มีความสุข และได้รับความ (จีราพร ทองดี และคณะ, 2553: 90) คุ้มครองจากสังคม ผู้วิจัยในฐานะบุคลากรทางด้าน การมีคุณภาพชีวติ ที่ดีเป็นส่ิงที่ทุกคนพึงปรารถนา สาธารณสุข ซึ่งมีบทบาทในการดูแลสุขภาพของ แต่การที่จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีไดต้ อ้ งข้ึนอยูก่ บั ปัจจยั ดา้ น ประชาชน โดยผู้วิจัยจะนําผลของการศึกษาไปใช้เป็น ตา่ งๆ ที่เป็นองค์ประกอบมากมาย องค์การอนามัยโลกได้ ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ เสนอตอ่ ผบู้ ริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง กาํ หนดองคป์ ระกอบสาํ คญั ของคุณภาพชีวิตที่ดีไว ้ 4 ด้าน ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในตําบล คือ ดา้ นร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม บาละ อาํ เภอกาบัง จังหวดั ยะลาและเป็นประโยชน์แก่ และด้านส่ิงแวดล้อม ซ่ึงสถานการณ์ความไม่สงบใน พ้ืนที่อื่นๆ ตอ่ ไป จงั หวดั ชายแดนภาคใตเ้ ป็นภยั คุกคามต่อคุณภาพชีวิตที่ดี ในทุกๆ ด้านของประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ วิธีการวิจัย สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพยส์ ิน และสร้างความ การวจิ ยั คร้ังน้ีเป็นการศึกษาในรูปแบบการวิจัยเชิง ตื่นตระหนกไปท้งั ชุมชนและประเทศ ส่งผลกระทบต่อ พรรณนา (Descriptive research) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพ ร่างกายและจิตใจของผูท้ ี่อยู่ในเหตุการณ์ และขยายวง ชีวิตของผู้สูงอายุในตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา กวา้ งออกไปจากผูท้ ี่ไดร้ ับผลกระทบโดยตรงสู่ครอบครัว และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตตามขอ้ มูลปัจจยั ส่วนบุคคล และชุมชน (กรรณิกา เรืองเดช และคณะ, 2556: 15) ปัจจยั ดา้ นครอบครัว และปัจจยั ดา้ นเศรษฐกิจและสังคม ผู้สูงอายุในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีสังคม ของผู้สูงอายุในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรณีศึกษา ตําบล วัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีชีวิตตลอดจนขนบธรรมเนียม บาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา ประชากรที่ใช้ใน ประเพณีที่แตกต่างจากผูส้ ูงอายใุ นพ้ืนที่อื่น ย่ิงไปกวา่ น้ัน การศึกษาคร้ังน้ี คือ ผูส้ ูงอายุ 60 ปี ข้ึนไปที่อาศัยอยู่ใน ยงั ตอ้ งประสบกบั เหตุการณ์ความไม่สงบต่างๆ และอยใู่ น ตําบลบาละอําเภอกาบัง ซึ่งประกอบด้วย 11 หมู่บ้าน สถานการณ์ที่ไม่ปลอดภยั ซ่ึงอาจทาํ ให้ภาวะสุขภาพและ จํานวน 1,035 คน (สํานักงานสาธารณสุขอําเภอกาบัง, คุณภาพชีวติ มีความแตกตา่ งกบั ผสู้ ูงอายใุ นพ้ืนที่อื่น ตาํ บล 2558) กลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี คือ ผู้สูงอายุ บาละมีประชากรผู้สูงอายุ จํานวน 1,035 คน จาก จํานวน 289 คน โดยใช้สูตร Yamane ที่ระดบั ความเชื่อมน่ั ประชากรท้งั หมด 12,181 คน คิดเป็นร้อยละ 8.50 โดยมี ร้อยละ 95 และค่าความคลาดเคลื่อนในการสุ่มเท่ากบั พ้ืนที่รับผิดชอบ 11 หมู่บา้ น ประชากรส่วนใหญ่นบั ถือ 0.05 การสุ่มกลุม่ ตวั อยา่ ง ใชก้ ารสุ่มแบบแบ่งช้นั (Stratified ศาสนาอิสลาม คิดเป็นร้อยละ 72.5 ป่ วยเป็ นโรคเร้ือรัง Random Sampling) โดยการกาํ หนดโควตาร้อยละ 50 ของ ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 19.8 และ หมู่บ้านท้ังหมด 11 หมู่บ้าน โดยการจับฉลาก ได้มา 6 14.0 (บัญชีสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพอาํ เภอ หมู่บา้ น คือ หมู่ที่ 2, 5, 7, 8, 9 และ 11 คาํ นวณกลุ่มตวั อยา่ ง กาบัง, 2558) ของแต่ละหมู่บา้ น โดยใชส้ ูตร แต่ละหมู่บา้ นสุ่มตวั อยา่ ง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ จึงมีความ อยา่ งง่ายดว้ ยการจบั ฉลากตวั แทนผูส้ ูงอายตุ ามรายชื่อของ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

60 ผู้สูงอายุเรียงตามบ้านเลขที่ลักษณะของเครื่องมือการวิจัย เท่าไร สามารถเปรียบเทียบกบั เกณฑป์ กติที่กาํ หนด ดงั น้ี เครื่องมือการวิจัย แบ่งเป็น 2 ส่วน ไดแ้ ก่ แบบสัมภาษณ์ คะแนน 26 – 60 คะแนน แสดงถึงการมีคุณภาพชีวิตตํ่า ขอ้ มูลส่วนบุคคล ปัจจัยครอบครัว และปัจจยั เศรษฐกิจ คะแนน 61 – 95 คะแนน แสดงถึงการมีคุณภาพชีวิตปาน และสังคม จํานวน 15 ข้อ ไดแ้ ก่ แบบสมั ภาษณ์ขอ้ มูลส่วน กลางคะแนน 96 – 130 คะแนน แสดงถึงการมีคุณภาพ บุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อาย ุ ศาสนา สถานภาพการสมรส ระดับ ชีวิตสูง การวิเคราะห์ข้อมูลผลการศึกษาขอ้ มูลส่วนบุคคล การศึกษา การดื่มเหลา้ การสูบบุหรี่ และการออกกาํ ลัง ของผู้สูงอายุ ปัจจยั ดา้ นครอบครัว และปัจจยั ดา้ นเศรษฐกิจ กาย รวมเป็น 8 ข้อ ปัจจัยด้านครอบครัว ลักษณะ และสังคม ในตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา โดย ครอบครัว จํานวน 1 ขอ้ และปัจจัยดา้ นเศรษฐกิจและ แสดงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน สังคม ประกอบดว้ ย รายได ้ การเป็นสมาชิกกลุ่ม การเข้า มาตรฐาน และคา่ เฉลี่ยของประชากรสองกลุ่มที่อิสระต่อกนั ร่วมกิจกรรมทางศาสนา โรคประจาํ ตวั และการพกั ผอ่ นที่ (Independent t-test) และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของ เพียงพอ และอาชีพ จํานวน 6 ข้อ และแบบวัดคุณภาพ ผู้สูงอายุ ในตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา ตาม ชีวิต WHO QOL–BREF–THAI ของนายแพทย์สุวัฒน์ ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัว และปัจจัย มหัตนิรันดร์กุล (2540: 6) ที่ปรับปรุงจากแบบวัดคุณภาพ ดา้ นเศรษฐกิจและสังคม และค่าเฉลี่ยของประชากรสอง ชีวิตขององค์การอนามัยโลก ซึ่งเป็นแบบวัดมาตรฐาน ซึ่ง กลุ่มที่อิสระต่อกนั (Independent t-test) และ One Way ประกอบไปด้วยข้อคําถาม 26 ข้อ ครอบคลุมองค์ประกอบ ANOVA ของคุณภาพชีวิต 4 ด้าน ดงั น้ี ดา้ นร่างกาย (physical domain) คือ การรับรู้สภาพทางดา้ นร่างกายของบุคคล ซึ่ง ผลการวิจัย มีผลต่อชีวิตประจาํ วนั จํานวน 7 ข้อ คือ ข้อ 2, 3, 4, 10, ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้สูงอายุกลุ่มตัวอย่าง 11, 12 และ 24 มีข้อคําถามที่มีความหมายด้านลบ 2 ข้อ ประกอบด้วย เพศ อายุ ศาสนา ระดับการศึกษา สถานภาพ คือ ข้อ 2 และ 11 ด้านจิตใจ (psychological domain) คือ สมรส การดื่มเหลา้ การสูบบุหรี่ และการออกกาํ ลงั กาย การรับรู้สภาพทางจิตใจของตนเอง จํานวน 6 ข้อ คือ ข้อ ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย 5, 6, 7, 8 และ 23 มีข้อคําถามที่มีความหมายด้านลบ 1 ข้อ ร้อยละ 54.0 อายอุ ยใู่ นช่วง 60 – 64 ปี ร้อยละ 53.3 นับถือ คือ ข้อ 9 ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม (social ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 54.0 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ relationships domain) คือ การรับรู้เรื่องความสัมพันธ์ของ ไม่ไดเ้ รียน ร้อยละ 38.4 ไม่ดื่มเหลา้ ร้อยละ 89.3 ไม่สูบ ตนกบั บุคคลอื่น การรับรู้ถึงการที่ไดร้ ับความช่วยเหลือ บุหรี่ ร้อยละ 84.4 และผสู้ ูงอายสุ ่วนใหญอ่ อกกาํ ลงั กายเป็น จากบุคคลอื่นในสังคมจํานวน 3 ข้อ คือ ข้อ 13, 14 และ 25 ประจํา ร้อยละ 44.6 มีข้อคําถามที่มีความหมายด้านบวกท้ังหมดและด้าน ขอ้ มูลปัจจัยครอบครัวของผูส้ ูงอายุกลุ่มตวั อยา่ ง ส่ิงแวดลอ้ ม (environmental domain) คือ การรับรู้เกี่ยวกบั ผลการศึกษา พบวา่ กลุ่มตวั อยา่ งส่วนใหญ่อยูก่ บั คู่สมรส ส่ิงแวดลอ้ ม ที่มีผลต่อการดําเนินชีวิต จํานวน 8 ข้อ คือ ร้อยละ 76.8 รองลงมา อยู่เพียงลาํ พงั และมีเพียงร้อยละ ข้อ 15, 16, 17, 18, 19, 20, 21 และ 22 มีข้อคําถามที่มี 15.6 และอยกู่ บั บุตร/ญาติ ร้อยละ 7.6 ความหมายด้านบวกท้ังหมดลกั ษณะคาํ ถามเป็นคาํ ถาม ขอ้ มูลปัจจยั เศรษฐกิจและสังคมของผูส้ ูงอายกุ ลุ่ม แบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ คือ ตวั อยา่ ง ประกอบดว้ ย รายได ้ การเป็นสมาชิกกลุม่ การเขา้ 5, 4, 3, 2, 1 คะแนนคุณภาพชีวติ มีคะแนน ต้งั แต ่ 26 – 130 ร่วมกิจกรรมทางศาสนา โรคประจาํ ตวั การพกั ผอ่ น และ คะแนน โดยเมื่อผู้ตอบรวมคะแนนทุกข้อได้คะแนน อาชีพ ผลการศึกษาพบวา่ กลุ่มตวั อยา่ งส่วนใหญ่ มีรายได้ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

