วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554 วัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการสาขาวิชาทางการศึกษา การวิจัยและพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม การพัฒนานวัตกรรมด้านการบริหารและพัฒนา และการจัดการความรู้ ตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบบทความวิจัย บทความวิทยานิพนธ์ บทความวิจารณ์หนังสือ และบทความทั่วไป เจ้าของ ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตำ�บลตลาด อำ�เภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000 โทรศัพท์ 0-4374-3143-4 ต่อ 105 ภายใน 6052 โทรสาร 0-4372-1764 ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ประวิต เอราวรรณ์ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.บุญชม ศรีสะอาด อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ปี 2548 บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม ธรรมทัศนานนท์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร อาจารย์ ดร.สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์ กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพียรชัย สำ�นักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (สาขาการศึกษา) ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ สถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ รุญเจริญ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล รองศาสตราจารย์ ดร.นิตย์ บุหงามงคล มหาวิทยาลัยขอนแก่น Prof. Dr.Gary Price University of Wisconsin-Madison, USA Prof. Dr.Marilyn Waring Deakin University, Australia รองศาสตราจารย์ ดร.ฉลาด จันทรสมบัติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.นารีรัตน์ รักวิจิตรกุล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรินธร นามวรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อำ�นาจ ชนะวงศ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ ดร.โกวัฒน์ เทศบุตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ ดร.สุรเชต น้อยฤทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ ดร.ธัชชัย จิตรนันท์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ ไพบูลย์ อนุฤทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ฝ่ายจัดการ นางสาวจิตรลดา อาษาทำ� มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นางสาวจิราพร วิชระโภชน์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม บทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ กองบรรณาธิการไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป ราคาปก 80 บาท Web site: http://www.edu.msu.ac.th พิมพ์วันที่ 15 พฤษภาคม 25561 E-mail: [email protected] ผู้ทรงคุณวุฒิประจำ�วารสาร Journalศาสตราจารย์ of Administration ดร.วิจิตร and Development, ศรีสอ้าน Mahasarakhamมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ University Volume 3 Number 3 September – December 2011 ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพียรชัย สำ�นักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (สาขาการศึกษา) ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ สถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ รุญเจริญ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ศาสตราจารย์ ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ ยกส้าน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศาสตราจารย์ ดร.นพ.กระแส ชนะวงศ์ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย ศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทีมผู้ทรงคุณวุฒิบรรณาธิการประจำ�วารสารชาวต่างประเทศ Prof. Dr.Marilyn WaringDeakin University, Australia Prof. Dr.Matthew H.S.Kuofie University of Michigan, USA Prof. Dr.Gary Price University of Wisconsin-Madison, USA Prof. Patricia Klass Illinois State University, USA Asst. Prof. Dr.Richard Smith Nanyang Technical University, Singapore ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ รุญเจริญ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.พิศมัย ศรีอำ�ไพ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.นีออน พิณประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โคตรบรรเทา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ รองศาสตราจารย์ ดร.นิตย์ บุหงามงคล มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.บุญชม ศรีสะอาด มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.ฉลาด จันทรสมบัติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร ชิวพิมาย มหาวิทยาลัยวงศ์ชวลิตกุล รองศาสตราจารย์ ดร.ลักขณา สริวัฒน์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.ชัญญา อภิปาลกุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.ธูปทอง กว้างสวาสดิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.มนตรี แย้มกสิกร มหาวิทยาลัยบูรพา รองศาสตราจารย์ ดร.สมาน อัศวภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญช่วย ศิริเกษ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย รองศาสตราจารย์ ดร.วีระวัฒน์ อุทัยรัตน์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย รองศาสตราจารย์ ดร.ปองสิน วิเศษศิริ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิณณวัตร ปะโคทัง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชยากานต์ เรืองสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภดล พูลสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภารดี อนันต์นาวี มหาวิทยาลัยบูรพา อาจารย์ ดร.ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ ดร.ธีระวัฒน์ เยี่ยมแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม อาจารย์ ดร.พนายุทธ เชยบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี อาจารย์ ดร.นิคม ชมพูหลง สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 อาจารย์ ดร.มนูญ ศิวารมย์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาจารย์ ดร.อุดมพันธ์ พิชญ์ประเสริฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ2 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

บทบรรณาธิการ

วารสารการบริหารและพัฒนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับ ที่ 2 เดือนพฤษภาคม – เดือนสิงหาคม 2556 ฉบับนี้ประกอบด้วยบทความทั้งหมด 15 เรื่อง แบ่งเป็น บทความวิจัย จำ�นวน 3 เรื่อง บทความวิทยานิพนธ์ จำ�นวน 12 เรื่อง ซึ่งกอง บรรณาธิการหวังว่าบทความในวาสารเล่มนี้จะมีความน่าสนใจและเป็นแนวทางในการเขียน บทความสำ�หรับนักวิจัยรุ่นใหม่ ในสาขาการบริหารการศึกษา หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กองบรรณาธิการขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ทำ�ให้วารสารการบริหารและ พัฒนาฉบับนี้เกิดขึ้น ขอขอบคุณทุกคำ�ติชมและคำ�แนะนำ�เพื่อการปรับปรุงการดำ�เนินการ จัดทำ�วารสารจากท่านผู้อ่านทุกท่าน และกองบรรณาธิการพร้อมที่จะเปิดรับบรรดานัก วิชาการ และนิสิตนักศึกษาที่ต้องการนำ�เสนอผลงานวิชาการ ไม่ว่าจะเป็นบทความทั่วไป บทความวิจัย บทความวิชาการ หรือบทวิจารณ์หนังสือ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย มหาสารคามด้วยความยินดียิ่ง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์. ดร.สุธรรม ธรรมทัศนานนท์ กองบรรณาธิการ

3 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

สารบัญ

บทความวิจัย ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม สุธรรม ธรรมทัศนานนท์ ...... 9 ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนของครูประจำ�การที่ส่งผลต่อแรงบันดาลใจ ในการพัฒนาศักยภาพการสอน สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ ...... 27 แนวทางการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้สำ�หรับประเทศไทย สุมาลี สังข์ศรี ...... 42

บทความวิทยานิพนธ์ การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรียม เจริญพล, พิศมัย ศรีอำ�ไพ, ชวนพิศ รักษาพวก ...... 57 ความต้องการการนิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะของครู ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 โสภณ ชุมพลศักดิ์, สุนทร โคตรบรรเทา, ปรานีพัน จารุวัฒนพันธ์ ...... 77 การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาพลศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชุมพร ศรีเทพย์, พิศมัย ศรีอำ�ไพ, ชวนพิศ รักษาพวก ...... 95 รูปแบบการบริหารความเสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษา สมพิศ คงสิม, วิเชียร ชิวพิมาย, สำ�เริง บุญเรืองรัตน์, สุภัทรา เอื้อวงศ์ ...... 111 การพัฒนารูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) ฐิติชัย รักบำ�รุง, พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ, ทิพย์เกสร บุญอำ�ไพ ...... 124 การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียผรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญาภาษิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 วีราภรณ์ สิทธิวงศ์, พิศมัย ศรีอำ�ไพ, ชวนพิศ รักษาพวก ...... 138

4 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ลักขณา ศรีมามาศ, พัฒนานุสรณ์ สถาพรวงศ, สุมาลี ชูกำ�แพง ...... 153 การพัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผล ของโรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปาริชาติ โน๊ตสุภา, วาโร เพ็งสวัสดิ์, วัลนิกา ฉลากบาง, จิตติ กิตติเลิศไพศาล ...... 167 ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนดีเด่น: การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก สมเกียรติ พละจิตต์, ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร, สมคิด สร้อยน้ำ�, ศิริ ฮามสุโพธิ์ ...... 180 รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ แสงทอง บุญญิ่ง ...... 190 ยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียน สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เจษฎาภรณ์ รอบคอบ, ผศ.ดร.ทศพล อารีนิจ, ผศ.ดร.สุชาติ ลี้ตระกูล, ดร.สุวดี อุปปินใจ ...... 206 กลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน ทองพรรณ ปัญญาอุดมกุล, ดร.สุวดี อุปปินใจ, ผศ.ดร.ทศพล อารีนิจ, ผศ.ดร.สุชาติ ลี้ตระกูล ...... 221

5 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

content

Research Articles Learning Organization Characteristics of Mahasarakham University. Suthum Thummathassananon ...... 9 Channels of information on innovative teaching of teachers affecting the inspiration for the development of teaching Suttipong Hoxsuwan ...... 27 A Guideline for Developing Learning Society for SUMALEE SUNGSRI ...... 42

Thesis Articles The Development of Thai language substance group curriculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5, BanNongchim (Singchanbumrung) School Riam Charoenphon, Pissamai Sri-ampai, Chuanpit Rauksapuak ...... 57 THE NEEDS FOR INTERNAL SUPERVISION ON ART SUBJECTS OF TEACHERS IN SECONDARY SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF SECONDARY EDUCATION SERVICE AREA 32 Sopon Chumponsak, Sunthorn Kohtbantau, Praneephan Jaruwatanaphan ... 77 The Curriculum Evaluation of Bachelor Education Program in Physical Education Institute Northeastern Campus Chumporn Srithep, Pissamai Sri-ampai, Chuanpit Rauksapuak ...... 95 A RISK ADMINISTRATION MODEL FOR FINANCE AND PROCUREMENT IN SECONDARY SCHOOLS Sompit Kongsim, Vichien Chiwapimai, Samrerng Boonruangrutana, Supathra Ur-wongse ...... 111 THE DEVELOPMENT OF DIFFUSION FOR ADOPTION MODEL ON EDUCATIONAL INNOVATION: CASE STUDY OF TEACHER’S TV PROGRAM (TTV) Thitichai luckbumrung, Pongpasert hoksuwan, Tipkeysorn Boonumpai ...... 124 6 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

The Development of Thai Substance Group Curriculum (additional supplement) on the Topic of Phayapasit for Prathomsuksa 5, Ban Nongyarangka School Weeraporn Sittiwong, Pissamai Sri-ampai, Chuanpit Ruksapuak ...... 138 Comparisons of Learning Achievement, Analytical Thinking, and Achievement Motivation of Mathayomsueksa 2 Students Between Using Simulation Approach and Problem Base Learning for social studies, Religion and Culture Learning Strands Lukkhana Srimamas, Pattananusorn Sathapornwong, Sumalee Chookhampaeng ...... 153 A Structural Equation Model of Factors Affecting School Effectiveness Under Local Administration Organizations Parichat Notesupa, Waro Phengsawat, Wannika Chalakbang, Jitti Kittileuspaisan ...... 167 Instructional Leadership in Excellence School: A Grounded Theory Study Somkiat Palajit, Sakthai Surakitborworn, Somkid Sroinam, Siri Hamsupo ...... 180 Collaborative Computer Network Based Learning Model to enhance System thinking’s Skill. Sangtong Boonying ...... 190 Strategies for the Development of Induction Program for Administrators in Schools under The Office of The Basic Education Commission Chetsadaporn Robkhob, Thosapol Arreenich, Suchart Leetrakoon, Suwadee Ouppinjai ...... 206 Strategies of identities of basic education in the North of Thailand Tongphan Punyaudomkul, Suwadee Ouppinjai, Thosapol Arreenich, Suchart Leetrakoon ...... 221

7 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

8 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม Learning Organization Characteristics of Mahasarakham University.

สุธรรม ธรรมทัศนานนท์1 Suthum Thummathassananon1 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อศึกษาระดับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียน รู้ของมหาวิทยาลัยมหาสาคาม ศึกษาระดับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านการบริหาร ปัจจัยด้านบุคคล และปัจจัยด้านบูรณาการทางวิชาการ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านการบริหาร ปัจจัยด้านบุคคล และปัจจัยด้านบูรณา การทางวิชาการกับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสาคาม กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ ของมหาวิทยาลัย มหาสารคาม จำ�นวน 306 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยว กับ ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม แบบสอบถาม เกี่ยวกับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านการบริหารปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านบูรณา การทางวิชาการ และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าความเบี่ยง เบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวม และเป็นรายด้านทุกด้าน ได้แก่ ด้านความคิดเชิงระบบ ด้านการมีแบบแผนความคิด ด้าน การมีวิสัยทัศน์ร่วม ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และด้านการรอบรู้แห่งตนโดยรวมและ เป็นรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก 2. ระดับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านการบริหาร ปัจจัยด้านบุคคล และ ปัจจัยด้านบูรณาการทางวิชาการโดยรวมและเป็นรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก

1ผู้วิจัย หัวหน้าภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 9 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ วัฒนธรรมและบรรยากาศ องค์การ โครงสร้างและงานในองค์การ และสภาพแวดล้อมทางกายภาพ มีความสัมพันธ์ทาง บวกในระดับสูงกับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหาร ได้แก่ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และนวัตกรรม และมาตรฐานการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงมากกับ ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่างมีนัยสำ�คัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านภาวะผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง การมอบอำ�นาจ และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการ เรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคล ได้แก่ แรงจูงใจ ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงมาก กับลักษณะความเป็น องค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 6. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบูรณาการทางวิชาการ ได้แก่ การเรียนรู้ใน องค์การ การสร้างและถ่ายทอดความรู้ และการจัดการความรู้ มีความสัมพันธ์ทางบวกใน ระดับสูงมาก กับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05

คำ�สำ�คัญ:องค์กรแห่งการเรียนรู้ ABSTRACT The purposes of this dissertation were 1) to study the perceptions of faculty members andacademic supporting staff toward the learning organization characteristics of Mahasarakam University inoverall aspect and each of five aspects: systems thinking, mental models, shared vision, team learning, and personal mastery and 2) to study the relationship between environmental factors, administrative factors, human factors, and academic integration factors and learning characteristics of Mahasarakham University. The sample of the study consisted of 306 faculty members and academic supporting staff of Mahasarakham University. The research instrument used for collecting data was a fiveratingscale questionnaire with 96 items. Arithmetic mean, standard deviation, t–test, Pearson product moment correlation and multiple correlation were utilized for data analysis. The results of the study were as follows: 1. Learning organization characteristics of Mahasarakham university in holistic and individual aspects such as systemic thinking, planned thinking, shared vision, team-worked learning, and holistic self-knowing aspects 2. H 2. Holistic were high and individual environmental, administrative, personal, academic integration factor parameters were at high level 3. The environmental factors: organization culture and climate, organization structure and work, and physical environment had statistically positive relationship at the highlevel with the learning organization characteristics of Mahasarakham University at .05 level. 4. The administrative factors: change management and innovations, and performance standards had statistically positive relationship at the highest level with the learning organization characteristics of Mahasarakham University at .05 level. While the transformational leadership,empowerment, and human resource development had statistically positive relationship at the high-level with the learning organization characteristics of Mahasarakham University at .05 level. 5. The human factors: motivation, job satisfaction, and organization commitment, had statistically positive relationship at the highest level with the learning organization characteristics of Mahasarakham University at .05 level. 6. The academic integration factors: learning in organization, knowledge building and transfer and knowledge management had statistically positive relationship at the highest level with the learning organization characteristics of Mahasarakham University at .05 level.

Keywords: learning organization Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

บทนำ� อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดบูรณาการขึ้น เป็นความรู้ใหม่ 2) การมีแบบแผนความคิด การพัฒนาการศึกษาตามแผนการ (Mental Models)เป็นการสร้างจิตสำ�นึกของ ศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – บุคลากรในองค์การในการจำ�แนกสิ่งต่างๆ ให้ 2554) และแผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะ 15 มีความถูกต้อง รวมถึงการทำ�ความเข้าใจใน ปี (พ.ศ. 2545 – 2559) ได้เน้นการศึกษา วิธีการ เพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้อง และตอบ เพื่อพัฒนาใน 2 มิติ มิติแรกเป็นบทบาทการ สนองต่อการเปลี่ยนแปลง ได้อย่างเหมาะ พัฒนาการศึกษา เพื่อการพัฒนาโลกยุคใหม่ที่ สมเป็นรากฐานที่ทำ�ให้บุคคลเกิดการรับรู้ มิใช่เน้นแต่การพัฒนาคน แต่ต้องพัฒนาองค์ เข้าใจงานที่ทำ�แบบองค์รวม สามารถเชื่อม ความรู้ เสริมนวัตกรรมที่เป็นการเพิ่มขีดความ โยงภาพรวมทั้งหมดและเกิดความกระจ่าง สามารถของประเทศ มิติที่สอง เป็นการศึกษา กับแบบแผนความคิด 3) การมีวิสัยทัศน์ร่วม ที่มีวิญญาณของตนเอง สถาบันต้องมีบทบาท (Shared Vision) เป็นการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม ชี้นำ�สังคม เป็นสถาบันภูมิปัญญาของสังคม กันของบุคลากรให้เกิดความตระหนัก ความ (สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. เข้าใจสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง เพื่อการ 2550: ออนไลน์) กำ�หนดเป้าหมาย หรือการสร้างภาพอนาคตที่ องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning มีทิศทางชัดเจนขององค์การ โดยการกระตุ้น Organization) เป็นแนวคิดของ เซงเก้ (Senge. ให้บุคลากรมีวิสัยทัศน์สร้างบรรยากาศให้เกิด 1990) ที่ให้ความสำ�คัญกับทรัพยากรมนุษย์ การสร้างสรรค์ พัฒนาวิสัยทัศน์ของบุคคล ให้ ในฐานะที่มีคุณค่าของหน่วยงาน เน้นการ เป็นวิสัยทัศน์ร่วมขององค์การเพื่อสร้างความ พัฒนาศักยภาพของบุคคลที่เป็นพื้นฐานใน ผูกพันโดยไม่ต้องมีการควบคุม 4) การเรียน การพัฒนาองค์การ ทั้งเอกบุคคล และที่เป็น รู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) เป็นการ ทีม โดยองค์ประกอบที่เป็นหลักสำ�คัญมี 5 เรียนรู้ร่วมกันของบุคลากรในองค์การ โดยการ ประการคือ 1) การคิดเชิงระบบ (Systems แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และความรู้ในการ thinking) เป็นหัวใจที่สำ�คัญขององค์การแห่ง พัฒนาความสามารถของทีมมากกว่าความ การเรียนรู้หมายถึง วิธีคิดและการทำ�ความ สามารถของบุคคลเพียงคนเดียว เนื่องจาก เข้าใจปรากฏการณ์ความเปลี่ยนแปลง ระบบการเรียนรู้ของทีมจะสะท้อนต่อการ สามารถเชื่อมโยงระบบย่อยต่างๆ ในองค์การ เรียนรู้ของแต่ละบุคคล 5) การรอบรู้แห่ง ได้ ความสำ�คัญของการคิดเชิงระบบ คือ การ ตน (Personal Mastery) เป็นลักษณะการ เรียนรู้จากประสบการณ์ การมีข้อมูลย้อน เรียนรู้ของบุคคลที่ขยายขีดความสามารถ กลับ และมีการตรวจสอบซ้ำ�ให้ต่อเนื่องเป็น ในการสร้างสรรค์ผลงาน เป็นบุคคลที่เรียน ระบบ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบได้ รู้ตลอดเวลาโดยอาศัยวิสัยทัศน์ส่วนบุคคล

12 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ในการจัดการด้านความคิดสร้างสรรค์และ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในฐานะที่มีคุณค่าของ มีการเรียนรู้ โดยใช้จิตใต้สำ�นึก(จุฑา เทียน หน่วยงาน ดังนั้นองค์การแห่งการเรียนรู้ จึง ไทย. 2548: 128 – 129; อภันตรี รอด มีความสำ�คัญต่อการเปลี่ยนแปลงองค์การใน สุทธิ. 2541: 13 – 21; วีรวัฒน์ ปันนิตา ด้านการยกระดับความสามารถ ทั้งด้านการ มัย. 2544: 35 – 49) พัฒนาบุคคลและทีมงานโดยทำ�ให้บุคคลเกิด ด้วยภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย การเรียนรู้และมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ (วีร มหาสารคาม อันได้แก่ การผลิตบัณฑิต การ วุธ มาฆะศิรานนท์. 2546: บทนำ�) วิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทำ�นุ ผู้วิจัย จึงสนใจศึกษาลักษณะความ บำ�รุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ของมหาวิทยาลัย มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัย ที่สนับสนุนนโยบาย มหาสารคาม ตามความเห็นของบุคลากร และแนวทางการวิจัยของชาติเป็นหลัก และ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และปัจจัยที่มีความ ให้ความสำ�คัญกับการสนับสนุนด้านการเรียน สัมพันธ์กับลักษณะความเป็นองค์การแห่ง รู้ให้เกิดขึ้นในทุกระดับ มีการเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนรู้ ซึ่งลักษณะความเป็นองค์การแห่ง ของบุคลากรในองค์การได้เป็นระบบอย่าง การเรียนรู้จะก่อประโยชน์ให้กับมหาวิทยาลัย ต่อเนื่อง วิถีทางหนึ่ง คือ การพัฒนาโดยใช้ มหาสารคาม ในการดำ�เนินงาน ด้านการบริหาร กระบวนการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ จัดการ การกำ�หนดนโยบาย ตลอดจนการนำ� เป็นแนวทางของการพัฒนาองค์การ โดยมุ่ง ผลไปพิจารณาเกี่ยวกับการกำ�หนดแผน การ พัฒนาความรู้ของบุคลากร และองค์การ ใน ปฏิบัติงาน แผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย การขยายขีดความสามารถของการพัฒนา และการนำ�ข้อมูลไปปรับใช้กับบุคลากร ให้มี ความรู้ โดยบุคลากรมีการขวนขวายหาความ ความพร้อมในการพัฒนาความเป็นองค์การ รู้ มาแบ่งปันเผยแพร่แก่กัน เพื่อพัฒนางาน แห่งการเรียนรู้ต่อไป ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดการมีองค์กรกำ�หนด นโยบายที่เข้มแข็ง การกระจายอำ�นาจของ ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า บุคคล การมีส่วนร่วมของบุคลากร ในการ 1. เพื่อศึกษาลักษณะความเป็นองค์การ กำ�หนดวิสัยทัศน์ การพัฒนาคุณภาพการ แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศึกษา และการพัฒนาคุณภาพของอาจารย์และ ตามความคิดเห็นของบุคลากรสายวิชาการ นิสิต ประกอบกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และสายสนับสนุนวิชาการ มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาความเป็นเลิศทาง วิชาการ เพื่อก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย 2. เพื่อศึกษาระดับปัจจัยด้านสภาพ และสอดคล้องกับแนวคิดลักษณะความเป็น แวดล้อม ปัจจัยด้านการบริหาร ปัจจัยด้าน องค์การแห่งการเรียนรู้ที่ให้ความสำ�คัญกับการ บุคคล และปัจจัยด้านบูรณาการทางวิชาการ

13 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านการ Sampling) ตามสายการปฏิบัติงาน ประกอบ บริหาร ปัจจัยด้านบุคคล และปัจจัยด้าน ด้วย สายวิชาการ และสายสนับสนุนวิชาการ บูรณาการทางวิชาการ กับลักษณะความเป็น ในคณะวิชา / หน่วยงาน จำ�นวน 306 คน องค์การแห่งการเรียนรู้ ของมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ขั้นตอนการวิจัย การศึกษาลักษณะความเป็นองค์การ สมมติฐานของการวิจัย แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัย ในการวิจัยนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับ ด้านการบริหาร ปัจจัยด้านบุคคล และปัจจัย การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ของ เซงเก้ ด้านบูรณาการทางวิชาการ มีความสัมพันธ์ (Senge. 1990) ที่กล่าวถึงองค์ประกอบหลัก กับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียน สำ�คัญ 5 ประการ (The Fifth Discipline) รู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ของความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ได้แก่ 1) การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) 2) วิธีดำ�เนินการวิจัย การมีแบบแผนความคิด (Mental Models) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3) การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) 4) การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) ประชากร 5) การรอบรู้แห่งตน (Personal Mastery) ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิชาการที่ปฏิบัติงานในหน่วยงาน คณะและ สถาบันต่างๆ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ในปีการศึกษา 2555 จำ�นวน 1,554 คน ข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วน จำ�แนกเป็นบุคลากรสายวิชาการ 945 คน ประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท และสายสนับสนุนวิชาการ จำ�นวน 609 คน (Likert’s Scale) ได้แบบสอบถามที่มีข้อ คำ�ถามทั้งสิ้น 96 ข้อ แบบสอบถามแบ่ง กลุ่มตัวอย่าง ออกเป็น 6 ตอน ดังนี้ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้ ประกอบ ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบ ด้วย บุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุน แบบสอบถาม จำ�นวน 1 ข้อ วิชาการของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตาม สัดส่วนของประชากรและดำ�เนินการคัดเลือก ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามลักษณะ

14 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ จำ�นวน นั้น นำ�แบบสอบถามที่สมบูรณ์ มาตรวจให้ 30 ข้อ คะแนนตามเกณฑ์ที่กำ�หนด และวิเคราะห์ ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ ข้อมูลทางสถิติด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม จำ�นวน 15 ข้อ ตอนที่ 4 เป็นแบบสอบถามเกี่ยว การจัดกระทำ�และการวิเคราะห์ข้อมูล กับปัจจัยด้านการบริหาร จำ�นวน 24 ข้อ 1. ตามความมุ่งหมายของการวิจัย ตอนที่ 5 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ ข้อที่ 1 เพื่อศึกษาลักษณะความเป็นองค์การ ปัจจัยด้านบุคคล จำ�นวน 14 ข้อ แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตอนที่ 6 เป็นแบบสอบถามเกี่ยว โดยการหาค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) และ กับปัจจัยด้านบูรณาการทางวิชาการ จำ�นวน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard 13 ข้อ Deviation) 2. การประเมินลักษณะความเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูล องค์การแห่งการเรียนรู้ โดยเทียบกับเกณฑ์ ที่ผู้วิจัยกำ�หนด ดังนี้ การเก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 2.1 ถ้าลักษณะความเป็นองค์การ แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1. ขอหนังสือแนะนำ�ตัวจากคณะ สูงกว่าค่า 3.00 ซึ่งเป็นเกณฑ์ตามมาตรวัด ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ของไลเคอร์ท (Likert) อย่างมีนัยสำ�คัญทาง เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติ ถือว่า ลักษณะความเป็นองค์การแห่ง จากกลุ่มตัวอย่าง การเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคามอยู่ 2. นำ�แบบสอบถามพร้อมทั้งหนังสือ ในระดับสูงกว่าเกณฑ์ แนะนำ�ตัวไปเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง โดย 2.2 ถ้าลักษณะความเป็นองค์การ ผู้วิจัยแจกแบบสอบถามไปยังคณะวิชา/ แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาลัย / สถาบันศูนย์ / สำ�นัก/ และรับ ต่ำ�กว่าค่า 3.00 อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ คืนด้วยตนเอง ถือว่า ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการ 3. นำ�แบบสอบถามที่ได้รับคืน มา เรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อยู่ใน ดำ�เนินการตรวจสอบความสมบูรณ์ของ ระดับต่ำ�กว่าเกณฑ์ แบบสอบถามแบบสอบถามที่ส่งไป จำ�นวน 2.3 ถ้าลักษณะความเป็นองค์การ 306 ฉบับ ได้รับคืนและมีความสมบูรณ์ แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำ�นวน 306 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ100 จาก

15 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ไม่พบว่าแตกต่างจากค่า 3.00 ถือว่า ผลการวิจัย ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ผลการวิจัยลักษณะความเป็นองค์การ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อยู่ในระดับ แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไม่แตกต่างจากเกณฑ์ สรุปได้ ดังนี้ 3. ความมุ่งหมายของการวิจัยข้อ 1. บุคลากรสายวิชาการและ ที่ 2 เพื่อศึกษาระดับปัจจัยปัจจัยด้านสภาพ สายสนับสนุนวิชาการ มีความคิดเห็นต่อ แวดล้อม ปัจจัยด้านการบริหาร ปัจจัยด้าน ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ บุคคล และปัจจัยด้านบูรณาการทางวิชาการ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวมและ โดยการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยง เป็นรายด้านทุกด้าน ได้แก่ ด้านความคิดเชิง เบนมาตรฐาน ระบบ ด้านการมีแบบแผนความคิด ด้านการ 4. ความมุ่งหมายของการวิจัยข้อ 3 มีวิสัยทัศน์ร่วม ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านภาพ และด้านการรอบรู้แห่งตนอยู่ในระดับมาก แวดล้อม ปัจจัยด้านการบริหาร ปัจจัยด้าน 2. ระดับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม บุคคล และปัจจัยด้านบูรณาการทางวิชาการ ปัจจัยด้านการบริหาร ปัจจัยด้านบุคคล และ กับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ปัจจัยด้านบูรณาการทางวิชาการโดยรวมและ โดยการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เป็นรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก แบบ เพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) และสหสัมพันธ์ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย พหุคูณ (Multiple Correlation) ด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านการบริหาร ปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านบูรณาการทาง สถิติที่ใช้ในการวิจัย วิชาการกับลักษณะความเป็นองค์การแห่ง การเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย มหาสารคาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ในแต่ละด้าน ดังนี้ ค่าเฉลี่ย ( EMBED Equation.3 ),ส่วนเบี่ยง 3.1 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ เบนมาตรฐาน (S.D.), ค่าอำ�นาจจำ�แนกของ วัฒนธรรมและบรรยากาศองค์การ โครงสร้าง แบบสอบถาม โดยใช้การทดสอบที (t-test) และงานในองค์การ และสภาพแวดล้อมทาง และค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดย กายภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง ใช้การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha- กับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียน Coefficient) รู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่างมีนัย สำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05

16 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

3.2 ปัจจัยด้านการบริหาร ได้แก่ อภิปรายผล การบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม 1. การศึกษาลักษณะความเป็น และมาตรฐานการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์ องค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย ทางบวกในระดับสูงมากกับลักษณะความ มหาสารคาม ตามความคิดเห็นของบุคลากร เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย สายวิชาการ และบุคลากรสายสนับสนุน มหาสารคาม อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ วิชาการ พบประเด็นสำ�คัญ ซึ่งผู้วิจัยนำ�มา .05 ส่วนด้านภาวะผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง อภิปรายดังนี้ การมอบอำ�นาจ และการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง 1.1 ลักษณะความเป็นองค์การแห่ง กับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียน การเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตาม รู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่างมีนัย ความคิดเห็นของบุคลากรสายวิชาการทั้งโดย สำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 รวมและเป็นรายด้านทุกด้าน อยู่ในระดับ มาก พบว่า ข้อ 25 บุคลากร มีการแสดง 3.3 ปัจจัยด้านบุคคล ได้แก่ แรงจูงใจ ความรู้ใหม่ๆ เพื่อการพัฒนาศักยภาพของ ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันต่อ ตนให้ทันสมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก องค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง ข้อ 29 บุคลากรมีความกระตือรือร้นสนใจ มาก กับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการ ต่อการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ข้อ30 บุคลากรใน เรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่าง หน่วยงานเป็นบุคคลที่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา มีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 บุคลากรสายวิชาการเห็นว่าอยู่ในระดับมาก 3.4 ปัจจัยด้านบูรณาการทางวิชาการ นอกจากนั้น การประเมินเปรียบเทียบกับ ได้แก่ การเรียนรู้ในองค์การ การสร้างและ เกณฑ์ที่กำ�หนด พบว่า ลักษณะความเป็น ถ่ายทอดความรู้และการจัดการความรู้ มี องค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย ความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงมาก กับ มหาสารคาม ทั้งโดยรวมและเป็นรายด้าน ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ทุกด้าน อยู่ในระดับมาก ส่วนข้ออื่นๆ ใน ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่างมีนัย 5 ด้าน มีความคิดเห็น อยู่ในระดับมากทุก สำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้อ ที่เป็นเช่นนี้ อาจเป็นเพราะบุคลากรสาย 3.5 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัย วิชาการและสายสนับสนุน ซึ่งทำ�หน้าที่สอน ด้านการบริหาร ปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้าน วิจัย การให้บริการแก่สังคม และชุมชนและ บูรณาการทางวิชาการ และปัจจัยโดยรวม มี การทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม ยังเข้าไปมี ความสัมพันธ์กับลักษณะความเป็นองค์การ ส่วนร่วมในการพัฒนาตน พัฒนางาน และ แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พัฒนาองค์ความรู้ในวิชาชีพที่เป็นลักษณะ อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 17 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

สำ�คัญของลักษณะความเป็นองค์การแห่ง โรงพยาบาลของรัฐ โดยรวมอยู่ในระดับสูง การเรียนรู้ ในหน่วยงานไม่ครบถ้วนประกอบ โดยฝ่ายพยาบาลสังกัด กระทรวงกลาโหม ขอบข่ายภาระงานของบุคลากรสายวิชาการที่ กระทรวงสาธารณสุข สำ�นักงานตำ�รวจ มีภาระงาน และค่าน้ำ�หนักของงานมาก ทำ�ให้ แห่งชาติ อยู่ในระดับสูง และสังกัดทบวง บุคลากรสายวิชาการที่ทำ�หน้าที่ตามภารกิจ มหาวิทยาลัยทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทั้ง 4 ประการ 1.2 ลักษณะความเป็นองค์การแห่ง มีภาระงานที่มากขึ้นและบุคลากรสายวิชาการ การเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ยังต้องปฏิบัติตน ตามแนวทางการประเมิน ตามความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุน ของมหาวิทยาลัย ในกำ�กับของรัฐจึงทำ�ให้ วิชาการและสายสนับสนุน โดยรวม อยู่ใน บุคลากรสายวิชาการ มีความคิดเห็นในราย ระดับมาก แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านและรายข้อดังกล่าว อยู่ในระดับมาก ส่วน ได้แก่ ด้านความคิดเชิงระบบ ด้านการมี ด้านการรอบรู้แห่งตน บุคลากรสายวิชาการ แบบแผนความคิด ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วม สายสนับสนุน มีความคิดเห็นในระดับมาก และด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เห็นว่า อยู่ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะบุคลากรสายวิชาการและ ในระดับมาก ด้านการรอบรู้แห่งตนบุคลากร สายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม สายสนับสนุนวิชาการและสนับสนุนเห็นว่า มีคุณลักษณะในด้านความกระตือรือร้นมี อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาในราย ความสนใจใฝ่เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ อย่าง ต่อเนื่อง ข้อ พบว่า ด้านความคิดเชิงระบบในระดับ สม่ำ�เสมอ ซึ่งเป็นลักษณะสำ�คัญของ การ มาก ในข้อ 4 บุคลากร ใช้หลักความเป็น รอบรู้แห่งตนสอดคล้องกับแนวคิดของ เซง เหตุเป็นผลในการหาคำ�ตอบของการพัฒนา เก้ (Senge. 1990: 223 – 237) ที่กล่าว งาน ข้อ 5 บุคลากร พบว่า บุคลากรมีการบู ว่า การรอบรู้แห่งตน เป็นลักษณะการเรียน รณาการความรู้ใหม่และนำ�มาประยุกต์ใช้ใน รู้ของบุคคลที่ขยายขีดความสามารถ ในการ การปฏิบัติงาน ด้านการมีแบบแผนความคิด สร้างสรรค์ผลงานที่ต้องสร้าง ให้มีลักษณะ ข้อที่มีความคิดเห็นในระดับมากคือ ข้อ 6 เป็นนายของตนเอง ความเป็นตัวของตัวเอง บุคลากรในหน่วยงานเป็นผู้มีวิจารณญาณ เป็นบุคคลที่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เพื่อพัฒนา พิจารณาในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม ศักยภาพของตน เช่นเดียวกับงานวิจัยของ ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ข้อที่มีความคิด บุบผา พวงมาลี (2542: บทคัดย่อ) ที่ได้ เห็นอยู่ในระดับมาก คือ ข้อ 21 การทำ�งาน ศึกษาการรับรู้ ความเป็นองค์การแห่งการ เป็นทีม ทำ�ให้การปฏิบัติงานของสมาชิกเป็น เรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของ ไปอย่างรวดเร็วทันเหตุการณ์ ข้อ 22 การ รัฐ เขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ความเป็น ทำ�งานเป็นทีม ทำ�ให้บุคลากรคำ�นึงถึงเป้า องค์การแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล หมาย และผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า