61 ที่เพียงพอ ร้อยละ 61.6 ไม่เป็นสมาชิกกลุ่มต่างๆ ร้อยละ ส่วน โรคประจําตัว และอาชีพที่แตกต่างกัน พบว่า 54.0 มีการเขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาเป็นประจาํ ร้อยละ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัด 61.6 ไม่มีโรคประจาํ ตวั ร้อยละ 62.3 มีการพกั ผอ่ นที่ไม่ ยะลา ไม่มีความแตกต่างกนั ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ เพียงพอ ร้อยละ 54.0 และส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 47.8 อภิปรายผล คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุกลุ่มตัวอย่าง พบว่า การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของ คุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุกลุ่มตวั อย่าง มีคุณภาพชีวิตอยู่ ผู้สูงอายุในจังหวัดชายแดนภาคใต้กรณีศึกษาตําบลบาละ ในระดับปานกลาง ร้อยละ 61.6 รองลงมามีคุณภาพชีวิต อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา การวิจยั คร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์ อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 38.4 มีค่าคะแนนคุณภาพชีวิต เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ในตําบลบาละ สูงสุด 135 คะแนน และค่าคะแนนคุณภาพชีวิตต่าํ สุด 61 อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา และเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพ คะแนน โดยมีคา่ คะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 89.01 คะแนน ชีวิตของผู้สูงอายุ ในตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา การเปรียบเทียบคุณภาพชีวติ ตามขอ้ มูลส่วนบุคคล ตามขอ้ มูลส่วนบุคคล ปัจจัยครอบครัว และปัจจัยด้าน กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ได้แก่ เพศ อายุ ศาสนา เศรษฐกิจและสงั คม สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา การดื่มเหล้า การสูบ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ พบวา่ คุณภาพชีวิตของ บุหรี่ และการออกกาํ ลงั กาย ผูส้ ูงอายุกลุ่มตวั อยา่ ง อยูใ่ นระดบั ปานกลาง ร้อยละ 61.6 เพศ การดื่มเหลา้ การสูบบุหรี่ที่แตกต่างกนั พบวา่ รองลงมามีคุณภาพชีวิตอยใู่ นระดบั สูง ร้อยละ 38.4 และ คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัด ไม่พบมีคุณภาพชีวีตอยู่ในระดับต่าํ ท้ังน้ีเพราะผูส้ ูงอายุ ยะลา ไม่มีความแตกต่างกนั ทางสถิติ ส่วน อายุ ศาสนา เป็นบุคคลที่เจ็บป่ วยได้ง่ายกว่าบุคคลในวยั อื่น สุขภาพ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส การออกกาํ ลังกายที่ ร่างกายไมแ่ ขง็ แรงเหมือนเคย มีการเปลี่ยนแปลงทางดา้ น แตกต่างกนั พบว่า คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ตําบลบาละ ร่างกาย เป็นอุปสรรคทาํ ให้ไม่สามารถทาํ ในส่ิงที่ตอ้ งการ อาํ เภอกาบัง จังหวดั ยะลา มีความแตกต่างกันที่ระดับ ได้เหมือนเดิม ทาํ ให้รู้สึกวิตกกงั วล ตอ้ งพ่ึงพาสมาชิกใน นัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ครอบครัวมากข้ึน ทาํ ให้มีโอกาสไดเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมกบั การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตตามข้อมูลปัจจัยด้าน เพื่อนบ้านหรือสังคมลดลง ทาํ ให้เกิดความพึงพอใจใน ครอบครัว ไดแ้ ก่ ลกั ษณะครอบครัว ที่แตกต่างกนั พบวา่ คุณภาพชีวิตที่เป็ นอยู่ในระดับปานกลางเท่าน้ัน ซ่ึง คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัด สอดคลอ้ งกบั การศึกษาของ สมรัตน์ ขาํ มาก (2554: 54) ยะลา มีความแตกตา่ งกนั ที่ระดบั นยั สาํ คญั ทางสถิติที่ .05 ได้ศึกษาคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุในเขตอาํ เภอสทิ้งพระ การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตตามข้อมูลปัจจัยด้าน จงั หวดั สงขลา พบวา่ ระดบั คุณภาพชีวิตของกลุ่มตวั อยา่ ง เศรษฐกิจและสงั คม ประกอบดว้ ย รายได ้ การเป็นสมาชิก ตามองคป์ ระกอบคุณภาพชีวติ ท้งั โดยรวม และรายดา้ นอยู่ กลุ่ม การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา โรคประจาํ ตวั การ ในระดับกลางๆ และสอดคลอ้ งกบั การศึกษาของจีราพร พกั ผ่อนที่เพียงพอ และอาชีพ พบว่า รายได้ การเป็ น ทองดี ดาราวรรณ รองเมือง และฉันทนา นาคฉัตร (2553: สมาชิกกลุ่ม การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา การนอน 95) ได้ศึกษาภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ หลับที่เพียงพอ ที่แตกต่างกัน ที่แตกต่างกัน พบว่า ในจังหวดั ชายแดนภาคใต ้ พบว่า คุณภาพชีวิตโดยรวม คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัด ของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ยะลา มีความแตกต่างกนั ที่ระดบั นยั สาํ คญั ทางสถิติที่ .05 เนื่องจากผสู้ ูงอายสุ ่วนใหญเ่ ป็นวยั ผสู้ ูงอายตุ อนตน้ ซ่ึงยงั มี JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

62 สุขภาพดี ไมม่ ีขอ้ จาํ กดั ในการทาํ กิจกรรมต่างๆ ทาํ ให้เกิด คง, 2553) และสอดคลอ้ งกบั การศึกษาของอารดา ธีระ ความพึงพอใจที่สามรถปฏิบัติกิจวตั รประจําวนั ดูแล เกียรติกาํ จร (2554: 15) ได้ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุใน ตนเองและประกอบอาชีพได้ ผู้สูงอายุที่ยังสามารถทํางาน เขตเทศบาลตําบลสุเทพ อําเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ ได ้ ช่วยเหลือตวั เองได ้ สามารถปฏิบตั ิกิจวตั รประจาํ วนั ได้ พบวา่ เพศ เป็นปัจจยั ที่ไม่มีผลต่อระดบั คุณภาพชีวิตของ ดี ส่งผลให้ผูส้ ูงอายเุ กิดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง รู้สึก ผู้สูงอายุ กล่าวไดว้ า่ ผูส้ ูงอายไุ ม่วา่ เป็นเพศชายหรือเพศ ว่าชีวิตมีความหมาย และรู้สึกพึงพอใจในชีวิต และ หญิงยอ่ มไมม่ ีผลทาํ ใหร้ ะดบั คุณภาพชีวติ เปลี่ยนไป สอดคล้องกับการศึกษาของวิไลพร ขําวงษ์ และคณะ อาย ุ พบวา่ อายทุ ี่แตกตา่ งกนั ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต (2554: 36) ไดศ้ ึกษาปัจจยั ที่มีความสัมพนั ธ์กบั คุณภาพ ของผสู้ ูงอายตุ า่ งกนั ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั แนวคิดความสูงอาย ุ ชีวิตของผูส้ ูงอายุ ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพชีวิตของ ไดแ้ ก่ ความสูงอายตุ ามสภาพร่างกาย (Biological) Aging) ตนเองอยู่ในระดับปานกลางท้ังรายด้านและ โดยรวม เป็นการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างและหน้าที่การทํางาน ท้ังน้ีอาจเนื่องมาจากผูส้ ูงอายุในตาํ บลบางกร่าง อาํ เภอ ของร่างกายที่เกิดข้ึนตลอดช่วงชีวิต บุคคลอาจจะมีการ เมือง จังหวัดนนทบุรี ส่วนใหญ่มีอายอุ ยใู่ นช่วง 60 - 69 ปี เปลี่ยนแปลงของอวัยวะหรือระบบในบางส่วนของ โดยคิดเป็นร้อยละ 44.8 ซ่ึงกลุ่มน้ีจดั อยูใ่ นกลุ่มผูส้ ูงอายุ ร่างกายซ่อนเร้นอยูแ่ ละมีการเปลี่ยนแปลงเพ่ิมมากข้ึนที ระดับต้น ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาไปยงั ไม่ ละนอ้ ยตามอาย ุ เช่น ผมเร่ิมเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือเทา ผิง มาก ยงั พอที่จะช่วยเหลือตนเองและปฏิบัติกิจวตั ร หนังเหี่ยวยน่ มองเห็นและการได้ยิน การตอบสนองต่อ ประจาํ วนั ตา่ งๆ ได้ด้วยตนเอง เหตุการณ์ตา่ งๆ ช้าลงและเสี่ยงต่อการเกิดโรคไดง้ ่าย เป็น การเปรียบเทียบคุณภาพชีวติ ตามขอ้ มูลส่วนบุคคล ต้น ความสูงอายุตามความสามารถของบุคคลในการทํา ได้แก่ เพศ อายุ ศาสนา สถานภาพการสมรส ระดับ หน้าที่ในสังคม (functional Aging) เป็นการพิจารณาจาก การศึกษา รายได ้ และลกั ษณะที่อยอู่ าศยั หลกั การที่วา่ บุคคลมีอายเุ ท่ากนั มีความสามารถในการทาํ เพศ พบวา่ เพศที่แตกตา่ งกนั ส่งผลตอ่ คุณภาพชีวิต หน้าที่ของร่างกายในการทํากิจวตั รประจําวนั ต้องการ ของผูส้ ูงอายไุ ม่แตกต่างกนั เพราะวยั สูงอายไุ ม่วา่ จะเป็น พึ่งพาบุคคลในครอบครัวการพิจารณาความสูงอายุตาม ผูส้ ูงอายุเพศใดก็เป็นวยั ที่มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย หลกั การน้ีมีประโยชน์และสอดคลอ้ งกบั หลกั การในการ ไปในทางที่เสื่อม ทาํ ให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคเร้ือรังและ ดูแลสุขภาพของบุคคลต่อปัญหาสุขภาพที่กําลังหรือ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอาย ุ สอดคลอ้ งกบั ภาวะเสี่ยงต่อปัญหา ความสูงอายุตามสภาพจิตใจ ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and Tear theory) ทฤษฎีน้ี (Psychological Aging) เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ไดเ้ ปรียบเทียบส่ิงที่มีชีวติ คลา้ ยกบั เครื่องจกั ร ซ่ึงเมื่อมีการ การรับรู้ในตนเองและการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ใช้งานไปนานๆ จะเกิดความผิดปกติข้ึน แต่มนุษยแ์ ละ ของร่างกายซ่ึงความสูงอายุดา้ นจิตใจน้ีไดร้ ับอิทธิพลมา เครื่องจักรจะแตกต่างกัน เพราะมนุษย์สามารถที่จะ จากสภาพร่างกาย เช่น ระบบหวั ใจและหลอดเลือด ระบบ ซ่อมแซมตวั เองและใชง้ านตอ่ ไปได ้ เช่น เน้ือเยื่อบางชนิด ไต และการเปลี่ยนแปลงของสมองที่มีผลต่อและความจาํ ไดแ้ ก่ ผิวหนงั เยื่อบุอาหาร เม็ดโลหิตแดง เซลล์ที่เกิดข้ึน การเรียนรู้ แรงจูงใจและภาวะอารมณ์ และความสูงอายุ ใหม่จะทดแทนเซลล์เก่าที่เสื่อมโทรมแล้ว เพื่อให้ ตามสภาพสังคม (Social Aging) เป็นการเปลี่ยนแปลง ส่ิงมีชีวิตมีความชราน้อยที่สุด ส่วนเซลล์บางชนิดที่ ทางด้านสังคมของผู้สูงอายุ ซึ่งรวมถึงการเปลี่ยนแปลง แบ่งตวั ไม่ไดเ้ มื่อเขา้ สู่วยั ผูใ้ หญ่ เช่น เซลล์ประสาทและ พฤติกรรมการเข้าสังคม ความคาดหวังและบทบาททาง เซลลก์ ลา้ มเน้ือลาย จะเสื่อมโทรมและตาย (อรวรรณ แผน สงั คมที่ไดร้ ับอิทธิพลมาจากความสูงอายทุ างดา้ นร่างกาย JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