18 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ส่วนตัว ด้านการรอบรู้แห่งตนข้อที่มีความ รู้ และประสบการณ์ โดยต่างเป็นทรัพยากร คิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ ข้อ 25 บุคลากร ความรู้ร่วมกัน ข้อ 18 หน่วยงานเปิดโอกาส มีการแสวงหาความรู้ใหม่ๆ เพื่อการพัฒนา และกระตุ้นในการแข่งขันด้านการทำ�งาน ศักยภาพ ของตนให้ทันสมัย และทันต่อการ เป็นทีม ข้อ 19 บุคลากรในหน่วยงาน มี เปลี่ยนแปลงของโลก ข้อ 28 บุคลากรมีการ การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ร่วมกัน ข้อ 20 ใน ใช้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติงาน การเรียนรู้ในหน่วยงาน ข้อ 29 บุคลากรมี บุคลากรมีส่วนร่วมในการเสนอแนะ ความกระตือรือร้นสนใจต่อการเรียนรู้สิ่ง ความคิดเห็น ในการปฏิบัติงาน ด้านการ ใหม่ๆ ข้อ 30 บุคลากรในหน่วยงานเป็น รอบรู้แห่งตน คือ ข้อ 24บุคลากรในหน่วย บุคคลที่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา นอกจากนั้น งานได้พัฒนาความสามารถของตน เพื่อ การประเมินเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ยังพบ การสร้างงาน และการบรรลุเป้าหมายของ ว่าลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียน หน่วยงานอย่างต่อเนื่อง ข้อ 26 บุคลากร รู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทั้งโดยรวม มีการนำ�ความรู้ หรือวิทยาการใหม่ๆ หรือ และเป็นรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก จากรายงานการวิจัยใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ ส่วนข้ออื่นๆ ใน 5 ด้าน มีความคิดเห็นอยู่ ในหน่วยงาน ข้อ 27 บุคลากรมีการทำ�งาน ในระดับมากได้แก่ ด้านความคิดเชิงระบบ วิจัย เพื่อปรับปรุงคุณภาพงานหรือการสร้าง คือ ข้อ 1 บุคลากรในหน่วยงานมีวิธีคิดใน องค์ความรู้ในหน่วยงาน ที่เป็นเช่นนี้อาจเป็น การปฏิบัติงานแบบมุ่งพัฒนาโดยรวมข้อ 2 ไปได้ว่า บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ได้ บุคลากรในหน่วยงานมีความสามารถเชื่อมโยง รับการสนับสนุนส่งเสริมในการศึกษาอบรม งานได้อย่างเป็นระบบ ข้อ 3 บุคลากรมีการ ต่อเนื่องอย่างสม่ำ�เสมอ แต่เมื่อนำ�มาใช้ใน ปรับเปลี่ยนวิธีคิดในความเชื่อ ค่านิยม ให้มี การปฏิบัติงานในหน่วยงาน ก็ไม่สามารถ ความเหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน ด้านการมี ใช้ความรู้ความสามารถได้เต็มที่ในระบบ แบบแผนความคิด คือ ข้อ 7 หน่วยงานเน้น ของงาน ซึ่งอาจเป็นเพราะว่า หน่วยงาน การให้ข้อมูลย้อนกลับ โดยการศึกษาปัญหา ต่างๆ อาจมีลักษณะความเป็นองค์การแห่ง เพื่อปรับปรุงสภาพการณ์ ที่เป็นอยู่ ข้อ 9 การเรียนรู้ ทั้ง 5 ประการ แตกต่างกันหรือ หน่วยงานทำ�หน้าที่ประสานกระบวนการคิด หน่วยงานขาดบรรยากาศในด้านการเรียน และการเรียนรู้ของบุคลากร ทั้งภายใน และ รู้ จึงทำ�ให้บุคลากรสายสนับสนุนมีความคิด ภายนอกหน่วยงาน ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วม เห็นอยู่ในระดับมาก สอดคล้องการศึกษา ทุกข้อ อยู่ในระดับมาก ด้านการเรียนรู้ร่วม ของ ปัทมา จันทวิมล (2544: บทคัดย่อ) กันเป็นทีมคือข้อ 17 บุคลากรในหน่วยงาน ที่ศึกษาตัวแปรคัดสรร ที่ส่งผลต่อลักษณะ มีการเรียนรู้ร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนความ การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของหน่วยฝึก

19 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

อบรมภาคเอกชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตามสมมติฐานที่ได้กำ�หนดไว้ เมื่อพิจารณา ตัวแปรคัดสรรทางบวก 3 อันดับแรก ได้แก่ เป็นรายด้านผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าเปิดใจกว้าง ยอมรับการเปลี่ยนแปลง 3.1 ด้านวัฒนธรรมและบรรยากาศ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นหัวหน้ามีวิสัยทัศน์ด้านการ องค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ใน เรียนรู้ และหัวหน้าพร้อมที่จะสนับสนุนให้ ระดับสูงกับลักษณะความเป็นองค์การแห่ง เกิดบรรยากาศการเรียนรู้ การเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2. การศึกษาระดับค่าเฉลี่ยส่วน อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05(r = เบี่ยงเบนมาตรฐาน ของปัจจัยด้านสภาพ .723) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ มหาวิทยาลัย แวดล้อม ด้านการบริหาร ด้านบุคคล ด้าน มหาสารคามเป็นมหาวิทยาลัยที่มีอายุ บูรณาการทางวิชาการ, ปัจจัยด้านสภาพ ยาวนานกว่า 50 ปี วัฒนธรรมของความ แวดล้อม,ปัจจัยด้านวัฒนธรรมและบรรยากาศ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ผลิตครู อันยาวนาน องค์การ,ปัจจัยด้านโครงสร้างและงานใน ได้หล่อหลอมให้บุคลากรมีความเป็นหนึ่ง องค์การ,ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทาง เดียวกัน และมีความรักต่อองค์การ ประกอบ กายภาพ,ปัจจัยด้านการบริหาร, ปัจจัยด้าน กับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ยกฐานะ ภาวะผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง, ปัจจัยด้านการ เป็นมหาวิทยาลัยอิสระจาก มหาวิทยาลัย บริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม,ปัจจัย มหาสารคามงบประมาณ ด้านการพัฒนา ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, ปัจจัยด้าน และส่งเสริมการสร้างบรรยากาศในองค์การ การมอบอำ�นาจ, ปัจจัยด้านมาตรฐานการ ที่ทำ�ให้บุคลากรมีความประทับใจ จึงทำ�ให้ ปฏิบัติงานในองค์การ,ปัจจัยด้านแรงจูงใจ, ผลการศึกษาความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง ปัจจัยความพึงพอใจในงาน, ปัจจัยด้าน สอดคล้องกับแนวคิดของ สมยศ นาวีการ ความผูกพันต่อองค์การ, ปัจจัยด้านบูรณา (2536: 330) ที่กล่าวว่า วัฒนธรรมและ การทางวิชาการ, ปัจจัยด้านการสร้างและ บรรยากาศองค์การ มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติ ถ่ายทอดความรู้และ ปัจจัยด้านการจัดการ งานของผู้บริหาร และบุคลากรในองค์การ ความรู้โดยรวมอยู่ในระดับมาก ให้ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ 3. ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมโดย สอดคล้องกับแนวคิดของ บราว และ โม รวมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับ เบิร์ก (Brown ; & Moberg. 1980: 420) ลักษณะ ที่กล่าวว่า วัฒนธรรมและบรรยากาศองค์การ ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของ จะช่วยวางรูปแบบความคาดหวังของสมาชิก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อย่างมีนัยสำ�คัญ และยังเป็นตัวกำ�หนด เจตคติที่ดี ความพอใจ ทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .779) ซึ่งเป็นไป ที่จะอยู่กับองค์การต่อไป เช่นเดียวกับการ ศึกษางานวิจัยของ แมคอนาลลี(Mcanally.

20 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

1997: Abstract) เรื่อง วัฒนธรรมองค์การ วรเดช จันทรศร (2549: 36 – 37) ที่กล่าว ที่สนับสนุน หรือไม่สนับสนุนการสร้างสรรค์ ว่า โครงสร้างขององค์การเป็นรูปแบบที่เป็น ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ พบว่า แก่นแท้ขององค์การทั้งหมด โดยการเชื่อม พื้นฐานที่สนับสนุนความเป็นองค์การแห่ง โยงเป้าหมายกับการปฏิบัติ และควบคุม การเรียนรู้ ได้แก่การประสานความร่วมมือ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารกับผู้รับบริการ โปรแกรมการปฏิบัติงาน โปรแกรมการฝึก 3.3 ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ อบรม และกระบวนการปฏิบัติงานของบุคคล มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูงกับ 3.2 ด้านโครงสร้างและงานในองค์การ ลักษณะความเป็นองค์การแห่ง มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง การเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม กับลักษณะความเป็นองค์การแห่ง อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = การเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม .635) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะบุคลากรส่วนใหญ่ อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (r = มีความคิดเห็นว่า สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และ .715) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าบุคลากรสาย สภาพห้องที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มีความ วิชาการ และสายสนับสนุนวิชาการ ซึ่งมีความ สำ�คัญต่อประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน คิดเห็นต่อโครงสร้างและงานในองค์การอยู่ สำ�หรับข้อที่บุคลากรสายวิชาการและสาย ในระดับสูงกว่าเกณฑ์ 3.00 เนื่องจาก พระ สนับสนุนวิชาการมีประเด็นรายข้ออยู่ใน ราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ระดับมาก คือ ข้อ 11 หน่วยงานจัดสภาพ 2551 ที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต้องปรับ แวดล้อมการทำ�งานเหมาะสมและสะดวกใน เปลี่ยนระบบการทำ�งานเป็นมหาวิทยาลัย การปฏิบัติงาน ข้อ 12 หน่วยงานกำ�หนดให้ ในกำ�กับของรัฐจึงทำ�ให้แนวนโยบาย และ มีการใช้ อาคารสถานที่ภายในหน่วยงานให้ มาตรฐานการปฏิบัติงานในภาพรวมของ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเรียนการสอนที่ หน่วยงาน ยังมีผลบังคับใช้โดยใช้แนวปฏิบัติ เป็นเช่นนี้ อาจเป็นไปได้ว่า เนื่องจากหลาย เดิมอยู่ จึงทำ�ให้ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง หลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ และงานในองค์การ กับลักษณะความเป็น เปิดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และ องค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย ปริญญาเอกทั้งในหลักสูตรภาคปกติและภาค มหาสารคาม อยู่ในระดับสูงสอดคล้องกับ พิเศษ จึงทำ�ให้สภาพแวดล้อมทางกายภาพ แนวคิดของ สุพานี สฤษฎ์วานิช (2549:437) ที่ส่งผลต่อการทำ�งาน และการใช้ประโยชน์ ที่กล่าวว่า โครงสร้างและงานในองค์การช่วย สูงสุด มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก แสดง สนับสนุนการสร้างข้อได้เปรียบในการแข่งขัน ว่า ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ มี ขององค์การและยังสอดคล้องกับแนวคิดของ ประสิทธิภาพดีสอดคล้องกับแนวคิดของ สุ

21 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

พจน์ บุญวิเศษ (2547: 197 – 198) และ 1.2 จากการศึกษาปัจจัยด้านสภาพ เนตร์พัณณา ยาวิราช (2546: 34 – 35) แวดล้อมกับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการ ที่กล่าวว่า สภาพแวดล้อมทางกายภาพเป็น เรียนรู้หน่วยงานควรมีการกำ�หนดโครงสร้าง กลยุทธ์ในการจัดองค์การให้ดำ�เนินไปอย่าง ขอบเขตการปฏิบัติงานในแต่ละส่วนไว้ให้ มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับแนวคิด ชัดเจนเพื่อให้บุคลากรมีแนวทางในการปฏิบัติ ของ รอบบินส์ และ คูลเตอร์ (2546: 23) งานได้อย่างมีคุณภาพ ด้านสภาพแวดล้อม ที่กล่าวว่า สภาพแวดล้อม มีอิทธิพลและ ทางกายภาพ ควรมีการจัดสรรงบประมาณ ส่งผลกระทบต่องานขององค์การ ทั้งทาง เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้มีโอกาสใช้วัสดุ บวกและทางลบ อุปกรณ์ ให้มีปริมาณเพียงพอในการปฏิบัติ ทุกฝ่าย อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพและ ข้อเสนอแนะ ประสิทธิผลของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1. ข้อเสนอแนะในการนำ�ไปใช้ 1.3 จากการศึกษาปัจจัยด้านการ บริหารกับลักษณะความเป็นองค์การแห่งการ 1.1 จากผลการวิจัยลักษณะความ เรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม หน่วย เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย งานควรมีการจัดสรร และพัฒนางาน ด้าน มหาสารคามตามความคิดเห็นของบุคลากร การศึกษาต่อ การฝึกอบรมต่างๆ ให้มาก สายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ เมื่อ ขึ้น และมีความครอบคลุมบุคลากรทุกฝ่าย พิจารณาลักษณะความเป็นองค์การแห่งการ ด้านการมอบอำ�นาจ ผู้บริหารในหน่วยงาน เรียนรู้เป็นรายด้าน ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะว่า ต่างๆ ควรเพิ่มการมอบอำ�นาจไปตามลำ�ดับ ด้านความคิดเชิงระบบนั้น มหาวิทยาลัย ชั้นความเหมาะสมเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมี มหาสารคามควรพัฒนาและส่งเสริมให้ อำ�นาจในการตัดสินใจ เกิดความรับผิดชอบ บุคลากรสายวิชาการ สายสนับสนุน ได้มี ต่อการตัดสินใจการปฏิบัติงานด้านมาตรฐาน โอกาสในการรับการฝึกอบรม การฝึกทักษะ การปฏิบัติงานหน่วยงาน ควรมีการจัดทำ� ด้านวิธีคิดเชิงระบบที่สามารถนำ�มาพัฒนา คู่มือ หรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน เพื่อใช้ ปฏิบัติงานแบบมุ่งพัฒนา โดยรวม และการ เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และควรมี เชื่อมโยงระหว่างบุคลากรได้อย่างเป็นระบบ เกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อ ด้านการมีแบบแผนความคิด บุคลากรสาย ส่งเสริมให้บุคลากร มีการพัฒนาคุณภาพ วิชาการ สายสนับสนุนควรมีการปรับเปลี่ยน งานอย่างต่อเนื่อง วิธีคิดให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ มหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่างๆ ของ 1.4 การศึกษาปัจจัยด้านบุคคลกับ มหาวิทยาลัย ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของ

22 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

มหาวิทยาลัยมหาสารคามหน่วยงานต่างๆ ให้บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน ควรสนับสนุนด้านทรัพยากร ที่อำ�นวยความ ตลอดจนการส่งเสริมการพัฒนาทีมงานที่ สะดวกในการปฏิบัติงาน ตลอดจนสนับสนุน ทำ�หน้าที่ในด้านการบริหารจัดการความรู้ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน อย่าง แก่บุคลากร ทั้งในด้านการเก็บรักษาความ เหมาะสม และเป็นธรรม ด้านความผูกพัน รู้ การเผยแพร่ และการสร้างองค์ความรู้ใหม่ ต่อองค์การ หน่วยงานต่างๆ ควรพัฒนา 2. ข้อเสนอแนะสำ�หรับการวิจัย กลไกที่ส่งเสริมความผูกพันต่อองค์การเพื่อ ต่อไป ให้บุคลากร มีความรู้สึกภาคภูมิใจต่อองค์การ 2.1 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบ มีความรู้สึกรัก และผูกพันในการปฏิบัติงาน ลักษณะความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ให้กับหน่วยงาน ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และสถาบัน 1.5 การศึกษาปัจจัยด้านบูรณาการ อุดมศึกษาของเอกชนตามความคิดเห็นของ ทางวิชาการกับลักษณะความเป็นองค์การ บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ แห่งการเรียนรู้หน่วยงานควรสนับสนุนใน 2.2 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบ ด้านการเผยแพร่ความรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อื่นๆกับลักษณะ ในวารสาร ในเว็บไซต์ และบุคลากรควรมีการ ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ถ่ายทอดความรู้ ข้อมูลที่จำ�เป็นและสำ�คัญ ระหว่างบุคลากร เพื่อนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จ 2.3 ควรมีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ของการปฏิบัติงาน และการสร้างองค์ความ หรือการศึกษาเชิงคุณภาพเพิ่มเติม โดยการ รู้ได้อย่างเหมาะสม ด้านการจัดการความรู้ สัมภาษณ์หรือการสนทนากลุ่มระหว่าง เสนอแนะว่า หน่วยงานต่างๆ ควรส่งเสริม บุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาอื่น

23 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Reference Ministry of Education (2007). News from the Ministry of Education. Retrieved on 8 February 2007, from http://www.moe.go.th Chanpen Sitthiwongse (2002). Relationship between creation of empowerment in work and job satisfaction of staff nurses of Srinagarind Hospital. The- sis of Bachelor of Nursing Science (Nursing Administration). Khon Kaen: Graduate School Khon Kaen University. Jitthawin Chantraboon (2008). Relations between leadership, organizational climate, conflict and dealing with conflicts of head nurses based on recognition of registered nurses of Community Hospital Area 3. Thesis of Bachelor of Nursing Science (Nursing Administration). Phitsanulok: Graduate School . Copied. Chatchanok Saisuwan (2008). Adjusted influence of vocational teachers and organizational climate as perceived on the causal model of the require- ments at individual level in leading to the organization of learning. Thesis of Curriculum and Teaching (Educational Research Methodology). Bangkok. Graduate School . Copied. Tula Mahasuthanont (2004) Principle of Management and Principle of Adminis- tration. Bangkok: Permsup Printing House. Ministry of University Affairs (2001). Report of the Seminar on Advancement of Thai Education. Bangkok: Ministry of University Affairs. Narumon Kongpasuk (2005). Learning Organization: a Case Study of Raman Hospital. Master of Arts (Social Development). Bangkok: Graduate School Project of National Institute of Development Administration. Copied. Namthip Wipawin (1994). Managing Knowledge and Knowledge Warehouse. Bangkok: SR Printing Mass Products. Nisadal Wechayanont (1998). Concept on Creating Learning Organization. Jour- nal of Public and Private Management 7(1): 1 – 21.

24 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Blanchard, Ken., Carlos, John., Randolph, Alan (2001). Decentralized Organi- zation. Translated by Wannaporn Krailert. Bangkok: Siam Silp Print and Pack. FedEx Delivers. Pornthida Wichianpunya (2004). Knowledge Management: Basic and Applica- tion. Bangkok: Expernet. ------. (2004 Kor). Knowledge Management. Bangkok: Expernet. Porter, Michael E. (2005). Strategy and Internet to Create a Competitive Advan- tage. Translated by Thitinant Itharat. Bangkok: Expernet. Wichan Panich (2005). Knowledge Management: Practitioner. Bangkok: Mental Health. Werawut Makasiranont (2003). Learning Organization to Genius Organization. Bangkok: Expernet. Werawat Punnitamai (2001). Learning Organization Development. 2nd Edition. Bangkok: Theerapom Literature. Siriporn Pongsriroj (1997). Organization and Management. 6th Edition. Bangkok: Technique 19. Office of the Education Council, Ministry of Education (2005). Officials Develop- ment Strategic Plan 2005-2008. Bangkok: Prik Wan Graphics. Bureau of Standards and Evaluation, Ministry of University Affairs (2003). Student Training Course to Support for Quality Assurance within Higher Education Institutions. Bangkok: Sahamitr Printing. Brown, W.B; & Moberg, D. J. (1980). Organization Theory and Management: A Macro Approach.New York: John Wiley & Sons. Ceppeteli, E.B. (1995, October). Building a Learning Organization Beyond the Wall. Journal of Nursing Administration. 25: 56 – 60. Senge, P.M. (1990). The Fifth Discipline:The Art and Practice of the Learning Organization. London:Century Press.

25 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Tempongko, Ma. Sandra B.; et al. (2005). Capacity Building for Health Empow- erment: A Case Study.Journal of Southeast Asian Education. 5(1 – 2): 103 – 118.

26 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนของครูประจำ�การที่ ส่งผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอน Channels of information on innovative teaching of teachers affecting the inspiration for the development of teaching

สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ1 Suttipong Hoxsuwan1 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรม การสอนของครูประจำ�การที่ส่งผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอน 2) เพื่อ ศึกษาแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอนของครูประจำ�การที่มีผลจากการได้รับ สารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอน และกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูประจำ�การสังกัดสำ�นักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจำ�นวน 15 เขต แต่ละสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กำ�หนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จำ�นวน 400 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling)เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.971 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏดังนี้ 1. ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนของครูประจำ�การที่ส่งผลต่อ แรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอน 1.1) ช่องทางสื่อสารสนเทศด้านนวัตกรรม การสอน พบว่า มากที่สุด คือ หนังสือ ตำ�รา วารสาร งานวิจัย 1.2) ช่องทางการได้รับ สารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนจาก พบว่า มากที่สุด คือ หนังสือ ตำ�รา วารสาร งาน วิจัย 1.3) ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนประเภทที่นำ�ไปใช้ประโยชน์กับ นักเรียน พบว่า มากที่สุด คือ หนังสือ ตำ�รา วารสาร งานวิจัย รองลงมา 1.4) ช่องทางการ

1รองศาสตราจารย์ ดร.ประจำ�ภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม 1Assoc.Prof. Dr. Educational Technology and Communications, Faculty of Education, Mahasarakham University 27 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

รับสารสนเทศใดที่ได้รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่ชัดเจน พบว่า มากที่สุด คือ กิจกรรม ได้แก่ การอบรมสัมมนาและการจัดนิทรรศการ 1.5) ช่องทางการรับสารสนเทศ ด้านนวัตกรรมการสอนประเภทที่มีรูปแบบการเผยแพร่ที่น่าสนใจ พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ครู (Teacher TV)1.6) ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่ได้รับ แล้วทันตามเวลากำ�หนด พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ครู (Teacher TV) 1.7) ช่องทางการ รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่ได้รับแล้วใช้ถ้อยคำ�เข้าใจง่าย พบว่า มากที่สุด คือ บุคคล ได้แก่ การถาม-ตอบ ครู ศึกษานิเทศ 1.8) ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรม การสอนที่สามารถชักจูงและเป็นแรงบันดาลใจที่พัฒนาตนเองด้านการสอน พบว่า มาก ที่สุด คือ โทรทัศน์ครู (Teacher TV) 1.9) ความต้องการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการ สอนจากช่องทางที่มีความสะดวกในการรับสารสนเทศ พบว่า มากที่สุด คือ หนังสือ ตำ�รา วารสาร งานวิจัย 1.10) ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่คิดว่าควรมีการ เพิ่มเติมและปรับปรุง พบว่า มากที่สุด คือ อินเทอร์เน็ต 2. แรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอนของครูประจำ�การที่มีผลจากการได้ รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนในการพัฒนาศักยภาพของครู, สามารถนำ�สารสนเทศ ด้านนวัตกรรมในการพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการวิจัย, การพัฒนาสื่อ และ/หรือ นวัตกรรมการเรียนการสอน โดยรวม อยู่ในระดับมาก

คำ�สำ�คัญ:ช่องทางการรับนวัตกรรม, นวัตกรรมการสอน, แรงบันดาลใจ

Abstract The purpose of this study was to 1) Study for Channels of information on innovative teaching of teachers affecting the inspiration for the development of teaching 2) Study about teachers’s affecting the inspiration for the development of teaching. office of north east educational Area for secondary school teachers . The samples consisted of 400 secondary school teachers north east educational area in 15 area, selected by means of cluster random sampling method were utilized as the sample group in this study. The research instrument consisted the questionnaires a reliability of 0.971 and were used to collect data and frequency, percentages, arithmetic means

28 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

and standard deviations were used to analyze those data. The results of the study were as follow: channels of information on innovative teaching of teacher affecting the inspiration for the development of teaching 1.1) channels of information on In- novative instructional media that rated at the highest level are books, textbooks, journals, research. 1.2) channel of information received from the teaching innova- tion that rated at the highest level are books, textbooks, journals, research. 1.3) channels for information leading to the kind of innovative teaching and student use that rated at the highest level is books, textbooks, journals, research. 1.4) channels for information technology innovation, which has been explicit instruc- tion that rated at the highest level is activities include workshops, seminars and exhibitions. 1.5) channels of information for innovation in the teaching of diffusion interest that rated at the highest level is Teacher television (Teacher TV) 1.6) channels of information for innovation in teaching has already been set up by this time that rated at the highest level is teacher television (Teacher TV) 1.7) channels of information for innovative teaching and use words that is easy to understand that rated at the highest level is activities include workshops, semi- nars and exhibitions. 1.8) channels of information that can lead to innovation in teaching and inspiration to develop their own teaching that rated at the highest level is teacher television (Teacher TV) 1. the need for innovative teaching of information channels that is easy to get information that rated at the highest level are books, textbooks, journals, research.1.10) channels of information for innovation in teaching that you think should be added and updated that rated at the highest level is internet. 2. Study about teacher’s affecting the inspiration for the development of teaching as a whole was at the high level: applied Information is the ability to develop innovative research, media development and / or innovative teaching and learning.

Keywords:channels of information, innovative teaching, inspiration

29 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

บทนำ� บุคลากรทางการศึกษา (2548: 2) สรุปได้ว่า ครูส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นที่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ จะพัฒนา แต่ขาดรูปแบบและวิธีการพัฒนา พ.ศ. 2542 ได้ให้ความสำ�คัญของการพัฒนา ครูหลายแหล่งยังใช้วิธีเดิม ซึ่งสอดคล้องกับ ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา โดย ข้อเสนอยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา ได้ระบุไว้ใน หมวดที่ 1 บททั่วไป ความมุ่ง ของ คณะกรรมการอำ�นวยการปฏิรูปการ หมายและหลักการ หมวด 9 (4) ว่า “มีหลัก ศึกษา (2547) ที่ได้เสนอปัญหาการพัฒนา การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ ครูประจำ�การว่า ขาดระบบการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา และพัฒนาครู ประจำ�การที่ดี ครูประจำ�การยังไม่มีโอกาสได้ คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่าง รับการพัฒนาอย่างเพียงพอ จังไม่ทราบแนว ต่อเนื่อง” และได้กำ�หนดหลักการดำ�เนินการ โน้มใหม่ทางวิชาการ การวิจัยเชิงนวัตกรรม ไว้ในหมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากร และแนวปฏิบัติทางด้านการเรียนการสอน ทางการศึกษา มาตรา 52 ว่า “ให้กระทรวง ประกอบกับมีหลายหน่วยงานดำ�เนินการ ส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิตพัฒนา ทำ�ให้การพัฒนาไม่เป็นเอกภาพด้านนโยบาย ครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา ให้มี แผน และมาตรฐานที่ชัดเจน การพัฒนาเกิด คุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการ ความซ้ำ�ซ้อนไม่เป็นระบบ ไม่ต่อเนื่อง และ เป็นวิชาชีพชั้นสูง โดยการกำ�กับและประสาน ขาดประสิทธิภาพ รวมทั้งไม่ตรงกับความ ให้สถาบันที่ทำ�หน้าที่ผลิตและพัฒนาครู ต้องการ ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คณาจารย์ รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษา การเรียนการสอนของครูตามแนวปฏิรูป ให้มีความพร้อมและมีความเข้มเข็งในการเต ได้ อีกทั้ง การพัฒนาครูประจำ�การในเรื่อง รียมบุคลากร ใหม่และพัฒนาบุคลากรประจำ� ต่างๆ ที่เกี่ยวกับหลักสูตร การจัดการเรียน การอย่างต่อเนื่อง รัฐพึงจัดสรรงบประมาณ การสอน การประเมินผล ที่ดำ�เนินการอยู่ และจัดตั้งกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และ ในปัจจุบัน แยกกันในการอบรมทีละส่วน บุคลากรทางการศึกษาอย่างเพียงพอ”แต่จาก ไม่เป็นองค์รวม โดยวิทยากรต่างหน่วยงาน การศึกษาผลการดำ�เนินงานในการพัฒนาครู อีกทั้งรูปแบบการอบรมเน้นการบรรยายทาง ประจำ�การในปัจจุบันนั้น พบว่า ยังไม่ประสบ ทฤษฎีมากกว่าการฝึกปฏิบัติ วิทยากรขาด ความสำ�เร็จจากการดำ�เนินงาน โดยจะเห็นได้ ประสบการณ์ตรงในการนำ�หลักสูตรไปใช้ จาการเสนอ สภาพปัญหาด้านการผลิตและ ในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็น ปัญหาครู ในข้อเสนอการพัฒนาศักยภาพ สำ�คัญ ทำ�ให้การฝึกอบรมครูไม่ได้ผลเท่าที่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ของสถาบัน ควร นอกจากนี้ หลังจากการอบรมไปแล้ว พัฒนาครู คณาจารย์และ ไม่มีการติดตามผล และการนิเทศเพื่อให้คำ�

30 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ปรึกษา แนะนำ�เมื่อครูมีปัญหา 2. เพื่อศึกษาแรงบันดาลใจในการ ด้วยการที่รัฐบาลให้ความสำ�คัญกับ พัฒนาศักยภาพการสอนของครูประจำ�การที่ การปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการ มีผลจากการได้รับสารสนเทศด้านนวัตกรรม เรียนรู้ของผู้เรียน โดยให้ความสำ�คัญกับการ การสอน พัฒนาศักยภาพของครูผู้สอน โดยคาดหวังให้ ครูได้รับรู้สารสนเทศด้านการสอนและนำ�ไป วิธีดำ�เนินการวิจัย ปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอนของ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตนให้มีประสิทธิภาพ รูปแบบการนำ�เสนอมี ของการวิจัยในครั้งนี้ ทั้งการฝึกอบรม การประชุมเชิงปฏิบัติการ 1.1 ประชากรได้แก่ ครูประจำ�การ และที่สำ�คัญคือการเผยแพร่สารสนเทศด้าน สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นวัตกรรมการสอนผ่านสื่อสารมวลชนต่างๆ จำ�นวน 15 เขต ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียง อย่างกว้างขวาง เช่น โทรทัศน์ครู เป็นต้น จะ เหนือ จำ�นวน 25,099 คน แล้วเลือกแบ่ง เห็นได้ว่ามีการนำ�เสนอสารสนเทศผ่านช่อง ประชากรตามสัดส่วนแต่ละจังหวัด ทางต่างๆ มากมายใช้งบประมาณในการ ดำ�เนินการจำ�นวนมาก ดังนั้น เพื่อให้เห็น 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูประจำ� ช่องทางการรับรู้สารสนเทศด้านนวัตกรรม การสังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา การสอนของครูประจำ�การ ว่ารับผ่านชอง มัธยมศึกษาจำ�นวน 15 เขต แต่ละสำ�นักงาน ทางใดเป็นหลัก การวิจัยนี้จะทำ�ให้ได้ข้อมูล เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ภาคตะวัน สำ�หรับใช้วางแผนการเผยแพร่นวัตกรรมการ ออกเฉียงเหนือ กำ�หนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง เรียนการสอน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ จำ�นวน 400 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบ ประสิทธิผล แบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ความมุ่งหมายของการวิจัย 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การ 2.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ช่องทางการ วิจัยดังนี้ รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนของ ครูประจำ�การ 1. เพื่อศึกษาช่องทางการรับสารสนเทศ ด้านนวัตกรรมการสอนของครูประจำ�การที่ 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความคิดเห็น ส่งผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพ ของครูประจำ�การต่อการรับสารสนเทศด้าน การสอน นวัตกรรมการสอนที่ส่งผลต่อแรงบัลดาลใจ ในการพัฒนาศักยภาพการสอน

31 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

3. การดำ�เนินการวิจัย สารสนเทศด้านนวัตกรรม จำ�นวน 1 ชุด 4 รูปแบบการวิจัยเป็นวิจัยเชิงสำ�รวจ ตอน แบบสอบถามช่องทางการรับสารสนเทศ (Survey Research) โดยดำ�เนินการ ดังนี้ ด้านนวัตกรรมการสอนของครูประจำ�การที่ 1) วิเคราะห์เอกสารบริบทด้าน ส่งผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ความสามารถ การสอน ประกอบด้วย ในการนำ�สารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป เป็น พัฒนาศักยภาพของครู ข้อมูลเกี่ยวกับ เพศ ตำ�แหน่งงาน อายุ ระดับ 2) สอบถามช่องทางการรับสารสนเทศ การศึกษา ที่ทำ�งานปัจจุบัน ระดับชั้นที่สอน ด้านนวัตกรรมการสอนของครูประจำ�การที่ กลุ่มสาระที่สอน ส่งผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพ ตอนที่ 2 ช่องทางการรับ สารสนเทศ การสอน ได้แก่ บุคคล เช่น การถาม-ตอบ ครู 4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ศึกษานิเทศ หนังสือ ตำ�รา วารสาร 4.1 แบบสอบถาม งานวิจัย โปรแกรมบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วย สอน อินเทอร์เน็ตโทรทัศน์ครู(Teacher TV) 4.1.1 ศึกษาตำ�รา เอกสาร บทความ โทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV) กิจกรรม ได้แก่ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับช่องทางการ การอบรมสัมมนาและการจัดนิทรรศการ รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมแล้วสร้าง แบบสอบถามให้ข้อคำ�ถามครอบคลุมองค์ ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยว ประกอบในช่องทางการรับสารสนเทศ บริบท กับ ความสามารถในการนำ�สารสนเทศไป ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี ความสามารถ ใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ศักยภาพของ ในการนำ�สารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการ ครู จำ�นวน 10 ข้อ แบบสอบถามเป็นแบบ พัฒนาศักยภาพของครู และแรงบันดาลใจ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating ในการพัฒนาตนเอง scale)ตามแบบของไลเคิร์ท (Likert) 4.1.2 ศึกษาแบบสอบถาม จากงาน ตอนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับแรง วิจัย ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการรับสารสนเทศ บันดาลใจในการพัฒนาตนเอง จำ�นวน 11 ข้อ จากแบบสอบถามของ (จักรพงษ์ งามสง่า. แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ 2543),(สุดใจ บุษบงค์. 2550) และ (อุดม ค่า 5 ระดับ (Rating scale)ตามแบบของ ศักดิ์ มนูศิลป์. 2534) ไลเคิร์ท (Likert) ซึ่งผู้วิจัยได้กำ�หนดค่าน้ำ� หนักคะแนนตาม แบบสอบถามในตอนที่ 3 4.1.3 นำ�ข้อมูลจากข้อ 4.1.1 และ 4.1.2 มาสร้างแบบสอบถามช่องทางการรับ 4.1.4 นำ�แบบสอบถามมาปรับปรุง แก้ไขแล้วเสนอผู้เชี่ยวชาญ จำ�นวน 3 คน

32 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

เพื่อพิจารณาตรวจสอบ ความเที่ยวตรงและ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ความถูกต้องของเนื้อหา 5.2 การหาคุณภาพของแบบสอบถาม 4.1.5 นำ�แบบสอบถามที่ปรับปรุง แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ แล้วไปทดลองใช้ (Try out) กับครูประจำ� ค่า 5 ระดับ (Rating scale)ตามแบบของ การสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ไลเคิร์ท (Likert) ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ไม่ใช่ 5.3 การหาดัชนีความสอดคล้อง กลุ่มตัวอย่างจำ�นวน 30 คน หาค่าความ ระหว่างแบบสอบถามกับจุดประสงค์การ เชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ของ วิจัย โดยหาค่าเฉลี่ยของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด แบบสอบถามทั้งฉบับโดยหาค่าสัมประสิทธิ์ โดยใช้ (Item–Objective Congruence แอลฟา (α-Coefficient) โดยใช้สูตร ครอ Indexes หรือ IOC) นบาค (Cronbach) ได้ค่าความเชื่อมั่นของ 5.4 การหาค่าอำ�นาจจำ�แนกเป็น แบบสอบถามทั้งชุด เท่ากับ 0.971 รายข้อของแบบสอบถาม โดยใช้เทคนิคร้อย 4.1.6 หาค่าอำ�นาจจำ�แนกเป็นราย ละ 27 ของกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ� แล้วใช้การ ข้อของแบบสอบถาม โดยใช้เทคนิคร้อย ทดสอบที (t-test) ละ 27 ของกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ� แล้วใช้การ ทดสอบที (t-test) คัดเลือกข้อคำ�ถามที่มี ผลการวิจัย ค่าอำ�นาจจำ�แนกตั้งแต่ 0.75 ขึ้นไป ไว้เป็น แบบสอบถามในการวิจัย ส่วนแบบสอบถาม ผลการวิจัยสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ ที่มีค่าอำ�นาจจำ�แนกน้อยกว่า 0.75 นำ�ไป 1. ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน ปรับปรุงข้อคำ�ถามให้มีความเหมาะสมมาก นวัตกรรมการสอนของครูประจำ�การที่ส่ง ขึ้นแล้วนำ�ไปใช้เป็นแบบสอบถามในการวิจัย ผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพ 4.1.7 นำ�แบบสอบถามที่ปรับปรุง การสอน แล้วไปเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จากการวิเคราะห์ พบว่า มีผู้ตอบ ต่อไปนำ�ไปปรับปรุงข้อคำ�ถามให้มีความ แบบสอบถามทั้ง 400 คน คิดเป็นร้อยละ เหมาะสมมากขึ้น ก่อนนำ�มาใช้ต่อไป 100 เป็นเพศชาย จำ�นวน 181 คน คิดเป็น 5. การจัดกระทำ�และการวิเคราะห์ ร้อยละ 45.2 และ เพศหญิง จำ�นวน 219 ข้อมูล คน คิดเป็นร้อยละ 54.8 5.1 การวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบ ส่วนใหญ่เป็นตำ�แหน่งงาน เป็นครู แบบสอบถาม โดยวิเคราะห์สถานภาพของ ชำ�นาญการ จำ�นวน 162 คน คิดเป็นร้อย ผู้ตอบแบบสอบถาม โดยหาค่าความถี่ ค่า ละ 40.5 ส่วนตำ�แหน่ง ครูผู้ช่วย จำ�นวน

33 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

111 คน คิดเป็นร้อยละ 40.5 ครูชำ�นาญ ละ 6.0 การพิเศษ 85 จำ�นวน คิดเป็นร้อยละ 21.2 สพม. 28 (ศรีสะเกษ-ยโสธร) คน และ ครูเชี่ยวชาญ 42 จำ�นวน คิดเป็น จำ�นวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 4.0 สพม. ร้อยละ10.5 29 (อุบลราชธานี-อำ�นาจเจริญ) จำ�นวน 9 ส่วนใหญ่อายุอยู่ช่วงระหว่าง 31-40 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2 สพม. 30 (ชัยภูมิ) ปี จำ�นวน 160 คน คิดเป็นร้อยละ 40.5ช่วง จำ�นวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 5.8 สพม. 31 อายุ ระหว่าง 21-30 ปี จำ�นวน 107 คน (นครราชสีมา)จำ�นวน 13 คน คิดเป็นร้อย คิดเป็นร้อยละ 26.8 ช่วงอายุระหว่าง 41- ละ 3.2 สพม. 32 (บุรีรัมย์)จำ�นวน 16 คน 50 ปี จำ�นวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 24.2 คิดเป็นร้อยละ 4.0 และสพม. 33 (สุรินทร์) และช่วงอายุระหว่าง 51-60 ปี จำ�นวน 36 จำ�นวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 5.8 คน คิดเป็นร้อยละ 9.0 ระดับชั้นที่สอน มัธยมศึกษาตอน ระดับการศึกษา ต่ำ�กว่าปริญญา ต้น จำ�นวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 45.5 ตรี จำ�นวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 11.2 และ มัธยมศึกษาตอนปลาย จำ�นวน 218 ปริญญาตรี จำ�นวน 242 คน คิดเป็นร้อย คน คิดเป็นร้อยละ 54.5 ละ 60.8 ปริญญาโท จำ�นวน 109 คน คิด กลุ่มสาระที่สอน คณิตศาสตร์จำ�นวน เป็นร้อยละ 27.2 และปริญญาเอก จำ�นวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 11.8 วิทยาศาสตร์ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.8 จำ�นวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 13.5 ภาษา ที่ทำ�งานปัจจุบัน สพม. 19 (เลย- ต่างประเทศ จำ�นวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ หนองบัวลำ�ภู) จำ�นวน 29 คน คิดเป็นร้อย 14.5 ภาษาไทยจำ�นวน 65 คน คิดเป็นร้อย ละ 7.2 สพม. 20 (อุดรธานี) จำ�นวน 36 คน ละ 16.2 สังคม ศาสนา วัฒนธรรม จำ�นวน คิดเป็นร้อยละ 9.0 สพม. 21 (หนองคาย) 61 คน คิดเป็นร้อยละ 15.2 สุขศึกษาและ จำ�นวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 9.0 สพม. พลศึกษา จำ�นวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 22 (นครพนม-มุกดาหาร) จำ�นวน 25 คน 7.5 การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำ�นวน คิดเป็นร้อยละ 6.2 สพม. 23 (สกลนคร) 40 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0 และ ศิลปะ จำ�นวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 10.8 สพม. จำ�นวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 11.2 24 (กาฬสินธุ์) จำ�นวน 33 คน คิดเป็นร้อย 1.1 ช่องทางสื่อสารสนเทศด้าน ละ 8.2 สพม. 25 (ขอนแก่น)จำ�นวน 37 คน นวัตกรรมการสอน พบว่า มากที่สุด คือ คิดเป็นร้อยละ 9.2 สพม. 26 (มหาสารคาม) หนังสือ ตำ�รา วารสาร งานวิจัย มีจำ�นวน จำ�นวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 9.2 สพม. 144 คน คิดเป็นร้อยละ 36.0 รองลงมา 27 (ร้อยเอ็ด) จำ�นวน 24 คน คิดเป็นร้อย คือ กิจกรรม ได้แก่ การอบรมสัมมนาและ

34 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

การจัดนิทรรศการ) มีจำ�นวน 60 คน คิด 1.6 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน เป็นร้อยละ 15.0 นวัตกรรมการสอนที่ได้รับแล้วทันตามเวลา 1.2 การรับสารสนเทศด้านนวัตกรรม กำ�หนด พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ครู การสอน พบว่า มากที่สุด คือ หนังสือ ตำ�รา (Teacher TV) มีจำ�นวน 107 คน คิดเป็น วารสาร งานวิจัย มีจำ�นวน 141 คน คิด ร้อยละ 26.8 รองลงมา คือ โปรแกรมบท เป็นร้อยละ 35.8 รองลงมา คือ โทรทัศน์ เรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีจำ�นวน 83 ครู(Teacher TV) มีจำ�นวน 52 คน คิดเป็น คน คิดเป็นร้อยละ 20.8 ร้อยละ 13.0 1.7 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน 1.3 ช่องทางการรับสารสนเทศ นวัตกรรมการสอนได้รับแล้วใช้ถ้อยคำ�เข้าใจ ด้านนวัตกรรมการสอนที่นำ�ไปใช้ประโยชน์ ง่าย พบว่า มากที่สุด คือ บุคคล ได้แก่ การ กับนักเรียน พบว่า มากที่สุด คือ หนังสือ ถาม-ตอบ ครู ศึกษานิเทศ มีจำ�นวน 112 คน ตำ�รา วารสาร งานวิจัย มีจำ�นวน 143 คน คิดเป็นร้อยละ 28.0 รองลงมา คือ หนังสือ คิดเป็นร้อยละ 35.8 รองลงมา คือ บุคคล ตำ�รา วารสาร งานวิจัย มีจำ�นวน 111 คน ได้แก่ การถาม-ตอบ ครู ศึกษานิเทศ และ คิดเป็นร้อยละ 27.8 โทรทัศน์ครู(Teacher TV) มีจำ�นวน 47 คน 1.8 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน คิดเป็นร้อยละ 11.8 นวัตกรรมการสอนที่สามารถชักจูงและเป็น 1.4 ช่องทางการรับสารสนเทศที่ แรงบันดาลใจที่จะพัฒนาตนเองด้านการสอน ได้รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่ พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ครู (Teacher ชัดเจน พบว่า มากที่สุด คือ กิจกรรม ได้แก่ TV) มีจำ�นวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 29.5 การอบรมสัมมนาและการจัดนิทรรศการ มี รองลงมา คือ บุคคล ได้แก่ การถาม-ตอบ จำ�นวน 114 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6 รอง ครู ศึกษานิเทศ มีจำ�นวน 86 คน คิดเป็น ลงมา คือ หนังสือ ตำ�รา วารสาร งานวิจัย ร้อยละ 21.5 มีจำ�นวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 23.0 1.9 ความต้องการรับสารสนเทศ 1.5 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน ด้านนวัตกรรมการสอนที่มีความสะดวก นวัตกรรมการสอนที่มีรูปแบบการเผยแพร่ที่ ในการรับสารสนเทศ พบว่า มากที่สุด คือ น่าสนใจ พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ครู หนังสือ ตำ�รา วารสาร งานวิจัย มีจำ�นวน (Teacher TV) มีจำ�นวน 162 คน คิดเป็น 134 คน คิดเป็นร้อยละ 33.5 รองลงมา ร้อยละ 40.5 รองลงมา คือ โปรแกรมบท คือ อินเทอร์เน็ต มีจำ�นวน 92 คน คิดเป็น เรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีจำ�นวน 81 ร้อยละ 23.0 คน คิดเป็นร้อยละ 20.2 1.10 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน

35 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

นวัตกรรมการสอนที่ควรมีการเพิ่มเติมและ เรียนการสอน อยู่ในระดับมาก ( = 3.93) ปรับปรุง พบว่า มากที่สุด คือ อินเทอร์เน็ต มี และมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก จำ�นวน 149 คน คิดเป็นร้อยละ 37.2 รองลง ( = 3.93) มา คือ โปรแกรมบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วย สอน มีจำ�นวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 18.5 อภิปรายผล 2. แรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพ การอภิรายผลการวิจัย ผู้วิจัยจำ�แนก การสอนของครูประจำ�การที่มีผลจากการได้ เป็นหัวได้ดังนี้ รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอน 1. ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน 2.1 จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยระดับ นวัตกรรมการสอนของครูประจำ�การที่ส่ง ความพึงพอใจของครูเกี่ยวกับข้อมูลความ ผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพ สามารถในการนำ�สารสนเทศไปใช้ประโยชน์ การสอน ในการพัฒนาศักยภาพของครู เมื่อพิจารณา 1.1 ช่องทางสื่อสารสนเทศด้าน เป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นวัตกรรมการสอน พบว่า มากที่สุด คือ สามารถนำ�สารสนเทศด้านวัตกรรมในการ หนังสือ ตำ�รา วารสาร งานวิจัย ซึ่งสอดคล้อง พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการวิจัย กับงานวิจัยของ สุดใจ บุษบงค์ (2550: 68) อยู่ในระดับมาก ( EMBED Equation.3 = ได้ศึกษาวิจัยเรื่องการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ 4.48) รองลงมา คือ สามารถนำ�สารสนเทศ รู้สารสนเทศในโรงเรียนเมืองกาฬสินธุ์ อำ�เภอ ด้านนวัตกรรมการสอนที่ได้รับไปปรับปรุง เมืองจังหวัด กาฬสินธุ์ สังกัดสำ�นักงานเขต การสอนได้ถูกต้องและรวดเร็ว อยู่ในระดับ พื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 ด้านสื่อที่ใช้ มาก ( EMBED Equation.3 = 4.33) และ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้สารสนเทศใน มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( โรงเรียน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อตามลักษณะ EMBED Equation.3 = 4.04) ของสื่อที่ครูใช้ สื่อสิ่งพิมพ์คือ หนังสือประกอบ 2.2 จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยระดับ การเรียนการสอนและเอกสารประกอบการ ความพึงพอใจของครูเกี่ยวกับ สอนของครู ที่ครูใช้สื่อเหล่านี้มากเพราะว่า แรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเอง หนังสือถือได้ว่าเป็นสื่อประกอบการจัดการ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่า เรียนการสอนที่สำ�คัญของครูและนักเรียน ที่ เฉลี่ยสูงสุด คือ การพัฒนาสื่อ และ/หรือ มีเนื้อหาและการทำ�กิจกรรมต่างๆ ได้ตรง นวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่ในระดับ ตามหลักสูตรการจัดการศึกษา มาก ( EMBED Equation.3 = 4.28) รอง 1.2 ช่องทางการได้รับสารสนเทศ ลงมา คือ ต้องการพัฒนาเทคนิคการจัดการ ด้านนวัตกรรมการสอน พบว่า มากที่สุด คือ

36 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

หนังสือ ตำ�รา วารสาร งานวิจัย สอดคล้อง ที่จัดตามการเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติ กับวิจัยของ สุดใจ บุษบงค์ (2550: 68) ได้ จริง ครูผู้สอนใช้กิจกรรมกลุ่ม ให้ผู้เรียน ศึกษาวิจัยเรื่องการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ สารสนเทศในโรงเรียนเมืองกาฬสินธุ์ อำ�เภอ ต่างๆ พร้อมทั้งใช้กิจกรรมการปฏิบัติตาม เมืองจังหวัด กาฬสินธุ์ สังกัดสำ�นักงานเขต ใบงานในวิชาปฏิบัติ ครูจะใช้กิจกรรมโครง พื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 ด้านสื่อที่ใช้ งาน การสัมภาษณ์ผู้รู้ การส่งเสริมการอ่าน ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้สารสนเทศใน การแก้ปัญหาและการทดลองอย่างต่อเนื่อง โรงเรียน โดยรวมสื่อใช้อยู่ในระดับปานกลาง 1.5 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า สื่อสิ่งพิมพ์ นวัตกรรมการสอนประเภทที่มีรูปแบบการเผย ที่ใช้อยู่ในระดับมาก คือ หนังสือประกอบ แพร่ที่น่าสนใจ พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ การเรียนการสอน ครู (Teacher TV) ซึ่งสอดคล้องกับ ฉวีวรรณ 1.3 ช่องทางการรับสารสนเทศ คูหาภินันท์ (2542: 47-54) กล่าวไว้ว่า สื่อ ด้านนวัตกรรมการสอนประเภทที่นำ�ไปใช้ ไม่ตีพิมพ์ที่ครูใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ ประโยชน์กับนักเรียน พบว่า มากที่สุด คือ รู้สารสนเทศในโรงเรียนมากคือ ภาพ (แผ่น หนังสือ ตำ�รา วารสาร งานวิจัย สอดคล้อง ภาพ/แผนภูมิ/รูปภาพ/ภาพโปสเตอร์)และ กับงานวิจัย ของ สุจิรา ธงงาม (2547: วีดิทัศน์/วีซีดี ซึ่งสื่อไม่ตีพิมพ์ดังกล่าว ที่ครู บทคัดย่อ) ได้ศึกษาสภาพการส่งเสริมการ ใช้เพื่อเป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนใน รู้สารสนเทศ พบว่า ด้านการส่งเสริมการรู้ รายวิชาที่สอนและการจัดกิจกรรม สารสนเทศ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ 1.6 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน รู้สารสนเทศเพื่อให้เป็นผู้รู้สารสนเทศและ นวัตกรรมการสอนที่ได้รับแล้วทันตามเวลา สามารถใช้สารสนเทศได้อย่างถูกต้อง พบ กำ�หนด พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ครู ว่า ใช้สื่อสิ่งพิมพ์และหนังสือประกอบเรียน (Teacher TV) ซึ่งสอดคล้องกับ ฉวีวรรณ คู และการศึกษาค้นคว้ามากกว่าการใช้สื่อ หาภินันท์ (2542: 47-54) กล่าวไว้ว่า สื่อไม่ อิเล็กทรอนิกส์ ตีพิมพ์ที่ครูใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ 1.4 ช่องทางการรับสารสนเทศที่ รู้สารสนเทศในโรงเรียนมากคือ ภาพ และ ได้รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่ วีดิทัศน์/วีซีดี ซึ่งสื่อไม่ตีพิมพ์ดังกล่าว ที่ครู ชัดเจน พบว่า มากที่สุด คือ กิจกรรม ได้แก่ ใช้เพื่อเป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนใน การอบรมสัมมนาและการจัดนิทรรศการ ซึ่ง รายวิชาที่สอนและการจัดกิจกรรม สอดคล้องกับงานวิจัยของ วิไลพันธ์ นวลสิงห์ 1.7 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน (2545: บทคัดย่อ) ที่ศึกษาพบว่า กิจกรรม นวัตกรรมการสอนที่ได้รับแล้วใช้ถ้อยคำ�เข้าใจ

37 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ง่าย พบว่า มากที่สุด คือ บุคคล ได้แก่ การ ส่งเสริมการรู้สารสนเทศ พบว่า ด้านการส่ง ถาม-ตอบ ครู ศึกษานิเทศ ซึ่งสอดคล้องงาน เสริมการรู้สารสนเทศ ในการจัดกิจกรรมส่ง วิจัยของ วีรฉัตร สุปัญโญ (2532: 8) พบ เสริมการรู้สารสนเทศเพื่อให้เป็นผู้รู้สารสนเทศ ว่า สื่อที่ใช้ในการเผยแพร่สารสนเทศความรู้ และสามารถใช้สารสนเทศได้อย่างถูกต้อง คือสื่อด้านบุคคลซึ่งใช้วิธีการบอกกล่าว การ พบว่า ใช้สื่อสิ่งพิมพ์และหนังสือประกอบ พูดคุย หรือสนทนา และวิจัยของ อาภิรมย์ เรียนการศึกษาค้นคว้ามากกว่าการใช้สื่อ ชิณโน (2551: บทคัดย่อ) ได้ศึกษา พบว่า อิเล็กทรอนิกส์ หลังการส่งเสริมการรับรู้ข้อมูลข่าวสารทาง 1.10 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน ด้านสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างได้รับข่าวสารจาก นวัตกรรมการสอนที่ควรมีการเพิ่มเติมและ ช่องทางการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ปรับปรุง พบว่า มากที่สุด คือ อินเทอร์เน็ต สุขภาพในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา มากที่สุดคือ ซึ่งสอดคล้องงานวิจัยของ สุดใจ บุษบง สื่อบุคคล ร้อยละ 92.5 ค์ (2550: 68) ที่กล่าวว่า ช่องทางสื่อ 1.8 ช่องทางการรับสารสนเทศด้าน อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมอยู่ใน นวัตกรรมการสอนที่สามารถชักจูงและเป็น ระดับมาก คือ อินเทอร์เน็ต แรงบันดาลใจให้ท่านสนใจที่พัฒนาตนเอง 2. แรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพ ด้านการสอน พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ การสอนของครูประจำ�การที่มีผลจากการได้ ครู (Teacher TV) ซึ่งสอดคล้องกับ ฉวีวรรณ รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอน ระดับ คูหาภินันท์ (2542: 47-54) กล่าวไว้ว่า สื่อ ความพึงพอใจของครูเกี่ยวกับข้อมูลความ ที่กำ�หนดให้นักเรียนได้อ่านมากที่สุด สื่อไม่ สามารถในการนำ�สารสนเทศไปใช้ประโยชน์ ตีพิมพ์ที่ครูใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ ในการพัฒนาศักยภาพของครู เมื่อพิจารณา รู้สารสนเทศในโรงเรียนมากคือ ภาพ และ เป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ วีดิทัศน์/วีซีดี ซึ่งสื่อไม่ตีพิมพ์ดังกล่าว ที่ครู สามารถนำ�สารสนเทศด้านวัตกรรมในการ ใช้เพื่อเป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนใน พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการวิจัย อยู่ รายวิชาที่สอนและการจัดกิจกรรม ในระดับมาก มาก ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย 1.9 ความต้องการรับสารสนเทศ ของ (กันยารัตน์ หัสโรค์. 2543: 60) ได้สรุป ด้านนวัตกรรมการสอนจากช่องทางที่เห็น ระดับปัญหาการรับสารสนเทศ ของอาจารย์ ว่ามีความสะดวกในการรับสารสนเทศ พบ แนะแนวโรงเรียนมัธยมศึกษาจากสื่อทั้ง 7 ว่า มากที่สุด คือ หนังสือ ตำ�รา วารสาร งาน ประเภท พบว่า สื่อประเภทหนังสือพิมพ์ วิจัย สอดคล้องกับงานวิจัย ของ สุจิรา ธง อาจารย์แนะแนวโรงเรียนมัธยมศึกษาจะ งาม (2547: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาสภาพการ ไม่ได้รับสารสนเทศผ่านสื่อประเภทนี้เลย

38 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ผลการศึกษาค้นคว้าเป็นเช่นนี้ อาจเป็น สารสนเทศด้านนวัตกรรม เช่น หนังสือ ตำ�รา เพราะเนื้อหาสาระในหนังสือพิมพ์มีหลาก วารสาร งานวิจัย และโทรทัศน์ครู (Teacher หลาย ผู้รับสารสนเทศไม่สามารถเลือกรับ TV) ควรมีการส่งเสริมเพื่อเป็นช่องทางหลัก สารสนเทศอย่างเจาะจง เมื่อพิจารณาจาก ในการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอน สื่อประเภทอื่นๆ ที่อาจารย์แนะแนวโรงเรียน ของครูประจำ�การ มัธยมศึกษาได้รับ และระดับความพึงพอใจ 1.2 ควรมีการจัดกิจกรรม ได้แก่ ของครูเกี่ยวกับแรงบัลดาลใจในการพัฒนา การอบรมสัมมนาและการจัดนิทรรศการ ตนเอง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อ อย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการเปิดช่องทางการ ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การพัฒนาสื่อ และ/ รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนของครู หรือนวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่ในระดับ ที่เป็นต้นแบบที่ชัดเจนและนำ�ไปปฏิบัติได้จริง มาก ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย สุดใจ บุษบงค์ 2. ข้อเสนอแนะในการทำ�วิจัย (2550: 68) ส่วนสื่อไม่ตีพิมพ์ที่ใช้อยู่ในระดับ ครั้งต่อไป มาก คือ ภาพ (แผ่นภาพ/แผนภูมิรูปภาพ/ ภาพโปสเตอร์) รองลงมาคือ วีดิทัศน์/วีซีดี 2.1 ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษา และแถบบันทึกเสียง สื่อไม่ตีพิมพ์ที่ใช้น้อย ปัจจัยที่ผลต่อช่องทางการรับสารสนเทศด้าน ที่สุดคือ สไลด์และหุ่นจำ�ลอง ส่วนสื่อ นวัตกรรมการสอนของครูประจำ�การที่ส่ง ผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพ อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม การสอน อยู่ในระดับมาก คือ อินเทอร์เน็ต 2.2 ควรมีการศึกษาวิจัยถึงรูป ข้อเสนอแนะ แบบกิจกรรมด้านการรับสารสนเทศทาง อินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมกับครูเพื่อพัฒนา 1. ข้อเสนอแนะในการนำ�ผลการ ศักยภาพการสอนที่สามารถทำ�ให้เกิดทักษะ วิจัยไปใช้ การปฏิบัติจริง 1.1 จากการวิจัยพบว่าช่องทางการรับ

39 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Reference Kunyarat Husaro (2000). A study of getting information relating to studying in the Bachelor’s degree (Quotas) of Mahasarakham University of guidance teacher of Secondary School, Department of Education, Educational Area 10. Independent Study of the Master of Arts. Mahasarakham: Library and Information Science, Mahasarakham University. Chakapong Ngamsanga. (2000). Receiving information relating to drugs of workers in crushing plant in Khonkaen. Thesis of the Master of Arts. Ma- hasarakham: Library and Information Science, Mahasarakham University. Chaweewan Koohapinant (1999). Reading and encouraging reading. Bangkok: Silapabannakarn. Boonchom Srisa-ard. (2002). Preliminary research. 7th Edition. Bangkok: Su- wiriyasarn Wilapan Nuansingha (2002). Teaching and learning management that focuses on instructors under Sakon Nakorn Primary Educational Service Area Office. Thesis of the Master of Arts. Mahasarakham: Mahasarakham University. Weerachat Supunyo (1989). Dissemination of knowledge of basic economics for the women in the region. Thesis of the Master of Education. Bangkok: Chulalongkron Unidervisity. Institute for Development of Teacher and Educational Personals (2007). Strategic development of teachers and educational personnel 2006-2008. Bangkok: Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education. Sujira Thongngam (2004). Promoting information literacy to students in schools that teach the grade 3 and grade 4 under Roi Et Educational Service Area Office. Thesis of the Master of Arts. Mahasarakham: Mahasara- kham University.

40 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Busabong (2007). Organizing information literacy activities in Muang Kalasin Schools, Muang District, Kalasin Province under Kalasin Educational Ser- vice Area Office Area1. Thesis of the Master of Arts. Mahasarakham: Mahasarakham. Library and Information Science, Mahasarakham University. Office of the Education Council (2004). Strategic education reform proposal/ Education reform commission. Bangkok. Arpirom Chinno (2008). “Promotion of receiving health information on knowledge and behavior of citizens in Kalasin province in 2008”. Health system re- search and development journal: Kalasin, Consumer Protection Group, Public Health Office of Kalasin. Udomsak Manusilk (1991). Relationship between perception of educational in- novation from materials and the level of adoption of educational innovation of secondary school teachers in Kalasin Province. Thesis of the Master of Arts. Mahasarakham: Mahasarakham. Library and Information Science, Mahasarakham University.

41 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

แนวทางการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้สำ�หรับประเทศไทย A Guideline for Developing Learning Society for Thailand

สุมาลี สังข์ศรี1 SUMALEE SUNGSRI1 บทคัดย่อ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้เป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ประเทศต่างๆกำ�ลังดำ�เนินการ เพื่อให้ประชาชนมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์ กระบวนการการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้สำ�หรับประเทศไทยและ2) จัดทำ�คู่มือแนวทาง การคัดเลือกยกย่องชุมชน/สังคมแห่งการเรียนรู้ วิธีดำ�เนินการวิจัยประกอบด้วยการวิจัย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การวิจัยเอกสารและการศึกษากรณีตัวอย่างสังคมแห่งการเรียนรู้ในต่าง ประเทศ ส่วนที่ 2 การวิจัยภาคสนามในการวิจัยภาคสนามนั้นผู้วิจัยเลือก 9 ชุมชนที่เป็น ชุมชนหรือสังคมแห่งการเรียนรู้ แบบเจาะจงจาก 9 จังหวัดทั่วประเทศ จากนั้นในแต่ละ ชุมชนผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลซึ่งเป็นผู้ที่ร่วมดำ�เนินการชุมชนแห่งการเรียนรู้ซึ่ง ประกอบด้วย 1) กรรมการชุมชน 5 คน 2) ผู้แทนประชาชน 3 คน 3) ผู้แทนหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 2 คน รวม 10 คนเพราะฉะนั้นใน 9 ชุมชนได้ 90 คน เครื่องมือในการรวบรวม ข้อมูลประกอบด้วยแบบศึกษาชุมชน และแบบสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม ข้อมูลที่ ได้เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยในประเด็นหลักๆ สรุปได้ดังนี้ กระบวนการในการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้สำ�หรับประเทศไทยประกอบด้วย ขั้น ตอนย่อย 13 ขั้นตอน คือ 1) การกำ�หนดพื้นที่ 2) การหาจุดเริ่มต้น 3) การตั้งกลุ่มแกน กลาง 4) การสร้างความสนใจในวงกว้าง 5) การแสวงหาหุ้นส่วน 6) การพัฒนาบุคลากร 7) การวิเคราะห์สภาพชุมชน 8) การจัดทำ�แผนชุมชน 9) การวิเคราะห์ศักยภาพของหุ้นส่วน 10) การจัดกิจกรรม 11) การติดตามประเมินผล 12) การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผล การดำ�เนินงาน 13) การสร้างเครือข่าย 2. คู่มือแนวทางการคัดเลือกยกย่อง ชุมชน/สังคม แห่งการเรียนรู้มีเกณฑ์ในการพิจารณาชุมชน/สังคมแห่งการเรียนรู้ 3 ช่วงคือ ช่วงการริเริ่ม

1ศาสตราจารย์ ดร.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 42 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ช่วงการดำ�เนินการ และช่วงผลการดำ�เนินการ

คำ�สำ�คัญ:สังคมแห่งการเรียนรู้ ประเทศไทย Abstract It is accepted among many countries that developing learning society is one of the strategies to provide lifelong learning to people. This research was carried out with the objectives to: 1) synthesize the process of developing learn- ing society for Thailand,and 2) develop a guideline manual for selecting and publicizing the learning community or learning society. The method of the study composed of 2 main phases. The first phase was a documentary research and studying cases study of learning societies in other countries. The second phase was a field study. For the field study, the researcher purposively selected 9 learning communities, which were accepted as learning societies, from 9 provinces in every part of the country. Then from each community, people who involve in operating learning community were purposively selected. They were: (1) 5 members of community committee; (2) 3 representative of villagers ; and (3) 2 representative of related agencies. The total samples from was 90 people. Research instruments composed of the com- munity survey form and the structured interview formats for the 3 groups of the samples. The data, which was qualitative data, was analysed by content analysis. The main findings were: - The process of developing learning society for Thailand included 13 steps. They were:- (1) selecting a community ; (2) initiating step; (3) setting up a core group; (4) expanding the interests; (5) searching steak-holders; (6) personnel development ; (7) analysing the community situation; (8) developing the community plan; (9) analysing capability of steak-holders; (10) organizing activities; (11) following-up and evaluation; (12) publicizing the results; and (13) network creation.

43 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

The manual for selecting and publicizing learning community /society covered 3 main criterias. They were criteria for: the initiating step; the operating step and the outcomes step.