63 และจิตใจคือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนในแต่ละมิติของ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในทางที่ดี ซึ่ง บุคคลซ่ึงมีลักษณะที่ต้องการดูแลที่ละเอียดอ่อนและ สอดคลอ้ งกบั การศึกษาของศิรินุช ฉายแสง (2553) ได้ แตกตา่ งจากวยั อื่นๆ (อุทัย หิรัญโต, 2526: 67-68) ศึกษาปัจจยั ที่มีความสัมพนั ธ์กบั คุณภาพชีวิตผูส้ ูงอาย ุ ใน ศาสนา พบว่า ศาสนาที่แตกต่างกันส่งผลต่อ จังหวัดอํานาจเจริญ พบว่า ตัวแปรพยากรณ์ที่ดีของ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุต่างกัน ซ่ึงสอดคล้องกับ คุณภาพชีวติ ไดแ้ ก่ความเชื่อความสามารถตนเองในการมี การศึกษาของจีราพร ทองดี และคณะ (2553: 96) ได้ศึกษา คุณภาพชีวิตที่ดี การได้รับแรงสนับสนุนจากผู้นําชุมชน ภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัด และชาวบ้าน การรับรู้ประโยชน์ของการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ชายแดนภาคใต ้ พบวา่ ผูส้ ูงอายสุ ่วนใหญ่เป็นวยั ที่มีความ อาชีพหลัก การได้รับแรงสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ ผูกพนั กบั ศาสนา เมื่ออายมุ ากข้ึนบุคคลจะมีความศรัทธา สาธารณสุขและสถานภาพ โดยมีสมั ประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ เชื่อมน่ั ในศาสนาและมีศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ พหุคูณเท่ากบั .739 ตวั แปรพยากรณ์ชุดน้ีร่วมกนั สามารถ มากข้ึน ผลการศึกษาคร้ังน้ีกลุ่มตวั อยา่ งที่ศึกษาส่วนใหญ่ พยากรณ์คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ได้ร้อยละ 54.6 และมีความ เป็นผสู้ ูงอายมุ ุสลิม ซ่ึงจะปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั สอนทางศาสนา คลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ เท่ากบั .387 อยา่ งเคร่งครัด ท้งั น้ีเนื่องจากการไดร้ ับการอบรมส่ังสอน ระดบั การศึกษา พบวา่ ระดบั การศึกษาที่แตกต่าง ให้ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาต้ังแต่ยังเยาว์วัย มีการ กันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุแตกต่างกัน ซ่ึง ปลูกฝังเรื่องหลกั ศาสนา ทาํ ให้ศาสนาฝังลึกอยูก่ บั มุสลิม สอดคล้องกับการศึกษาของวิไลพร ขําวงษ์ และคณะ จนยากที่จะแยกออกจากกนั ได ้ ผูส้ ูงอายมุ ุสลิมมีความเชื่อ (2554: 36) ไดศ้ ึกษาปัจจยั ที่มีความสัมพนั ธ์กบั คุณภาพ และศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ เชื่อวา่ เป็นผูส้ ร้างทุกส่ิงในโลกน้ี ชีวิตของผู้สูงอายุในตําบลบางกร่าง อําเภอเมือง จังหวัด ความเชื่อดังกล่าวส่งผลให้มุสลิมมีที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ นนทบุรี พบวา่ การศึกษามีความสัมพนั ธ์อยา่ งมีนยั สาํ คญั สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนได ้ ทางสถิติกบั คุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุ การศึกษามีผลต่อ นอกจากน้ีผู้สูงอายุมุสลิมส่วนใหญ่จะมีการจัดการ ผู้สูงอายุในเรื่องความรู้และความสามารถในการดูแล ความเครียดของตนเอง โดยใชศ้ รัทธาต่อพระเจา้ และการ ตนเองจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์คุณภาพชีวิตของ ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา ซ่ึงการปฏิบัติดังกล่าว กลุ่มตวั อย่างกบั ปัจจัยส่วนบุคคลด้านการศึกษา พบว่า ก่อใหเ้ กิดผลดีตอ่ สุขภาพจิต ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั การกฤษณา การศึกษามีความสัมพนั ธ์ทางบวกกบั คุณภาพชีวิตอยา่ งมี โดยพิลา (2550) ได้ศึกษาเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพจิต นัยสําคัญทางสถิติ โดยผู้สูงอายุที่มีระดับการศึกษาสูงจะ และจิตวิญญาณของผูส้ ูงอายุมุสลิม จงั หวดั สตูล ที่พบวา่ ประเมินคุณภาพชีวติ อยใู่ นระดบั ที่ดีกวา่ ผสู้ ูงอายทุ ี่มีระดบั ผู้สูงอายุมุสลิมจังหวัดสตูลมีการสร้างเสริมสุขภาพจิตและ ตํ่า การศึกษาเป็นปัจจยั ที่สาํ คญั ต่อการพฒั นาความรู้ ช่วย จิตวิญญาณในระดับสูง โดยเฉพาะเรื่องการขอพร ส่งเสริมให้บุคคลมีสติปัญญา ใฝ่รู้และคิดอยา่ งมีเหตุผล ต่ออลั ลอฮฺ เพื่อให้ตนเองรู้สึกมน่ั คงปลอดภัย และรู้สึก สามารถแกป้ ัญหาหรือสถานการณ์ต่างๆ ที่เข้ามาในชีวิต อบอุน่ ใจ สามารถดาํ รงชีวิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง สถานภาพสมรส พบว่า สถานภาพสมรสที่ เมื่อเผชิญกบั ความเจ็บป่ วย จะพยายามแสวงหาความรู้ ทํา แตกต่างกนั ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายตุ ่างกนั ผล ใหเ้ ขา้ ใจเรื่องตา่ งๆ เกี่ยวกบั โรคของตน จึงมีแนวโน้มที่จะ การศึกษา ผูส้ ูงอายุส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ ปฏิบัติตามแผนการรักษาเพื่อควบคุมภาวะความเจ็บป่วย 77.2 ซ่ึงผูส้ ูงอายุจะมีความรู้สึกวา่ ตนเองไม่ได้อยู่เพียง ด้วยความเข้าใจ ลาํ พงั มีคนคอยดูแล ไม่ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลาํ พงั ซ่ึง JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

64 การดื่มเหล้า พบว่า การดื่มเหลา้ ที่แตกต่างกัน ส่วนใหญอ่ าศยั อยกู่ บั คูส่ มรส ร้อยละ 62.0 รองลงมาคืออยู่ ส่งผลคุณภาพชีวติ ผสู้ ูงอายไุ มแ่ ตกตา่ งกนั ซ่ึงกลุ่มตวั อยา่ ง กบั บุตรหรือญาติ ร้อยละ 30.5 มีเพียงร้อยละ 7.5 ที่อยู่ ที่มีการดื่มเหล้ามีเพียง ร้อยละ 10.7 ซ่ึงนบั วา่ นอ้ ยมาก ซ่ึง เพียงลําพัง ซึ่งสอดคลอ้ งกบั การศึกษาของชุติเดช เจียน จากการศึกษาพบว่า กลุ่มผู้สูงอายุที่มีการดื่มเหล้า มี ดอน และคณะ (2554: 232-234) ได้ศึกษาคุณภาพชีวิตของ พฤติกรรมการดื่มที่ไม่ถึงข้ันติด กล่าวคือดื่มบ้าง ตาม ผูส้ ูงอายใุ นชนบท อาํ เภอวงั น้าํ เขียว จงั หวดั นครราชสีมา โอกาสสําคัญ ทําให้ไม่ถึงข้ันเสพติด และไม่ส่งผลต่อ ผลการวจิ ยั พบวา่ ปัจจยั ที่สามารถทาํ นายคุณภาพชีวิตดา้ น สุขภาพมากนัก จิตใจ 4 ปัจจัย ไดแ้ ก่ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ภาวะ การสูบบุหรี่ พบว่า การสูบบุหรี่ที่แตกต่างกัน สุขภาพการเขา้ ร่วมกิจกรรมของชมรม และสัมพันธภาพ ส่งผลตอ่ คุณภาพชีวติ ผสู้ ูงอายไุ มแ่ ตกตา่ งกนั ซ่ึงการศึกษา ในครอบครัว โดยสามารถอธิบายคุณภาพชีวิตด้านจิตใจ คร้ังน้ี มีผูส้ ูงอาย ุ สูบบุหรี่ เพียงร้อยละ 15.6 ซึ่งจากกการ ได้ร้อยละ 21.5 บุคลากรสาธารณสุขควรส่งเสริมให้ สาํ รวจพบวา่ ผูส้ ูงอายทุ ี่มีการสูบบุหรี่เพียงเล็กนอ้ ยเท่าน้นั ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริม และสูบเป็นคร้ังคราว ไมไ่ ดเ้ สพติด จึงไม่ไดส้ ่งผลกระทบ สัมพันธภาพ ในครอบครัว องคก์ รทอ้ งถ่ินควรร่วมให้การ ตอ่ สุขภาพร่างกายแตป่ ระการใด ส่งเสริมกิจกรรมเหลา่ น้ีที่สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ การออกกําลังกาย พบว่า การออกกําลังกายที่ ผู้สูงอายุ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนของผูส้ ูงอายุในชนบท แตกต่างกันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุต่างกัน ซึ่ง จากการศึกษาคร้ังน้ีผูส้ ูงอายสุ ่วนใหญ่อาศยั อยกู่ บั คู่สมรส สอดคลอ้ งกบั การศึกษาของกรรณิกา เรืองเดชและคณะ ร้อยละ 62.0 การมีคู่สมรสจึงเป็นปัจจยั เสริมอีกอยา่ งหน่ึง (2556: 23) ได้ศึกษาปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตของผู้ได้รับ ในการอยูร่วมกันระหว่างคู่สมรสของผู้สูงอายุ คอย ความรุนแรงจากสถานการณ์ความไม่สงบในจงั หวดั ยะลา ช่วยเหลือใหค้ าํ ปรึกษาแก่กนั และกนั พบว่า ระดับคุณภาพชีวิตในภาพรวมอยู่ในระดับปาน รายได้ พบว่า รายได้ที่แตกต่างกันส่งผลต่อ กลาง ร้อยละ 84.5 และมีคุณภาพชีวิตอยใู่ นระดบั ดี ร้อย คุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุต่างกัน ซ่ึงสอดคล้องกับการ ละ 13.2 จําแนกรายดา้ น พบวา่ คุณภาพชีวิตดา้ นจิตใจอยู่ ศึกษาของจีราพร ทองดี และคณะ (2553: 96) ได้ศึกษา ในระดับดีมากที่สุด ร้อยละ 24.8 และคุณภาพชีวิตด้าน ภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัด สัมพนั ธภาพทางสังคมอยูใ่ นระดบั ไม่ดีมากที่สุดร้อยละ ชายแดนภาคใต ้ พบวา่ ผูส้ ูงอายุที่มีรายไดเ้ พียงพอและมี 15.8 ปัจจยั ที่มีความสัมพนั ธ์ทางบวกกบั คะแนนคุณภาพ เหลือเกบ็ มีโอกาสที่จะแสวงหาส่ิงจาํ เป็นข้นั พ้ืนฐาน และ ชีวิตไดแ้ ก่ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ การออกกาํ ลงั กาย เป็ นปัจจัยข้ันพ้ืนฐานที่สําคัญของการปรับตัวเข้าสู่วยั ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพนั ธ์ทางลบกบั คะแนนคุณภาพ สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุที่มีรายได้เพียงพอและมีเหลือ ชีวิตของผูไ้ ดร้ ับความรุนแรงจากเหตุการณ์ความไม่สงบ เก็บ จะไม่วิตกกงั วลวา่ เมื่อไม่ไดท้ าํ งานจะไม่มีเงินใชจ้ ่าย ไดแ้ ก่ ผูไ้ ดร้ ับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ ผู้มีความพิการใน ส่งผลให้รับรู้วา่ มีคุณภาพชีวิตที่ดีรายไดจ้ ึงมีความสําคญั ปัจจุบัน ระดับการศึกษามัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า กบั คุณภาพชีวิตและสอดคลอ้ งกับการศึกษาของธาริน สถานภาพสมรสหมา้ ย ระยะเวลาหลงั เกิดเหตุการณ์ ซ่ึงตวั สุขอนันต์ และคณะ (2554: 246) ได้ศึกษาคุณภาพชีวิต แปรที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ของผสู้ ูงอายใุ นเขตเทศบาลบา้ นสวน จงั หวดั ชลบุรี พบวา่ การออกกาํ ลงั กาย ผู้สูงอายุที่มีรายได้เพียงพอในการดํารงชีวิตประจําวัน ทํา ลักษณะครัว พบวา่ ลกั ษณะการอยอู่ าศยั ที่แตกต่าง ให้ผูส้ ูงอายกุ ลุ่มน้ีมีสุขภาพกายสุขภาพจิตดี ไม่เกิดภาวะ กนั ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุต่างกนั ผู้สูงอายุ วิตกกงั วลแต่อยา่ งใด สามารถดาํ รงชีวิตอยา่ งมีความสุขก็ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