Keywords:learning society, Thailand

บทนำ� ข่าวสาร สังคมมีความเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม การศึกษามีความจำ�เป็นต่อชีวิต วิทยาการเทคโนโลยี สิ่งเหล่านี้ต่างมีผลกระ มนุษย์ในทุกช่วงอายุ เพราะมนุษย์ต้องเผชิญ ทบถึงทุกประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม กับความเปลี่ยนแปลงของสังคมสิ่งแวดล้อม ทำ�ให้ประเทศต่างๆ ตระหนักถึงความจำ�เป็น อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะในสภาวะการณ์ ของ การศึกษาตลอดชีวิตและมุ่งปฏิรูปการ ปัจจุบัน ความจำ�เป็นของการศึกษาจะยิ่ง ศึกษา ของตน เพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาส ดูชัดเจนมากขึ้น เนื่องจากมีความเปลี่ยน เรียนรู้ตลอดชีวิต โดยได้พยายามกำ�หนด เปลงเกิดขึ้นมากมาย ซึ้งมีผลกระทบต่อ นโยบายและแสวงหากลยุทธ์ต่างๆ เพื่อส่ง สภาพความเป็นอยู่และต่อการดำ�เนินชีวิต เสริมให้เกิดการศึกษาตลอดชีวิต และความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนั้น นับวัน จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและซับซ้อนมากขึ้น การที่จะช่วยให้ประชาชนได้มีโอกาส เกินกว่าที่จะใช้ความรู้ที่สะสมมาเมื่อสมัย เรียนรู้ตลอดชีวิตนั้น จะคาดหวังเฉพาะ อยู่ในวัยเรียนมาช่วยได้ การศึกษาที่บุคคล การจัดบริการการศึกษาของสถาบันการ ได้รับเมื่ออยู่ในช่วงวัยเรียนนั้นเป็นเพียง ศึกษาเท่านั้นคงไม่เป็นการเพียงพอเพราะ ส่วนหนึ่งของชีวิตเท่านั้นอาจเรียกว่าเป็น ประชาชนแต่ละคนคงไม่สามารถเรียนอยู่ใน พื้นฐานหรือเป็น เครื่องมือที่จะช่วยให้บุคคล สถานศึกษาได้ตลอดชีวิต เพราะต่างมีภาระ แสวงหาความรู้ได้ต่อไป ซึ่งช่วงชีวิตหลังวัย ต่างๆ มากมายที่ทำ�ให้ไม่มีเวลาที่จะมาเข้า เรียนเป็นช่วงชีวิตที่ยาวนานกว่าหลายเท่า เรียนในสถานศึกษาได้ตลอดเพราะฉะนั้น ประเทศต่างๆ ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญ ต้องมีการศึกษารูปแบบอื่นหรือวิธีการอื่น และความจำ�เป็นของการที่ประชาชนจะต้อง ที่จะช่วยให้ประชาชนทุกวัยได้มีโอกาสเรียน ได้รับการศึกษาตลอดชีวิตเป็นอย่างมาก โดย รู้อยู่เสมอแม้จะพ้นจากวัยเรียนมาแล้ว ซึ่ง เฉพาะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคของความ ไม่ใช่การเข้าเรียนในชั้นเรียนแต่ต้องเป็นรูป เจริญและความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แบบการศึกษาที่ผสมผสานกลมกลืนควบคู่ ของวิทยาการและเทคโนโลยี เป็นยุคข้อมูล อยู่ในวิถีชีวิตในการทำ�งานและในกิจกรรม

44 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ในชีวิตประจำ�วัน การเรียนรู้ในหลายพื้นที่และหลายรูปแบบ หนึ่งในกลยุทธ์ที่หลายประเทศนำ� เพื่อให้ได้แนวทางในการพัฒนาสังคม มาใช้ก็คือการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แห่งการเรียนรู้อย่างชัดเจน ผู้วิจัยโดยการ (สุมาลี สังข์ศรี, 2544) เช่น ประเทศสห สนับสนุนของสำ�นักงานเลขาธิการสภาการ ราชอาณาจักร ส่งเสริมให้สร้างวัฒนธรรม ศึกษาจึงได้ทำ�โครงการวิจัยเพื่อจะศึกษา เพื่อการเรียนรู้แก่ประชาชนโดยให้การศึกษา แนวทางการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ทั้ง เป็นปกติวิสัยของการดำ�เนินชีวิต กลมกลืน ในเชิงของแนวคิด หลักการและการปฏิบัติจริง ไปกับการดำ�เนินชีวิตและพัฒนาเมืองแห่ง การเรียนรู้ ในประเทศสหรัฐอเมริกาส่งเสริม ให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน จัด ความมุ่งหมายของการวิจัย เครือข่ายการเรียนรู้ทำ�ให้การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ เข้าถึงได้ง่าย การวิจัยซึ่งมีวัตถุประสงค์ต่อไปนี้ นอกจากนั้นอีกหลายประเทศกำ�ลังใจ 1. เพื่อสังเคราะห์กระบวนการใน ให้ความสนใจในการพัฒนาสังคมและ ประเทศ การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ ชาติของตนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้เช่นกัน 2. เพื่อจัดทำ�คู่มือแนวทางการคัด เพราะการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้เป็นอีก เลือก/ยกย่อง บุคคล ชุมชน และสังคมแห่ง แนวทางหนึ่งที่จะทำ�ให้ประชาชนทุกเพศทุก การเรียนรู้ วัยที่อยู่ในแต่ละชุมชนหรือแต่ละสังคมย่อยๆ ได้อยู่ใกล้ชิดกับการศึกษา ใกล้ชิดกับแหล่ง วิธีดำ�เนินการวิจัย การเรียนรู้ มีกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ภายใน การวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยการ ชุมชนของตนเอง มีกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ใน ดำ�เนินการวิจัย 2 ส่วนหลักคือ วิถีการดำ�เนินชีวิต จึงเป็นการง่ายและสะดวก ที่จะเข้าถึงแหล่งความรู้จะเรียนรู้เมื่อใดก็ได้ 1. การวิจัยเอกสารรวมทั้งการศึกษา และเป็นแรงจูงใจที่จะเรียนรู้ทำ�ให้ประชาชน กรณีมีตัวอย่างในต่างประเทศ มีโอกาสเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง 2. การวิจัยภาคสนาม ประเทศไทยได้ตระหนักถึงการสร้าง 1. การวิจัยเอกสาร สังคมแห่งการเรียนรู้เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ผู้วิจัยศึกษาเอกสาร รายงาน บทความ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พยายามนำ�แนวคิด และงานวิจัยทีเกี่ยวข้องกับการสร้างสังคมแห่ง เรื่องสังคมแห่งการเรียนรู้มาสู่การปฏิบัติ ดัง การเรียนรู้หรือชุมชนแห่งการเรียนรู้ทั้งในและ จะพบได้ว่าได้มีการดำ�เนินการพัฒนาสังแห่ง ต่างประเทศ รวมทั้งการศึกษากรณีตัวอย่าง

45 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

สังคมแห่งการเรียนรู้ในต่างประเทศ ซึ่งในที่นี้ 2 ชุมชน ยกเว้นในภาคกลางเลือก 3 จังหวัด เลือกประเทศสหราชอาณาจักร เนื่องจากเป็น 3 ชุมชน รวมชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่ศึกษา ประเทศที่ริเริ่มการพัฒนาเมืองแห่งการเรียน ทั้งหมด 4 ภาค 9 ชุมชน รู้ และมีการพัฒนาเรื่องนี้มาอย่างต่อเนื่อง จากนั้นในแต่ละชุมชนผู้วิจัยเลือก 2. การวิจัยภาคสนาม แบบเจาะจงผู้ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและการ ในการวิจัยภาคสนาม ผู้วิจัยทำ�การ ดำ�เนินการของชุมชนแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ ศึกษาเชิงคุณภาพจากชุมชนแห่งการเรียนรู้ (1) กรรมการชุมชนที่ร่วมดำ�เนินงานชุมชน ทั่วประเทศโดยมีรายละเอียดดังนี้ แห่งการเรียนรู้ 5 คน (2) ผู้แทนประชาชน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในชุมชน 3 คน (3) บุคลากรหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องและองค์กรท้องถิ่น 2 คน รวม 10 ประชากรหรือหน่วยที่ทำ�การศึกษา คน ดังนั้นใน 9 ชุมชน (9 จังหวัด) ได้กลุ่ม ในครั้งนี้ คือ ชุมชนที่ได้รับการพิจารณา ตัวอย่างรวม 90 คน ว่าเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ชุมชนแห่งการ เรียนรู้ในช่วงที่ทำ�การศึกษาวิจัยแบ่งออก เครื่องมือในการวิจัย เป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่อยู่ เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ในกลุ่มจังหวัดนำ�ร่องการสร้างชุมชนแห่งการ ประกอบด้วย (1) แบบศึกษาวิเคราะห์ชุมชน เรียนรู้ของสำ�นักบริหารงานการศึกษานอก (2) แบบสัมภาษณ์กรรมการดำ�เนินการชุมชน โรงเรียนซึ่งมี 22 จังหวัดทั่วประเทศ แห่งการเรียนรู้ (3) แบบสัมภาษณ์ประชาชน (4) แบบสัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ กลุ่มที่ 2 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่ไม่ องค์กรท้องถิ่น ได้อยู่ในโครงการนำ�ร่องแต่มีคุณสมบัติเป็น ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทั้งนี้ได้รับคำ�แนะนำ�จาก การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้บริหารและบุคลากรศูนย์ กศน. จังหวัดใน แต่ละภูมิภาค ผู้วิจัยประสานงานกับบุคลากรของ กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยเลือกชุมชนแห่ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องบุคลากร กศน. และ การเรียนรู้แบบเจาะจง โดยในแต่ละภาคเลือก องค์กรท้องถิ่นและกรรมการชุมชนในพื้นที่ที่ 2 จังหวัด จังหวัดหนึ่งอยู่ในโครงการนำ�ร่อง ศึกษาเพื่อขออนุญาตเข้าไปทำ�การศึกษาใน และอีกจังหวัดหนึ่งไม่ได้อยู่ในโครงการและ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่เลือกเป็นพื้นที่ศึกษา ในแต่ละจังหวัดเลือกชุมชนแห่งการเรียนรู้ จากนั้นนัดสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม จังหวัดละ 1 ชุมชน รวมภาคละ 2 จังหวัด จะครบทุกคน ผู้วิจัยใช้เวลาเก็บรวบรวม ข้อมูล 9 ชุมชนใน 4 ภาคประมาณ 4 เดือน

46 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

การวิเคราะห์ข้อมูล 1. กำ�หนดพื้นที่ ข้อมูลที่รวบรวมได้ซึ่งเป็นข้อมูล เชิงคุณภาพผู้วิจัยทำ�การวิเคราะห์โดยการ 2. หาจุดเริ่มต้น วิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) การเสนอแนวทางการสร้างสังคม 3. ตั้งกลุ่มแกนกลาง แห่งการเรียนรู้และเกณฑ์การยกย่อง ชุมชน/สังคมแห่งการเรียนรู้ 4. สร้างความสนใจในวงกว้าง หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลภาคสนาม 5. แสวงหาหุ้นส่วน ทั้งหมดแล้ว ผู้วิจัยนำ�ข้อมูลทั้งหมดมา สังเคราะห์ร่วมกับข้อมูลจากการวิจัยเอกสาร 6. พัฒนาบุคลากร แล้วเสนอแนวทางการสร้างสังคมแห่งการ เรียนรู้สำ�หรับประเทศไทยและเกณฑ์ประเมิน และยกย่องชุมชน/สังคมแห่งการเรียนรู้ จาก 7. วิเคราะห์สภาพชุมชน นั้นจัดสัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิจำ�นวน 15 ท่าน เพื่อขอรับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะแล้ว 8. จัดทำ�แผนชุมชน นำ�มาใช้ปรับปรุงแนวทางการสร้างสังคม และกำ�หนดกิจกรรมเรียนรู้ แห่งการเรียนรู้และเกณฑ์ในการประเมิน และยกย่องชุมชน/สังคมแห่งการเรียนรู้ให้ 9. วิเคราะห์ศักยภาพของหุ้นส่วน มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป และแบ่งปันความรับผิดชอบ ผลการวิจัย ผลการวิจัย ในประเด็น หลักมีดังนี้ 10. ดำ�เนินการจัดกิจกรรม 1. กระบวนการในการพัฒนาสังคม 11. ติดตามประเมินผล แห่งการเรียนรู้สำ�หรับประเทศไทย และเรียนรู้จากสิ่งที่ได้รับ การพัฒนาชุมชนหรือสังคมแห่งการ เรียนรู้สำ�หรับประเทศไทยมีกระบวนการซึ่ง 12. ประชาสัมพันธ์ผลการดำ�เนินงาน ประกอบไปด้วยขั้นตอนย่อยๆ 13 ขั้นตอน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดังนี้ 13. สร้างเครือข่ายชุมชนแห่งการเรียนรู้

47 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

1) กำ�หนดพื้นที่ ในการจะสร้าง ก่อน เมื่อการดำ�เนินการเริ่มคงตัวมากขึ้น จึง สังคม/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ หรือเมืองแห่ง จัดตั้งกรรมการที่จะทำ�หน้าที่ดำ�เนินงานจริง การเรียนรู้ ควรมีการกำ�หนดขอบเขตหรือ และมีจำ�นวนกรรมการมากขึ้น พื้นที่ว่าจะเป็นสังคมขนาดใด เช่น หมู่บ้าน 4) สร้างความสนใจในวงกว้าง ควร หรือตำ�บล หรืออำ�เภอ หรือจังหวัด ซึ่งเมื่อ หาวิธีการที่จะขยายแนวความคิดให้เกิดการ สังคมย่อยๆ เหล่านี้ต่างเป็นชุมชนหรือเป็น ยอมรับในวงกว้าง ให้ประชาชนทุกกลุ่มใน เมืองแห่งการเรียนรู้ ในที่สุดเมื่อรวมกันก็จะ ชุมชนได้เข้าใจ เกิดความสนใจและให้ความ เป็นภาพรวมของทั้งประเทศ ร่วมมือโดยอาจจัดประชุมประชาชนทั้งหมู่บ้าน 2) หาจุดเริ่มต้น ในแต่ละชุมชนควร ประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อต่างๆ (หลังการ พิจารณาหาจุดเริ่มต้น ตัวอย่างของสหราช สร้างความสนใจในวงกว้างแล้ว อาจมีองค์ อาณาจักร บางชุมชนเริ่มต้นโดยปัจเจกบุคคล กรอื่นๆ ที่มาเข้าร่วมเป็นกรรมการดำ�เนิน หรือผู้ทรงพลัง บางชุมชนเริ่มโดยองค์หรือ การเพิ่มขึ้น) หน่วยงานหลักในชุมชน กรณีของประเทศไทย 5) การแสวงหาหุ้นส่วน การดำ�เนิน สามารถกระทำ�ได้ทั้ง 2 แบบ เช่น ถ้าเริ่มโดย กิจกรรมเมืองแห่งการเรียนรู้จะต้องอาศัย บุคคลอาจหาบุคคลที่ประชาชนในชุมชนให้ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม ใน ความเคารพนับถือศรัทธา ได้แก่ ครู ผู้เฒ่า ลักษณะของหุ้นส่วน (ซึ่งขยายมาจากกลุ่ม ผู้แก่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น (ซึ่งตรงกับลักษณะ แกนกลาง) โดยกลุ่มแกนกลางจะเชิญผู้แทน ของสังคมไทย)ให้เป็นผู้ริเริ่มและช่วยขยายแนว จากทุกกลุ่มในชุมชนมาเป็นหุ้นส่วน บางเมือง ความคิดและสร้างความเข้าใจ และความร่วม อาจมีผู้ดำ�เนินงานไม่กี่คนทำ�ในรูปของบริษัท มือในวงกว้าง หรือถ้าจะเริ่มโดยองค์กรหลัก หรือองค์กรที่ได้รับการรับรอง โดยมีตัวแทน ในชุมชน ในสังคมไทยอาจจะเป็นกรรมการ ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ หมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.บ.ต.) สำ�หรับของไทย องค์กรดำ�เนินงาน หรือหน่วยงานการศึกษานอกโรงเรียนให้เป็น อาจจะเป็นกรรมการหมู่บ้าน หรือองค์การ ผู้ริเริ่มพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ บริหารส่วนตำ�บล และมีกรรมการที่ประกอบ 3) ตั้งกลุ่มแกนกลาง สหราชอาณาจักร ไปด้วยตัวแทนของทุกกลุ่มในชุมชน (ตำ�บล/ เริ่มด้วยการจัดตั้งกลุ่มแกนกลางเพื่อเริ่มการ หมู่บ้าน) เช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้แทนทาง พัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ในขั้นต้นก่อน กลุ่ม ศาสนา โรงเรียนในชุมชน สถานประกอบ นี้ประกอบไปด้วยผู้แทนขององค์กร หน่วย การ ร้านค้า และหน่วยธุรกิจต่างๆ หน่วย งาน สถาบันหลักๆ ที่จะมาเป็นแกนนำ�เพื่อ งานของรัฐและเอกชนในท้องถิ่น และผู้แทน เริ่มต้นการสร้างชุมชน/เมืองแห่งการเรียนรู้ ประชาชน ประการสำ�คัญคือทุกหน่วยงาน

48 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

หรือทุกฝ่ายที่เป็นกรรมการจะต้องร่วมมือ 9) วิเคราะห์ศักยภาพของหุ้นส่วน กันแบบหุ้นส่วนนั่นคือ ร่วมวางแผน ร่วม เนื่องจากการจัดสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ลงทุน ร่วมดำ�เนินงาน และร่วมรับผล โดย นั้น อาศัยการมีส่วนร่วมแบบหุ้นส่วนจากทุก นำ�จุดเด่นและทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ร่วมกัน ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ควรมีการวิเคราะห์ มิใช้ร่วมมือเพียงการช่วยให้นโยบายให้คำ� เพื่อจะนำ�จุดเด่นของแต่ละหุ้นส่วนมาใช้ แนะนำ�เท่านั้น เช่น วิเคราะห์ว่าหุ้นส่วนใดจะช่วยสนับสนุน 6) พัฒนาบุคลากรที่จะเป็นผู้ดำ�เนิน ทรัพยากรในด้านใด เช่น ด้านเงินทุน ด้าน งานชุมชน/เมือง/สังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อ อาคารสถานที่ ด้านวิทยากร ด้านวัสดุอุปกรณ์ ให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจถึงหลักการ ฯลฯ เพื่อจะได้ระดมมาใช้ในการดำ�เนินงาน วิธีการ และขั้นตอนในการพัฒนาเมืองแห่ง 10) ดำ�เนินการจัดกิจกรรมการเรียน การเรียนรู้ การพัฒนาบุคลากรอาจกระทำ� รู้ โดยนำ�หลักการในการจัดชุมชนแห่งการ โดยการฝึกอบรม การให้ศึกษาเอกสารที่ เรียนรู้ที่กล่าวไว้ข้างต้นมาใช้ดังนี้ เกี่ยวข้อง การศึกตัวอย่าง ชุมชนแห่งการ 10.1 ด้านผู้จัดกิจกรรมใช้หลัก เรียนรู้จากที่ต่างๆ เป็นต้น ความร่วมมือแบบหุ้นส่วน คือ ร่วมลงทุน 7) วิเคราะห์สภาพปัญหาและความ ร่วมวางแผน ร่วมดำ�เนินงาน และร่วมรับ ต้องการของชุมชน การสร้างชุมชนแห่งการ ผลจากการดำ�เนินงาน นอกจากนั้นควรใช้ เรียนรู้นั้นยึดหลักการจัดกิจกรรมใช้ชุมชนเป็น หลักการเรียนรู้ทั้ง 3 ระดับ คือ การจัดตั้ง ฐาน ดังนั้นต้องเริ่มที่ชุมชนเพื่อนำ�ข้อมูลมา องค์กร (ควรรวมตัวในรูปกรรมการ) ในเรื่อง ใช้ในการวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ ของการปรึกษาหารือและการทบทวนผล ชุมชน ทั้งนี้ อาจาดำ�เนินการโดยการจัดทำ� การดำ�เนินงานที่ผ่านมาเพื่อนำ�มาพัฒนา เวทีชาวบ้านกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย เพื่อให้ งานที่จะทำ�ต่อไป ได้ความคิดเห็นจากประชาชนทั้งชุมชน จะ 10.2 ด้านประชาชนผู้รับริการ ควร ได้ทราบว่าจะต้องพัฒนาในด้านใดอีกบ้าง ใช้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนนั่นคือส่ง 8) จัดทำ�แผนชุมชน และกำ�หนด เสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ยุทธศาสตร์ในการดำ�เนินงาน กรรมการ ของการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ โดยมี หรือองค์กรดำ�เนินการนำ�ข้อมูลจากการ ส่วนร่วมตั้งแต่แสดงความคิดเห็นในการสร้าง วิเคราะห์ชุมชนมาจัดทำ�แผนการดำ�เนินงาน ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ร่วมแสดงความคิดเห็น ชุมชนแห่งการเรียนรู้อาจจะมีทั้งแผนระยะ เกี่ยวกับสภาพปัญหาของชุมชนและสิ่งที่ควร สั้นและระยะยาว ปรับปรุง ร่วมวางแผน ร่วมจัดกิจกรรม และ

49 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ร่วมรับผลจากกิจกรรม เมืองแห่งการเรียนรู้ก็คือ การไตร่ตรอง 10.3 ด้านการจัดกิจกรรม ยึดหลัก ทบทวนผลการดำ�เนินงาน เพราะฉะนั้นเมื่อ ความหลากหลายยืดหยุ่นสัมพันธ์กับวิถีชีวิต ดำ�เนินการไปได้ระยะหนึ่ง ควรมีการติดตาม เปิดกว้างเพื่อความเสมอภาค เข้าถึงได้ง่าย ประเมินเพื่อเรียนรู้ผลการดำ�เนินงานแล้วนำ� และมีความต่อเนื่อง มาใช้ปรับปรุงงานต่อไป นอกจากนั้นยังอาจ - กิจกรรมที่จัดเพื่อส่งเสริมการเรียน ศึกษาการดำ�เนินงานจากชุมชนอื่นๆ เพื่อนำ� รู้ตลอดชีวิตควรมีหลากหลายประเภทให้ มาประยุกต์ใช้ได้เช่นกัน ประชาชนทุกเพศทุกวัยเลือกได้ตามความ 12) ประชาสัมพันธ์ผลการดำ�เนิน ต้องการและความสนใจ งานเป็นระยะๆ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มได้ - การจัดกิจกรรมควรให้สัมพันธ์กับ เกิดความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นและได้เห็น วิถีการดำ�เนินชีวิต ผลของการดำ�เนินงาน ซึ่งจะทำ�ให้ประชาชน ให้ความสนใจและมีส่วนร่วมมากขึ้น การ - ประชาชนทุกคนมีสิทธิเท่าเทียม ประชาสัมพันธ์อาจทำ�โดยการจัดประชุม กัน ที่จะเรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้ ทุก สัมมนา การจัดนิทรรศการ การใช้สื่อต่างๆ ประเภทในชุมชน รวมทั้งสื่อพื้นบ้าน - แหล่งการเรียนรู้ทุกแหล่งควรเข้า 13) สร้างเครือข่ายชุมชน/เมือง ถึงได้ง่าย ไม่มีกฎระเบียบที่จะสะกัดกั้น แห่งการเรียนรู้ ควรมีการประสานเชื่อมโยง กลุ่มเป้าหมาย ชุมชนแห่งการเรียนรู้ในพื้นที่ต่างๆ เข้าด้วย - การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ กัน โดยอาจจัดตั้งกลุ่มประสานงานเครือข่าย ซึ่งอาจจะทำ�ได้หลายวิธีจนประชาชนร่วม เพื่อให้แต่ละชุมชนได้ ส่งเสริมสนับสนุนกัน กิจการมีการเรียนรู้จนเป็นนิสัยในที่สุดก็จะ ในการดำ�เนินงาน อีกทั้งยังได้เรียนรู้และนำ� เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ ผลของเครือข่ายมาปรับปรุงชุมชนของตนให้ - สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้แก่ พัฒนายิ่งขึ้น ประชาชนโดยเฉพาะผู้ที่ห่างไกลการศึกษา 2. คู่มือแนวทางการคัดเลือก/ยกย่อง ไปนานๆ และผู้ที่มีภาระด้านต่างๆ มากมาย ชุมชนหรือสังคมแห่งการเรียนรู้ ผลจากการ ไม่มีเวลาเรียนรู้ วิจัยได้เสนอเกณฑ์ในการตัดสินชุมชน/สังคม - การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ แห่งการเรียนรู้ 3 ด้านหลัก คือ 1) การริเริ่ม ในชุมชน 2) การดำ�เนินการ 3) ผลการดำ�เนินการ ดัง 11) การติดตามประเมินผลการ รายละเอียดต่อไปนี้ ดำ�เนินงาน หลักการข้อหนึ่งของการสร้าง

50 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

2.1 การริเริ่มสร้างสังคม/ชุมชน 2.2.7 การนำ�ผลการประเมินมาใช้ แห่งการเรียนรู้มีประเด็นพิจารณาดังต่อไป และประชาสัมพันธ์ผลแก่สาธารณชน (1 นี้(10 คะแนน) คะแนน) 2.1.1 การกำ�หนดขอบเขตพื้นที่ที่จะ 2.3 ผลการดำ�เนินงานมีประเด็น พัฒนาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้(2 คะแนน) พิจารณาดังต่อไปนี (10 คะแนน) 2.1.2 ผู้เป็นจุดเริ่มต้น(2 คะแนน) 2.3.1 กิจกรรมหลากหลายและต่อ 2.1.3 การตั้งกลุ่มแกนกลาง เนื่อง(2 คะแนน) (2 คะแนน) 2.3.2 การมีส่วนร่วมของประชาชน 2.1.4 การสร้างความรู้ความเข้าใจ (2 คะแนน) ในกลุ่มแกนกลาง (2 คะแนน) 2.3.3 ผลในเชิงการถ่ายทอดและแลก 2.1.5 การขยายความสนใจในวง เปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างประชาชน (2 คะแนน) กว้าง(2 คะแนน) 2.3.4 ผลในเชิงการรวบรวมองค์ความ 2.2 การดำ�เนินการของชุมชน/สังคม รู้และขยายตัวของแหล่งเรียนรู้ (2 คะแนน) แห่งการเรียนรู้ มีประเด็นพิจารณาดังต่อไป 2.3.5 ประชาชนนำ�ความรู้ไปใช้ นี้ (10 คะแนน) พัฒนา (2 คะแนน) 2.2.1 การวิเคราะห์สภาพปัญหา 2.3.6 การสร้างเครือข่าย ของชุมชนและจัดทำ�แผนชุมชน(2 คะแนน) (1 คะแนน) 2.2.2 การกำ�หนดกลุ่ม เป้าหมาย คะแนนรวม 30 คะแนน ที่จะพัฒนา และการกำ�หนด จุดให้บริการ (1 คะแนน) อภิปรายผล 2.2.3 การนำ�ศักยภาพของชุมชนมา ผลการวิจัยมีประเด็นสำ�คัญที่นำ�มา ใช้ในการพัฒนา (2 คะแนน) อภิปรายดังนี้ 2.2.4 ความร่วมมือแบบหุ้นส่วน 1. ผลการวิจัยได้เสนอกระบวนการ (2 คะแนน) ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้สำ�หรับสังคม 2.2.5 การส่งเสริมให้ประชาชนมี ไทยว่าประกอบไปด้วย 13 ขั้นตอน คือ 1) ส่วนร่วม (1 คะแนน) กำ�หนดพื้นที่ 2) หาจุดเริ่มต้น 3) ตั้งกลุ่ม 2.2.6 การนิเทศติดตามผลประเมิน แกนกลาง 4) สร้างความสนใจในวงกว้าง ผล (1 คะแนน) 5) แสวงหาหุ้นส่วน 6) พัฒนาบุคลากร 7)

51 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

วิเคราะห์สภาพชุมชน 8) จัดทำ�แผนชุมชน ร่วมของเครือข่าย และการปฏิบัติงานที่มี และกำ�หนดกิจกรรมเรียนรู้ 9) วิเคราะห์ ประสิทธิภาพรวมทั้งการประเมินผล และ ศักยภาพของหุ้นส่วน และแบ่งปันความรับ สอดคล้องกับ Choi (2003) ว่าการพัฒนา ผิดชอบ 10) ดำ�เนินการจัดกิจกรรม 11) เมืองแห่งการเรียนรู้ควรมีแนวทางการดำ�เนิน ติดตามประเมินผลและเรียนรู้จากสิ่งที่ได้ งานที่ชัดเจน มีการกำ�หนดและแบ่งงานกลุ่ม รับ 12) ประชาสัมพันธ์ผลการดำ�เนินงาน ผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน กำ�หนดโครงการที่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 13) สร้างเครือข่ายชุมชน ชัดเจนดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องและประเมิน แห่งการเรียนรู้ ทั้งนี้รายละเอียดในการดำ�เนิน ผลการดำ�เนินงาน ซึ่งผลจากการวิจัยนี้มีขั้น การแต่ละขั้นตอนสามารถยืดหยุ่นและปรับ ตอนในการจัดทำ�แผนชุมชน การวิเคราะห์ ให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชนหรือ ศักยภาพของหุ้นส่วน การจัดกิจกรรม (ซึ่ง แต่ละสังคมได้เสมอ เน้นการสนองความต้องการของประชาชน กระบวนการในการสร้างสังคมแห่ง และมีความต่อเนื่อง) การติดตามประเมิน การเรียนรู้ที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้มีความ ผล และยังสอดคล้องกับ Candy (2005) สอดคล้องกับหลักการของสังคมแห่งการ ซึ่งได้เน้นว่าการสร้างเมืองแห่งการเรียนรู้นั้น เรียนรู้ที่กล่าวไว้โดยนักการศึกษาหลายๆ ยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตเป็นหลักสำ�คัญ ท่าน รวมทั้งการปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงในต่าง ของการพัฒนาเพื่อส่งเสริมคุณภาพความ ประเทศเป็นหลักการพัฒนาเมืองแห่งการ เป็นอยู่และคุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่ง เรียนรู้ของสหราชอาณาจักรมีหลักการหลาย แนวทางการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ที่ ประเด็นเช่น การเริ่มจากบุคคลที่เป็นหลักการ ได้จากการวิจัยครั้งนี้ก็ยึดหลักการให้ความ ของชุมชนหรือสถาบันที่เป็นหลักของชุมชน สำ�คัญของการศึกษาซึ่งจะเป็นปัจจัยในการ จากนั้นจะมีการตั้งกลุ่มแกนกลาง และการ พัฒนาชุมชนหรือสังคม การจัดกิจกรรมที่ สร้างความสนใจในวงกว้างเพื่อขยายแนว เสนอจะเป็นกิจกรรมการศึกษาหลายรูปแบบ ความคิดซึ่ง ขั้นตอนในการสร้างสังคมแห่ง เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ตลอดชีวิตและนำ� การเรียนรู้ที่ได้จากวิจัยครั้งนี้ก็ยึดหลักการ สิ่งที่ได้เรียนรู้มาพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ นั้นเช่นกัน แต่ปรับให้เข้ากับสังคมไทย เช่น 2. ในส่วนของคู่มือแนวทางการคัด บุคคลหรือลุ่มคนที่หลักในสังคมไทยอาจ เลือก ยกย่องชุมชนแห่งการเรียนรู้ ผลการ เป็นผู้เฒ่าผู้แก่ ผู้ที่บุคคลในชุมชนเคารพ วิจัยได้เสนอเกณฑ์ในการประเมินไว้ 3 ช่วง นับถือเป็นต้น นอกจากนั้นยังสอดคล้อง หลัก คือ 1) ช่วงการริเริ่ม 2) ช่วงดำ�เนินการ กับ Faris (1998) ซึ่งกล่าวว่าการพัฒนา และ 3) ช่วงผลการดำ�เนินการ ซึ่งแต่ละช่วง เมืองแห่งการเรียนรู้ยึดหลักการที่สำ�คัญคือ มีประเด็นย่อยสำ�หรับประเมินดังนี้ การมีความร่วมมือแบบหุ้นส่วน การมีส่วน

52 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ช่วงดำ�เนินการจะประเมินใน 7 การเรียนรู้หรือชุมชนแห่งการเรียนรู้กลุ่มนี้จะ ประเด็น คือ (1) การวิเคราะห์สภาพปัญหา ต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องและชัดเจนจึงจะ ของชุมชนและจัดทำ�แผนชุมชน (2) การ สามารถขยายแนวความคิดนี้ไปสู่วงกว้างได้ กำ�หนดกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนา และการ ซึ่งสอดคล้องกับหลักการที่ให้ไว้โดย Cisco กำ�หนดจุดให้บริการ (3) การนำ�ศักยภาพของ (2010) ว่าหลักการสำ�คัญประการหนึ่งของ ชุมชนมาใช้ในการพัฒนา (4) ความร่วมมือ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้คือการพัฒนา แบบหุ้นส่วน (5) การส่งเสริมให้ประชาชนมี ศักยภาพของผู้จัดกิจกรรมหรือในขั้นของ ส่วนร่วม (6) การนิเทศติดตามผลประเมิน การดำ�เนินการ ซึ่งมีประเด็นที่จะประเมิน 7 ผล (7) การนำ�ผลการประเมินมาใช้และ ประเด็นนั้น แต่ละประเด็นสอดคล้องกับขั้น ประชาสัมพันธ์ผลแก่สาธารณชน ตอนและหลักการสำ�คัญของการสร้างสังคม ในการประเมินแต่ละประเด็นย่อย แห่งการเรียนรู้ เช่น ประเด็นการวิเคราะห์ ในแต่ละช่วงจะมีเกณฑ์ให้ทั้งนี้ได้จัดทำ�เป็น สภาพปัญหาของชุมชนและการจัดทำ�แผน คู่มือ เช่น ประเด็นการกำ�หนดพื้นที่ที่จะเป็น ชุมชน ประเด็นนี้มีความจำ�เป็นดังที่ Choi ชุมชน/สังคมแห่งการเรียนรู้ในช่วงการริเริ่ม (2003) กล่าวว่า ในการสร้างเมืองแห่งการ มีคะแนนเต็ม 2 คะแนน ถ้ามีการกำ�หนด เรียนรู้นั้นจะต้องมีแนวทางการดำ�เนินงานที่ ชัดเจนได้ 2 คะแนน ถ้ากำ�หนดไว้กว้างๆ ได้ ชัดเจนมีโครงการที่ชัดเจน 1 คะแนน ไม่ได้กำ�หนดได้ 0 คะแนน เป็นต้น การติดตามและประเมินผลการ ประเด็นที่ใช้ประเมินการเป็นสังคม ดำ�เนินงานมีนักการศึกษาหลายท่านได้เน้น แห่งการเรียนรู้ที่เสนอจากผลการวิจัยครั้งนี้ มาก เช่น Faris (1998), Choi (2003) และ สอดคล้องกับลักษณะ หลักการและขั้นตอน Cisco (2010) การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยศึกษา ในขั้นของผลการดำ�เนินงานมีประเด็น จากเอกสารที่เกี่ยวข้องและกรณีศึกษาต่างๆ ย่อย 6 ประเด็นที่ใช้ในการประเมิน เช่น เช่น ในขั้นเริ่มต้นมีประเด็นที่ประเมิน 5 กิจกรรมที่จัดมีความหลากหลายและต่อ ประเด็น ซึ่งสอดคล้องกับการปฏิบัติจริงใน เนื่องนั้นสอดคล้องกับแนวทางที่ให้ไว้โดย การศึกษากรณีเมืองแห่งการเรียนรู้ของสห Choi (2003) และ Cisco (2010) ที่เน้น ราชอาณาจักร ซึ่งมีขั้นของการเริ่มต้น 4 ขั้น กิจกรรมหลากหลายสนองความต้องการของ ย่อยๆ และผู้วิจัยได้เพิ่มประเด็นย่อยไปอีก กลุ่มเป้าหมายและเน้นความต่อเนื่อง 1 ประเด็นคือ การสร้างความรู้ความเข้าใจ แก่สมาชิกในกลุ่มแกนกลางทั้งนี้เพราะกลุ่ม นี้เป็นกลุ่มที่จะเริ่มต้นการสร้างสังคมแห่ง ข้อเสนอแนะในการสร้างสังคมแห่ง