65 เป็นได ้ อารดา ธีระเกียรติกาํ จร (2554 : 16) ได้ศึกษา ชีวิตให้มากข้ึนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตจากปานกลาง คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตําบลสุเทพ อําเภอ ไปสู่ระดบั ดี และสอดคลอ้ งกบั การศึกษาของชุต โหวธีระ เมือง จงั หวดั เชียงใหม ่ พบวา่ ถา้ ผูส้ ูงอายมุ ีรายไดต้ ่อเดือน กุล และคณะ (2554 : 232-234) ได้ศึกษาคุณภาพชีวิตของ เพ่ิมข้ึน มีโอกาสทาํ ให้ระดบั คุณภาพชีวิตผูส้ ูงอาย ุ กล่าว ผูส้ ูงอายใุ นชนบท อาํ เภอวงั น้าํ เขียว จงั หวดั นครราชสีมา ไดว้ า่ รายไดถ้ ือเป็นปัจจยั พ้ืนฐานที่มีความสําคญั ต่อการ ผลการวิจยั พบวา่ ผูส้ ูงอายุมีความพอใจกบั คุณภาพชีวิต ดํารงชีวิต ดงั น้นั รายไดย้ อ่ มส่งผลตอ่ คุณภาพชีวติ เช่นกนั ดา้ นร่างกายร้อยละ 50.4 และพอใจด้านจิตใจร้อยละ 52.7 การเป็นสมาชิกกลุ่มพบวา่ การเป็นสมาชิกกลุ่มที่ ปัจจยั ที่สามารถทาํ นายคุณภาพชีวิตดา้ นร่างกาย 6 ปัจจัย แตกต่างกันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่แตกต่างกันอย่างมี ไดแ้ ก่ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ภาวะสุขภาพ การเข้า นัยสําคญั ทางสถิติ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั การศึกษาของธาริน ร่วมกิจกรรมของชมรม การศึกษา อาชีพและอายุ โดย สุขอนันต์ และคณะ (2554 : 242-243) ได้ศึกษาคุณภาพ สามารถอธิบายคุณภาพชีวิตด้านร่างกายไดร้ ้อยละ 30.5 ชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองบ้านสวน จังหวัด ปัจจัยที่สามารถทํานายคุณภาพชีวิตด้านจิตใจ 4 ปัจจัย ชลบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและ ไดแ้ ก่ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ภาวะสุขภาพการเข้า เปรียบเทียบคุณภาพชีวติ จาํ แนกตามปัจจยั ส่วนบุคคลของ ร่วมกิจกรรมของชมรม และสัมพันธภาพในครอบครัว ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองบ้านสวน จังหวัดชลบุรีผล โดยสามารถอธิบายคุณภาพชีวิตด้านจิตใจได้ร้อยละ 21.5 การศึกษาพบวา่ คุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายใุ นภาพรวมอยู่ บุคลากรสาธารณสุขควรส่งเสริมใหผ้ สู้ ูงอายุมีความรู้สึกมี ในระดับปานกลาง (93.76) โดยผูส้ ูงอายุส่วนใหญ่มี คุณคา่ ในตนเอง ส่งเสริมสมั พนั ธภาพในครอบครัวองคก์ ร คุณภาพชีวิตระดับปานกลาง (91.49) ร้อยละ 64.2 ท้องถ่ินควรร่วมให้การส่งเสริมกิจกรรมเหล่าน้ีที่ รองลงมาเป็นระดับดี (108.73) ร้อยละ 24.8 และระดบั ไม่ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผูส้ ูงอาย ุ เพื่อคุณภาพชีวิต ดี (73.43) ร้อยละ 11.0 เมื่อพิจารณารายได ้ พบวา่ คุณภาพ ที่ดีข้ึนของผสู้ ูงอายใุ นชนบท ชีวิตของผูส้ ูงอายุที่อยู่ในระดับปานกลางได้แก่ ด้าน การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา พบวา่ การเขา้ ร่วม ร่างกาย สภาพแวดล้อม และจิตใจ ตามลําดับ (27.51, กิจกรรมทางศาสนาที่แตกต่างกนั ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ 25.06 และ 21.15) ส่วนที่อยู่ในระดับดี คือ ด้าน แตกตา่ งกนั ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ผลการศึกษาของจีราพร ทอง ความสัมพันธ์ทางสังคม (20.04) ผลการเปรียบเทียบ ดี และคณะ (2553 : 96) ได้ศึกษาภาวะสุขภาพและ คา่ เฉลี่ยคุณภาพชีวิตผูส้ ูงอายจุ าํ แนกตามปัจจยั ส่วนบุคคล คุณภาพชีวติ ของผสู้ ูงอายใุ นจงั หวดั ชายแดนภาคใต ้ พบวา่ พบว่า คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุแตกต่างกันอย่างมี ผูส้ ูงอายุส่วนใหญ่เป็นวยั ที่มีความผูกพนั กบั ศาสนา เมื่อ นัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) ในปัจจยั ต่อไปน้ี คือ อายุ อายมุ ากข้ึนบุคคลจะมีความศรัทธา เชื่อมน่ั ในศาสนาและ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ การเป็นสมาชิกกลุ่มทาง มีศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจมากข้ึน ผลการศึกษา สังคม และการรับสวัสดิการกองทุนผู้สูงอายุ คือ ผู้ที่มีอายุ คร้ังน้ีกลุ่มตวั อย่างที่ศึกษาส่วนใหญ่เป็นผูส้ ูงอายุมุสลิม 60–69 ปี การศึกษาต้งั แต่อนุปริญญาข้ึนไป อาชีพ ซ่ึงจะปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั สอนทางศาสนาอยา่ งเคร่งครัด ท้งั น้ี ข้าราชการบํานาญ รายไดเ้ ฉลี่ยมากกวา่ 5,001 บาท เป็น เนื่องจากการไดร้ ับการอบรมส่ังสอนให้ปฏิบตั ิกิจกรรม สมาชิกกลุ่มทางสังคม และไม่รับสวสั ดิการกองทุน ทางศาสนาต้งั แต่ยงั เยาว์วัย มีการปลูกฝังเรื่องหลักศาสนา ผู้สูงอายุ จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่ากลุ่มอื่น จากผล ทาํ ให้ศาสนาฝังลึกอยูก่ บั มุสลิมจนยากที่จะแยกออกจาก การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งควรเน้นการพฒั นาดา้ น กนั ได้ ผูส้ ูงอายุมุสลิมมีความเชื่อและศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ ร่างกาย จิตใจและสภาพแวดลอ้ มของผูส้ ูงอายุคุณภาพ เชื่อวา่ เป็นผูส้ ร้างทุกส่ิงในโลกน้ี ความเชื่อดงั กล่าวส่งผล JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

66 ให้มุสลิมมีที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ สามารถปรับตวั เขา้ กบั การ เทศบาลตําบลบาเจาะ อําเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส เปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนได ้ นอกจากน้ีผูส้ ูงอายุมุสลิมส่วน พบวา่ บุคคลในครอบครัวผูส้ ูงอายทุ ี่มีภาระหนา้ ที่ในการ ใหญจ่ ะมีการจดั การความเครียดของตนเอง โดยใชศ้ รัทธา ดูแลผสู้ ูงอายมุ ีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การดูแลผูส้ ูงอายุ ต่อพระเจ้าและการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา ซ่ึงการ ในระดับปานกลาง ร้อยละ 41.1 ตัวแปรด้านภาระหน้าที่ ปฏิบตั ิดงั กล่าวก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพจิต ซ่ึงสอดคลอ้ ง ของบุคคลในครอบครัวมีพฤติกรรมการดูแลผู้สูงอายุใน กบั การกฤษณา โดยพิลา (2550) ได้ศึกษาเรื่องการสร้าง ครอบครัวแตกต่างกนั อย่างมีนัยสําคญั ทางสถิติที่ระดับ เสริมสุขภาพจิตและจิตวิญญาณของผู้สูงอายุมุสลิม 0.05 ส่วนตวั แปรดา้ นเพศ อาย ุ สถานภาพ ระดบั การศึกษา จังหวดั สตูล ที่พบว่า ผูส้ ูงอายุมุสลิมจังหวดั สตูลมีการ อาชีพ รายได้ ไม่ส่งผลต่อการมีพฤติกรรมการดูแล สร้างเสริมสุขภาพจิตและจิตวิญญาณในระดับสูง ผู้สูงอายุในครอบครัว โดยเฉพาะเรื่องการขอพรต่ออลั ลอฮฺ เพื่อให้ตนเองรู้สึก จากผลการศึกษาในคร้ังน้ีสรุปไดว้ า่ ระดบั คุณภาพ มน่ั คงปลอดภยั และรู้สึกอบอุน่ ใจ ชีวิตของผู้สูงอายุ ในตําบลบาละอําเภอกาบัง จังหวัดยะลา โรคประจําตัว พบว่า การมีโรคประจําตัวที่ อยูใ่ นระดบั ปานกลาง ส่วนการเปรียบเทียบคุณภาพชีวิต แตกตา่ งกนั ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายไุ ม่แตกต่าง ตาม ขอ้ มูลส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อาย ุ ศาสนา สถานภาพ กนั โดยจากการศึกษาคร้ังน้ี ผูส้ ูงอายุส่วนใหญ่ ไม่มีโรค การสมรส ระดับการศึกษา การดื่มเหล้า การสูบบุหรี่ และ ประจําตัว ร้อยละ 62.3 และมีโรคประจําตัว ร้อยละ 37.7 การออกกาํ ลงั กาย ปัจจัยดา้ นครอบครัว ลกั ษณะการอยู่ โดยที่กลุ่มที่มีโรคประจาํ ตวั ไดร้ ับการดูแลสุขภาพ การ อาศัย และปัจจัยดา้ นเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเจา้ หน้าที่สาธารณสุขในพ้ืนที่ รายได้ การเป็ นสมาชิกกลุ่ม การเข้าร่วมกิจกรรมทาง อยา่ งต่อเนื่อง และมีการติดตามอยา่ งเป็นระบบ ส่วนกลุ่ม ศาสนา โรคประจาํ ตัว และการพกั ผ่อนที่เพียงพอ และ เสี่ยงหรือกลุม่ ที่ยงั ไมไ่ ดเ้ ป็นโรค กไ็ ดร้ ับการอบรมในการ อาชีพ พบว่า ผูส้ ูงอายุ ตาํ บลบาละ อาํ เภอกาบัง จังหวดั ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเช่นเดียวกนั ทาํ ให้คุณภาพชีวิตใน ยะลา ที่มี ศาสนา อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ท้งั 2 กลุม่ ไมไ่ ดแ้ ตกตา่ งกนั การออกกาํ ลงั กาย ลกั ษณะการอยู่กบั ครอบครัว รายได ้ การนอนหลับที่เพียงพอ พบว่า การพักผ่อนที่ การเป็นสมาชิกกลุม่ การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา และ เพียงพอที่แตกต่างกนั ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุ การพกั ผ่อนที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตที่แตกต่างกัน แตกตา่ งกนั การพกั ผอ่ นที่เพียงพอส่งผลให้สภาพร่างกาย อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 และจิตใจดี อารมณ์ดี จิตใจเบิกบาน ซ่ึงส่งผลต่อคุณภาพ ชีวิตที่ดีต่อไป ซ่ึงสอดคล้องกับการกฤษณา โดยพิลา ข้อเสนอแนะ (2550) ได้ศึกษาเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพจิตและจิต ขอ้ เสนอแนะจากผลการศึกษาคร้ังน้ี จากผลการ วญิ ญาณของผสู้ ูงอายมุ ุสลิม จงั หวดั สตูล ที่พบวา่ ผูส้ ูงอายุ ศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในตําบลบาละ อําเภอกาบัง มุสลิมจังหวัดสตูลมีการสร้างเสริมสุขภาพจิตและจิต จงั หวดั ยะลา พบวา่ คุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายอุ ยใู่ นระดบั วิญญาณในระดับสูง ปานกลาง ควรจดั กิจกรรมที่สอดคลอ้ งกบั องค์ประกอบ อาชีพ พบวา่ อาชีพที่แตกต่างกนั ส่งผลต่อคุณภาพ คุณภาพชีวิตครอบคลุมท้งั 4 ดา้ น ท้งั ดา้ นร่างกาย จิตใจ ชีวิตของผูส้ ูงอายุไม่แตกต่างกัน ซ่ึงสอดคล้องกับการ ความสัมพันธ์ทางสังคมและส่ิงแวดล้อม เพื่อเป็ นการ ศึกษาของมัยมูน มะแม (2553 : 60) ได้ศึกษาพฤติกรรม ส่งเสริมและพฒนาคุั ณภาพชีวติ ของผสู้ ูงอายตุ อ่ ไป ของบุคคลในครอบครัวต่อการดูแลผู้สูงอายุ ในเขต JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

67 ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาคร้ังต่อไป ควรศึกษา การพิเศษ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา นายวรวุฒิ ปัจจยั สนบั สนุนการปฏิบตั ิตนในชีวิตประจาํ วนั ที่ส่งผลดี ชุมวรฐายี นายแพทย์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลเทพา ที่กรุณา ต่อคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายตุ ามบริบทของพ้ืนที่ เพื่อใช้ สละเวลาให้ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นในการสร้างเครื่องมือ เป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ที่ใช้ในการศึกษา ผูส้ ูงอายุต่อไป ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของ ขอขอบพระคุณ คุณอาแซ กาเซ็ง สาธารณสุข ผู้สูงอายุ เพื่อนํามาใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของ อาํ เภอกาบงั ที่ไดช้ ่วยเหลือและอาํ นวยความสะดวกตลอด ผู้สูงอายุต่อไป และจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพแก่ ระยะเวลาในการศึกษา ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ผูส้ ูงอายุ เพื่อให้ผูส้ ูงอายุได้ผ่อนคลาย ทาํ กิจกรรมต่างๆ งานผู้สูงอายุประจาํ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บลทุก ในชุมชน มีการพบปะกับคนในวยั เดียวกนั พูดคุยเพื่อ แห่งในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขอาํ เภอกาบัง อาสา สร้างสุขภาพจิตที่ดี อันจะส่งผลดีต่อคุณภาพชีวิตของ สมคั รสาธารณสุขประจาํ หมูบ่ า้ น และผสู้ ูงอายใุ นตาํ บลบา ผสู้ ูงอายตุ อ่ ไป ละ อาํ เภอกาบังที่ให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลจนสาํ เร็จลุลว่ งไปไดด้ ว้ ยดี กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ ทุกคนในครอบครัว กาํ ลงั ใจจาก ขอขอบคุณดร.ชุมภูนุช สุภาพวาณิช อาจารย์ที่ คุณพอ่ และคุณแม ่ กาํ ลงั ใจจากเพื่อนๆ ร่วมหลกั สูตรวิทยา ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ที่ได้กรุณาถ่ายทอดความรู้ ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาสาธารณศาสตร์ รุ่นที่ 3 เจ้าหน้า แนวคิด วิธีการ คําแนะนําและตรวจสอบแก้ไขข้อ ที่บณั ฑิตวิทยาลยั และกลั ยาณมิตรทุกท่านที่ไม่สามารถ บกพร่องต่างๆ ดว้ ยความเอาใจใส่อยา่ งดีตลอดมา ผูว้ ิจยั กล่าวนามในที่น้ีได้หมด ที่คอยช่วยเหลือเป็ นกาํ ลังใจ รู้สึกซาบซ้ึงเป็นอย่างย่ิงและขอกราบขอบพระคุณเป็ น ผวู้ จิ ยั จึงขอขอบคุณท่านไว ้ณ โอกาสน้ี อยา่ งสูง ไว ้ณ โอกาสน้ี คุณคา่ และประโยชน์อนั พึงมีจากวทิ ยานิพนธ์ฉบบั ขอขอบคุณ ดร พฒั นศักด์ิ คาํ มณีจันทร ที่กรุณา น้ี ผูว้ ิจัยขอมอบเป็นความกตญั ญูกตเวทีแด่บิดา มารดา สละเวลา และเป็นประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ใน บูรพาจารย์ ที่ให้ความรัก ความห่วงใย ตลอดจนผู้มี คร้ังน้ี คุณทัศนีย์ สมสมาน นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญ พระคุณทุกท่าน

เอกสารอ้างอิง กรรณิกา เรืองเดช และคณะ. (2556). ปัจจยั ทา นายคุณภาพชีวติ ของผู้ได้รับความรุนแรงจากสถานการณ์ความไม่สงบใน จังหวัดยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2556). คู่มอื ความสุข 5 มิติ. พิมพค์ ร้ังที่ 2. นนทบุรี: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย. การกฤษณา โดยพิลา. (2550). การสร้างเสริมสุขภาพจติ และจติ วญิ ญาณของผู้สูงอายุมสุ ลมิ จงั หวดั สตูล. วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. กานดา พูนลาภทวี. (2539). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. เกียรตินดั ดา พ่ึงสมบตั ิ และปริตา ธนสุกาญจน์. (2554). คุณภาพชีวติ ของผู้สูงอายุในต าบลท่าโรงช้าง อาเภอเมือง จังหวัด พิจิตร. สารนิพนธ์นโยบายสาธารณ มหาวิทยาลัยนเรศวร. JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

68 จีราพร ทองดี และคณะ. (2553). ภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวติ ของผู้สูงอายุในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้. วารสาร พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี. ชาญชัย เรืองขจร. (2550). ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน. สงขลา: เทมการพิมพ์. ชุติเดช เจียนดอน และคณะ (2554). คุณภาพชีวติ ของผู้สูงอายุในชนบท อา เภอวงั น า้ เขียว จงั หวดั นครราชสีมา. วารสาร สาธารณสุขศาสตร์, 41(3), 232-234. ธาริน สุขอนันต์ และคณะ. (2554). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี. วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 41(3), 241.นิศารัตน์ ศิลปะเดช. (2539). ประชากรกบั คุณภาพชีวติ . กรุงเทพมหานคร: พิศิษฐ์การพิมพ์. นันทวรรณ สุวรรณรูป. (2544). อุปสรรคและปัญหาการบริการผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ ผู้สูงอายุ. บญั ชีสาธารณสุขเครือขา่ ยบริการสุขภาพอาํ เภอกาบงั . (2558). บุญเรียง ขจรศิลป์ . (2548). การวเิ คราะห์และแปลความหมายข้อมูลในการวจิ ยั โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS for Window Version 10-12. พิมพค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส.พี.เอ็น.การพิมพ์. ภูริชญา เทพศิริ. (2554). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในต าบลทองหลาง อ าเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก. สารนิพนธ์รัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาเกริก. มัยมูน มะแม. (2553). พฤตกิ รรมของบุคคลในครอบครัวต่อการดูแลผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบลบาเจาะ อ าเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส. ปริญญาวิทยาศาสตรบัญฑิต (สาธารณสุขชุมชน). วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัด ยะลา. ศิรินุช ฉายแสง. (2553). ได้ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในจังหวัดอ านาจเจริญ. วิทยานิพนธ์ สบ.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี. วิไลพร ขําวงษ์ และคณะ. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สุขภาพ, 5(2), 36. สมรัตน์ ขํามาก. (2554). คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตอ าเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ สาธารณสุขศาสตรม หาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. สหพร กูลณรงค์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดจากการท างานกับคุณภาพชีวิตของบุคลากรสาธารณสุขที่ ปฏิบัติงานในสถานีอนามัย ในจังหวัดนราธิวาส. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สุภา แกว้ บริสุทธ์ิ. (2547). ปัจจยั ทมี่ อี ทิ ธิพลต่อคุณภาพชีวติ เกษตรกรชาวสานยางพาราจงั หวดั สงขลา. วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล และคณะ. (2540). เปรียบเทยี บตวั ชี้วดั คุณภาพชีวติ ของ WHO 100 ตัวชี้วัด และ 26 ตัวชี้วัด. เชียงใหม:่ โรงพยาบาลสวนปรุง. อรวรรณ แผนคง. (2553). การพยาบาลผู้สูงอาย.ุ นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก. พิมพ์ คร้ังที่ 2.

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

69 อารดา ธีระเกียรติกาํ จร. (2554). คุณภาพชีวติ ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตา บลสุเทพ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 4, 15. อุทัย หิรัญโต. (2526). สารานุกรมศัพท์สังคมวิทยา-มนุษยวิทยา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

70 การพฒั นารูปแบบการใช้ทฤษฎเี ศรษฐกจิ พอเพยี งกบั พนื้ ทกี่ ารเกษตรในสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ในอนาคต ในประเทศไทย The Development of Model Using the Philosophy of Sufficiency Economy with Agriculture in Three Southern Border Provinces in Thailand in Future วรวุธ จันทร์ดิษฐวงษ์1 วิชิต เรืองแป้น2 สุนิตย์ โรจนสุวรรณ3 จริยาภรณ์ มาสวัสดิ์ 4 1นักศึกษาหลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา 2-4อาจารย์หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา

บทคัดย่อ the future by using EDFR (Ethnography Delphi Futures วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั น้ี ไดศ้ ึกษารูปแบบการ Research). The sample was used in the study consisted 24 ใช้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงกบั พ้ืนที่การเกษตรในสาม specialists who know well about this philosophy in these จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในอนาคต โดยใช้ EDFR areas and the others participants were selected by (Ethnographic Delphi Future Research) กลุ่มตวั อยา่ งใน purposive sampling. Interview and rating scale การวิจัยประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ 24 คน ซึ่งเป็นบุคคลที่มี questionnaire were used to collect data. The first phase of ความรู้เป็ นอย่างดีในทฤษฎีน้ีกับพ้ืนที่สามจังหวดั และ data collection was to interview for rating scale พ้ืนที่อื่นๆ โดยการเกบ็ ขอ้ มูลจากกลุม่ ตวั อยา่ ง โดยวธิ ีการ questionnaires. The second and third phase, the data was สัมภาษณ์และการใช้แบบสอบถาม การเก็บขอ้ มูล รอบ collected by the specialists and was analyzed to mean, แรกเป็นการสอบถามโดยใช้เกณฑ์กาประเมินจาก median and quartile. The results revealed that the แบบสอบถาม รอบที่สองและรอบที่สามเก็บขอ้ มูลจาก development of model using the Philosophy of Sufficiency ผู้เชี่ยวชาญ แล้วนําข้อมูลในรอบที่สามทําการวิเคราะห์ Economy with agriculture in three border provinces for the เพื่อหาค่าเฉลี่ย ค่ากลาง และค่าควอไทล์ ผลที่ได้จาก future include three concepts and principles of the ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงกับการ development of using the Philosophy of Sufficiency เกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ในอนาคต ประกอบด้วย Economy model for developing agricultural areas and the สามความคิด และหลักสําคัญของการพัฒนา การใช้ทฤษฎี better agriculturists’ lives which can help themselves in เศรษฐกิจพอเพียงพฒั นาพ้ืนที่การเกษตร และชีวิตที่ดีข้ึน case of risk management self-protects by introducing ของเกษตรกร ซ่ึงสามารถช่วยตนเองได้ โดยต้ังอยู่บน model. ความไม่ประมาท ป้ องกันตนเอง โดยรูปแบบการใช้ Keywords : Development, of Model Using, Philosophy ทฤษฎี of Sufficiency Economy คาส าคัญ : การพัฒนา รูปแบบการใช้ ทฤษฎีเศรษฐกิจ ______พอเพียง Introduction Abstract The using Sufficiency Economy with agriculture The purpose of this research was to study the is the important device developing quality agriculturists’ development of model using the Philosophy of Sufficiency lives by using the Philosophy of Sufficiency Economy Economy with agriculture in the three border provinces in develops agriculture areas by three steps. The first step JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

71 is moderation means the way for living by sustainable philosophy in these three areas in the future to be gotten feeding itself which makes better quality lives that can the sustainable method developing that can be use sufficient lands for living not too more or lesser that sustainable development and can be fed itself. This cannot manage the living getting the highest benefit but research will be usefulness for the agriculturists and can produce and consuming at a moderate level causes other people who are interested in this philosophy in harmfulness to all human, animals plants and ecosystem these three provinces in the future. of the environment plantation. The second second step is Objective of the study reasonableness means having enough resons adopts the 1. To use the Philosophy of Sufficiency agricultural lands mixes digging ponds for keeping water Economy with Agriculture areas in the Future in Three protecting drought that can feed fishes, planting several Southern Border Provinces crops and trees; feed fishes, planting several crops and 2. To get the suggestion from the research to trees; feeding animals for getting money each day that develop method of using this philosophy with the can be being continued all year is the sustainable living agricultural areas in the three southern border provinces guarantee. The third step is Risk Management the in the future preparation to cope with likely impact and changes in 3. To be the way developing method using this variable aspect the considering the probability of future philosophy in the other areas in the future situation such as ; by having enough foods and money The scope of research was divided three parts as supporting itself because of rice, fishes, meat, eggs, follows : fruits, organic crops that is not worried about the country 1. The Definite Research Demarcation and the world’ s economy changing. The Eleventh This study research definite demarcation National Economic and Social Development Plan (2012- studied developing method using this philosophy in 2016), Thai Rural Reconstitution Movement (2006) and three southern border provinces in the future which had The Office of The National Economic and and Social studied for one year since April 2014 until March 2015. Development Board (2006), why this philosophy is 1.1 The Main Text Demarcation important developing agricultural areas and the quality 1.1.1 Agriculture’ living in three agriculturalist’ lives is the sustainable developing. Using provinces in the future in society, the way of living lives, Philosophy Sufficiency Economy with agriculture in the religions, religious sects, the cult of religions, the status three areas in the southern provinces, the researcher is of agricultural resources interested in and realized the importain how to study the 1.1.2 The developing method using this development of using it in these areas by showing the philosophy with agriculture in three provinces developed method of using Sufficiency Economy with 1.2 The specialists sampling who have agriculturist lives that can be fed the sustainable living known and had experience about developing method by itself. (Chomchai, et al, 2004) using this philosophy with the agriculture and the To research method developing by using this community representative leaders in these provinces and JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

72 the other areas that specifically selected (Purposive The Philosophy of Sufficiency Economy is the Sampling) from 24 people who know this philosophy moderation in acting, having reasons to decide carefully 1.3 The steps of research and having risk management to prepare itself protecting The first step studied from documents, the impact of the world’ s changing by the objects, concepts, the way of lives, religions, the cult of environment, society, cultures and external world that religions, environment and natural resources and status are on two conditions which are the condition of agricultural occupations. The second steps was the knowledge and condition of moral. qualitative research for developing method using this The condition of Knowledge is to know how to philosophy with these three provinces that will be live carefully on the level of moral, honest, practice and efficiency using EDFR (Ethnographic Delphi Future sharing the others. The condition of moral is to respect Research) by 24 people the way of human’ s lives, animals, trees and the 2. Area Demarcation environment. The environment in these three provinces contains Yala, Pattani and Narathiwat provinces Methodology Scope of technical terminology This methodology had studied the development Technical Ethnographic Delphi Futures Research of model using the Philosophy of Sufficiency Economy means EDFR is Futures research that will is to research with Agriculture in three southern border provinces in the futures which is not well predict, but it is the Thailand by using EDFR definite the steps of study were possible surveying study that is willing and unwilling for follows the sample steps of research, the research finding the willing trend that occurs and stops the instrument, the method of keeping data and analysis. unwilling trend or decreases it. Future research is useful Sampling population for definition policy to plan and decide practicing that The sampling population were executives, takes futures willing building. government officers and other people who know well The social and traditional treatment are the way about using the Philosophy Economy in these areas and of lives, Muslims, the sect of religions, the cult of the other areas by selecting 24 expert persons. religions, the environment and natural resources in the The first step had studied the ideas, The futures. Philosophy of Sufficiency Economy and researches The futures are the period of the times that about this philosophy. should be developed the model using this philosophy in The second step had studied the qualitative the agricultural areas in these provinces in the futures. researches to develop the model using this theory in The Environment is anything by physical and those areas. biological environment that is around the human was Research instrument born and built by the human and also the natural 1. The interview of using the Philosophy of resources which useful for human’s lives. Sufficiency Economy in these area was EDFR which JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