53 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

การเรียนรู้ให้ประสบผลสำ�เร็จ ระดับจังหวัดแต่ละจังหวัด นำ�ความรู้ ข้อมูล ข่าวสารที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างหรือการ เพื่อให้การพัฒนาสังคมไทยให้เป็น พัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้ สังคมแห่งการเรียนรู้ได้ประสบผลสำ�เร็จผู้ แทนหน่วยงาน ผู้แทนองค์กรรัฐ และเอกชน วิจัยมีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ และผู้แทนประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับ 1) กำ�หนดนโยบายการสร้างสังคมแห่ง จังหวัด อำ�เภอ ตำ�บล ไปจนถึงหมู่บ้าน การเรียนรู้ที่ชัดเจน ประเทศไทยควรกำ�หนด 6) รณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจ นโยบายการส่งเสริม/การพัฒนาสังคมแห่ง ต้องสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน การเรียนรู้ที่ชัดเจนซึ่งครอบคลุมทั้งหลักการ ทุกกลุ่มในเรื่องการศึกษาตลอดชีวิต และ และแนวปฏิบัติที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะนำ�ไป เรื่องสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อให้ประชาชน ดำ�เนินการได้ ทั้งนี้กระทรวงหรือหน่วยงาน ตระหนักว่าการศึกษามีความจำ�เป็นสำ�หรับ ที่เกี่ยวข้องควรเป็นผู้รับผิดชอบ ทุกคนทุกช่วงอายุ และสังคมแห่งการเรียนรู้ 2) กระทรวงหรือหน่วยงานที่รับ จะช่วยให้เกิดการศึกษาตลอดชีวิตได้อย่าง ผิดชอบในเรื่องนี้ควรประสานขอความร่วม ต่อเนื่อง นอกจากนั้นหน่วยงานที่รับผิดชอบ มือไปยังจังหวัดทุกจังหวัดให้นำ�นโยบายไป ในทุกจังหวัดควรให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ สู่การปฏิบัติ เรื่องนี้ในทุกระดับทั้งระดับจังหวัด อำ�เภอ 3) กระทรวงหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตำ�บล รณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ ควรจัดทำ�สื่อซึ่งให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการ ประชาชนในแต่ละชุมชนโดยวิธีต่างๆ เช่น สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยเฉพาะหลัก ใช้สื่อหลายรูปแบบ การประชุม การจัดเวที การและขั้นตอนในการสร้างหรือพัฒนาสังคม ชาวบ้านเป็นต้น แห่งการเรียนรู้ สื่อที่ผลิตอาจจะมีทั้งสื่อสิ่ง 7) พัฒนาบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการ พิมพ์ในรูปของคู่มือและ VCD สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ในแต่ละจังหวัด 4) กระทรวงหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่รับผิดชอบควรจัดฝึกอบรมผู้ ควรเชิญหน่วยงานที่จะรับผิดชอบในเรื่องนี้ แทนจากหน่วยงาน ผู้แทนองค์การท้องถิ่น ในระดับจังหวัด จากทุกจังหวัดทั่วประเทศ กรรมการหมู่บ้านและตัวแทนของประชาชน เพื่อร่วมสัมมนารับฟังการชี้แจงรายละเอียด จากแต่ละตำ�บลเพื่อให้มีความรู้และความ และทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการพัฒนา เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและขั้นตอนในการ สังคมแห่งการเรียนรู้พร้อมทั้งมอบสื่อตาม สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ 3 ให้ไปศึกษาและเผยแพร่ความรู้ต่อไป 8) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรทำ�หน้าที่ 5) หน่วยงานที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ใน

54 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

เป็นพี่เลี้ยง ในระยะเริ่มต้นของการสร้างสังคม การเรียนรู้ด้วยเช่นการวิเคราะห์สภาพปัญหา แห่งการเรียนรู้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งอาจจะ ของชุมชนเพื่อจะได้รู้ว่าจะต้องพัฒนาในเรื่อง เป็นศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดหรือ ใดบ้าง การอาศัยศักยภาพหรือทรัพยากรใน ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำ�เภอที่ ชุมชนเอง การร่วมมือแบบหุ้นส่วน ใช้หลัก ดูแลพื้นที่นั้นๆ ควรทำ�หน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้ การของการเรียนรู้เป็นกลไปในการผลักดัน แก่แต่ละชุมชนที่จะพัฒนาเป็นชุมชนหรือ ให้เกิดการพัฒนา หลักการติดตามและเรียน สังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความมั่นใจ รู้จากผลการดำ�เนินงานเป็นต้น และดำ�เนินการต่อไปได้ 11) ส่งเสริมให้มีการติดตามและ 9) ส่งเสริมให้คนในชุมชนตระหนัก ประเมินผลการดำ�เนินงาน หน่วยงานที่ ว่าสังคมแห่งการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้โดยคนใน เป็นผู้ดูแลการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ชุมชนเอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับ ในแต่ละชุมชนควรให้กรรมการของแต่ละ จังหวัดที่จะช่วยดูแลการสร้างสังคมแห่งการ ชุมชนกำ�หนดแผนการ ติดตามผลประเมิน เรียนรู้ในแต่ละพื้นที่ควรสร้างความตระหนัก ผลเป็นระยะๆ เพื่อจะได้ทราบจุดเด่น จุด แก่กลุ่มกรรมการที่รับผิดชอบและประชาชน อ่อน ปัญหาอุปสรรคของการดำ�เนินงาน ในชุมชนว่าการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้นั้น และได้เรียนรู้จากการดำ�เนินงานที่ผ่านมา ต้องสร้างโดยคนของชุมชนเองและจะดำ�เนิน เพื่อเป็นบทเรียนสำ�หรับการดำ�เนินงานต่อไป ไปได้อย่างต่อเนื่องก็ต้องอาศัยคนในชุมชน 12) การนิเทศโดยผู้บริหาร ผู้บริหาร เอง เพราะฉะนั้นจึงต้องการการมีส่วนร่วม ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากส่วนกลาง และ ของคนในชุมชนคนในชุมชนจะต้องบริหาร ระดับจังหวัด ระดับอำ�เภอ ควรมีการนิเทศ จัดการและดำ�เนินการเองไม่ควรรอความ ตรวจเยี่ยมพื้นที่ทีดำ�เนินการในแต่ละแห่งเพื่อ ช่วยเหลือจากภายนอก เป็นขวัญกำ�ลังใจ เพื่อให้คำ�แนะนำ�ปรึกษา 10) ในการดำ�เนินงานควรคำ�นึงถึง และเพื่อช่วยหาทางแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจ หลักการสำ�คัญของการสร้างสังคมแห่งการ เกิดขึ้น นอกจากนั้นยังคงช่วยให้ แต่ละพื้นที่ เรียนรู้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด จัดกิจกรรมต่อไปอย่างต่อเนื่อง ที่ทำ�หน้าที่ดูแลการสร้างสังคมแห่งการเรียน 13) การจัดทำ�รายงานผลการดำ�เนิน รู้นั้นนอกจากจะช่วยให้กรรมการที่รับผิด งาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรสนับสนุนให้ ชอบการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในแต่ละ กรรมการผู้รับผิดชอบของแต่ละพื้นที่/ชุมชน ชุมชนดำ�เนินการตามขั้นตอนของการสร้าง จัดทำ�รายงานผลการดำ�เนินงานหลังจากการ สังคมแห่งการเรียนรู้ทุกขั้นตอนแล้วยังควร ติดตามประเมินผลแล้ว เพื่อเป็นผลของการ เน้นหลักการสำ�คัญๆ ในการสร้างสังคมแห่ง ดำ�เนินงานและเพื่อเป็นข้อมูลสำ�หรับศึกษา

55 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

หาแนวทางที่จะพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นตลอดจน ต่างๆ เป็นต้น เพื่อเก็บไว้เปรียบเทียบดูพัฒนาการของ 15) หาวิธีการที่จะส่งเสริมให้มี แต่ละระยะ กิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและการ 14) ประชาสัมพันธ์ผลการดำ�เนิน สร้าง เครือข่ายการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ งานแก่สาธารณชนเป็นระยะๆ หน่วยงานที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับควรหาวิธีการ เกี่ยวข้องควรสนับสนุนให้กรรมการผู้รับผิด และช่วยสนับสนุนเพื่อให้กิจกรรมดำ�เนินต่อ ชอบของแต่ละชุมชนทำ�การประชาสัมพันธ์ ไปรวมทั้งช่วยประสานกับสังคม/ชุมชนแห่ง เผยแพร่ ผลงานหลังจากดำ�เนินการไปได้ การเรียนรู้แหล่งอื่นๆ ในระยะเริ่มแรกเพื่อ ระยะหนึ่งแล้ว เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ ให้เป็นเครือข่ายกันหลังจากนั้นให้แต่ละ เกิดความรู้ความเข้าใจและได้เห็นผลงานของ ชุมชนประสานเพื่อช่วยส่งเสริมซึ่งกันและกัน สังคมแห่งการเรียนรู้ การประชาสัมพันธ์อาจ ต่อไป ทำ�โดย การจัดเวทีชาวบ้าน การจัดนิทรรศการ การจัดแสดงผลงานการเผยแพร่ในรูปสื่อ

เอกสารอ้างอิง Candy. J. (2005). Town Planning for Learning Towns. Doctoral Dissertation, Flinders University, Australia. Choi, S.D. (2003). Changing Skills Formation and Lifelong Learning in South Korea. Doctoral Dissertation, University of London, United Kingdom. Cisco. (2010). The Learning Society. http://www.cisco.com/web/about/citizen- ship/socioeconomic/docs/Learning Society-White Paper Creative Cultures. (2004) Guidance on lntegrating Cultural and Community Strategies. London: Creative Cultures. Francis, R.(1998). Learning Communities: Cities, towns, and villages preparing for a 21st Century knowledge-based economy. A Report submitted to the Resort Municipality of Whistler and Centre for Curriculum, Transfer and Technology,Victoria. http://www.members.shaw.ca/rfaris/LC.htm. Learning City Network.(1998) The Survey: Learning Towns, Learning Cities. http://www.lifelong learning. Co.uk/learmig cites/index.htm.

56 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 The Development of Thai language substance group curriculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5, BanNongchim (Singchanbumrung) School

เรียม เจริญพล1, พิศมัย ศรีอำ�ไพ2, ชวนพิศ รักษาพวก3 Riam Charoenphon1, Pissamai Sri-ampai2, Chuanpit Rauksapuak3 บทคัดย่อ การพัฒนาหลักสูตรเป็นหัวใจสำ�คัญของการปฏิรูปการศึกษา โรงเรียนจำ�เป็นต้อง พัฒนาหลักสูตรเพื่อนำ�มาใช้จัดกระบวนการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ชุมชนหรือ สังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำ�หนดและพัฒนาหลักสูตรให้หลากหลายและสอดคล้องกับ สภาพท้องถิ่นและความต้องการของผู้เรียน การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) สำ�รวจ ความต้องการจำ�เป็นพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีคุณภาพตั้งแต่ระดับ เหมาะสมมากขึ้นไป 3) ทดลองใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 4) ประเมินผลการใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง)กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็ก

1นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2รองศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3อาจารย์บัณฑิตศึกษาพิเศษ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1M.Ed. Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University 2Associate Professor Dr. Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University. 3Tether, Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University. 57 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

อีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประศึกษาปีที่ 5 /2 โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำ�นวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เอกสารประกอบหลักสูตร เรื่อง เพลงกล่อมเด็ก อีสาน แผนการจัดการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพระดับมากที่สุด จำ�นวน 10 แผน มีค่า ( = 4.73, S.D. = 0.40) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำ�นวน 30 ข้อ โดยมีค่าอำ�นาจ จำ�แนกรายข้อตั้งแต่ .20 ถึง .53 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .78 แบบสอบถาม ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำ�นวน 20 ข้อ มีค่าอำ�นาจจำ�แนกราย ข้อตั้งแต่ 0.25-0.62 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.78 ที่มีต่อการเรียนด้วยหลักสูตรโรงเรียน บ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) ชนิดมาตราส่วน 5 ระดับ และแบบสอบถามความคิดเห็น ของครูผู้สอนและใช้หลักสูตร ชนิดมาตราส่วน 5 ระดับ จำ�นวน 35 ข้อ มีค่าอำ�นาจจำ�แนก รายข้อตั้งแต่ 0.34-0.99 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.96 และ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) ผลการสำ�รวจความต้องการจำ�เป็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ครูผู้สอนภาษาไทย และนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 พบว่า ทุกฝ่ายมีความต้องการในการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็ก อีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) ผลการพัฒนาและประเมินคุณภาพหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์ บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ เหมาะสมมากที่สุด ( = 4.68, S.D. =0.19) 3) ผลการทดลองใช้และหาประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์ จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็ก อีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.61/84.00 และค่าดัชนีประสิทธิผล ของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักสูตรเพิ่มเติม มีค่าเท่ากับ 0.5935 แสดงว่าผู้เรียน มีความก้าวหน้าในการเรียนคิดเป็นร้อยละ 59.35 4) ผลการประเมินความคิดเห็นของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย หลักสูตร อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง ( = 4.66, S.D. = 0.08) และความคิดเห็นของ ครูผู้ใช้หลักสูตรมีความคิดเห็นว่าหลักสูตรมีความเหมาะสมในระดับเหมาะสมมากที่สุด ( = 4.70, S.D. = 0.46)

58 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

โดยสรุป หลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา ไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้พัฒนาขึ้นตาม ความต้องการของผู้ที่เกี่ยวข้อและเป็นหลักสูตรที่มีองค์ประกอบครบถ้วนและสอดคล้องกัน โดยผ่านการประเมินจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญระดับเหมาะสมมาก มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถนำ�ไปใช้ในการสอนให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้

คำ�สำ�คัญ:การพัฒนาหลักสูตร, กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ABSTRACT Curriculum development is one of the most important aspects in educa- tion reform. Schools must develop curriculum for use in learning process by giving a chance for learners, communities or societies to take part in identifying and developing the curriculum so that the curriculum varies and be consistent with local conditions and students’ needs. The purposes of this research study were: 1) to survey the needs in developing Thai language substance group cur- riculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5, Ban Nongchim (Singchanbumrung) School ; 2) to develop the curriculum of Thai language substance group curriculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5 which has quality index at the level of “very good” onward ; 3) to try out the employment of Thai language substance group curriculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5 with the required efficiency of 80/80 ; and 4) to evaluate the outcome of us- ing Thai language substance group curriculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5, Ban Nongchim (Singchanbumrung) School. The sample used in this study consisted of 30 Pratomsuksa 5 students attending Ban Nongchim (Singchanbumrung) school in the second semester of academic year 2011. The research instruments were comprised of the school curriculum on Isan lullabies ; the 10 instructional plans that have quality index at the “very good” lev ( = 4.73, S.D. = 0.40) ; the 30 itemed learning achievement test with the discrimination values from .20 to .53 and the reliability value of .78

59 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

; the 20-itemed questionnaires in the 0-5 Likert scale, with itemized discriminat- ing powers ranging 0.25-0.62 and a reliability of 0.78. The questionnaires asked Pratomsuksa 5/2 students’ opinions about instruction using the school curriculum of Ban Nongchim (Singchanbumrung) school ; and the 35-itemed questionnaires in the 0-5 Likert scale on opinions of the teachers who taught and used school curriculum, with the itemized discriminating values ranging 0.34-0.99 and the reliability value of 0.96. Data analysis employed Mean, Standard Deviation, and percentage. The results of the study were as follows: 1) Findings from surveying the needs of school committees, Prathomsuksa 5 students’ parents, teachers of Thai language, and Prathom Suksa 5 students suggested that all the sectors demand to develop Thai language substance group curriculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5, Ban Nongchim (Singchanbumrung) School. 2) The development and evaluation of Thai language substance group curriculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5/2, Ban Nongchim (Singchanbumrung) School resulted the “highly suitable” level ( = 4.68, S.D. =0.19). 3) Trying out the use and finding the efficiency of Thai language sub- stance group curriculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5/2, Ban Nongchim (Singchanbumrung) School resulted the efficiency of 85.61/84.00 and the index of effectiveness of instructional plans of the additional supplement at 0.5935, meaning students gained 59.35 in learning. 4) Evaluating opinions of students on learning activities using the designed curriculum suggested the “highly agree” level ( = 4.66, S.D. = 0.08) and the opinions of teachers on the suitability of the curriculum were at the “highly suit- able” ( = 4.70, S.D. = 0.46). In conclusion, the school curriculum of Ban Nongchim (Singchanbumrung) school in the Thai language substance group curriculum (additional supplement) on the topic of Isan lullabies for Pratomsuksa 5, that was developed, was the

60 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

curriculum that has complete and consistent elements ; was approved by a team of experts at the “very good” level ; has efficiency and effectiveness ; and can be used for teaching students and make them accomplish curriculum’s objectives.

Keywords:Development curriculum, Thai language substance group

บทนำ� อบอุ่นในอดีต เพลงกล่อมเด็กมีส่วนในการ ถ่ายทอดปรัชญาการดำ�เนินชีวิต และหล่อ การพัฒนาหลักสูตรในท้องถิ่นใน หลอมบุคลิกภาพของชาวอีสานมายาวนาน ระดับโรงเรียนจึงถือเป็นหัวใจสำ�คัญของการ จึงควรที่จะได้มีการศึกษาในประเด็นต่างๆ พัฒนาการศึกษาซึ่งครูผู้สอนและผู้บริหารการ จากเพลงกล่อมเด็กเป็นสื่อในการปลูกฝัง ศึกษาจะต้องตระหนักในความจำ�เป็นของการ ค่านิยมที่พึงประสงค์ตามวิถีไทยแก่เยาวชน พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นโดยการนำ�ภูมิปัญญา รุ่นใหม่ โดยเฉพาะภาคอีสานทั้ง 17 จังหวัด ไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาว เช่น จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดขอนแก่น บ้าน เพื่อการพัฒนาหลักสูตรของถานศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดมหาสารคาม และ และจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำ�กระบวนการ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งภูมิปัญญาไทยได้สูญหาย วิจัยเข้ามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรเพราะ ไปจากสังคมไทยเป็นอันมากและเกือบหมด การวิจัยเป็นกระบวนการค้นหาความรู้และ สิ้น โดยมีภูมิปัญญาสากลที่ไม่เหมาะสมกับ ข้อมูลที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา สังคมไทยเข้ามาแทนที่ เห็นได้จากเนื้อหา หลักสูตรสามารถนำ�ข้อค้นพบมาแก้ไขปัญหา การจัดการศึกษาในปัจจุบันโดยเฉพาะการ และนำ�มาปรับปรุงหลักสูตรให้ทันต่อการ ศึกษาในระบบมีเนื้อหาด้านภูมิปัญญาสากล เปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น นิทานพื้นบ้าน มากกว่าภูมิปัญญาไทยจึงทำ�ให้ภูมิปัญญาไทย ปริศนาคำ�ทาย ผญา เพลงกล่อมเด็กอีสาน ไม่ได้รับการฟื้นฟู และนำ�คุณค่ามาปรับใช้ใน (สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น การจัดการศึกษาและวิถีชีวิตไทยในปัจจุบัน ฐาน. 2552: 17) เพลงกล่อมเด็กอีสาน เป็น ทำ�ให้การถ่ายทอดภูมิปัญญาไทยน้อยลง ทั้งนี้ เพลงพื้นบ้านเพลงแรกที่เด็กได้ยินได้ฟัง และ เนื่องจากขาดแคลนผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญา ซึมซับอยู่ในจิตวิญญาณของคนอีสาน แม้ใน ไทย ผู้คนส่วนใหญ่ละเลย ละทิ้ง ไม่สนใจที่ ปัจจุบันไม่มีบทบาทสำ�คัญเด่นชัดในวิถีชีวิต จะศึกษาภูมิปัญญาไทยการจัดการศึกษาใน ประจำ�วัน แต่เพลงกล่อมเด็กยังมีเรื่องราว ปัจจุบันจัดแบบขาดดุลทางภูมิปัญญา ขาด มากมายที่อยู่ในความทรงจำ�ของคนอีสาน การสร้างสรรค์องค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย แม้ในยุคปัจจุบันที่คนรุ่นใหม่เริ่มหวนหาความ

61 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

อย่างต่อเนื่อง ขาดนโยบายในการส่งเสริม จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านภูมิปัญญาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจโดย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้ได้ประสิทธิภาพ ศึกษาค้นคว้าแนวทางการปฏิบัติ เพื่อการ ตามเกณฑ์ 80/80 พัฒนาหลักสูตรสาระเพิ่มเติมในการพัฒนา 3. เพื่อประเมินผลการใช้หลักสูตร ผู้เรียน โดยการสำ�รวจภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มี โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) ในชุมชน และความสนใจภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่ม เรื่องเพลงกล่อมเด็กอีสาน ที่จะนำ�มาพัฒนา เติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถม เป็นหลักสูตร เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเรียน ศึกษาปีที่ 5 การสอนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และส่งผลให้ผู้เรียนได้รับความรู้ความเข้าใจ ขอบเขตของการวิจัย ด้านภาษา และวรรณกรรมท้องถิ่น ให้เด็กรุ่น โดยมีกลุ่มผู้ร่วมพัฒนาหลักสูตร ใหม่ได้เรียนรู้ตลอดจนเกิดความภาคภูมิใจ ในการวิจัยดังนี้ ในท้องถิ่น และร่วมใจกันอนุรักษ์ สืบทอด ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษของภาคอีสานให้ กลุ่มผู้ร่วมพัฒนาหลักสูตร คงอยู่ต่อไป ขั้นตอนที่ 1 การสำ�รวจความต้องการ จำ�เป็นในการพัฒนาหลักสูตรครูผู้ร่วมพัฒนา ความมุ่งหมายของการวิจัย หลักสูตรสาระเพิ่มเติม 3 คน 1. เพื่อสำ�รวจความต้องการจำ�เป็น 1.2 นักเรียนที่ได้มาจากการเลือก ในการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม แบบเจาะจง จำ�นวน 20 คน (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา 1.3 ผู้ปกครองนักเรียนที่ได้มาจาก ไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็ก การเลือกแบบเจาะจงจำ�นวน 20 คน อีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เพื่อพัฒนา 1.4 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น หลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์ พื้นฐาน ทั้งหมดจำ�นวน 4 คน ได้มาโดยการ บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย(สาระ เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้น ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาโครงร่าง ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีคุณภาพตั้งแต่ระดับ หลักสูตร เหมาะสมมากขึ้นไป 2.1 ครูผู้สอนหลักสูตรสาระเพิ่ม 2. เพื่อทดลองใช้และหาประสิทธิภาพ เติม 3 คน ของหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม(สิงห์

62 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

2.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 20 ข้อ ปีการศึกษา 2554 จำ�นวน 20 คน 4. แบบสอบถามความคิดเห็นของ 2.3 ผู้ปกครองนักเรียนที่ได้มาจาก ครูผู้สอนและใช้หลักสูตร ชนิดมาตราส่วน การเลือกแบบเจาะจงจำ�นวน 20 คน 5 ระดับ จำ�นวน 35 ข้อ 2.4 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล พื้นฐาน จำ�นวน 4 คน สถิติพื้นฐานเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ 2.5 ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและ ข้อมูล ได้แก่ หาค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วน การสอน จำ�นวน 5 คน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้และหา ประสิทธิภาพของหลักสูตรสาระเพิ่มเติม 3.1 ครูจำ�นวน 3 คน ที่ได้มาจาก สรุปผลการวิจัย การเลือกแบบเจาะจง การวิจัย สรุปผลการพัฒนาหลักสูตร 3.2 นักเรียนที่ได้มาจากการเลือก โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) แบบเจาะจงจำ�นวน 30 คน (1 ห้องเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่ม ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้ เติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถม หลักสูตรสาระเพิ่มเติม ศึกษาปีที่ 5 ปรากฏผล ดังนี้ 4.1 ครูจำ�นวน 3 คน ที่ได้มาจาก 1. ผลการสำ�รวจความต้องการ การเลือกแบบเจาะจง จำ�เป็นในการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียน จาก 4.2 นักเรียนที่ได้มาจากการเลือก การตอบแบบสอบถามของนักเรียน คณะ แบบเจาะจงจำ�นวน 30 คน (1 ห้องเรียน) กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง นักเรียน ครูผู้สอนภาษาไทยพบว่า นักเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ต้องการให้โรงเรียน 1. เอกสารประกอบหลักสูตร เรื่อง พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา เพลงกล่อมเด็กอีสาน แผนการจัดการเรียนรู้ ไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็ก ที่มีคุณภาพระดับมากที่สุด จำ�นวน 10 แผน อีสานอยู่ในระดับมากที่สุด คณะกรรมการ 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน เรียน จำ�นวน 30 ข้อ ครูผู้สอนภาษาไทย มีความต้องการพัฒนา 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของ หลักสูตรในระดับมากที่สุด นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำ�นวน 2. ผลการประเมินการพัฒนา

63 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนบ้าน กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน หนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการ บ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) จำ�นวน 30 เรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลง คน โดยมีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.5935 กล่อมเด็กอีสานชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ คือ ผู้เรียนมีความรู้หลังจากได้รับการจัด มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยผู้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียน เชี่ยวชาญ จำ�นวน 5 ท่าน ด้วยการใช้แบบ รู้ตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์ ประเมินแบบมาตราส่วน 5 ระดับ มีค่าเฉลี่ย จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เท่ากับ 4.73 ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน 3. ผลการประเมินการทดลองใช้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้ปรับปรุงด้าน และหาประสิทธิภาพหลักสูตรโรงเรียนบ้าน เนื้อหาและกระบวนการเรียนรู้ ให้มีความ หนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการ สมบูรณ์และเหมาะสมแล้ว ร้อยละ 59.35 เรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลง 4. ผลการประเมินการใช้หลักสูตร กล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์ 3.1 ประสิทธิภาพของหลักสูตร บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระ โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) เพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่ม ประถมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้ เติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสานชั้นประถม 4.1 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อ ศึกษาปีที่ 5โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้ การเรียนด้วยหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม วิจัยสร้างขึ้น ได้คะแนนเฉลี่ยจากการสังเกต (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา พฤติกรรมระหว่างเรียน การประเมินผลงาน ไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็ก และการทดสอบย่อยของนักเรียน คะแนน อีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แบบ เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 85.61 และได้คะแนน ประเมินเป็นแบบมาตราส่วน 5 ระดับ ตาม เฉลี่ยจากการทำ�แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เกณฑ์และแปลความหมายค่าเฉลี่ย (บุญชม ทางการเรียนหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 84.00 ศรีสะอาด และคณะ . 2551: 96) ปรากฏ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำ�หนด คือ 80/80 ว่านักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัด 3.2 ค่าดัชนีประสิทธิผลของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย ( = 4.66) โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) ระดับคุณภาพเห็นด้วยอย่างยิ่ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่ม 4.2 ความคิดเห็นของครูผู้ใช้หลักสูตร เติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถม โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) ศึกษาปีที่ 5 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น และทดลองใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่ม

64 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

เติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 พบว่า ทุกฝ่ายมีความต้องการ ศึกษาปีที่ 5 โดยภาพรวมมีค่า ( = 4.70) ให้มีหลักสูตร โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์ และแยกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักการ จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีค่า ( = 4.74) ระดับคุณภาพเหมาะสม (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน มากที่สุด ด้านจุดมุ่งหมาย มีค่า ( = 4.67) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และมีความพร้อมใน ระดับคุณภาพเหมาะสมมากที่สุด ด้านคำ� การให้การช่วยเหลือด้านการให้คำ�ปรึกษา การ อธิบายรายวิชา มีค่า ( = 4.67) ระดับ ให้การสนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ การเป็น คุณภาพเหมาะสมมากที่สุด ด้านโครงสร้าง วิทยากรให้ความรู้ โดยเน้นการจัดกิจกรรม หลักสูตร มีค่า ( = 4.73) ระดับคุณภาพ การเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล เหมาะสมมากที่สุด ด้านเวลาเรียน มีค่า หลากหลายวิธี นักเรียนได้ปฏิบัติจริงและ ( = 4.70) ระดับคุณภาพเหมาะสมมาก ใช้ชุมชนเป็นสถานที่ในการถ่ายทอดความ ที่สุด ด้านแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการ รู้ให้กับผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สอน มีค่า ( = 4.80) ระดับคุณภาพเหมาะ สงัด อุทรานันท์ (2527: 38-42) ที่ให้ความ สมมากที่สุด ด้านสื่อการสอนและแหล่ง สำ�คัญกับการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน เป็นก เรียนรู้ มีค่า ( = 4.33) ระดับคุณภาพเหมาะ ระบวนการที่มีความสำ�คัญและเป็นขั้นตอน สมมาก ด้านการวัดและประเมินผล มีค่า ( แรกของการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้ทราบถึง = 4.60) ระดับคุณภาพเหมาะสมมากที่สุด สภาพปัญหาความต้องการของสังคมและ ผู้เรียนซึ่งจะช่วยให้สามารถจัดหลักสูตรให้ อภิปรายผล สนองความต้องการ สอดคล้องกับงานวิจัย ของ ขนิษฐา สุวรรณศร (2550: 83) ได้ จากผลการวิจัย การพัฒนาหลักสูตร ทำ�การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) ท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และเทคโนโลยี เรื่อง การประดิษฐ์ดอกไม้ชุบ (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ยางพารา สำ�หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ที่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สามารถนำ�ไปสู่การ ได้สำ�รวจความต้องการในการพัฒนาหลักสูตร อภิปรายผลได้ ดังนี้ โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน (ร้อยละ 100) 1. ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานและ มีความต้องการให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตร ความต้องการจำ�เป็นเพื่อพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเทคโนโลยี เรื่อง การประดิษฐ์ดอกไม้ชุบ ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ยางพารา สำ�หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ครูผู้สอนภาษาไทย และนักเรียนชั้นประถม เพื่อใช้สอนนักเรียน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ

65 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

หลักสูตรที่ใช้อยู่ ส่วนใหญ่ถูกกำ�หนดมาจาก ไปศึกษาภาษา การสัมภาษณ์ สอบถามนำ� ส่วนกลาง ซึ่งไม่สามารถตอบสนองความ มารวบรวมเก็บเป็นข้อมูลและยังสอดคล้อง ต้องการของท้องถิ่น สอดคล้องกับงานวิจัย กับงานวิจัยของ เยแมน (2001: 518-528) ของ เซเดอร์สตรอม (1985: 242 - 252) ได้ทำ�การศึกษากระบวนการพัฒนาหลักสูตร ได้ศึกษาการพัฒนาหลักสูตรวรรณกรรมท้อง เฉพาะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ถิ่นในแคนาดา พบว่า แหล่งข้อมูลในห้อง ในท้องถิ่น โดยได้ดำ�เนินการพัฒนายกร่าง สมุดมีจำ�นวนน้อยมาก จึงมีความต้องการ หลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการแล จำ�เป็นในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเพื่อ สภาพบริบทของท้องถิ่น จากนั้นจึงนำ�มาท นักเรียน การดำ�เนินการพัฒนาหลักสูตร ใช้ ดลอง และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ คูซ วิธีการวิจัยเชิงสำ�รวจ โดยสำ�รวจเกี่ยวกับรูป โซ (2001: 1311 – A) ได้ศึกษาวิธีการสร้าง แบบที่สำ�คัญสำ�หรับวรรณกรรมท้องถิ่น ซึ่ง และพัฒนาหลักสูตรรูปแบบสหวิทยาการ เน้นการใช้กรณีพิเศษสำ�หรับชาวแคนาดาใน โดยอาศัยความร่วมมือในกลุ่มครู พบว่า ภาคเหนือ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ การสร้างหลักสูตรควรคำ�นึงถึง 6 ประการ กลอเรีย เจ โธมัส (2002: 439 - 449) ได้ ดังนี้ 1. การเลือกหัวข้อเพื่อจัดทำ�หน่วยการ ศึกษาเก็บข้อมูลเกี่ยวกับดนตรีพื้นเมืองของ เรียน 2. กระบวนการวาวแผน 3. ความร่วม ชาวบัลกาเลีย พบว่า การนำ�ครูมาอบรม มือในการวางแผน 4. ระยะเวลาที่ใช้ในใน โดยให้มีการศึกษาแบบร่วมมือ ในการสร้าง การวิเคราะห์ปัญหา 5. ผลกระทบต่อครู 6. หลักสูตรการร่วมมือระหว่างชุมชนกับนักการ ทิศทางการทำ�งานของครู ศึกษาในการออกแบบการเรียนรู้ กำ�หนด 2. การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียน เป้าหมายของบทเรียน การใช้ผู้เชี่ยวชาญ บ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระ จากท้องถิ่น จะทำ�ให้ครูได้ออกแบบวิธีการ การเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ในการจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องเหมาะ เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปี สม และสอดคล้องกับงานวิจัยของ เรจินา ที่ 5 พบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นอยู่ ดี อามิโก (2001-2002) ได้ทำ�การค้นคว้า ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า เก็บข้อมูลเกี่ยวกับดนตรีพื้นเมืองของชาว หลักสูตรที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีความเหมาะ บัลกาเรีย ซึ่งแสดงออกถึงความเป็นชาติและ สมกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น สิ่งที่สืบทอดต่อๆ กันมา ในหมู่บ้านบัลกา ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนการทำ�งาน เรียนนั้นมีประเพณี วัฒนธรรมที่สืบมาด้วย ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยความ วิธีการพูดออกไปเรื่อยๆ ไปตามยุคสมัยรวม สนใจและตั้งใจ ทำ�ให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการ ทั้งการเปลี่ยนแปลงการเมือง เศรษฐกิจ โดย ทำ�งานและเห็นคุณค่าของการทำ�งาน มีความ ทำ�การศึกษามาตั้งแต่ปี 1999 เริ่มจากการ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีประสบการณ์ใน

66 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

การทำ�งานเป็นกลุ่ม ผู้เรียนมีส่วนร่วมและ - 77) ที่ได้ศึกษา เรื่อง ไก่ย่างสูตรโบราณของ มีโอกาสใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้อย่างทั่วถึง ชุมชนท่าขอนยาง อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัด ผู้เรียนกล้าแสดงออก กล้าถาม ตอบคำ�ถาม มหาสารคาม พบว่า หลักสูตรท้องถิ่นที่พัฒนา นำ�เสนอผลงานการศึกษาค้นคว้า อย่างถูก ขึ้นทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านสภาพแวดล้อม ด้าน ต้องและมีเหตุผล ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัด ปัจจัย ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต มี และประเมินผลการเรียนรู้ตามความเหมาะ ประโยชน์และความเหมาะสมในระดับเห็น สมทั้งจากการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน ด้วยทุกด้าน สอดคล้องกับงานวิจัยของเยาว การประเมินผลตามสภาพจริง จากผลงาน นาฏ วรรณศิริ (2548: บทคัดย่อ) ได้ทำ�การ และจากการทดสอบ ศึกษาค้นคว้างานที่ได้ ศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น รับมอบหมายจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยรายวิชาเพิ่ม และสม่ำ�เสมอ ผู้เรียนมีความเอื้ออาทรรู้จัก เติม ท 40202 วรรณกรรมท้องถิ่นเขตทวี ช่วยเหลือผู้อื่น มีความเสียสละเพื่อส่วนรวม วัฒนา เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น พบว่า สามารถปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มสำ�เร็จลุล่วงไป ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบหลักสูตร ด้วยดี ผู้เรียนมีความเป็นประชาธิปไตยรู้จัก อยู่ในระดับดีมาก และสอดคล้องกับงานวิจัย บทบาทหน้าที่การเป็นผู้นำ�ผู้ตามที่ดี ผู้เรียน ของ เอื้อมเดือน ถิ่นปัญจา (2548: 67) ได้ มีกระบวนการคิด ปฏิบัติจริงและนำ�ไปใช้ ทำ�การศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาหลักสูตร ประโยชน์ได้อย่างเข้าใจซึ่งสอดคล้องกับ ท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง แนวคิดของสงัด อุทรานันท์ (2532: 244) หมอลำ�กลอน สำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา และธำ�รง บัวศรี (2542: 8-9) กล่าวว่าในการ ปีที่ 3 โรงเรียนม่วงหวานพัฒนศึกษา จังหวัด กำ�หนดเป้าหมายของหลักสูตรต้องพิจารณา ขอนแก่น พบว่า การตรวจสอบคุณภาพของ ถึงความสอดคล้องกับความต้องการและแนว หลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ภาพรวมของ โน้มการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ หลักสูตรมีความเหมาะสมสอดคล้องอยู่ใน สังคม การเมือง ส่วนการกำ�หนดจุดประสงค์ ระดับมากที่สุด องค์ประกอบของหลักสูตร ของเนื้อหาวิชาก็ต้องยึดแนวทางจาก เป้า ที่มีระดับความเหมาะสมมากที่สุด ได้แก่ หมาย การนำ�เสนอเนื้อหาวิชาต้องคัดเลือก หลักการ คำ�อธิบายรายวิชา เวลาเรียน เนื้อหา ที่สามารถทำ�ให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่ แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ พึงประสงค์ตามจุดประสงค์ และเป้าหมาย การสอนและแหล่งเรียนรู้ ส่วนจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการและ โครงสร้างหลักสูตรการวัดและประเมินผล มี กิจกรรมการวัด/ประเมินผลต้องสามารถวัด ความเหมาะสมในระดับมาก สอดคล้องกับ ได้ตามที่จุดประสงค์กำ�หนดไว้ และสอดคล้อง งานวิจัยของ กัญญารัตน์ นาเสถียร (2548: กับงานวิจัยของ ศิริพร บุตรราช (2548: 74 บทคัดย่อ) ที่ได้ทำ�การศึกษาวิจัย เรื่อง การ