73 interviewed the specialists that definite the interview as questionnaires were the same as 2.2.1 which each of fallows : them was good trend was most possible that the median 1.1 The society in these provinces was up from 3.2 so the amount of the question 2. The questionnaires which were divided into decreased, the median. Range between quartile of the two groups as fallows : specialists and the position of the first each of the 2.1 The questionnaires colleting data in the specialists answers in order answer again which had the second round by interview which the researcher space for answering and confirm the opinion. analysed the original issue, words, language and the 2.2.4 The questionnaires which were important words of the interviewees for built the used collecting data in the third round were the same as questionnaires were 5 scales as follows : the second round 2.2.1 that each question was strong to The second round questionnaires were 5 stronger trend. The mean of median was upper 3.50 so levels below. the amount of the questions were decreased was shorn 5 means : The trend could be the the position of median range between quartile of the strongest possibility. specialists and the last each position of the specialists’ 4 means : The trend could be the strong answers in each trend should get the data for them possibility. deciding answers again which there was the space 3 means : The trend could be the putting the reasons that could confirm their last answers medium possibility. in the data collection as shows : 2 means : The trend could be the weak 1. The data collection in the first possibility. round the researcher had written the letter to the director 1 means : The trend could be the of Yala Rajabhat University for asking the leaders of weakest possibility. the communities who use the Philosophy of Sufficiency 2.2 The background of the questionnaires Economy with agricultural areas in these provinces from 2.2.1 The researcher interviewed the the individual, government offices, excutives and the specialists in the first round by communicative government officers were 24 persons by communication summarization technique which interviewed them in by myself whith the objectives were told to them. The each issue with satisfied conclusion while interviewing. research methodology were 3 steps as the first step was The researcher wrote and recorded the interviewees’ the interview using 1-2 hours, the second and third steps words to be analysed into divided groups to build the were the sending questionnaires to the specialists who questionnaires which had the same words for them had been interviewed were 24 persons. finding average and frequency of each trend. 2. The data collection in the second 2.2.2 Took the questionnaires to be round, the researcher had written the letters to all 24 corrected by the advisor specialists with the questionnaires by register mail. 2.2.3 The third round of the 3. The data collection in the third JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

74 round, the researcher had sent the questionnaires both by these areas which use this philosophy by the executives, register mail and by myself. officers and other people who are in volved were The data analysis consensus. The researcher took the data from the second 4. The Consideration of Consensus round to analyse the mean of median, mode and range The words the mean of range not more than between quartile in each item then choose the trend of 1.50 which the different mode and median not more than median upper 3.50 built the questionnaires collecting the 1.00 or the same was not consensus. data in the third round to analyse median, mode the The EDFR research technique different between mode with median and range between The EDFR : Ethnographic Delphi Future quartile for translation each item that definite as follows Research is the futures research technique which : (Jumpol Pullpattara cheewan, 1999 : 34) responds the aim and basic belief of the best futures 1. The Mean of Median research in the present that is the research technique 1.1 The mean of median is between 4.50- composes of significant and the best of EDFR and 5.00 shows the specialists’ opinion is the strongest trend. Delphi. The composing both the best techniques can 1.2 The mean of median is between 3.50- clearly solve the weak point of each technique that the 4.49 shows the specialists’ opinion is stronger. EDFR is the mixed between EDFR and Delphi. The 1.3 The mean of median between 2.50-3.49 steps of EDFR is as Delphi but it is improved more shows the specialists’ opinion is medium. appropriateness. The first round was used the improved 1.4 The mean of median is between 1.50- EDFR which the researcher had analysed the data and 2.49 shows the specialists’ opinion is weak. synthesized to be the instrument that were the 1.5 The mean of median between 1.00-1.49 questionnaires and sent to the specialists for their shows the specialists’ opinion is the weakest. agreeableness which acted 2-3 times. After that the data 2. The Mean of Range Between Quartile would be analysed for the more possible trend and was The researcher computed the mean of the consensus between the specialists’ thought which could first and the third different quartile that the mean of be concluded the following steps as follows : (Jumpol range between computed quartile was equal or lesser Pulloattaracheewan, 1999). than 1.50 was shown the opinion of group of the 1. Plan the group of specialists is very specialists was consensus. The mean of range between necessary and important because of real specialists make quartile of any trend more than 1.50 showed the the believable research. The researcher should contact specialists’ opinion was not consensus. with them by itself for getting the best and believable 3. The Different Mean Mode Between Medium data. The definition, researcher definite if the 2. The first round EDFR interview, the steps of mean of different mode and median was not more than interview is as the EDFR but it is more comfortable that 1.00 was the all opinion of the community leaders in the researcher can choose the type of interview that can JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

75 respond the aim, time, budget and research circumstance manage the environment from the specialists’ is the EDFR model which start from optimistic realistic consideration party. (O-R), pessimistic (P.R) and probable (M-P) or can 2. It should be the applying technique to guide which can interview the trend that the specialists definite a policy and decision to solve the problems by can guide which can be possible. using the passing facts solve the problems the 3. To analyse and synthesize the data which development of model using the Philosophy of have been interviewed by the specialists analyse and Sufficiency Economy agriculture in three southern synthesize to build the model instrument border and the other provinces. 4. Building instrument is the important steps The selecting specialist and the hardest technique research is the taking the data After definite studying issue problems, the next which has been interviewed from all specialists gathers step is selecting expert persons, this step is very them and cuts the repeating issues out from the research important because the characteristic research and the by getting the covered issues. The researcher should Delphi technique is the agreeableness of the specialists keep the specialists’ words and writes briefly that is the so the result is believable or not is up to the specialists same words then writes one trend in one issue for who have been elected. The data will believe or not is up protecting them misunderstand their issues. to the specialists who well in each issue or be called 5. Building EDFR in the second and third round panel experts that they used to study the issues for a long is the taking questionnaires to the specialists to confirm time or having experience because of the duty studying and analyse with the basic statics and devides the data the issues. for consensus. The building EDFR in these rounds two and three each specialist can get statistical feedbacks in a Conclusion group of all which the percentage, median and inter 1. The study the development way of model quartile range of the groups adds with the last answers to using the Philosophy of Sufficiency with agriculture in be more considered by the specialists again. three southern border provinces in the future was 6. The scenario write up is the result of the synthesized the principal issue was the general specialists’ questionnaires answers analysis from agricultural working and the way of agriculturists’ lives strongest trend which the general usage is the strongest in these southern provinces. The principal conclusion trend is the median upper at 3.50 and considers from the which covered the development of model using the consensus answers by considering from interquartile- Philosophy of Sufficiency Economy with agriculture in range (Q3-Q1) not more than 1.50. The scenario write three southern border provinces how to manage with the up should not write too more academic words because impact after using. The study was the general areas were general people can easily understand. planted rubber trees and the bad situations caused the The EDFR Applying Technique lower economics. 1. It is the research technique for the scenario to 2. The result development of model using this JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

76 philosophy in these areas of the specialists opinion next of Sufficiency Economy with agriculture in three 10 years was the plating areas should follow this southern border provinces was found that the philosophy and stops paying luxurious things turns to agriculturists’ lands had developed by using this grow organic vegetables, mixed planting and feeding philosophy. animals that could continue getting money for living 5. The management way of using the every day and forever for family. Philosophy of Sufficiency Economy with agriculture in The development sight building way of three southern border provinces in the future was to model using the Philosophy of Sufficiency Economy definite the standard way develops these areas and the with agriculture in these provinces was found the better quality agriculturists’ lives taking this philosophy consensus trend and could be most possible was the by the government and individual regions. natural resources should be developed by this philosophy. The natural wind, water, soil and sustainable Suggestion environment should be protected by the legal standard 1. The Policy Suggestion and builds the sustainable environment by stopping 1.1 Taking the state policy economics which deforestation, damaging natural resources, hunting wild has written in the Thai Tempotary Constitution (2014) is animals by this philosophy follows The Eighth, Ninth, the state must encourage the Philosophy of Sufficiency Tenth and Eleventh National Economic And Social Economy develops the country. Development Plan (2012-2016) which was consensus 1.2 Taking the Eighth, Ninth, Tenth and Thai Constitution Temporary (2014). This Philosophy Eleventh National Economic And Social Development should be encouraged by involved government offices Plan (2012-2016) develops the agricultural areas in three demonstrates how plant mixed planting and feeding southern border provinces. animals continuously builds the incomes to all people 1.3 Build unconscious wind protects and not only Thai people but also for people all over the preserves the wildlife animals and forests by The Act of world. Preservation and Protecting Wild Animals 1992. 3. The management way manages the impact of 1.4 Use the legal standard protects model using the Philosophy of Sufficiency Economy sustainable environment. with the agriculture in three southern border provinces in 1.5 Encourage the Philosophy of Sufficiency the future was to build unconscious mind taking this Economy to all people not only Thai people but also all philosophy protects sustainable environment and people in the world develops the quality of their lives. develops the better quality of agriculturist’ s lives which 2. The Acting Suggestion could continuously the incomes that can protect the 2.1 The Philosophy of Sufficiency Economy crisis of the world’ s changing. should be encourage learning to all Thai and foreigners 4. The synthesis of model using the Philosophy people who live in Thailand by the Thai government. JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

77 2.2 The integrated and feeding animals Acknowledgement demonstration by this philosophy should be shown for I am indebted to the following persons who had learning and practicing to all people. been interviewed and given their opinions and thoughts 2.3 Encourage the impact management way about the development of model using the Philosophy of of using the Philosophy of Sufficiency Economy Sufficiency Economy with agriculture in three southern develops the quality of better life by building risk border provinces in Thailand in the future which had management continuously builds the incomes. been made this research was succeeded especially the 3. The Next Research Suggestion associate professor Dr.Vichit Rangpan and Dr.Sunit 3.1 The data collection problems with model Roachnasuwan who always well suggested and using the Philosophy of Sufficiency Economy with continuously helped. agricultural areas in three southern border provinces This research had been researched to take the should be studied for efficiency. Philosophy of Sufficiency Economy to develop the 3.2 The next research of model using the agriculturists’ areas and lives to be better which could Philosophy of Sufficiency Economy with agricultural help themselves by following the middle path which areas in three southern border provinces and sustainable composes of moderation, reasonableness and risk development should be studied for better development. management both in the present and future time. 3.3 The model of using the Philosophy of I would like to thank you all of them who had Sufficiency Economy with agricultural areas in three well suggested and helped till this research was fully southern border provinces should be studied develops succeeded. them.

References Celeste. (1998). Spatain Analysis Framework For Community-Based watershed Management in tropical uplands of the Philippines (GIS, land tenure.) (Online. Avaible : http://webmail Pn.ac.th/bunga/message) Jumpol Pulpattaracheewin. (1999). EDFR Technique. See Tochapol Sirisampan (Editor), The Policy Analysis Technique. (p.74-48) : Chulalongkorn University. Jumpol Pulpattaracheewin. (1999). Futures Research, The Journal of Research Method First year Version I January – April. Somchai and et al. (2004). Self-immunity Protected The Economic Crisis. Steinmetz ; Mather. (1996). Impact of Koren Villages on Fauna of Thung Yai Naresuan Wildlife Sanctuary : A Participatory Research Project. History Bulletin of the Society 44 : 23-40. Umpol Pongsuwan and Aree Sittimung. (1999). Water Animals Handbook Northeast, The Development Fishes Project in Northeast. The Fishes Development P. 338. JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

78 Uthairat Na Nakorn. (1988). Expanded Breeding Fishes, Faculty of Fishes, Khaseahsart University, Bangkok, P.148-151. Wimol Juntarothai. (1994). Foods and Water Animals Feeding Important Conclusion. The Fresh Water Fishes Institute Research, Fishes Development Published Document Version 25.P.43. Wirat Sanchan. (2009). Ask-Answer Thai Constitution 2007. P.N.K.L Sky Printing Company Limited. Wirat Teannoy. (1999). MPP. The Natural Resources Management. Bangkok : UK sornwattana.