67 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง วรรณกรรมท้อง ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ เท่ากับ ถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำ�หรับ 85.61/84.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำ�หนด นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เขตพื้นที่ อาจเป็นเพราะเพลงกล่อมเด็กอีสานซึมซับ การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 พบว่า ผลการ อยู่ในวิถีชีวิตของชุมชน ทำ�ให้ผู้เรียนมีโอกาส ประเมินหลักสูตรโดยการอาศัยแนวคิดในการ สัมผัสและมีความรู้ เรื่อง เพลงกล่อมเด็ก ประเมินหลักสูตรแบบ Puissance Measure อีสาน มาแต่ยังเด็ก มากหรือน้อยตามค่า (P.M.) ได้หลักสูตรมีค่า P.M. ด้านกิจกรรม นิยมของครอบครัวหรือสังคมนั้นๆ และผู้ การเรียนรู้ เท่ากับ 14.25 ด้านผลการเรียน วิจัยยังได้จัดกระบวนการเรียนรู้หลากหลาย รู้ที่คาดหวัง เท่ากับ 16.67 สรุปตามเกณฑ์ วิธี โดยเฉพาะวิธีการสืบค้นความรู้จากสื่อ การประเมินได้ว่าหลักสูตรมีคุณค่าสูง และ อินเทอร์เน็ต การสอบถามผู้รู้ ซึ่งเป็นวิธี สอดคล้องกับงานวิจัยของ วิคเตอร์ เอ็ม ซุก การที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่ โบ (2003: 1 - 8) ได้ศึกษานโยบายด้าน มีประสิทธิภาพ นักเรียนสามารถค้นคว้า ภาษาและวรรณกรรมทองถิ่นในฟิลิปปินส์ หาความรู้ด้วยตนเอง นักเรียนมีกิจกรรมที่ โดยอธิบายถึงมิติที่หลากหลายทางภาษา พบ ท้าทายความอยากรู้อยากเห็น เช่น การออกไป ว่า นโยบายด้านภาษาในฟิลิปปินส์ทำ�ให้เกิด สัมภาษณ์ปราชญ์ชาวบ้าน การออกไปศึกษา ผลกระทบด้านการอ่านออกเขียนได้ในวาเรย์ แหล่งเรียนรู้ภายนอก ทำ�ให้นักเรียนเกิดการ จึงมีการบรรจุกวีนิพนธ์ (Poetry) ของวาเรย์ เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง จึงทำ�ให้คะแนน ลงไป ใน 3 ลักษณะ ได้แก่ งานด้านวิชาการ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า เครือข่ายวิทยุ และการใช้นวัตกรรมในการขับ ก่อนเรียน ทำ�ให้บรรลุเป้าหมายของการวิจัย เคลื่อน โดยในส่วนของงานด้านวิชาการให้มี ซึ่งไปตามหลักการของการจัดกิจกรรมการ การอ่านกวีนิพนธ์ในการรับเข้าทำ�งานใหม่ เรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น ในส่วนของเครือข่ายวิทยุเกิดขึ้นโดยการส่ง พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตร แข่งขัน และในทางการใช้นวัตกรรมในการขับ การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ ผู้สอน เคลื่อน เป็นกวีนิพนธ์จากงานเขียนที่มีความ จึงออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้ หมายเพื่อสร้างทัศนคติที่ต้องการให้คงอยู่ เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัด 3. ผลการทดลองใช้และหาประ และประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา สิทธิผลของหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม เต็มศักยภาพและบรรลุตามมาตรฐานการ (สิงห์จันทร์บำ�รุง)กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา เรียนรู้ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่กำ�หนด และ ไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็ก สอดคล้องกับผลการวิจัยของ สุนันทา เมฆ อีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพ สุทัศน์ (2548: บทคัดย่อ) ที่ทำ�การศึกษา ตามเกณฑ์ 80/80 เนื่องมาจากหลักสูตร เรื่อง การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการฟัง

68 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ภาษาอังกฤษตามหลักสูตรท้องถิ่น สำ�หรับ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบว่า ข้อควรมีใน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า แบบ เครื่องมือในหลักสูตรท้องถิ่น ได้แก่ ความ ฝึกเสริมทักษะการฟังภาษาอังกฤษตาม ขาดแคลนเจ้าหน้าที่ที่มีคุณสมบัติ (Lack หลักสูตรท้องถิ่นที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ of Competent Staff) ครูมีทัศนคติที่ดี เท่ากับ 76.29/78.08 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ และมีความอดทน (Teacher attitude and กำ�หนด อาจเนื่องจากแบบฝึกเสริมทักษะ resistance) ความวิตกกังวลในสิ่งที่ไม่รู้ของ ที่ได้สร้างขึ้นตามขั้นตอนกระบวนการ มี ครู (Fear of the unknown) แหล่งศึกษา การปรับปรุงแก้ไขจากข้อเสนอแนะของผู้ หาข้อมูลไม่เพียงพอ (Lack of resources) เชี่ยวชาญ และนำ�ไปทดลองสอนก่อนนำ�ไป และค่าดัชนีประสิทธิผลของหลักสูตรโรงเรียน สอนจริง แบบฝึกเสริมทักษะที่สร้างขึ้นมีราย บ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระ ละเอียดชัดเจน มีการจัดกระบวนการเรียน การเรียนรู้ภาษาไทย สาระเพิ่มเติม) เรื่อง รู้ให้กับผู้เรียนโดยเน้นทักษะการปฏิบัติจริง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปี และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ธัญรัตน์ ที่ 5 พบว่า มีค่าดัชนีประสิทธิผลจากการ โจนลายดา. (2549: บทคัดย่อ) ได้ทำ�การ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เท่ากับ ศึกษาวิจัย การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง 0.5935 คิดเป็นร้อยละ 59.35 หมายความ การสานตะกร้าพลาสติก พบว่า ผลการวัด ว่า ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังจากการเรียน แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน มี จบทุกแผนโดยเฉลี่ยร้อยละ 59.35 การที่ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.20 คิดเป็นร้อยละ 87.33 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาจนมีความก้าวหน้า ของคะแนนเต็ม 30 ทำ�ให้ได้ประสิทธิภาพ ดังปรากฏสืบเนื่องมาจากหลักสูตรโรงเรียน ของแผนการสอนตามเกณฑ์ 91.14/87.33 บ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระ และยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของกัลยา การเรียนรู้ภาษาไทยสาระเพิ่มเติม) เรื่อง กุหลาบขาว (2549: บทคัดย่อ) ได้ทำ�การ เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรท้อง 5 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมและ ถิ่น รายวิชา ภาษาล้านนาเบื้องต้น หน่วย สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและ พื้นฐานภาษาล้านนา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชุมชน มีรายละเอียดครบถ้วน สมบูรณ์ ชัดเจน ภาษาไทย สำ�หรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 พบ สาระการเรียนรู้เป็นเรื่องที่พบในชุมชนและ ว่า ประสิทธิภาพของหลักสูตรอยู่ในระดับดี ท้องถิ่น ผู้เรียนเห็นความสำ�คัญและคุณค่า ขึ้นไป และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ฮาร์ ของทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น ทำ�ให้เกิดการ กรีฟส์ (2009: 31 - 38) ได้ทำ�การศึกษา อนุรักษ์และเกิดความรักในท้องถิ่นตนเอง นโยบายการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ บุญร่วม ตาล หลักสูตรท้องถิ่นในแถบเอเชียตะวันออกและ จินดา (2551: บทคัดย่อ) ที่ได้ทำ�การพัฒนา

69 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

หลักสูตรท้องถิ่นเรื่อง การทำ�ไม้กวาดดอก การทอผ้าไหมมัดหมี่สุรินทร์ ช่วงชั้นที่ 3 พบ หญ้า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ว่า นักเรียนที่เรียนตามหลักสูตรท้องถิ่นกลุ่ม และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผล สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี การวิจัยพบว่า ค่าดัชนีประสิทธิผลจากการ เรื่อง การทอผ้าไหมมัดหมี่สุรินทร์ ช่วงชั้นที่ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เท่ากับ 3 ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.7758 คือผู้ 0.8210 คิดเป็นร้อยละ 82.10 หมายความ เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 77.58 ว่า ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยร้อยละ 4. ผลการประเมินการใช้หลักสูตร 82.10 อาจเนื่องมาจากแผนการจัดการ โดยประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อ เรียนรู้ที่นำ�มาใช้ ผ่านกระบวนการสร้างและ การเรียนด้วยหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนอง ขั้นตอนการประเมินตรวจสอบ จากอาจารย์ ฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ควบคุมวิทยานิพนธ์อย่างดียิ่ง รวมทั้งผ่าน ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อม การประเมินอย่างรอบคอบจากผู้เชี่ยวชาญ เด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า ผู้ ก่อนนำ�ไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง เรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม สอดคล้องกับงานวิจัยของ ภัณฑ์ธิมา ภูรี หลักสูตร มีความเห็นด้วยอย่างยิ่ง อาจเป็น โรจน์ (2549: บทคัดย่อ) ได้ทำ�การศึกษา เพราะว่า หลักสูตรที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความ วิจัย เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นแบบ สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น กิจกรรม บูรณาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง การเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ ผู้เรียนได้ ระบำ�กรมหลวงชุมพรรำ�ลึก สำ�หรับนักเรียน ฝึกปฏิบัติจริง ได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ใน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จังหวัดชลบุรี พบว่า ชุมชน จากปราชญ์ชาวบ้านซึ่งเป็นผู้มีความรู้ ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีรูปแบบวิถีการดำ�เนินชีวิตภายใต้ข้อคิด ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบทดสอบที่ ปรัชญา ผู้เรียนได้เรียนรู้สิ่งที่อยู่ใกล้ตัวทำ�ให้ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียน เกิดการเรียนรู้ มีความเข้าใจเนื้อหาสาระได้ ได้คะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูง ง่าย นอกจากนี้ผู้เรียนยังได้สืบค้นความรู้จาก กว่าก่อนเรียน คะแนนมีความแตกต่างอย่างมี สื่อที่หลากหลาย เช่น เอกสาร วารสาร สื่อ นัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่าหลัง อินเทอร์เน็ต เป็นต้น การจัดกิจกรรมการเรียน จากทดลองใช้หลักสูตรนี้ นักเรียนมีความรู้ รู้การจัดทำ�สื่อการเรียนรู้ประเภทใบความรู้ ความเข้าใจ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ใบกิจกรรม สอดคล้องกับจุดประสงค์การ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ อัมพร สร้อย เรียนรู้การวัดและประเมินผลใช้วิธีการวัดจาก จิตร (2549: บทคัดย่อ) ได้ทำ�การศึกษาวิจัย ผลงานและตามสภาพจริง ซึ่งสามารถวัดได้ เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ทั้งด้านความ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง รู้ กระบวนการและคุณลักษณะที่พึงประสงค์

70 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

โดยเลือกใช้เครื่องมือตามความเหมาะสมกับ การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการ จุดประสงค์การเรียนรู้ แจ้งข้อมูลที่ได้จาก เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง ผ้า การประเมินให้ผู้เรียนรับทราบ จึงทำ�ให้ผู้ ฝ้ายย้อมสีเปลือกไม้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรียนสามารถวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของ โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา โดยใช้การวิจัย ผลงานตนเองซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ แบบผสานวิธ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจ ทิศนา แขมมณี (2528:113-114) และใจ ต่อการเรียนโดยใช้หลักสูตรท้องถิ่นโดยรวม ทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2539: 192) กล่าวไว้ และรายด้านอยู่ในระดับมาก คือ ด้านเนื้อหา ว่า หลักสูตรที่จัดขึ้นสามารถตอบสนองตาม รูปแบบการเรียน สื่อและแหล่งการเรียนรู้ การ วัตถุประสงค์ที่หลักสูตรนั้นต้องการหรือไม่ วัดผลและประเมินผล และผลการประเมิน และเพื่อวัดผลดูว่า ผลผลิตคือผู้เรียนนั้นมี ความคิดเห็นของครูผู้ใช้หลักสูตรโรงเรียน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามความ บ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระ มุ่งหวังของหลักสูตรหรือไม่ อย่างไร และ การเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง สอดคล้องกับงานวิจัยของนิรัฉรา วงศ์บุตร เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ (2553: บทคัดย่อ) ที่ได้ศึกษา เรื่อง การ 5 พบว่า หลักสูตรที่พัฒนาขึ้น มีคุณภาพ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหน ระดับ 4.70 ทั้งนี้อาจเป็นเพราะหลักสูตร องฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียน โรงเรียนมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน เนื้อหาของ รู้ภาษาไทย สาระท้องถิ่น เรื่อง วรรณกรรม หลักสูตรสอดคล้องกับความต้องการของ ท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า โดยภาพ ท้องถิ่น การจัดกิจกรรมเหมาะสม และมีการ รวมนักเรียนมีความคิดเห็นต่อการเรียนด้วย วัดผลประเมินผลสอดคล้องกับจุดประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหนองฉิม การเรียนรู้ เวลาที่ใช้ในการจัดกระบวนการ (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา เรียนรู้มีความเหมาะสม โดยเปิดโอกาสให้ผู้ ไทย สาระท้องถิ่น เรื่อง วรรณกรรมท้องถิ่น เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง เนื้อหาสาระเป็นเรื่อง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในระดับเห็นด้วยอย่าง ที่ผู้เรียนมีความสนใจ จึงทำ�ให้หลักสูตรมี ยิ่ง มีค่าเท่ากับ 4.54 และยังสอดคล้องกับ คุณภาพระดับดี ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย งานวิจัยของโกเบลล์ (2009: unpaged) ได้ ของ กัลยา กุหลาบขาว (2549: บทคัดย่อ) ศึกษาเกี่ยวกับกฏหมายปฏิรูปการศึกษาและ ที่ได้พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การพัฒนา ผลกระทบของกฏหมายที่มีต่อการตัดสินใจ หลักสูตรท้องถิ่น รายวิชา ภาษาล้านนา หลักสูตรท้องถิ่น การสอนในชั้นเรียนและ เบื้องต้น หน่วยพื้นฐานภาษาล้านนา กลุ่ม ความพึงพอใจในอาชีพครูในรัฐอิลลินอยส์ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำ�หรับนักเรียน และสอดคล้องกับงานวิจัยของ นุพิศ อัคพิน ช่วงชั้นที่ 4 ผลการประเมินหลักสูตร พบ (2553: บทคัดย่อ) ได้ทำ�การศึกษาวิจัย เรื่อง ว่า ค่าดัชนีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก

71 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

แสดงว่าองค์ประกอบของหลักสูตรมีความ รู้ให้กับผู้เรียน ดังนี้ สอดคล้องกัน และยังสอดคล้องกับงานวิจัย 1.1 การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียน ของนิรัฉรา วงศ์บุตร (2553: บทคัดย่อ) ที่ เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน จะต้องทำ�การ ได้ศึกษา เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรสถาน สำ�รวจความต้องการหลักสูตรโรงเรียนก่อน ศึกษาโรงเรียนบ้านหนองฉิม(สิงห์จันทร์บำ�รุง) เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระท้องถิ่น มากที่สุด เรื่อง วรรณกรรมท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปี 1.2 ผู้พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน เรื่อง ที่ 1 พบว่าความคิดเห็นของครูผู้ใช้หลักสูตร เพลงกล่อมเด็กอีสาน ต้องมีความรู้ความ สถานศึกษาโรงเรียนบ้านหนองฉิม(สิงห์ เข้าใจในเรื่องที่จะพัฒนาเป็นอย่างดี และจะ จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต้องทำ�การศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สาระท้องถิ่น เรื่อง วรรณกรรมท้องถิ่น ชั้น เพิ่มเติม พร้อมทั้งต้องทำ�ความเข้าใจเกี่ยว มัธยมศึกษาปีที่ 1 มีคุณภาพอยู่ในระดับ กับกระบวนการขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร ดีมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69และยัง การจัดทำ�แผนการเรียนรู้ การวัดผลและ สอดคล้องกับงานวิจัยของ โอโนวา แม๊คแอล ประเมินผล เวอร์ (2009: 1 - 12) ได้ทำ�การศึกษาต้น กำ�เนิดของภาษาของประเทศแคนาดา พบ 1.3 บทบาทของครูในการโน้มนำ�ผู้ ว่า ครูต้องรู้วัฒนธรรมและสภาพที่เป็นจริง เรียนให้เกิดความตระหนักถึงคุณค่าของท้อง ของท้องถิ่น จึงจะสามารถสอนได้อย่างมี ถิ่น โดยนักเรียนจะต้องรู้จักท้องถิ่นของตนเอง ประสิทธิภาพ และครูต้องทำ�วิจัย เตรียม อย่างลึกซึ้ง เกิดความรักและความภาคภูมิใจ ข้อมูลเบื้องต้น พร้อมทั้งรวบรวมแหล่งข้อมูล ในท้องถิ่น อันจะนำ�ไปสู่การพัฒนาท้องถิ่น จากหลายแหล่งในการสร้างวรรณกรรมที่ ให้เจริญก้าวหน้า ดังนั้นครูควรมีบทบาทใน เป็นของท้องถิ่น การพูดโน้มน้าวชักจูง หรือจัดกิจกรรมต่างๆ เสริมหลักสูตร เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิด ข้อเสนอแนะ ความรักและภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่น ของตนเอง และเกิดความตระหนักในคุณค่า 1. ข้อเสนอแนะในการนำ�หลักสูตร ของความเป็นท้องถิ่น โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) 1.4 ผู้สอนควรจัดกิจกรรมส่งเสริม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่ม และอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น การจัด เติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถม ทำ�ห้องเรียนภูมิปัญญาวิถีชีวิตพื้นบ้านท้องถิ่น ศึกษาปีที่ 5 ไปใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ตนเอง การจัดกิจกรรมการประกวดร้องเพลง และประสิทธิผลต่อการจัดกระบวนการเรียน กล่อมเด็กในวันแม่แห่งชาติ และจัดทำ�เนียบ

72 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

วิทยากรท้องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้านในท้อง จากสังคมไทย ถิ่นที่นักเรียนอาศัยอยู่ และเชิญชุมชนเข้ามา 2.3 ควรมีการนำ�สื่อเทคโนโลยีมา มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียน ใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน อันจะส่งผลให้การอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อเป็นการผสมผสานสื่อนวัตกรรมท้องถิ่น ยั่งยืนสืบไปยังรุ่นลูกรุ่นหลาน กับสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย 2. ข้อเสนอแนะในการทำ�วิจัยครั้ง 2.4 ควรนำ�หลักสูตรสาระเพิ่มเติม ต่อไป ที่พัฒนา มาจัดทำ�เป็นหลักสูตรบนเครือข่าย 2.1 ควรมีการพัฒนาหลักสูตรสาระ อินเทอร์เน็ต เพื่อให้บุคคลที่มีความสนใจ เพิ่มเติมในระดับชั้นอื่นๆ เพื่อให้นักเรียนได้ สามารถศึกษาค้นคว้าได้ด้วยตนเอง มีโอกาสเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2.5 ควรมีการพัฒนาหลักสูตรสาระ 2.2 ควรมีการพัฒนาหลักสูตรสาระ เพิ่มเติมในเรื่องอื่นที่เกี่ยวกับสภาพปัญหา เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ที่นอก ความต้องการของชุมชน สังคม และท้อง เหนือจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ที่ ถิ่นนั้นๆ ซึ่งมีหลักสูตรที่ควรพัฒนาและนำ� มีความสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น และเป็น เข้าสู่กระบวนการเรียนการสอน คือ สาระ เอกลักษณ์ประจำ�ท้องถิ่น เพื่อการพัฒนา เพิ่มเติม เรื่อง นิทานพื้นบ้าน เพลงพื้นบ้าน ปรับปรุง อนุรักษ์และสืบทอดสู่คนรุ่นหลัง ผญาอีสาน ซึ่งจะทำ�ให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่สูญหายไป

References Akpin, Nupid. (2010). Local Curriculum Development in Working, Occupation, and Technology Learning Substance titled “Bark Dyed Cotton,” Matayomsuksa 4, Tatnarai-wittaya School, by using Mixed Method Research. Plastic Basket Weaving,” Master of Education Thesis, Mahasarakam University. Bootrad, Siripon. (2005). Local Curriculum Development titled “Traditional Grilled Chicken Formula,” Kamtarawichai District, Mahasarakam Province. Master of Education Thesis in Non-formal Education, Mahasarakam University, Buasri, Tamrong. (1999). Theory of Curriculum in Design and Development. the 2nd Edition. Tanatat Printing.

73 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Cuozzo, Christopher Charles. (2001). “Collaborative Curriculum Decision Making in Middle School Interdisciplinary Curriculum Development,” Dissertation Abstracts International. 62(4): 1311 - A ; October, Gaiwayene, Gloria J. Thomas. (2011). A Critical Approach to Louise Erdich’s the Antelope Wife and other Emerging Native Literature as a step towards native ways of learning andteaching, 2002. Available online at http://www. education.mcgill.ca/edmje.htm (2011/07/20). Hargreaves. (2009). Designing and Implementing Local Curricula. A. Changing times New York, NY, Teacher College Press. P. 31-38. Jonelaita, Tanyarat. (2006). Local Curriculum Development titled “Plastic Basket Weaving,” Master of Education Thesis in Non-formal Education, Mahasarakam University, Kammanee, Tidsana. (1985). Program Evaluation: Primary Education Program 1978: Theory and Practice Guideline. Bangkok: Mass. Kulabkao, Kalaya. (2006). Local Curriculum Development in Foundation of Lanna Language, Basic Lanna Language Unit, Thai Language Learning Substance for Class Level 4 Students. Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction, Utaradid Rajabaht University. Meksutad, Sunanta. (2005). Development of Skill Practice for English Listening based on Local Curriculum for Matayomsuksa 2 Students, Municipal 2 School, Prasattong Temple, Supanburi Province. Master of Education Thesis in Foreign Language Teaching. Silpakon University. Nasatien, Kanyarat. (2005). Local Curriculum Development in for Matayomsuksa 4 Students, Kalasin Educationa Service Area 1. Master of Education Thesis. Mahasarakam: Mahasarakam University. Office of Basic Education Commission. (2009). “Guidelines for Curriculum Man- agement,” in Document of Core Curriuclum of Basic Education 2008. Bangkok: Agriculture Corporative Association of Thailand ltd.

74 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Onowa Mclvor. (2009). Strategies for Indigenous Language Revitalization and Maintenance, 2009. Available online at http://www.literacyencyclopedia. ca (2009/04/03) Puriroj, Pantima. (2006). Integrated Curriculum Development in Art Learning Substance titled “Memorial Kromluang Choompon Dancing,” for Mataya- omsuksa 1 Students, Chonburi Province. Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction, Graduate School, Burapa University. Regina D’Amico. (2011). A multi-media Documentation of Bulgarian Folk Music, 2001-2002. Available online at. http://www.irex.org/> 2011 (2011/07/22) at www.irex.org/system/files/DAmico.pdf Soijit, Ampon. (2006). Local Curriculum Development, Working, Occupation, and Technology Learning Substance, Titled “Surin Mudmee Silk Weaving,” Class level 3. Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction. Mahasarakam: Mahasarakam University. Suwanson, Kanidta. (2007). Local Curriculum Development in Working, Occupation, and Technology Learning Substance titled “Handwork Havea Brasilliensis dipping with Rubber for Primary School Students. Master of Education Thesis (Curriculum and Instruction). Pranakon-sriayudaya: Pranakon - sriayudaya Rajabaht University. Tanjinda, Boonreum. (2008). Local Curriculum Development titled “Broom Grass Handwork,” Working, Occupation, and Technology Learning Substance, Pratomsuksa 5. Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction. Mahasarakam: Mahasarakam University. Tinpanja, Eaumdeun. (2008). Local Curriculum Development, Art Learning Substance, titled “Mo-lam-klon,” for Pratomsuksa 3 Studnets, Muangwan- padtanasuksa School, Khon Kaen Province, Master of Education, Khon Kaen: Khon Kaen University. Utranan, Sa-ngad. (1989). Foundation and Curriculum Development. the 3rd Edition, Bangkok: Mitsayam.

75 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Victor N. Sugbo. (2003). Language policy and local literature in the Philippines, 2003. Available online at http://vnweb.hwwilsonweb.com (2009/10/20) Wansiri, Yaowanat. (2008). Local Curriculum Development in Thai Language Learning Substance, Suplemmentary Subject T 40202 Local Literature ofTaweewattana District, for Mataomsuksa 4 Students, Nawaminrachinutid Satreewittaya School, Bhuddamonton, Bangkok: Master of Education Thesis in Thai Language Teaching, Silapakon University. Wongboot, Nirachara. (2005). School Curriculum Development in Bannongchim School (Singjanbamroong), Thai Languag

76 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

ความต้องการการนิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะของครู ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 THE NEEDS FOR INTERNAL SUPERVISION ON ART SUBJECTS OF TEACHERS IN SECONDARY SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF SECONDARY EDUCATION SERVICE AREA 32

โสภณ ชุมพลศักดิ์1, สุนทร โคตรบรรเทา2, ปรานีพัน จารุวัฒนพันธ์3 Sopon Chumponsak1, Sunthorn Kohtbantau2, Praneephan Jaruwatanaphan3 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความต้องการการนิเทศภายในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 ใน 3 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนรู้ และ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อเปรียบเทียบความต้องการทั้งสามด้านดังกล่าว โดยจำ�แนกตามตัวแปรต้น คือ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ และเพื่อรวบรวมปัญหา และข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่างเป็นครูที่ปฏิบัติ อนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะจำ�นวน 132 คน ซึ่ง ได้มาโดยตารางกำ�หนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกน และการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ตัวเลือก ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น และมีค่าความเชื่อมั่น .80 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และวิธีการ ของ เชฟเฟ ผลการวิจัยสำ�คัญสรุปได้ดังนี้ 1นิสิตระดับปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2รองศาสตราจารย์ ดร. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 3ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม คณะคุรุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 1M.Ed., Graduate in Educational Administration, Graduate School, Buriram Rajabhat University 2Associate Professor, Dr., Thesis Advisor, Graduate School, Buriram Rajabhat University 3Assistant Professor, Dr., Thesis Co-advisor, Faculty of Education, Buriram Rajabhat University 77 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

1. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา มีความต้องการการ นิเทศภายในโดยรวม รายด้านและรายข้ออยู่ในระดับมาก 2. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่มีวุฒิการศึกษา สาขาศิลปะและสาขาอื่นๆ มีความต้องการนิเทศภายในโดยรวม รายด้าน และรายข้อส่วน ใหญ่อยู่ในระดับมาก ยกเว้นในเรื่อง การแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดทำ�หลักสูตรสถานศึกษา การ นิเทศการใช้หลักสูตร การนำ�ผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนาและแก้ไข การใช้เทคโนโลยี จัดการเรียนรู้และหลักการวัดผลการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด และส่วนใหญ่ไม่แตกต่าง กัน ยกเว้นในเรื่องการนิเทศ การใช้หลักสูตร และการนำ�ผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนา และแก้ไข แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .01 และในเรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูล จุดเน้นความต้องการของท้องถิ่น การนิเทศ กำ�กับ ติดตามการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ หลักการวัดผลการเรียนรู้ ที่ระดับ .05 3. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่มีประสบการณ์ต่ำ� กว่า 5 ปี 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มีความต้องการนิเทศภายในโดยรวม รายด้านและ รายข้อส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ยกเว้นในเรื่องการแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดทำ�หลักสูตรสถาน ศึกษา บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้ การวิเคราะห์หลักสูตรท้องถิ่น การวางแผน การ จัดทำ�หลักสูตร การอบรมการใช้หลักสูตร การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการ ใช้เทคโนโลยีจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด และส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นในเรื่อง การแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดทำ�หลักสูตรสถานศึกษา การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตร ท้องถิ่น และหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนการจัดทำ�หลักสูตร และการมีส่วนร่วมใน การพัฒนาหลักสูตรและแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .01 และในเรื่องการ วิเคราะห์ข้อมูลจุดเน้นความต้องการของท้องถิ่น การอบรมการใช้หลักสูตร การพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักการจัดการเรียนรู้ และเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ ที่ระดับ .05 4. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา เห็นปัญหาสำ�คัญ ได้แก่ ครูขาดความรู้ความเข้าใจด้านการจัดทำ�หลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ การสอนไม่เพียงพอและครูขาดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวัดประเมินผลที่หลาก หลาย และให้ข้อเสนอแนะสำ�คัญคือควรปรับปรุงหลักสูตรให้มีความเป็นท้องถิ่นความเป็น เอกลักษณ์ของไทย ควรจัดตั้งงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพิ่มมากขึ้น และควรจัด อบรมเทคนิคการวัดผลและประเมินผล

คำ�สำ�คัญ: การนิเทศภายใน ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ การพัฒนาหลักสูตร การ จัดการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 78 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Abstract The purposes of this research were to study the needs for internal supervi- sion in art subjects of teachers in secondary schools under Buriram Secondary Education Service Area Office 32 in 3 aspects, namely curriculum development, learning management, and learning measurement and evaluation aspects; to compare the needs in the 3 aspects as classified by educational level and ex- perience; and to collect additional problems and suggestions related. The sample used in this research were 132 teachers teaching art subjects, derived through Krejcie & Morgan’s Table and simple ramdom sampling. The instrument used for collecting the data was the 5-point - rating - scale question- naire, constructed the researcher and with reliability of .80. The statistics used for analysing the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Scheffe’s Method. The main research were findings were summarized as follows:- 1. The teachers teaching art subjects in secondary schools had needs for internal supervision as a whole, in individual aspects, and by item at the high level. 2. The teachers teaching art subjects in secondary schools with the edu- cational level in art field and other fields had needs for internal supervision as a whole, in individual aspects, and by item mostly at the high level; except on appointing school curriculum developers, supervising on curriculum implementa- tion, using evaluation results to improve, develop and adapt, using technology to organize learning, and learning evaluation principles, it was found at the high- est level, and mostly with no difference; except on supervising on curriculum implementation and, using evaluation results to improve, develop and adapt, it was found with statistically significant difference at the .01 level, and on analysing data emphasizing local needs, supervising and controlling organization of learning activities and learning evaluation principles at the .05 level. 3. The teachers teaching art subjects in secondary schools with experi- ence below 5 years, 5-10 years, and more than 10 years had needs for internal

79 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

supervision as a whole, in individual aspects, and by item mostly at the high level; except on appointing schools curriculum developer, student learning roles, analysing local curriculum, planning, preparing curriculum, training on curriculum implementation, developing desirable characteristics, and using technology to organize learning, it was found at the highest level and mostly with no difference; except on appointing school curriculum developers, analysing core curriculum, local curriculum, and school curriculum, planning curriculum preparation, and participating in curriculum development, it was found with statistically significant difference at the .01 level, and on analyzing data emphasizing local needs, train- ing on curriculum implementation, developing desirable characteristics, learning organization principles, and instruments for learning evaluation at the .05 level, 4. The teachers teaching art subjects in secondary schools perceived main problems on teachers lacking knowledge and understanding in local curriculum preparation, schools lacking instructional media materials and equipment, and teachers lacking knowledge and understanding in diverse evaluation processes; and gave important suggestions that curriculum be improved to become local- ized and of Thai identity, budget on materials and equipment be increased and training on measurement and evaluation techniques be conducted.