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

79 ระเบียบขั้นตอนการตีพิมพ์วารสารสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา วารสารส่ิงแวดล้อมกับการพัฒนา เป็ นวารสารที่เผยแพร่ผลงานวิจัย และบทความปริทัศน์ (วิชาการ) หลากหลายสาขา ดงั น้นั เพื่อใหน้ กั วจิ ยั และเจา้ ของผลงานนิพนธ์สามารถเตรียมตน้ ฉบบั ไดถ้ ูกตอ้ งและไดม้ าตรฐานตาม ระเบียบของวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นาจึงขอช้ีแจงดงั น้ี 1. วารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นาถือเป็นสื่อกลางการเผยแพร่บทความงานวิจยั และผลงานทางวิชาการในสาขา ต่างๆ ทางดา้ นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีกาํ หนดออกเผยแพร่ ปีละ 3 ฉบับ คือ เดือนมกราคม - เมษายน เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม และเดือนกนั ยายน - ธันวาคม 2. ผลงานที่ส่งมาจะตอ้ งไมเ่ คยเสนอ หรือกาํ ลงั เสนอตีพิมพใ์ นวารสาร วชิ าการใดมาก่อน 3. วารสารฯ รับตีพิมพต์ น้ ฉบบั ท้งั ภาษาองั กฤษและภาษาไทย บทความงานวจิ ยั หรือบทความทางวิชาการที่เป็น ฉบับภาษาอังกฤษจะได้รับการพิจารณาเป็นอันดับแรก (ท้งั น้ี วารสารฯ จะรับพิจารณาตน้ ฉบบั ของสมาชิกที่ส่งมาลง ตีพิมพ์ในวารสารฯ เท่าน้ัน) สําหรับการวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั มนุษย์หรือสัตว์ทดลอง วารสารฯ จะรับพิจารณาเฉพาะ บทความที่มีหลกั ฐานยืนยนั วา่ โครงการวิจยั ได้ผ่านการรับรองเชิงจริยธรรมจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจยั ใน มนุษยห์ รือสัตวท์ ดลองแลว้ เท่าน้นั นอกจากน้ีสาํ หรับการวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั มนุษย ์ เจา้ ของผลงานนิพนธ์ตอ้ งแสดงให้ เห็นวา่ ผูเ้ ขา้ ร่วมการทดลองไดร้ ับทราบขอ้ มูลและตดั สินใจเขา้ ร่วมโดยความสมคั รใจ ท้งั น้ี การอนุมตั ิให้ลงตีพิมพไ์ ด้ หรือไมน่ ้นั ผลการพิจารณาจากกองบรรณาธิการวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นาถือเป็นที่สิ้นสุด

ข้อแนะน าส าหรับการส่งต้นฉบับครั้งแรกประกอบด้วย 1. บันทึกข้อความ/หนังสือขอส่งตน้ ฉบบั ลงตีพิมพใ์ นวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา 2. ใบสมคั รสมาชิกวารสารฯ พร้อมค่าสมคั ร (สําหรับท่านที่ยงั ไม่ได้เป็นสมาชิกหรือหมดอายุในการเป็น สมาชิกแล้ว) 3. แบบเสนอผลงานเพื่อลงตีพิมพใ์ นวารสารฯซ่ึงผนู้ ิพนธ์ทุกท่านตอ้ งลงนามยนื ยนั 4. ผลงานนิพนธ์ต้นฉบับ 1 ชุด พร้อมแผน่ ซีดีที่บรรจุขอ้ มูลตน้ ฉบบั 1 แผน่ จดั ส่งมายงั สาขาส่ิงแวดลอ้ มกบั การ พัฒนา คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95000 โทร 086-9577808

ขั้นตอนการดาเนินงานภายหลังรับต้นฉบับ 1. บนั ทึกขอ้ ความยืนยนั การไดร้ ับส่ิงตีพิมพ์หรือผลงานนิพนธ์ (ต้นฉบับ) เพื่อเขา้ สู่กระบวนการพิจารณาของ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ จากบรรณาธิการวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา 2. กองบรรณาธิการวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา ตรวจสอบผลงานนิพนธ์เบ้ืองตน้ และผูท้ รงคุณวุฒิ (Reader) ตรวจสอบผลงานนิพนธ์แลว้ พบวา่ เน้ือหายงั ไมส่ มบูรณ์ ไมผ่ า่ นการพิจารณาของผทู้ รงคุณวฒุ ิ ทางวารสารฯ จะ ส่งคืนตน้ ฉบบั ใหผ้ นู้ ิพนธ์ทราบเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ส่วนผลงานที่สามารถปรับปรุงแกไ้ ขได ้ ทางวารสารฯ จะแจง้ ส่ิงที่ ตอ้ งปรับแกไ้ ขให้ผูน้ ิพนธ์ทราบเพื่อทาํ การแกไ้ ขต่อไป การแกไ้ ขน้ีอาจทาํ ถึง 2 คร้ัง จนกว่าผลงานนิพนธ์จะมีความ สมบูรณ์ได้มาตรฐานและผู้ทรงคุณวุฒิยืนยันให้ลงตีพิมพ์ได้ JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

80 3. ผลงานนิพนธ์ที่ผ่านผูท้ รงคุณวุฒิ (Reader) ที่ยืนยนั ให้ตีพิมพ์ได้แล้ว จะเข้าสู่การพิจารณาโดยกอง บรรณาธิการวารสาร ส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา เป็นข้นั สุดทา้ ย ผลงานนิพนธ์บางเรื่องอาจไม่ได้รับการพิจารณาใน ข้นั ตอนสุดทา้ ย ซ่ึงผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา ถือเป็นที่สิ้นสุด 4. วารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา แจง้ กาํ หนดการลงตีพิมพใ์ ห้ผูน้ ิพนธ์ทราบเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร พร้อม ระบุฉบับที่ลงตีพิมพ์

องค์ประกอบของบทความงานวิจัย (Research Article) ชื่อเรื่อง ควรมีขอ้ มูลตามลาํ ดบั ดงั น้ี ชื่อเรื่อง ชื่อผนู้ ิพนธ์ สงั กดั (ภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย เมืองจังหวัด) และ อีเมลข์ องผนู้ ิพนธ์สาํ หรับติดตอ่ บทคดั ยอ่ (Abstract) บทความงานวิจยั ตอ้ งประกอบดว้ ยบทคดั ยอ่ ที่ระบุถึงความสาํ คญั ของเรื่องวตั ถุประสงค ์ วิธีการศึกษา ผลการศึกษา และบทสรุป ขนาดตัวอักษร 14 พอ้ ยท์ ก่อนแลว้ ตามดว้ ยบทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษที่มีเน้ือหา ตรงกนั โดยในส่วนบทคดั ยอ่ น้ี เน้ือหารวมกนั แลว้ ไมเ่ กิน 600 คํา ระบุคําสําคัญของเรื่อง (Keywords) จาํ นวนไมเ่ กิน 5 คํา เน้ือหาของบทความ ลาํ ดบั ของการเขียนเน้ือหาบทความวิจยั เร่ิมตน้ จากบทนาํ วสั ดุอุปกรณ์และวิธีการ ผลการศึกษา อภิปราย ผลการศึกษา สรุปผลและข้อเสนอแนะ (ถ้ามี) และกิตติกรรมประกาศ(ถ้ามีความสําคัญของที่มาและปัญหาของ งานวจิ ยั ภูมิหลงั ของ งานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งสมมุติฐานและวตั ถุประสงคข์ องการวิจยั ให้เขียนไวใ้ นส่วนบทนาํ เทคนิคและ วธิ ีการทว่ั ไปใหอ้ ธิบายไวใ้ นส่วนวสั ดุอุปกรณ์ และวิธีการศึกษา ผลการทดลองต่างๆ ให้อธิบายไวใ้ นส่วนผลการศึกษา การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการทดลองกบั งานของผูอ้ ื่นให้เขียนไว ้ ในส่วนวิจารณ์ผลการศึกษา และการสรุปผล การศึกษาที่สามารถตอบวตั ถุประสงคไ์ ด ้ ให้เขียนไวใ้ นส่วนสรุปผลการศึกษา ขนาดตัวอักษร 14 พ้อยท์ ผู้นิพนธ์อาจมี หวั ขอ้ ยอ่ ยในส่วนวสั ดุอุปกรณ์และวธิ ีการ และ/หรือในส่วนผลการศึกษาได ้ แตไ่ มค่ วรมีจาํ นวนหวั ขอ้ ยอ่ ยมากเกินไป องค์ประกอบของบทความปริทัศน์ (Review article) บทความปริทัศน์ เป็นการนาํ เสนอภาพรวมของเรื่องที่น่าสนใจ หนา้ แรกของบทความปริทศั น์ประกอบดว้ ยชื่อ เรื่อง ชื่อผูน้ ิพนธ์ ที่อยผู่ ูน้ ิพนธ์ ผูน้ ิพนธ์สาํ หรับติดต่อ (Corresponding author) และบทสรุป (Summary) ขนาดตัวอักษร 14 พอ้ ยท์ ก่อนแลว้ ตาม ดว้ ยบทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษที่มีเน้ือหาตรงกนั โดยในส่วนบทสรุปน้ี เน้ือหารวมกนั แลว้ ไม่เกิน 600 คาํ บทสรุปเป็นการสรุปเรื่องโดยยอ่ ใหเ้ ขา้ ใจวา่ เรื่องที่นาํ เสนอมีความน่าสนใจและความเป็นมาอยา่ งไร ในส่วนของ เน้ือหาของบทความตอ้ งมีบทนา (Introduction) เพื่อกลา่ วถึงความน่าสนใจของเรื่องที่นาํ เสนอก่อนเขา้ สู่เน้ือหาในแต่ละ ประเด็น และต้องมีบทสรุป (Conclusion) เพื่อขมวดปมเรื่องที่นาํ เสนอ พร้อมขอ้ เสนอแนะจากผูน้ ิพนธ์เกี่ยวกบั เรื่อง ดงั กลา่ วเพื่อใหผ้ อู้ า่ นไดพ้ ิจารณาประเด็นที่น่าสนใจตอ่ ไป สาํ หรับรูปแบบของการเขียนเหมือนกบั บทความงานวจิ ยั ผนู้ ิพนธ์ควรตรวจสอบเน้ือหาที่เกี่ยวขอ้ งกบั บทความที่นาํ เสนออยา่ งละเอียด โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเน้ือหาที่ใหม่ ที่สุด เป็นปัจจุบนั กาล เรื่องกาํ ลงั เป็นที่น่าสนใจของสังคม จะไดร้ ับการพิจารณาเป็นอนั ดบั แรก บทความปริทศั น์ตอ้ ง นาํ เสนอพฒั นาการของเรื่องที่น่าสนใจ ขอ้ มูลที่นาํ เสนอจะตอ้ งไม่จาเพาะเจาะจงเฉพาะผูอ้ ่านที่อยใู่ นสาขาของบทความ เท่าน้นั แตต่ อ้ งนาํ เสนอขอ้ มูลซ่ึงผอู้ า่ นในสาขาอื่นหรือนิสิตนกั ศึกษาในระดบั สูงสามารถเขา้ ใจได ้

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

81 การจัดเตรียมต้นฉบับบทความ 1. การจัดรูปแบบบทความด้วยโปรแกรม Microsoft Word 1.1 จัดหน้ากระดาษให้ได้ขนาด A4 โดยต้ังค่าหน้ากระดาษขอบบน 2.5 เซนติเมตร ขอบล่าง 2.5 เซนติเมตร ขอบซ้าย 3 เซนติเมตร และขอบขวา 2.5 เซนติเมตร 1.2 จดั บทความให้อยูใ่ นลกั ษณะเวน้ บรรทดั (double-spaced) และมีเลขบรรทดั กาํ กบั ตลอดบทความ รวมท้งั ตารางและรูปภาพ 1.3 ใส่เลขหนา้ กาํ กบั ทุกหนา้ ตรงดา้ นลา่ งขวาของกระดาษ A4 1.4 ผลงานนิพนธ์ มีกาํ หนดไมเ่ กิน 12 หน้า 2. ผลงานนิพนธ์ ชื่อเรื่อง : ไมค่ วรเกิน 100 ตวั อกั ษรร่วมเวน้ วรรค ไมใ่ ชช้ ื่อสามญั และชื่อวทิ ยาศาสตร์ของส่ิงมีชีวติ พร้อมกนั ใช้ ตัวอักษรขนาด 14 พ้อยท์ ตัวหนา ชื่อผู้นิพนธ์: อยถู่ ดั ลงมาจากชื่อเรื่อง ใหใ้ ชต้ วั อกั ษรขนาด 16 พ้อยท์ตัวธรรมดา หากมีผู้นิพนธ์หลายคนที่สังกดั ต่างหน่วยงานกนั ให้ใช้ตวั อกั ษรภาษา องั กฤษ ตวั เล็กกาํ กบั เหนือตวั อกั ษรสุดท้ายของนามสกุลแต่ละคน ตามด้วย เครื่องหมายดอกจัน (asterisk) สาํ หรับผนู้ ิพนธ์สาํ หรับติดตอ่ (Corresponding author) ที่อยผู่ นู้ ิพนธ์: อยถู่ ดั ลงมาจากชื่อผูน้ ิพนธ์ ให้เขียนเรียงลาํ ดบั ตามตวั อกั ษรภาษาองั กฤษที่กาํ กบั ไวใ้ นส่วนของ ชื่อผู้นิพนธ์ ใช้ตัวอักษรขนาด 14 พ้อยท์ ผูน้ ิพนธ์สําหรับติดต่อ: อยู่ถัดจากที่อยู่ผู้นิพนธ์ ให้ใส่อีเมล์ของผู้นิพนธ์ที่สามารถติดต่อได้ในระหว่าง ดาํ เนินการใชต้ วั อกั ษรและขนาด เดียวกนั กบั ที่อยผู่ นู้ ิพนธ์ บทคัดยอ่ (บทสรุปสําหรับบทความปริทัศน์) : ใหจ้ ดั หวั เรื่องบทคดั ยอ่ ไวก้ ลางหนา้ กระดาษ โดยขนาดตวั อกั ษร 14 พอ้ ยท ์ ตวั หนา เน้ือความในบทคดั ยอ่ ขนาด 14 พ้อยท์ ตัวธรรมดา คําสําคัญ (keywords) อยถู่ ดั ลงมาจากเน้ือความของ บทคดั ย่อให้จัดชิดขอบซ้ายของกระดาษ ใช้ตวั อกั ษรขนาด 12 พ้อยท์ ตัวหนา และใช้ตัวอักษรขนาด 14 พ้อยท์ ตัว ธรรมดา สาํ หรับคาํ สาํ คญั แตล่ ะคาํ โดยภาษาไทยวรรค 2 คร้ัง ภาษาองั กฤษ มีเครื่องหมายโคลอน (,) คน่ั ระหวา่ งคาํ สาํ คญั แต่ละคาํ เน้ือหาในบทความ : หัวเรื่อง Introduction Materials and Methods Results Discussion and Conclusions Acknowledgements และ References ให้ใช้ตัวอักษรขนาด 14 พอ้ ยท์ตวั หนา สําหรับเน้ือหาให้ใชต้ วั อกั ษรขนาด 14 พ้อยท์ ตัวธรรมดาตารางและรูปภาพ: ให้ใช้ตัวอักษรขนาด 12 พ้อยท์ ตัวหนา สําหรับหัวตารางและหัวรูปภาพ สําหรับ คาํ อธิบายตารางหรือรูปภาพ ให้ใชข้ นาดเดียวกนั แต่เป็นตวั ธรรมดา ตารางตอ้ งไม่มีเส้นสดมภ ์ ตวั อกั ษรหรือตวั เลขที่ นําเสนอในรูปกราฟหรือตารางต้องเป็นตัวอักษรขนาด 12 พ้อยท์ ตัวธรรมดา สําหรับคําอธิบายเชิงอรรถให้ใช้ตัวอักษร ขนาด 10 พ้อยท์