Keywords:Internal supervision, teachers of art subjects, curriculum development, learning management, learning measurement and evaluation

บทนำ� ภายในโรงเรียน เป็นภารกิจอย่างหนึ่งของผู้ บริหารสถานศึกษาที่จะต้องกำ�กับดูแลให้ครู การบริหารโรงเรียนจะประสบความ นำ�นโยบายและความมุ่งหมายของการศึกษา สำ�เร็จได้นั้นผู้บริหารจะต้องเป็นผู้ที่มีความ ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตรการจัดการ รู้สามารถนำ�หลักการนิเทศภายใน เทคนิค เรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการ สื่อและเครื่องมือมาประยุกต์ใช้ให้ ให้สอดคล้องกับผู้เรียน กระบวนการนิเทศ เหมาะสมกับผู้รับการนิเทศภายในเพื่อให้ ภายในจึงมีความสำ�คัญและจำ�เป็นอย่างยิ่ง บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ การนิเทศ

80 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะ อำ�นวยความสะดวก การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ ในปัจจุบันสภาพสังคมเปลี่ยนแปลงอย่าง การจัดอบรมประจำ�การ การปฐมนิเทศ การ รวดเร็ว จำ�เป็นที่ต้องอาศัย ผู้มีความรู้ความ บริการพิเศษ งานสัมพันธ์ชุมชน และงาน สามารถ ช่วยนิเทศภายในเพื่อพัฒนาคุณภาพ ประเมินผล โดยมีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนา การศึกษาให้ดียิ่งขึ้น การนิเทศภายในนับว่ามี วิชาชีพครูและคุณภาพของผู้เรียน (ปรียาพร ความสำ�คัญและจำ�เป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนา วงศ์อนุตรโรจน์. 2548: 28) คุณภาพทางการศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นก เพราะการนิเทศภายในเป็นกระบวนการหนึ่ง ลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นการส่งเสริม ที่ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์การ เพื่อ ให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการ ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง ทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ช่วยให้ครูมีความรู้ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ความมีคุณค่าทั้งตนเองและสังคม กลุ่ม เสมอ และช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ประกอบด้วยสาระ ในการพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการ การเรียนรู้ 3 สาระ คือ ทัศนศิลป์ ดนตรี สอน และการวัดและประเมินผลการเรียน นาฏศิลป์ ซึ่งแต่ละสาระมีลักษณะแตกต่าง รู้ เป็นการสร้างขวัญกำ�ลังใจความพึงพอใจ กันไปตาม แนวทางการแสดงออกและการรับ แก่ครูและช่วยให้ครูเกิดความเชื่อมั่นในความ รู้ การพัฒนาหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ สามารถของตนเองในด้านวิชาชีพอันจะนำ�ไป ศิลปะในโรงเรียนมัธยมนั้นผู้สอนต้องศึกษา สู่เป้าหมายสูงสุดของการจัดการศึกษาให้บรรลุ ทำ�ความเข้าใจ ด้านสาระทัศนศิลป์ ดนตรี วัตถุประสงค์ คือ ผู้เรียนมีคุณภาพการนิเทศ และนาฏศิลป์ ต้องมีความรู้ ซึ่งครอบคลุม ภายในถือว่าเป็นงานหนึ่งของงานวิชาการ ถึง การเตรียมการสอน การจัดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นหัวใจสำ�คัญของการบริหารโรงเรียน การจัดสภาพแวดล้อมต่างๆ ภายในโรงเรียน เพราะการนิเทศภายในเป็นกระบวนการ และประเมินผลหลักสูตร เพื่อกำ�หนดว่ามี หรือวิธีการ หรือกิจกรรม ที่บุคลากรภายใน การบรรลุวัตถุประสงค์ โรงเรียนจัดขึ้น เพื่อปรับปรุงส่งเสริมคุณภาพ การจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การเรียนการสอนภายในโรงเรียนให้ดียิ่งขึ้น ศิลปะเป็นกระบวนการสำ�คัญในการนำ�หลักสูตร สร้างความเชื่อมั่นในตนเองของครูผู้สอนการ สู่การปฏิบัติ ซึ่งต้องวิเคราะห์มาตรฐานการ นิเทศภายในเป็นส่วนย่อยของการนิเทศ เพื่อ เรียนรู้ สมรรถนะสำ�คัญและคุณลักษณะ อัน ปรับปรุงและพัฒนาการสอนในโรงเรียนโดย พึงประสงค์ของผู้เรียน เป็นเป้าหมายสำ�หรับ มุ่งที่พฤติกรรมของครูที่ส่งผลต่อคุณภาพของ พัฒนาเด็กและเยาวชนในการพัฒนาผู้เรียน ผู้เรียน ลักษณะของการนิเทศภายใน มีการ ให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ครูผู้ พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การจัดสิ่ง

81 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะต้องพยายาม ดำ�เนินการอย่างสม่ำ�เสมอ ผู้บริหารไม่ได้ คัดสรร กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ที่ เล็งเห็นความสำ�คัญของการนิเทศภายใน สามารถช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระการ กระบวนการนิเทศภายในไม่เป็นรูปธรรมที่ เรียนรู้ที่กำ�หนดไว้ ในหลักสูตรกลุ่มสาระ ชัดเจน จึงต้องทำ�ให้มีการพัฒนาการจัดการ การเรียนรู้ศิลปะ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้าง ศึกษาระดับมัธยมศึกษาให้มีคุณภาพ วิธีการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะ ที่นำ�มาซึ่งการพัฒนาที่ประสบผลสำ�เร็จดัง ต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสำ�คัญให้ผู้เรียน กล่าวก็คือการนิเทศภายใน (จินดา กรอง บรรลุตามเป้าหมาย (กระทรวงศึกษาธิการ. ทอง. 2552: 3) 2551ง: 25 ) มีการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศ นอกจากนี้ในการวัดและประเมินผล ภายใน อุทัย ปลีกล่ำ� (2545: บทคัดย่อ) การเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะครูผู้ กล่าวว่าครูมีความต้องการการดำ�เนินการ สอนต้องมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ นิเทศภายในอยู่ในระดับมาก ในด้านการวัด วัดและประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งมีความ และประเมินผลการเรียนรู้การจัดการเรียน สำ�คัญเป็นอย่างยิ่งต่อการจัดกระบวนการ การสอนโดยครูผู้สอนมีความต้องการ การ เรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน นิเทศภายในเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน รู้ที่มีประสิทธิภาพสามารถสะท้อนผลการ ของตนเอง และลัดดา เจียมจูไร (2546: เรียนรู้อย่างแท้จริงของผู้เรียนและครอบคลุม บทคัดย่อ) รายงานว่าครูในโรงเรียนสำ�นักงาน กระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ทั้ง 3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ กลุ่มที่ 1 บางกอกน้อยมีความต้องการการ ด้านทักษะและกระบวนการ และด้านเจตคติ นิเทศภายในอยู่ในระดับมากเกี่ยวกับด้าน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จึงต้องวัดและ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ ประเมินผลจากสภาพจริง และต้องอยู่บน ด้านการใช้สื่อการเรียนการสอน ด้านการวัด หลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมิน และประเมินผล และด้านการวางแผนการ เพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน สอน และสอดคล้องกับงานวิจัยของศรีเพ็ญ ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าผู้เรียนต้องได้รับ สนั่นนาม (2543: บทคัดย่อ) กล่าวว่าครูผู้ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาซึ่งเป็นผลกระ สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน ทบมาจากการพัฒนาหลักสูตร การจัดการ ขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดเทศบาลใน เรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เขตการศึกษา 7 มีความต้องการการนิเทศ สิ่งหนึ่งที่เป็นปัญหาคือ การขาดการนิเทศ ภายใน 5 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาบุคลากร ภายใน อย่างเป็นระบบและไม่ได้มีการ ด้านการใช้หลักสูตร ด้านการจัดการเรียน การสอน ด้านการใช้สื่อการสอนและด้าน

82 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

การวัดและประเมินผล อยู่ในระดับมากทุก ความมุ่งหมายของการวิจัย ด้าน เพื่อนำ�ความรู้ที่ได้รับจากการนิเทศไป 1. เพื่อศึกษาความต้องการการนิเทศ พัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ดังนั้น ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะของครูใน การนิเทศภายในจึงเป็นกระบวนการที่จัดขึ้น โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขต เพื่อพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ คุณภาพการ พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ใน 3 เรียนการสอนในโรงเรียนให้สูงขึ้นโดยความ ด้าน ได้แก่ ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการ ร่วมมือจากบุคลากรทั้งภายในและภายนอก จัดการเรียนรู้ และด้านการวัดและประเมิน โรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องส่งเสริม ผลการเรียนรู้ สนับสนุน ครูผู้สอนทุกคนให้ได้พัฒนาการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญอย่างมี 2. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการ คุณภาพ เพื่อส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของของผู้ การนิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรียนทุกคนตามความมุ่งหมายของหลักสูตร ของครู ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสังกัด จากความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหา สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาความต้องการ เขต 32 ทั้ง 3 ด้านจำ�แนกตามตัวแปรต้น นิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะของ คือ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ ครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงาน 3. เพื่อรวบรวมปัญหาและข้อเสนอ เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 เพื่อ แนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับความต้องการการนิเทศ นำ�ผลการวิจัยไปพัฒนา ปรับปรุงงานนิเทศ ภายใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะของครูใน ภายในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขต มัธยมศึกษา ซึ่งจะเป็นประโยชน์สูงสุด กับ พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 บุคลากรครู ชุมชน และพัฒนาเยาวชนของ ชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่ง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เสริมผู้เรียนมีคุณธรรม ได้รับการพัฒนาให้ ประชากรได้แก่ ครูกลุ่มสาระการ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ รักความเป็นไทย ให้มี เรียนรู้ศิลปะ จำ�นวน 198 คน จากโรงเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะ มัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การ ด้านเทคโนโลยี สามารถทำ�งานร่วมกับผู้อื่น ศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ปีการศึกษา 2554 และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้ อย่างสันติ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูกลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ จำ�นวน 132 คน จาก โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ซึ่งได้

83 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

มาโดยตารางกำ�หนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เครจซีและมอร์แกน และการสุ่มอย่างง่าย 1. ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบ เครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการเก็บ แบบสอบถาม รวบรวมข้อมูล ครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด เป็นแบบสอบถามซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ บุรีรัมย์ เขต 32 จำ�นวน 132 คน เมื่อ ตอนที่ 1 เป็นแบบสำ�รวจรายการที่ จำ�แนกตามสถานภาพวุฒิการศึกษา เป็นครู สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง ผู้สอนสาขาศิลปะ คิดเป็น ร้อยละ 57.58 ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วน ครูผู้สอนสาขาอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 42.42 ประมาณค่า 5 ระดับซึ่งถามเกี่ยวกับ ระดับ ตามลำ�ดับ เมื่อจำ�แนกตามประสบการณ์ ความต้องการการนิเทศภายใน ใน 3 ด้าน กลุ่มประสบการณ์ต่ำ�กว่า 5 ปี คิดเป็นร้อย ได้แก่ ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการ ละ 45.45 ประสบการณ์ 5-10 ปี คิดเป็น จัดการเรียนรู้ และด้านการวัดและประเมิน ร้อยละ 37.87 และมากกว่า 10 ปี คิดเป็น ผลการเรียนรู้ ร้อยละ 16.66 ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลาย 2. ความต้องการการนิเทศภายใน เปิดเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ เกี่ยวกับการนิเทศภายใน ทั้ง 3 ด้าน ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ใน การวิเคราะห์ข้อมูล โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขต ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ เขต คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำ�เร็จรูป ซึ่งค่าสถิติ 32 มีความต้องการการนิเทศภายในด้าน ที่ใช้ในการวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน การพัฒนาหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดย มาตรฐาน การทดสอบค่าที การ รวม รายด้านและรายข้อ อยู่ในระดับมาก ทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบความแตก ต่างเป็นรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ

84 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ตารางค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ พัฒนาแก้ไข การใช้เทคโนโลยี จัดการเรียนรู้ ความต้องการการนิเทศภายใน โดย และหลักการวัดผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการ รวมและเป็นรายด้าน เรียนรู้ศิลปะ อยู่ในระดับมากที่สุด ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ความต้องการ S.D. ระดับ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่มีประสบการณ์ต่ำ� การนิเทศภายใน กว่า 5 ปี 5-10 ปีและ มากกว่า 10 ปี 1. ด้านการพัฒนา 4.38 0.25 มาก มีความต้องการนิเทศภายใน ด้านการ หลักสูตร พัฒนาหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนรู้ และ 2. ด้านการจัดการเรียนรู้ 4.32 0.23 มาก ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ อยู่ใน 3. ด้านการวัดและ 4.22 0.17 มาก ระดับมาก ยกเว้นในเรื่องการแต่งตั้งให้เป็น ประเมินผลการเรียนรู้ ผู้จัดทำ�หลักสูตรสถานศึกษา บทบาทของผู้ รวมเฉลี่ย 4.31 0.14 มาก เรียนในการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ การวิเคราะห์หลักสูตรท้องถิ่น การ จากตาราง พบว่า ครูกลุ่มสาระการ วางแผนการจัดทำ�หลักสูตร การอบรมการ เรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด ใช้หลักสูตร การพัฒนาคุณลักษณะอันพึง สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ประสงค์ และการใช้เทคโนโลยีจัดการเรียน บุรีรัมย์ เขต 32 มีความต้องการนิเทศภายใน รู้ อยู่ในระดับมากที่สุด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น 3. เปรียบเทียบความต้องการการ รายด้าน พบว่า ทุกด้านมีความต้องการอยู่ นิเทศ ภายใน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ในระดับมาก 3.1 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เมื่อจำ�แนกตามตัวแปรต้น ได้แก่วุฒิ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขต การศึกษาและประสบการณ์ครูผู้สอนกลุ่ม พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 32 สาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่มีวุฒิการศึกษา สาขาศิลปะ และสาขา ที่มีวุฒิการศึกษาสาขาศิลปะและสาขาอื่นๆ อื่นๆมีความต้องการการนิเทศภายในด้าน มีความต้องการนิเทศภายในด้านการพัฒนา การพัฒนาหลักสูตร โดยรวม รายด้าน และ หลักสูตร ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการ รายข้อ ส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นใน วัดและประเมินผลการเรียนรู้ อยู่ในระดับ เรื่อง การนิเทศการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระ มาก ยกเว้นในเรื่อง การแต่งตั้งให้เป็นผู้จัด การเรียนรู้ศิลปะ และการนำ�ผลการประเมิน ทำ�หลักสูตรสถานศึกษา การนิเทศการใช้ มาปรับปรุงพัฒนาแก้ไข แตกต่างกันอย่างมี หลักสูตร การนำ�ผลการประเมินมาปรับปรุง นัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .01 และในเรื่อง

85 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

การวิเคราะห์ข้อมูลจุดเน้นความต้องการ การอบรมการใช้หลักสูตรแตกต่างกันอย่างมี ของท้องถิ่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญ นัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนรู้ ส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่ทุกข้อไม่แตกต่างกัน ยกเว้นในเรื่อง ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นในเรื่อง การพัฒนา การนิเทศ กำ�กับ ติดตามการจัดกิจกรรมการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักการจัดการ เรียนรู้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ เรียนรู้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และด้านการวัดและประเมินผล ที่ระดับ .05 การเรียนรู้ ส่วนใหญ่ทุกข้อไม่แตกต่างกัน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียน ยกเว้น ในเรื่อง หลักการวัดผลการเรียนรู้ รู้ ส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นใน เรื่อง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ แตกต่างกันอย่าง เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้แตกต่างกันอย่าง มีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.2 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขต การอภิปรายผล พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 32 ที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีความต้องการการ 1. ความต้องการการนิเทศภายใน นิเทศภายใน โดยรวมและด้านการพัฒนา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะของครูในโรงเรียน หลักสูตร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทาง มัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การ สถิติที่ระดับ .01 และด้าน การจัดการเรียน ศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 โดยรวมมีความ รู้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ ต้องการการนิเทศภายในทั้ง 3 ด้าน อยู่ใน ระดับ .05 ระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก สามารถ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ด้านการ อภิปรายผลดังนี้ พัฒนาหลักสูตร ส่วนใหญ่แตกต่างกัน ยกเว้น ในเรื่องการแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดทำ�หลักสูตร 1.1 ด้านการพัฒนาหลักสูตร มี สถานศึกษา การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง ความต้องการการนิเทศภายในโดยรวมและ การวิเคราะห์หลักสูตรท้องถิ่น การวิเคราะห์ รายด้านอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเนื่องมา หลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนการจัดทำ� จาก หลักสูตรถือว่าเป็นมวลประสบการณ์ หลักสูตร และการมีส่วนร่วมในการพัฒนา ทั้งหมดที่ครูผู้สอนต้องมีความรู้และเข้าใจ หลักสูตร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทาง อย่างดีเพื่อพัฒนาหลักสูตรไปสู่การสอนให้ สถิติที่ระดับ .01 และในเรื่อง การวิเคราะห์ กับผู้เรียน ไปจัดการเรียนรู้ โดยครูผู้สอน ข้อมูลจุดเน้นความต้องการของท้องถิ่นและ ต้องมีการวางแผนไว้กับแผนการจัดการ เรียนรู้ของครูทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้

86 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ความสามารถ ทั้งทางด้านสติปัญญา จิตใจ มาก ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการจัดการเรียนรู้ อารมณ์ และสามารถดำ�รงชีวิตอยู่ในสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกระบวนการ อย่างมีความสุข ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุด สำ�คัญในการนำ�หลักสูตรสู่การปฏิบัติ ซึ่งต้อง ของการจัดการศึกษา ผู้บริหารโรงเรียนและ วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะ บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการนิเทศภายในต้อง สำ�คัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ เร่งดำ�เนินการนิเทศภายในด้านการพัฒนา ผู้เรียน เป็นเป้าหมายสำ�หรับพัฒนาเด็กและ หลักสูตรตามความต้องการของครูกลุ่มสาระ เยาวชนในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติ การเรียนรู้ศิลปะในเรื่องการจัดทำ�หลักสูตร ตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัด การใช้เทคโนโลยี การนำ�ผลการประเมินมา สรร กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดย ใช้ในการพัฒนาปรับปรุงแก้ไข และหลักการ ช่วยให้ผู้เรียน เรียนรู้ผ่านสาระการเรียนรู้ที่ วัดผลกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ในโรงเรียน กำ�หนดไว้ในหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ มัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การ ศิลปะ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะ ศึกษามัธยมศึกษาเขต 32 อันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็น ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัย สมรรถนะสำ�คัญให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย ของ แมททอกซ์ (Mattox. 1978: 7061-A ผู้บริหารโรงเรียนและบุคลากรที่เกี่ยวข้องใน ; อ้างถึงใน ศิริพงษ์ เสาวภา. 2547: 56) การนิเทศภายในต้องเร่งดำ�เนินการนิเทศ ได้ศึกษาเรื่องความต้องการในการปฏิบัติ ภายในด้านการจัดการเรียนรู้ ตามความ งานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาใน ต้องการของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รัฐอิลลินอยล์ สหรัฐอเมริกา ผลการวิจัย ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงาน พบว่า ความต้องการที่อยู่ในระดับมาก คือ เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 32 ผล การพัฒนาหลักสูตรและยังสอดคล้องกับงาน การวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ ศรี วิจัยของ เวน (Wayne. 1980: Abstract ; เพ็ญ สนั่นนาม (2543: บทคัดย่อ) ได้ศึกษา อ้างถึงใน ชุติมา ไตรยุทธยงค์. 2549: 56) ความต้องการ ได้ศึกษาเรื่องการรับรู้บทบาทการนิเทศการ การนิเทศภายในของครูผู้สอนใน ศึกษาของครูใหญ่ โรงเรียนประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนขยาย แห่งรัฐเวอร์จิเนีย ผลการวิจัยพบว่า ในด้าน โอกาสทางการศึกษา สังกัดเทศบาลในเขต ความรับผิดชอบและขอบข่ายงานที่มีอันดับ การศึกษา 7 ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอนใน ความสำ�คัญสูง ได้แก่ งานเกี่ยวกับหลักสูตร โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา มีความ 1.2 ด้านการจัดการเรียนรู้ มีความ ต้องการการนิเทศภายใน ด้านการจัดการ ต้องการการนิเทศภายในโดยรวมอยู่ในระดับ เรียนรู้ อยู่ในระดับมาก และยังสอดคล้องกับ งานวิจัยของ แมททอกซ์ (Mattox. 1978:

87 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

7061-A ; อ้างถึงใน ศิริพงษ์ เสาวภา. 2547: ประเมินผลการเรียนรู้ ตามความต้องการ 56) ได้ศึกษาเรื่องความต้องการในการปฏิบัติ ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียน งานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในรัฐ มัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การ อิลลินอยล์ สหรัฐอเมริกา ผลการวิจัยพบว่า ศึกษามัธยมศึกษาเขต 32 ผลการวิจัยครั้ง ความต้องการที่อยู่ในระดับมาก คือ ความ นี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ ศรีเพ็ญ สนั่น ต้องการด้านการจัดการเรียนรู้ นาม (2543: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาความ 1.3 ด้านการวัดและประเมินผลการ ต้องการการนิเทศภายในของครูผู้สอนใน เรียนรู้ มีความต้องการการนิเทศภายในอยู่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนขยาย ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก การวัด โอกาสทางการศึกษา สังกัดเทศบาลในเขต และประเมินผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการ การศึกษา 7 ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอนใน เรียนรู้ศิลปะ ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลัก โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา มีความ การพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพื่อ ต้องการการนิเทศภายใน ด้านการวัดและ พัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ใน ประเมินผล อยู่ในระดับมาก และยังสอดคล้อง การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ กับงานวิจัยของ แมททอกซ์ (Mattox. 1978: ประสบผลสำ�เร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการ 7061-A ; อ้างถึงใน ศิริพงษ์ เสาวภา. พัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุ 2547: 56) ได้ศึกษาเรื่องความต้องการใน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ การปฏิบัติงานของผู้บริหารโรงเรียนประถม สำ�คัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ศึกษาในรัฐอิลลินอยล์ สหรัฐอเมริกา ผลการ ผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ วิจัยพบว่า ความต้องการที่อยู่ในระดับมาก ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ ทั้งระดับ คือ การประเมินผล ชั้นเรียน ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่การ 2. ผลการเปรียบเทียบความต้องการ ศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผล การนิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ การเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา จำ�แนกตาม ผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ โดยรวมครูที่ สารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า มีวุฒิต่างกันมีความต้องการการนิเทศภายใน และความสำ�เร็จทางการเรียนของผู้เรียน ไม่แตกต่างกัน และครูที่มีประสบการณ์ต่าง ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่ง กันมีความต้องการนิเทศภายในแตกต่างกัน เสริมให้ผู้เรียนเกิด การพัฒนาและเรียนรู้ เนื่องมาจากครูที่มีวุฒิสาขาศิลปะและสาขา อย่างเต็มตามศักยภาพผู้บริหารโรงเรียนและ อื่นๆ ให้ความสำ�คัญของการนิเทศภายใน ใน บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการนิเทศภายในต้อง เรื่องการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ เร่งดำ�เนินการนิเทศภายในด้านการวัดและ และการวัดและประเมินผล เหมือนกันและ

88 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ครูที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีความต้องการ รวมและรายข้อไม่แตกต่างกัน ยกเว้นในเรื่อง การนิเทศภายในแตกต่างกันทั้งนี้เนื่องมา การนิเทศ กำ�กับ ติดตามการจัดกิจกรรมการ จากครูที่มีประสบการณ์มากมีโอกาสได้รับ เรียนรู้ แตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ครู การอบรม ศึกษาดูงาน มีความชำ�นาญการ ที่มีวุฒิสาขาอื่นๆ ยังไม่มีความเข้าใจในการ มากกว่าครูที่มีประสบการณ์น้อย จัด การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ซึ่ง 2.1 ความต้องการการนิเทศภายใน ครูผู้สอนต้องเข้าใจหลักการจัดการเรียนรู้ ของครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน กระบวนการเรียนรู้ การออกแบบการจัดการ ด้านการพัฒนาหลักสูตร ครูที่มี เรียนรู้ บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน การ วุฒิการศึกษาต่างกันมีความต้องการนิเทศ ใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาผู้ ภายในโดยรวมและรายข้อไม่แตกต่างกัน เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ยกเว้นในเรื่อง การนิเทศการใช้หลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะดังนั้นจึงมีความ การนำ�ผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนา ต้องการการนิเทศ กำ�กับติดตามในระดับ แก้ไข และการวิเคราะห์ข้อมูลจุดเน้นความ มากและแตกต่างจากครูที่มีวุฒิการศึกษา ต้องการของท้องถิ่น ครูที่มีวุฒิสาขาอื่นๆ สาขาศิลปะ ดังนั้นผู้บริหารและบุคลากรที่ มีความต้องการการนิเทศภายในมากกว่า เกี่ยวข้องในการนิเทศภายในต้องให้ความ วุฒิสาขาศิลปะทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ครูที่ สำ�คัญต่อการนิเทศภายในเรื่อง การจัดการ มีวุฒิสาขาอื่นๆ ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจ เรียนรู้ ให้เป็นปัจจุบันและต่อเนื่อง เพื่อให้ ในด้านการพัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการ ครูที่มีวุฒิสาขาอื่นๆได้ปรับปรุงงานต่างๆ เรียนรู้ศิลปะ การใช้หลักสูตร การประเมิน เพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรและด้านหลักสูตรท้องถิ่น ผู้บริหาร อันจะทำ�ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการนิเทศภายใน นักเรียนสูงขึ้น ต้องให้ความสำ�คัญต่อการนิเทศภายในเรื่อง ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัย ดังกล่าว ให้เป็นปัจจุบันและต่อเนื่อง เพื่อให้ ของ ศรีเพ็ญ สนั่นนาม (2543: บทคัดย่อ) ครูที่มีวุฒิสาขาอื่นๆได้ปรับปรุงงานต่างๆ ได้ศึกษาความต้องการการนิเทศภายใน เพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการ ของครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สอน ซึ่งทำ�ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด นักเรียนสูงขึ้น มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เทศบาลในเขตการศึกษา 7 ผลการวิจัยพบ ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ว่า ครูผู้สอนวิชาสามัญและครูผู้สอนวิชาการ ด้านการจัดการเรียนรู้ ครูที่มีวุฒิการ งานอาชีพ มีความต้องการการนิเทศภายใน ศึกษาต่างกันมีความต้องการนิเทศภายในโดย ด้านการจัดการเรียนรู้ แตกต่างกัน

89 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดเทศบาล ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน มี ความต้องการ ในเขตการศึกษา 7 ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้ นิเทศภายในโดยรวมและรายข้อไม่แตกต่าง สอนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา กัน ยกเว้นในเรื่อง หลักการวัดผลการเรียน มีความต้องการการนิเทศภายใน ด้านการ รู้ แตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าครูที่มี วัดและประเมินผล อยู่ในระดับมาก วุฒิการศึกษาอื่น ยังขาดความรู้ความเข้าใจ 2.2 ความต้องการการนิเทศภายใน เรื่อง การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ควร ของครูที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีการวัดประเมินผลที่หลากหลาย ตามความ ด้านการพัฒนาหลักสูตร ครูที่มี แตกต่างระหว่างบุคคล การประเมินเพื่อ ประสบการณ์ต่างกันมีความต้องการนิเทศ พัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียนใน ภายในโดยรวมและรายข้อส่วนใหญ่แตก การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ ต่างกัน ในเรื่อง การแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดทำ� ประสบผลสำ�เร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการ หลักสูตรสถานศึกษา การวิเคราะห์หลักสูตร พัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุ แกนกลาง การวิเคราะห์หลักสูตรท้องถิ่น ตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ หลักสูตรสถานศึกษา การวางแผน การจัด สำ�คัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ทำ�หลักสูตรกลุ่ม และการมีส่วนร่วมในการ ผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ พัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์ข้อมูลจุดเน้น ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ ทั้งเป็น ความต้องการของท้องถิ่นและการอบรมการ ระดับชั้นเรียน ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ทั้งนี้ การศึกษา และระดับชาติ ดังนั้นผู้บริหารและ อาจเป็นเพราะว่า ครูที่มีประสบการณ์มาก บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการนิเทศภายในต้อง ย่อมมีโอกาสในการได้รับการนิเทศ การ ให้ความสำ�คัญต่อการนิเทศภายในเรื่องการ อบรม ด้าน การพัฒนาหลักสูตร มากกว่า วัดและประเมินผลการเรียนรู้ ให้เป็นปัจจุบัน ครูที่มีประสบการณ์น้อย และหลักสูตรมีการ และต่อเนื่อง เพื่อให้ครูที่มี วุฒิสาขาอื่นๆได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลารวมถึงกระบวนการ ปรับปรุงงานต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการส่ง นิเทศยังไม่เป็นระบบ มีมาตรฐาน ส่งผลให้ เสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่าง ครูที่มีประสบการณ์ต่างกันมีความต้องการ เต็มศักยภาพให้ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นไป การนิเทศภายในแตกต่างในเรื่องดังกล่าว ดัง ตามเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ นั้นผู้บริหารโรงเรียนและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับงาน ในการนิเทศภายในต้องเร่งดำ�เนินการนิเทศ วิจัยของ ศรีเพ็ญ สนั่นนาม (2543: บทคัดย่อ) ภายในด้านการพัฒนาหลักสูตรในเรื่องดังกล่าว ได้ศึกษาความต้องการการนิเทศภายในของครู ตามความต้องการของครู ที่มีประสบการณ์ ผู้สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน

90 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ต่างกันใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กิจกรรมการนิเทศภายในที่หลากหลายเพื่อ ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับงาน พัฒนาศักยภาพของครูที่มีประสบการณ์ต่าง วิจัยของศรีเพ็ญ สนั่นนาม (2543: บทคัดย่อ) กันโดยคำ�นึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้ศึกษาความต้องการการนิเทศภายใน ของครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ของครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับงาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด วิจัยวันฤดี ปุยะติ (2551: บทคัดย่อ) ได้ เทศบาลในเขตการศึกษา 7 ผลการวิจัย พบ ศึกษาปัญหาและความต้องการการนิเทศ ว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการสอนต่ำ�กว่า 5 ภายใน ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่ ปี และครูที่มีประสบการณ์ในการสอนตั้งแต่ การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า 5 ปีขึ้นไป มีความต้องการการนิเทศภายใน ครูที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีความต้องการ แตกต่างกันโดยครูที่มีประสบการณ์ในการ การนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้ สอนต่ำ�กว่า 5 ปี มีความต้องการการนิเทศ ด้านการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ ภายในมากกว่าครูที่มีประสบการณ์ในการ มีความต้องการการนิเทศภายในโดยรวมและ สอนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไปทุกด้าน รายข้อส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นในเรื่อง ด้านการจัดการเรียนรู้ ครูที่มี เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ ความต้องการการ ประสบการณ์ต่างกัน มีความต้องการนิเทศ นิเทศภายในของครูที่มีประสบการณ์ต่างกัน ภายในโดยรวมและรายข้อส่วนใหญ่ไม่แตกต่าง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า ครูที่มีประสบการณ์ใน กัน ยกเว้นในเรื่อง การพัฒนาคุณลักษณะอัน การสอนมาก ย่อมได้รับโอกาสในการนิเทศ พึงประสงค์ หลักการจัดการเรียนรู้ แตกต่าง ภายในมากกว่า ครูที่มีประสบการณ์น้อย กัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า ครูที่มีประสบการณ์ เพียงแต่กระบวนการนิเทศยังไม่เป็นระบบ มากเคยชินกับหลักสูตรเดิม วิธีการจัดการ ที่มีมาตรฐาน จึงมีความต้องการการนิเทศ เรียนรู้แบบเดิมซึ่ง ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง ภายในแตกต่างกัน ดังนั้นผู้บริหารโรงเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อเข้าสู่ยุคการ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการนิเทศภายใน ปฏิรูปการศึกษาครูต้องมีการพัฒนาวิชาชีพ ต้องเร่งดำ�เนินการนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อ เพื่อ การประเมินทั้งภายในและภายนอกจึง พัฒนาศักยภาพของครูที่มีประสบการณ์ต่าง มีความต้องการการนิเทศภายในด้านการ กันถือปฏิบัติร่วมกันและเป็นไปในมาฐาน จัดการเรียนรู้ เรื่องดังกล่าวแตกต่างจากครูที่ เดียวกันมีวิธีการวัดและประเมินผลที่หลาก มีประสบการณ์ ต่ำ�กว่า 5 ปี ดังนั้นผู้บริหาร หลายของครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนและบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการนิเทศ ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับงาน ภายในต้องเร่งดำ�เนินการนิเทศภายในโดยใช้ วิจัยของศรีเพ็ญ สนั่นนาม (2543: บทคัดย่อ)

91 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ได้ศึกษา ความต้องการการนิเทศภายใน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้ ของครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายวิชาการและ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด ผู้เกี่ยวข้อง ปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐาน เทศบาลในเขตการศึกษา 7 ผลการวิจัย พบ การศึกษา พัฒนาหลักการจัดการเรียนรู้ ว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการสอนต่ำ�กว่า 5 และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้ได้ ปี และครูที่มีประสบการณ์ในการสอนตั้งแต่ มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการ ความ 5 ปีขึ้นไป มีความต้องการการนิเทศภายใน จำ�เป็นของโรงเรียน แตกต่างกัน โดยครูที่มีประสบการณ์ในการ 1.3 ผู้บริหารและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง สอนต่ำ�กว่า 5 ปี มีความต้องการการนิเทศ ในการนิเทศภายใน ควรนำ�ข้อมูลเกี่ยวกับ ภายในมากกว่าครูที่มีประสบการณ์ในการ ปัญหาและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สอนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป ทุกด้าน ความต้องการ การนิเทศภายใน ด้านการ พัฒนาหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้าน ข้อเสนอแนะ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ที่เป็น จากผลการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัย ประโยชน์ต่อการนิเทศภายใน กลุ่มสาระการ มีข้อเสนอแนะการนำ�ไปใช้และเพื่อการวิจัย เรียนรู้ศิลปะของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา ต่อไปดังนี้ สอดคล้องกับความต้องการของครูผู้สอนให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและสามารถแก้ปัญหา 1. ข้อเสนอแนะในการนำ�ผลการ ที่เกิดขึ้นอันเป็นประโยชน์แก่โรงเรียนต่อไป วิจัยไปใช้ 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1.1 ควรให้ผู้บริหาร และครูได้รับ การอบรมเกี่ยวกับการนิเทศภายใน ในเรื่อง 2.1 ควรศึกษาความต้องการ การ การกำ�หนดจุดมุ่งหมาย กระบวนการ และ นิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ขั้นตอน การดำ�เนินงานนิเทศภายใน เมื่อพบ 2.2 ควรศึกษาวิจัยเปรียบเทียบตัว ปัญหาและอุปสรรคในการดำ�เนินงานนิเทศ แปรอื่นๆ เช่น เพศ อายุ สถานภาพตำ�แหน่ง ภายในควรเร่งแก้ไขเพื่อให้การนิเทศภายใน และขนาดของโรงเรียน มีประสิทธิภาพประสิทธิผลและต่อเนื่องเป็น 2.3 ควรมีการวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยว ไปตามมาตรฐานที่กำ�หนด กับความต้องการการนิเทศภายในตามความ 1.2 ควรจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ ต้องการของผู้บริหารและครู ครูและผู้บริหารมีความรู้และการสร้างความ เข้าใจการพัฒนาการนิเทศภายใน ด้านการ พัฒนาหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้าน

92 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

กิตติกรรมประกาศ ให้คำ�แนะนำ�ช่วยเหลือ จนประสบความสำ�เร็จ ผู้วิจัยขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฎ ประโยชน์และคุณค่าที่เกิดขึ้นจาก บุรีรัมย์ที่อนุญาตให้ทำ�งานวิจัยเรื่องนี้ ขอ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบบูชาพระคุณ ขอบคุณท่าน รองศาสตราจารย์ ดร. สุนทร แด่บิดา มารดา ผู้ให้กำ�เนิดชีวิต บูรพาจารย์ โคตรบรรเทา ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์อาจารย์ที่ คณาจารย์ ที่ได้อบรมสั่งสอนให้เป็นผู้มีศีล สมาธิ ปัญญา References Chinda, Krongthong. (2009). Problem and Means for Development of Internal Supervision in Secondary Schools under Buriram Educational Service Area Office 2. Thesis, Master of Education. Jeamjurai, Ladda. (2003). Teacher’s Needs for Internal Supervision on Student –based Instruction in Schools under Bangkok Educational Service Area office 3, group1, Bangkok Noi. Master’s Project MED. Educational Administration Bangkok Graduate School, Srinakharinnawirot University. Ministry of Education. (2008). Guidelines for Learning. Bangkok: Agurilcultural Cooperatives. Pleeklam, Uthai. (2002). Problems and Needs Internal Supervision Performance in Primary Extension Schools under Loei Primary Education Office. Thesis, Master of Education. Educational Administration, Loie Rajbhat institute. Priyaporn, Wonganutararoj. (2005). Academic Affairs Administration. Bangkok: Phim Dee Printing. Sanannam, sriphen. (2000). Need for Internal Supervision of Teacher the Lower Secondary Education Level in Primary Extention Schools under Municipal Education Office 7. Thesis M.Ed. (Educational Administration ) Phitsanulok: Graduate School, Phiboonsongkhram Rajbhat institute. Saowapa, Siripong. (2004). Needs for Instructional Supervision in Primary Schools in Klang District under Rayong Educational Service Area Office 2. Thesis Master of Education. Primary Education, Burapha University.