การอ้างอิงเอกสาร เอกสารที่นามาอา้ งอิงควรไดม้ าจากแหล่งที่มีการตีพิมพช์ ดั เจน อาจเป็นวารสาร หนังสือหรืออินเตอร์เน็ตก็ได ้ ท้ังน้ีผูน้ ิพนธ์เป็นผูร้ ับ ผิดชอบต่อความถูกต้องของเอกสารอ้างอิงท้ังหมดการอ้างอิงในเน้ือความ (อ้างอิงจากเอกสาร ภาษาอังกฤษ) - ถา้ มีผแู้ ตง่ หน่ึงรายใหอ้ า้ งนามสกลุ ของผแู้ ตง่ เครื่องหมายจุลภาค (comma) และ ปีที่พิมพ ์ เช่น (Smith, 2005) JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

82 - ถา้ มีผูแ้ ต่งสองรายให้อา้ งนามสกุลของผูแ้ ต่งสองราย เครื่องหมายจุลภาค และ ปีที่พิมพ ์ เช่น (Smith & Xu, 2005) และให้ใช้ เครื่องหมายเซมิโคลอน (;) คน่ั กลางระหวา่ งเอกสารที่นามาอา้ งอิงมากกวา่ 1 เอกสาร เช่น (Smith, 2005; Smith & Xu, 2005) - ถา้ มีผูแ้ ต่งมากกวา่ 2 รายให้อา้ งนามสกุลของผูแ้ ต่งรายแรกตามดว้ ย et al., และปีที่พิมพ์ตามลําดับ (Smith et al.,2005) - ใหเ้ รียงลาํ ดบั การอา้ งอิงชื่อผแู้ ตง่ การอ้างอิงในเนื้อความ (อ้างอิงจากเอกสารภาษาไทย) - ถา้ มีผแู้ ตง่ หน่ึงรายใหอ้ า้ งชื่อผแู้ ตง่ เครื่องหมายจุลภาค ตามดว้ ยปีที่พิมพ ์ เช่น (สุขใจ ต้นข้าว, 2548) - ถา้ มีผแู้ ตง่ สองรายใหอ้ า้ งชื่อของผแู้ ตง่ สองราย เครื่องหมายจุลภาค ตามดว้ ยปีที่พิมพ ์ เช่น (สุขใจ ต้นข้าว และ อ่ิมเอม มีสุข, 2548 : 11) หากมีเอกสาร ที่นาํ มาอา้ งอิงมากกวา่ 1 รายการให้ใช้เครื่องหมายเซมิโคลอน คน่ั ระหวา่ งรายการ อา้ งอิง เช่น (สุขใจ ต้นข้าว, 2548:2 ; สุขใจ ต้นข้าวและ อ่ิมเอม มีสุข, 2548 : 15) - ถา้ มีผูแ้ ต่งมากกว่า 2 รายให้อา้ งชื่อของผูแ้ ต่งรายแรก เวน้ วรรคหน่ึงคร้ัง เพ่ิมคาํ ว่า และคณะ เครื่องหมาย จุลภาคตามด้วยปีที่พิมพ์ตามลําดับ (อ่ิมเอม มีสุขและคณะ, 2548 : 12) ให้เรียงลาํ ดับการอ้างอิงตามลาํ ดับพยญั ชนะตัวแรกของชื่อผู้แต่ง เช่นเดียวกับลาํ ดับการอ้างอิงในส่วน เอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิงท้ายบทความ ให้ผู้นิพนธ์เขียนเอกสารอ้างอิงตามรูปแบบของ The American Psychological Association (APA style) สามารถดาวน์โหลดได้ที่ http://web.yru.ac.th/science

การน าเสนอตาราง หวั ขอ้ ตารางใหเ้ ร่ิมที่มุมซา้ ยดา้ นบนของเสน้ ตาราง ตามลาํ ดบั เลขที่ปรากฏในตน้ ฉบบั ตารางที่นาํ เสนอจะตอ้ ง แสดงรายละเอียดที่ครอบคลุมเน้ือหาท้งั หมด โดยไม่จาํ เป็นตอ้ งกลบั ไปอ่านในเน้ือความหรือตารางอื่นประกอบ เมื่อผู้ นิพนธ์ไดน้ าํ เสนอขอ้ มูลไวใ้ นตารางหรือภาพแลว้ ควรหลีกเลี่ยงการนาํ เสนอขอ้ มูลอีกคร้ังในเน้ือความ ควรเขียนชื่อ ตารางในลกั ษณะยอ่ ใจความขอ้ มูลที่นาํ เสนอโดยไม่กล่าวชา้ ในหัวขอ้ ยอ่ ยของตารางอีก หัวขอ้ ยอ่ ยของตารางควรส้ัน กะทัดรัดตารางที่นาํ เสนอมกั เป็นขอ้ มูลตวั เลขที่แสดงการเปรียบเทียบหรือความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มูล ขอ้ มูลที่นาํ เสนอ ในตารางควรมีความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลในส่วนของเน้ือความ หลีกเลี่ยงการใชข้ อ้ มูลที่ไม่จาเป็น สามารถใชค้ าํ ยอ่ ใน ตารางได ้แตค่ วรอธิบายคาํ ยอ่ ที่ไมใ่ ช่คา่ มาตรฐานในเชิงอรรถ (footnote) ให้เขียนเชิงอรรถโดยระบุตัวอักษรภาษาอังกฤษ ไวด้ า้ นบนและเรียงลงมาตามลาํ ดบั ตารางที่สร้างข้ึนมาไม่ตอ้ งมีเส้นสดมภ ์ มีแต่เส้นแนวนอน ตารางที่นาํ เสนอจะตอ้ ง เป็นตารางที่พอเหมาะกบั กระดาษขนาด A4 การนําเสนอรูปภาพ (ภาพถา่ ย กราฟ ชาร์ตหรือไดอะแกรม) ผู้นิพนธ์ต้องนําเสนอรูปภาพที่มีความคมชดั พร้อมระบุหมายเลขกาํ กบั รูปภาพ ตอ้ งมีรายละเอียดของขอ้ มูล ครบถว้ นและเขา้ ใจไดโ้ ดยไมจ่ าเป็นตอ้ ง กลบั ไปอา่ นที่เน้ือความอีก ระบุลาํ ดบั ของรูปภาพทุกรูปใหส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือหา ที่อยใู่ นตน้ ฉบบั และมีขนาดที่เท่ากนั ชื่อของรูปภาพใหเ้ ร่ิมที่มุมซา้ ยลา่ ง JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

83 ในกรณีนาํ เสนอรูปภาพที่มีเสน้ กราฟ ผนู้ ิพนธ์ตอ้ งนาํ เสนอเสน้ กราฟแตล่ ะเสน้ ที่สามารถแยกความแตกต่างกนั ได้และมีคุณภาพดีใช้สัญลักษณ์มาตรฐาน (เช่น สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม) หรือสัญลักษณ์อื่นเป็นตัวแทนนําเสนอได้ หากมีสัญลกั ษณ์กาํ กบั เส้นกราฟ เช่น ดอกจนั ทร์เพื่อแสดงความมีนัยสําคญั ทางสถิติจะตอ้ งอธิบายสัญลกั ษณ์ดงั กล่าว อยา่ งชดั เจนบริเวณเชิงอรรถใตก้ ราฟ กาํ กบั แกน x แกน y และแกน z (หากมี) รวมท้งั อธิบายคา่ ตา่ งๆ ในกราฟท้งั หมด

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

84 แบบเสนอผลงานเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

ชื่อเรื่อง ภาษาไทย...... Title English………………...... ชื่อ -สกลุ ผแู้ ตง่ หลกั ภาษาไทย...... English……………...... ที่อยภู่ าษาไทย...... Address English………………...... รหัสไปรษณีย์...... โทรศัพท์...... โทรสาร...... Email...... ชื่อ-สกลุ ผแู้ ตง่ ร่วม 1...... 2...... 3...... 4...... 5...... ประเภท บทความงานวิจัย (Research Articles) บทความวิชาการ (Review Articles) คา ยนื ยนั ของผู้แต่งทุกท่าน ขา้ พเจ้าขอยืนยนั ว่าบทความน้ีไม่เคยเสนอหรือกาํ ลงั เสนอตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน และยินดีให้กอง บรรณาธิการวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นาเลือกสรรหาผทู้ รงคุณวฒุ ิ เพื่อพิจารณาตน้ ฉบบั ของขา้ พเจา้ โดยอิสระ และ ยนิ ยอมให ้ กองบรรณาธิการฯ สามารถตรวจแกไ้ ขตน้ ฉบบั ดงั กลา่ วไดต้ ามสมควร

ลงชื่อ...... (...... ) ผู้ส่งบทความ วันที่...... /...... /......

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

85 ใบสมัครสมาชิก วารสารสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

ข้าพเจ้า...... นามสกุล...... ✓ ขอสมคั รสมาชิกวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา ✓ ตอ่ อายสุ มาชิกวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา ( ) 1 ปี คา่ สมาชิก 120 บาท ( ) 2 ปี คา่ สมาชิก 240 บาท พร้อมน้ีไดส้ ่ง ( ) เงินสด...... บาท ( ) เช็คธนาคาร...... สาขา...... เลขที่...... วันที่...... ตว๋ั แลกเงิน / ธนาณัติ

โปรดส่งวารสารไปที่ ชื่อ...... นามสกุล...... ที่อย ู่ / ที่ทํางาน...... ถนน...... เขต/อําเภอ...... จังหวัด...... รหัสไปรษณีย์...... โทรศัพท์...... ลงชื่อ...... (...... ) ...... /...... /......

สมาชิกวารสารสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา (ส าหรับเจ้าหน้าที่) สมาชิกเลขที่...... /...... เร่ิมเป็นสมาชิกต้งั แต...... /...... /...... (่ ) ฉบับที่...... หมดอายุ...... /...... /...... ( ) ฉบับที่...... (ฉบับสุดท้าย) ลงชื่อ...... (...... ) ...... /...... /......

JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.13 Vol.5 January – April 2017

86 แบบน าส่งเอกสาร เพื่อตีพิมพใ์ นวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา เรียน บรรณาธิการวารสารส่ิงแวดลอ้ มกบั การพฒั นา ชื่อผสู้ ่งบทความ (ผู้เขียน / ผู้วิจัย) ชื่อ...... นามสกุล...... ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) ...... นกั ศึกษาสงั กดั คณะ...... สาขาวิชา...... มหาวิทยาลัย...... สถานที่ทํางาน...... ที่อยสู่ ถานที่ทาํ งาน...... โทรศัพท์...... โทรสาร...... มือถือ...... Email…………………………..……………………………………………………….……...... Email…………………………..………………………………………………………………...... มีความประสงคข์ อส่ง บทความวิชาการ จํานวน 3 ชุด ( ) มีแผน่ CD ( ) ไมม่ ีแผน CD ( ) เคยตีพิมพเ์ ผยแพร่ในวารสาร...... ( ) ไม่เคยตีพิมพเ์ ผยแพร่ บทความวิจัย จํานวน 3 ชุด ( ) มีแผน่ CD ( ) ไมม่ ีแผน่ CD ( ) เคยตีพิมพเ์ ผยแพร่ในวารสาร...... ( ) ไม่เคยตีพิมพเ์ ผยแพร่ ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) ...... ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) ......

ลงนาม ...... (...... ) ผสู้ ่งบทความ วันที่...... /...... /...... JOURNAL OF ENVIRONMENT AND DEVELOPMENT No.11 Vol.4 May - August 2016

87