93 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Traiyutharong, Chutima. (2006). Need for Instructional Supervision of Teachers in Sutharat School Network, Chonburi. Thesis, Master of Education, Educational Administration, Graduate School, Burapha University.

94 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาพลศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ The Curriculum Evaluation of Bachelor Education Program in Physical Education Institute Northeastern Campus

ชุมพร ศรีเทพย์1, พิศมัย ศรีอำ�ไพ2, ชวนพิศ รักษาพวก3 Chumporn Srithep1, Pissamai Sri-ampai2, Chuanpit Rauksapuak3 บทคัดย่อ การประเมินหลักสูตรเป็นการรวบรวมและศึกษาข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูล และการใช้ข้อมูลสนเทศในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย และเหมาะสมกับ สภาพสังคมปัจจุบันการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาพลศึกษา สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2554โดยใช้รูปแบบซิปป์ (CIPP Model) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นบุคลากร จำ�นวน 631 คน ประกอบด้วย อาจารย์ จำ�นวน 34 คน นักศึกษา จำ�นวน 90 คน บัณฑิต จำ�นวน 169 คน ผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต จำ�นวน 169 คน และเพื่อนร่วมงานของบัณฑิต จำ�นวน 169 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ใน การวิจัยมี 2 ชนิด ได้แก่ แบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ จำ�นวน 4 ฉบับ และแบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง จำ�นวน 4 ฉบับ สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. อาจารย์ นักศึกษา และบัณฑิต เห็นว่าด้านบริบทโดยรวมและจำ�แนกตามด้าน ย่อย ได้แก่ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร โครงสร้างของหลักสูตร และเนื้อหาสาระของหลักสูตร

1นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2รองศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3อาจารย์บัณฑิตศึกษาพิเศษ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1M.Ed. Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University 2Associate Professor Dr. Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University. 3Tether, Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University. 95 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีข้อเสนอแนะว่าควรสำ�รวจความต้องการของผู้เรียน เพื่อนำ�มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรต่อไป และควรจัดการเรียนการสอนใน รายวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร, การวิจัยเบื้องต้น และการใช้คอมพิวเตอร์สำ�นักงาน 2. อาจารย์ นักศึกษา และบัณฑิต เห็นว่าด้านปัจจัยเบื้องต้นโดยรวมและจำ�แนก ตามด้านย่อย ได้แก่ คุณลักษณะผู้เรียน คุณลักษณะของคณาจารย์ และวัสดุการศึกษา สื่อ ตำ�ราเรียนและสถานที่เรียน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีข้อเสนอแนะว่าควร จัดเครื่องคอมพิวเตอร์ สำ�หรับนักศึกษาเพื่อใช้ในการสืบค้นข้อมูลให้เพียงพอ และควรเพิ่ม อุปกรณ์พลศึกษาที่ใช้สำ�หรับการจัดการเรียนการสอนให้มากขึ้น 3. อาจารย์ นักศึกษา และบัณฑิต เห็นว่าด้านกระบวนการโดยรวมและจำ�แนกตาม ด้านย่อย ได้แก่ กระบวนการจัดการเรียนการสอน การวัดผลและประเมินผล และการบริหาร จัดการหลักสูตร มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีข้อเสนอแนะว่าควรวางแผนเพิ่ม อัตรากำ�ลังอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เพียงพอกับภาระงาน เพื่อให้อาจารย์รับ ผิดชอบเฉพาะงานสอนเพียงอย่างเดียว 4. บัณฑิต ผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต และเพื่อนร่วมงานของบัณฑิต เห็นว่าด้าน ผลผลิตโดยรวมและจำ�แนกตามด้านย่อย ได้แก่ คุณภาพการปฏิบัติงานทั่วไป ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ และคุณภาพการปฏิบัติงานด้านพลศึกษามีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีข้อเสนอแนะว่าบัณฑิตควรศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ และ ทันสมัยเพิ่มเติมเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน และเป็นการพัฒนาตนเอง โดยสรุป หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาพลศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความเหมาะสมทุกด้านอยู่ในระดับมากจึงสมควร ใช้หลักสูตรนี้ต่อไป แต่ควรหาแนวทางพัฒนาให้หลักสูตรมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้นเพื่อ ความเป็นเลิศด้านพลศึกษา

คำ�สำ�คัญ:การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต, โปรแกรมวิชาพลศึกษา, ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ABSTRACT Curriculum evaluation is the collection and study of data including data analysis and the utilization of information to adjust and develop curriculum so as

96 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

to make the curriculum up-to-date and in line with current social conditions. This research study, using the CIPP Model form, aimed to evaluate the curriculum of Bachelor of Education in Physical Education, Institute of Physical Education, northeastern campuses in the academic year 2011. Using the Stratified Random Sampling technique, the sample consisted of 631 affiliates which include 34 instructors, 90 students, 169 graduates, 169 graduates’ superiors, and 169 graduates’ colleagues. The research instruments of the study were composed of four sets of 5-leveled rating-scaled questionnaires and four sets of structured interviews. Statistics employed in data analysis were percentage, Mean, and Standard Deviation. Findings of the study were as follows: 1. The instructors, students, and graduates thought that, overall and in detail aspects, the context which includes the objectives, structure, and content of the curriculum were at the “highly appropriate” level. They suggested that the learner needs should be surveyed in order to be employed as a guideline for further curriculum development as well as there should be the instruction of some courses including English for Communication, Introduction to Research Study, and the Utilization of Office Computer. 2. The instructors, students and graduates thought that, overall and in detail aspects, the fundamental factors which include characteristics of learners, characteristics of instructors, educational materials, media, textbooks, and location of instruction were at the “highly appropriate” level. They recommended the sufficient provision of computers for students to use for searching and the increase of physical education instruments employed in instruction. 3. The instructors, students and graduates thought that, overall and in detail aspects, the processes which include instruction, measurement and evaluation, and curriculum administration processes were at the “highly agree” level. They suggested a plan to increase the number of instructors and facilitative staff members in accordance with the work load so that instructors

97 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

take teaching part only. 4. The graduates, the graduates’ superiors, and the graduates’ colleagues thought that, overall and in detail aspects, the outcome which includes general performance; virtue, morality, and professional ethics; and physical educational performance were at the “highly appropriate” level. They suggested that graduates should additionally research into new and up-to-date knowledge in order to catch up with the current changing world and for self-development. In conclusion, the curriculum of Bachelor of Education in Physical Education, Institute of Physical Education, northeastern campuses were at the “highly appropriate” level in all aspects. Therefore, the curriculum should be continuingly implemented. Yet, ways to develop the more appropriate curriculum should be obtained for the excellence in Physical Education later on.

Keywords: Curriculum Evaluation of Bachelor Education Program Northeastern Campus

บทนำ� ตามความมุ่งหมาย และยังเป็นแนวทางใน การวางแผนงานทางวิชาการ เป็นเครื่อง การประเมินหลักสูตรมีความสำ�คัญ มือในการควบคุมมาตรฐานการศึกษา เป็น อย่างมากในกระบวนการจัดการศึกษา สิ่งที่กำ�หนดความมุ่งหมาย ขอบข่ายของ เป็นเครื่องมือที่จำ�เป็นสำ�หรับการควบคุม เนื้อหา เป็นแนวทางสำ�หรับการจัดกิจกรรม คุณภาพ การประกันคุณภาพของการศึกษา การเรียนการสอน สื่อ แหล่งการเรียนรู้ และ หลายๆ ระดับ ตั้งแต่ระดับห้องเรียน ระดับ การประเมินผลการเรียนการสอน ดังนั้นจึง โรงเรียน ระดับเขตจนถึงระดับชาติ (ชวลิต อาจกล่าวได้ว่า หลักสูตรเป็นเครื่องมือบ่งชี้ ชูกำ�แพง. 2551 : 187) หลักสูตรมีความ ทิศทางการพัฒนาประเทศและพัฒนามนุษย์ สำ�คัญและความจำ�เป็นสำ�หรับการจัดการ ควบคู่กันให้มีคุณภาพนั่นเอง การพัฒนา ศึกษา เพราะหลักสูตรเป็นสิ่งทำ�ให้จุดมุ่ง มนุษย์ที่ดีและมีคุณภาพต้องอาศัยหลักสูตร หมายของการจัดการศึกษาให้เป็นไปอย่าง ที่มีคุณภาพ คือ หลักสูตรที่มีความชัดเจน มีประสิทธิภาพ เนื่องจากหลักสูตรเป็นแผน เหมาะสม และมีความสอดคล้องกับบริบท หรือแนวทางในการจัดการศึกษาให้บรรลุ ของการนำ�หลักสูตรไปใช้ กระบวนการหนึ่ง

98 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ที่ทำ�ให้หลักสูตรมีคุณภาพ คือ การประเมิน (CIPP Model) ของ Stufflebeam (ชวลิต หลักสูตร เพราะการประเมินหลักสูตรเป็นก ชูกำ�แพง. 2553 : 49) ซึ่งหลักการประเมิน ระบวนการรวบรวมสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ ด้วยรูปแบบประเมินแบบ CIPP นี้ จะเริ่ม หลักสูตรหรือตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร ตั้งแต่ด้านบริบท (Context) ประกอบด้วย เพื่อนำ�มาพิจารณาตัดสินใจ ปรับปรุงแก้ไข วัตถุประสงค์ของหลักสูตร โครงสร้างของ หรือพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ (สม หลักสูตร เนื้อหาสาระของหลักสูตร ด้านปัจจัย พงษ์ ชาตะวิถี และคณะ 2552 : 1) การ เบื้องต้น (Input) ประกอบด้วย คุณลักษณะ ศึกษาเป็นกระบวนการที่ปลูกฝัง ถ่ายทอด ผู้เรียน คุณลักษณะของคณาจารย์ วัสดุการ ความรู้ เจตคติ คุณลักษณะต่างๆ ให้เกิด ศึกษา สื่อ ตำ�ราเรียน และสถานที่เรียน กับตัวผู้เรียนเกิดความเจริญงอกงามหรือ ด้านกระบวนการ (Process) ประกอบด้วย ทำ�ให้ดีขึ้นทุกด้าน การศึกษาเป็นกิจกรรมที่ กระบวนการจัดการเรียนการสอน การวัดผล สำ�คัญที่สุดในการพัฒนาคน เพื่อให้ไปพัฒนา และประเมินผล การบริหารจัดการหลักสูตร ศักยภาพที่แต่ละคนมีอยู่ให้สามารถนำ�ออก ด้านผลผลิต (Product) ประกอบด้วย คุณภาพ มาใช้ทำ�ประโยชน์ต่อสังคมได้สูงสุด (วิมล การปฏิบัติงานทั่วไป ด้านคุณธรรม จริยธรรม รัตน์ สุนทรโรจน์. 2553 : 1) จากแนวคิด และจรรยาบรรณในวิชาชีพ คุณภาพการ ที่กล่าวมาชี้ให้เห็นถึงความจำ�เป็นที่จะต้องมี ปฏิบัติงานด้านพลศึกษา การประเมินหลักสูตร เพื่อเป็นรากฐานของ ผลของการวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ การพัฒนาหลักสูตรอย่างมีคุณภาพ ในการตัดสินใจ ทั้งด้านการจัดการเรียนการ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาค สอน และสามารถนำ�ผลการประเมินมาใช้ ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ใช้หลักสูตรศึกษา เป็นข้อมูลในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรม ให้มีคุณภาพเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน วิชาพลศึกษา มาตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 และผลผลิตที่ได้จากหลักสูตรมีสมรรถนะ จนถึงปัจจุบัน ได้ดำ�เนินการจัดการศึกษา เป็นไปตามที่จุดมุ่งหมายของหลักสูตรและ มาแล้ว 7 ปี แต่ยังไม่มีการประเมินหลักสูตร สมรรถนะของบัณฑิตตามมาตรฐานความ ในระดับวิทยาเขต ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่ รู้วิชาชีพครู และสุดท้ายของการประเมิน จะประเมินหลักสูตรนี้ เพื่อตรวจสอบว่า หลักสูตรสามารถผลิตบัณฑิตให้สอดคล้อง หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนยัง กับความต้องการของผู้เรียน ความต้องการ มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพสังคม ของสังคม ความต้องการของตลาดแรงงาน ปัจจุบันนี้อยู่หรือไม่ ในการประเมินหลักสูตร เป็นอย่างไรเหมาะสมหรือไม่ และการพัฒนา ครั้งนี้ผู้วิจัยได้เลือกการประเมินแบบ CIPP ประเทศชาติต่อไป

99 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ความมุ่งหมายของการวิจัย 1.4 ผู้บังคับบัญชาของบัณฑิตที่สำ�เร็จ การศึกษา สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชา เพื่อประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตร พลศึกษาสถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตภาค บัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชา ตะวันออกเฉียงเหนือปีการศึกษา 2552–2553 พลศึกษา สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขต จำ�นวน 335 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยประเมินแบบ CIPP Model ดังนี้ 1.5 เพื่อนร่วมงานของบัณฑิตที่สำ�เร็จ การศึกษา สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชา 1. ด้านบริบท (Context) พลศึกษาสถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตภาค 2. ด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input) ตะวันออกเฉียงเหนือปีการศึกษา 2552 - 3. ด้านกระบวนการ (Process) 2553 จำ�นวน 335 คน 4. ด้านผลผลิต (Product) 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยศึกษากับประชากร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง โดยดำ�เนินการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง ด้วยการสุ่ม 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยทั้งสิ้น แบบแบ่งชั้น (Stratified Random 1,253 คน จำ�แนกได้ดังนี้ Sampling) โดยกำ�หนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง 1.1 อาจารย์ประจำ�คณะศึกษาศาสตร์ ร้อยละ 50 และมีขั้นตอนการสุ่มกลุ่ม สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวัน ตัวอย่าง ดังนี้ ออกเฉียงเหนือ ที่ปฏิบัติหน้าที่สอนปีการ 2.1 กำ�หนดขนาดกลุ่มประชากรที่ ศึกษา 2554 จำ�นวน 68 คน ใช้ในการวิจัยทั้งสิ้น 1,253 คน 1.2 นักศึกษาที่กำ�ลังศึกษาอยู่ชั้น 2.2 จำ�แนกประชากรออกเป็นกลุ่มๆ ปีที่ 5 สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชา ซึ่งแบ่งออกได้ 5 กลุ่ม คือ กลุ่มอาจารย์ กลุ่ม พลศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต นักศึกษาที่กำ�ลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 5 กลุ่ม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2554 บัณฑิต กลุ่มผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต และ จำ�นวน 180 คน กลุ่มเพื่อนร่วมงานของบัณฑิต 1.3 บัณฑิตที่สำ�เร็จการศึกษา สาขา 2.3 จำ�แนกกลุ่มประชากรแต่ละกลุ่ม วิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา สถาบัน ออกเป็น 4 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตชัยภูมิ การพลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียง วิทยาเขตมหาสารคาม วิทยาเขตศรีสะเกษ เหนือ ปีการศึกษา 2552 – 2553 จำ�นวน และวิทยาเขตอุดรธานี 335 คน

100 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

2.4 แบ่งจำ�นวนขนาดของกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม โดยกำ�หนดขนาดกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50 ได้ ข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง จำ�นวน 631 คน ดังนี้ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลครั้ง 2.4.1 อาจารย์ประจำ�คณะศึกษา นี้มี 2 ชนิด คือ ศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาค 1. ชนิดที่ 1 ได้แก่ แบบสอบถาม ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ปฏิบัติหน้าที่สอนปี ความคิดเห็นต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต การศึกษา 2554 จำ�นวน 34 คน สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา 2.4.2 นักศึกษาที่กำ�ลังศึกษาอยู่ชั้น จำ�นวน 4 ฉบับ มีรายละเอียดดังนี้ ปีที่ 5 สาขาวิชา พลศึกษา โปรแกรมวิชา 1.1 ฉบับที่ 1 เป็นแบบสอบถาม พลศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต ความคิดเห็นต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2554 สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชา จำ�นวน 90 คน พลศึกษา สำ�หรับอาจารย์เป็นผู้ตอบ 2.4.3 บัณฑิตที่สำ�เร็จการศึกษา 1.2 ฉบับที่ 2 เป็นแบบสอบถาม สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา ความคิดเห็นต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตภาคตะวัน สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา ออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2552 – 2553 สำ�หรับนักศึกษาชั้นปีที่ 5 เป็นผู้ตอบ จำ�นวน 169 คน 1.3 ฉบับที่ 3 เป็นแบบสอบถาม 2.4.4 ผู้บังคับบัญชาของบัณฑิตที่ ความคิดเห็นต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สำ�เร็จการศึกษา สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรม สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา วิชาพลศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต สำ�หรับบัณฑิตเป็นผู้ตอบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2552 – 2553 จำ�นวน 169 คน 1.4 ฉบับที่ 4 เป็นแบบสอบถาม ความคิดเห็นต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต 2.4.5 เพื่อนร่วมงานของบัณฑิตที่ สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา สำ�เร็จการศึกษา สาขาวิชาพลศึกษา โปรแกรม สำ�หรับผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงานของ วิชาพลศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต บัณฑิตเป็นผู้ตอบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือปีการศึกษา 2552 – 2553 จำ�นวน 169 คน 2. ชนิดที่ 2 ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ ชนิดมีโครงสร้าง จำ�นวน 4 ฉบับ มีราย ใช้การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random ละเอียดดังนี้ Sampling) ด้วยวิธีการจับสลาก

101 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ฉบับที่ 1 สัมภาษณ์อาจารย์เกี่ยว 2.2 นำ�แบบสอบถามที่มีความ กับหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา สมบูรณ์แต่ละฉบับมาตรวจให้คะแนนเป็น พลศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา รายข้อ ตามเกณฑ์การให้คะแนน ฉบับที่ 2 สัมภาษณ์นักศึกษาเกี่ยว 2.3 นำ�คะแนนที่ได้รับไปดำ�เนินการ กับการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร วิเคราะห์ทางสถิติ เพื่อวิเคราะห์ความคิดเห็น ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา เกี่ยวกับความเหมาะสมของหลักสูตร โดยใช้ค่า โปรแกรมวิชาพลศึกษา เฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ฉบับที่ 3 สัมภาษณ์บัณฑิตเกี่ยว 3. ข้อมูลแบบสอบถามปลายเปิด กับหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา และข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยนำ�เสนอ พลศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของการ ฉบับที่ 4 สัมภาษณ์ผู้บังคับบัญชา พรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) ของบัณฑิตเกี่ยวกับบัณฑิตที่สำ�เร็จการศึกษา สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พลศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา สถาบัน การพลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียง สรุปผล เหนือ ปีการศึกษา 2552 – 2553 1. อาจารย์ นักศึกษา และบัณฑิต การจัดกระทำ�ข้อมูลและการ เห็นว่าด้านบริบทโดยรวมและจำ�แนกตาม วิเคราะห์ข้อมูล ด้านย่อย ได้แก่ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1. ข้อมูลจากแบบสอบถามฉบับที่ 1-4 โครงสร้างของหลักสูตร และเนื้อหาสาระ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ของหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ มาก และมีด้านวัตถุประสงค์ของหลักสูตร (Checklist) วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ ของอาจารย์ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ (Frequency) และคำ�นวณหาค่าร้อยละ มากที่สุด แสดงว่าหลักสูตรสามารถนำ�ไป (Percentage) ใช้ในการปฏิบัติจริงได้ และเสริมสร้างทักษะ 2. ข้อมูลจากแบบสอบถามฉบับที่ ที่สามารถนำ�ไปประกอบอาชีพด้านการ 1-4 ตอนที่ 2 ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า พลศึกษาได้ โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร (Rating Scale) มี 5 ระดับ ดำ�เนินการดังนี้ มีการกำ�หนดหน่วยกิตในแต่ละหมวดวิชา มีความเหมาะสม ส่วนเนื้อหาสาระของ 2.1 นำ�แบบสอบถามที่ได้รับคืนมา หลักสูตรสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในการ ทั้งหมด ตรวจสอบความสมบูรณ์ ปฏิบัติ งานจริงได้ และมีข้อเสนอแนะว่า

102 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ควรสำ�รวจ ความต้องการของผู้เรียนเพื่อนำ� ตาม ด้านย่อย ได้แก่ กระบวนการจัดการเรียน มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรต่อ การสอน การวัดผลและประเมินผล และการ ไป และควรจัดการเรียนการสอนในรายวิชา บริหารจัดการหลักสูตร มีความเหมาะสมอ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร, การวิจัยเบื้อง ยู่ในระดับมาก แสดงว่ากระบวนการจัดการ ต้น และการใช้คอมพิวเตอร์สำ�นักงาน เพราะ เรียนการสอนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มี ต้องนำ�ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง การวัดและประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของ 2. อาจารย์ นักศึกษา และบัณฑิต แต่ละวิชา มีการเปิดโอกาสให้นักเรียนซัก เห็นว่าด้านปัจจัยเบื้องต้นโดยรวมและจำ�แนก ถามและแสดงความคิดเห็น ตาม ด้านย่อย ได้แก่ คุณลักษณะผู้เรียน การกำ�หนดกิจกรรมการเรียนใน คุณลักษณะของอาจารย์ และวัสดุการศึกษา แต่ละรายวิชามีความชัดเจน วิธีการจัดการ สื่อ ตำ�ราเรียนและสถานที่เรียน มีความ เรียนการสอนเหมาะสมกับผู้เรียน มีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมาก แสดงว่าผู้เรียนมี ยุติธรรมในการวัดผลและประเมินผลผู้เรียน เจตคติที่ดีต่อสาขาวิชาที่เรียน อาจารย์ปฏิบัติ มีความชัดเจนของเกณฑ์ที่ใช้ในการวัดและ ตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม ประเมินผล ส่วนการบริหารจัดการหลักสูตร และมีวินัยในตนเอง มีการเข้าสอนตรงเวลา มีการนำ�ผลการติดตามและประเมินผล และสอนเต็มเวลา มีความรู้ความสามารถ การจัดการเรียน การสอนไปปรับปรุงและ ในด้านพลศึกษา มีทักษะ เทคนิคและวิธี พัฒนาการเรียนการสอน และจัดอาจารย์ใน สอนที่หลากหลาย มีการเตรียมการสอนที่ แต่ละรายวิชาเหมาะสมและควรมีการปลูก ดีช่วยให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ฝังทักษะและจรรยาบรรณวิชาชีพครูของนัก มีคุณภาพ ส่วนสื่อการเรียนการสอนเกี่ยว พลศึกษาให้กับผู้เรียน และมีข้อเสนอแนะว่า กับการพลศึกษาควรมีอุปกรณ์และสื่อการ ควรวางแผนเพิ่มอัตรากำ�ลังคณาจารย์และ สอนทันสมัย หลากหลาย และเพียงพออยู่ บุคลากรสายสนับสนุนให้เพียงพอกับภาระ ในสภาพใช้งานได้ดี มีสถานที่เรียนเหมาะ งาน เพื่อให้คณาจารย์รับผิดชอบเฉพาะงาน สมเอื้ออำ�นวยต่อการเรียนการสอน และมี สอนเพียงอย่างเดียว ข้อเสนอแนะว่าควรจัดเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. บัณฑิต ผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต สำ�หรับนักศึกษาเพื่อใช้ในการสืบค้นข้อมูล และเพื่อนร่วมงานของบัณฑิต เห็นว่าด้าน ให้เพียงพอ และควรเพิ่มอุปกรณ์กีฬาที่ใช้ ผลผลิตโดย รวมและจำ�แนกตามด้านย่อย สำ�หรับการจัดการเรียนการสอนให้มากขึ้น ได้แก่ คุณภาพการปฏิบัติงานทั่วไป ด้าน 3. อาจารย์ นักศึกษา และบัณฑิต คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณใน เห็นว่าด้านกระบวนการโดยรวมและจำ�แนก วิชาชีพ และคุณภาพการปฏิบัติงานด้านการ

103 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

พลศึกษามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก แนวคิดของ สตัฟเฟิลบีม (บุญชม ศรีสะอาด. แสดงว่าบัณฑิตสามารถปรับตัวให้เข้ากับ 2528 : 236-239) ที่พบว่า การประเมิน สภาพแวดล้อมและผู้อื่นได้ มีมนุษย์สัมพันธ์ องค์ประกอบของหลักสูตรมี 4 ด้าน คือ 1. ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงานและบุคคลทั่วไป มีความ การประเมินสภาวะแวดล้อม เป็นการประเมิน อดทนต่ออุปสรรค์และปัญหาในการทำ�งาน สภาพแวดล้อม สภาพที่พึงปรารถนา และ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ตรงต่อเวลา มี สภาพที่เป็นจริง บ่งชี้ถึงปัญหาและความ ความสุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน มีสัมมาคารวะ ต้องการอันนำ�ไปสู่การตัดสินใจ มีความรู้ที่ถูกต้องทางพลศึกษา มีความ 2. การประเมินปัจจัยเบื้องต้น เป็นการ สามารถสอนพลศึกษารวมถึงการตัดสินกีฬา ประเมินทรัพยากรเพื่อวิเคราะห์ทางเลือก และมีสามารถในการค้นคว้าวิจัยและพัฒนา สำ�หรับการวางแผนและการออกแบบการ ทางพลศึกษาเพื่อนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการ ใช้หลักสูตร 3. การประเมินกระบวนการ เรียนการสอนต่อไป และมีข้อเสนอแนะว่า (Process Evaluation) เป็นการประเมิน บัณฑิตควรศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ และทัน กระบวนการต่างๆ ของการใช้หลักสูตร สมัยเพิ่มเติมเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง สำ�หรับการตัดสินใจว่าจะดำ�เนินการด้วย ของโลกปัจจุบัน และเป็นการพัฒนาตนเอง วิธีการใดจะแก้ไขอย่างไร ไม่ให้หยุดอยู่กับที่ 4. การประเมินผลผลิต เป็นการ ประเมินองค์ประกอบที่เป็นผลผลิตและ อภิปรายผล ผลกระทบของการใช้หลักสูตรว่า เกิดผล การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตร ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรหรือไม่ และ บัณฑิต โปรแกรมวิชาพลศึกษา สถาบันการ ยังเป็นข้อมูลสำ�หรับการปรับปรุงหลักสูตร พลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือยกเลิกการใช้หลักสูตร และสอดคล้อง มีประเด็นที่ควรนำ�มาอภิปราย ดังนี้ กับงานวิจัยของ ธรรมรงค์ ภูนาชัย (2547 : 1. ด้านบริบท พบว่า อาจารย์ 95) พบว่า การประเมินหลักสูตรการศึกษา นักศึกษา และบัณฑิตมีความเห็นสอดคล้อง มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา กันว่าวัตถุประสงค์ของหลักสูตรเสริมสร้าง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทักษะที่สามารถนำ�ไปประกอบอาชีพด้านการ วัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชาของหลักสูตร พลศึกษาได้ โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร สอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน และสามารถนำ� มีการกำ�หนดหน่วยกิตในแต่ละหมวดวิชามี ไปปฏิบัติได้จริงในระดับมาก สอดคล้องกับ ความเหมาะสม สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ งานวิจัยของ จุฑาทิพย์ จันทร์เรือน (2552 ในการปฏิบัติงานจริงได้ ซึ่งสอดคล้องกับ : 54-104) ) พบว่า การประเมินด้านบริบท

104 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

วัตถุประสงค์ของหลักสูตรมีความชัดเจน การสอนตามหลักสูตรเป็นไปในทางที่ถูกต้อง สอดคล้องกับความต้องการของสังคมปัจจุบัน หรือไม่ 3. เพื่อวัดผลดูว่าผลผลิตคือผู้เรียน และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน นั้นเป็นอย่างไร และสอดคล้องกับงานวิจัย สามารถนำ�ไปปฏิบัติจริงได้ โครงสร้างและ ของ ภัทราวรรณ ฤทธิวงศ์ (2547 : 95) เนื้อหามีความเหมาะสม การจัดกระบวนวิชา พบว่าการประเมินหลักสูตรการศึกษามหา มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพ บัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยการศึกษา ที่เป็นจริง และสอดคล้องกับงานวิจัยของ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย จริญญา สมานญาติ (2554 : 54-111) พบ มหาสารคาม ด้านปัจจัยป้อนมีความเหมาะ ว่า การประเมินหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สมโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา สถาบัน แต่ละประเด็นปรากฏว่า อยู่ในระดับมาก การพลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียง ทุกประเด็น ได้แก่ คุณลักษณะของผู้เรียน เหนือ ด้านบริบทโดยรวมและจำ�แนกตาม ด้านคุณลักษณะของอาจารย์ผู้สอน และ ด้านย่อย ได้แก่ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร วัสดุการศึกษา สื่อ ตำ�ราเรียน และสถานที่ โครงสร้างของหลักสูตร และเนื้อหาสาระของ เรียนเหมาะสม สอดคล้องกับงานวิจัยของ หลักสูตร มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก อานิน สุขณะล้ำ� (2548 : บทคัดย่อ) พบว่า 2. ด้านปัจจัยเบื้องต้น พบว่า อาจารย์ การประเมินหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต นักศึกษา และบัณฑิตมีความเห็นสอดคล้องกัน สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษา ว่าด้านคุณลักษณะของอาจารย์ผู้สอนมีทักษะ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สิ่งอำ�นวย เทคนิค และวิธีสอนที่หลากหลาย มีการเต ความสะดวก มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ รียมการสอนที่ดีช่วยให้การจัดกิจกรรมการ มาก สามารถนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการ เรียนการสอนมีคุณภาพ และวัสดุการศึกษา ทำ�งานมีความทันสมัยเหมาะสมกับสภาพ สื่อ ตำ�ราเรียน และสถานที่เรียนเหมาะสมอ สังคมปัจจุบัน และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ เบรียทรับท์ (Breithaupt. 1997: 1668-A) ชวลิต ชูกำ�แพง (2551 : 147) กล่าวว่า การ พบว่า การศึกษาการพัฒนาหลักสูตรโดยร่วม ประเมินผลหลักสูตรใดๆ โดยทั่วไปแล้ว จะ มือกันโดยรูปแบบการบูรณาการเทคโนโลยี มีจุดมุ่งหมายคล้ายคลึงกันอยู่ 3 ประการ การเรียนการสอนสำ�หรับหุ้นส่วนระหว่าง คือ 1. เพื่อหาคุณค่าของหลักสูตรนั้น โดยดู โรงเรียนกับมหาวิทยาลัย พบว่า (1) การ ว่าหลักสูตรที่จัดขึ้นสามารถตอบสนองตาม พัฒนาหลักสูตรโดยร่วมมือกันเป็นวิธีการที่มี วัตถุประสงค์ที่หลักสูตรนั้นต้องการหรือไม่ 2. ประสิทธิภาพต่อนักศึกษาฝึกสอนและครูพี่เลี้ยง เพื่อตัดสินใจว่าการวางเค้าโครงและรูประบบ ในการใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนหลักสูตรของ ของหลักสูตร ตลอดจนการบริหารงาน และ พวกตน (2) นักศึกษาฝึกสอนอาจจะจัดการ

105 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ช่วยเหลือจากคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพ การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร มากที่สุดมาให้ครูพี่เลี้ยงก็ได้ และ(3) ความ บัณฑิต โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา ต้องการที่ใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนหลักสูตร สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวัน จะต้องเกิดจากความต้องการใช้จริงของครูไม่ ออกเฉียงเหนือ ผลการวิจัยพบว่า ด้าน ใช้แผ่นคำ�สั่งจากโรงเรียน หรือจากผู้บริหาร กระบวนการโดยรวมและจำ�แนกตามด้าน ระดับเขตการศึกษา ย่อย ได้แก่ กระบวนการจัดการเรียนการ 3. ด้านกระบวนการ พบว่า อาจารย์ สอน การวัดผลและประเมินผล และการ นักศึกษา และบัณฑิตมีความเห็นสอดคล้อง บริหารจัดการหลักสูตร มีความเหมาะสมอยู่ กันว่ากระบวนการจัดการเรียนการสอน ในระดับมาก และสอดคล้องกับงานวิจัยของ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ การกำ�หนด จุฑาทิพย์ จันทร์เรือน (2552 : 54-104) กิจกรรมการเรียนในแต่ละรายวิชามีความ พบว่า การประเมินและศึกษาข้อเสนอแนะ ชัดเจน วิธีการจัดการเรียนการสอนเหมาะ ในการปรับปรุงหลักสูตรศึกษาศาสตรมหา สมกับผู้เรียน มีการวัดผลและประเมินผล บัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผล ตรงตามวัตถุประสงค์ของแต่ละรายวิชา ซึ่ง การศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(ปรับปรุง สอดคล้องกับแนวคิดของ โพรวัส (บุญชม พ.ศ. 2543) ด้านกระบวนการ การบริหาร ศรีสะอาด. 2528 : 243-252) ที่กล่าว หลักสูตร ว่า การประเมินหลักสูตร เพื่อตัดสินใจว่า มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรที่ดำ�เนินการใช้อยู่ควรปรับปรุง หลักสูตรและมีการจัดทำ�แผนการบริหาร หรือดำ�เนินการต่อ ยกเลิกการใช้ โดยมีขั้น งานอย่างเป็นระบบ บทบาทของอาจารย์ที่ ตอนการประเมินหลักสูตร 5 ขั้นตอน คือ ปรึกษาทั่วไปจากสภาพที่เป็นจริง อาจารย์ 1. นิยามหลักสูตร 2. การเริ่มใช้หลักสูตร ส่วนใหญ่ได้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ บทบาท 3. การประเมินกระบวนการ 4. การประเมิน ของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์จาก ผลผลิตของหลักสูตร 5. การวิเคราะห์ค่าใช้ สภาพที่เป็นจริง ได้ปฏิบัติงานตามหน้าที่เป็น จ่ายและผลตอบแทน การประเมินหลักสูตร ประจำ� ส่วนการจัดกิจกรรมการเรียนการ ทุกขั้นตอนของโพรวัส จะต้องนำ�ไปเปรียบ สอน การวัดและการประเมินผล ตามสภาพที่ เทียบสิ่งที่เป็นจริงในหลักสูตรกับสิ่งที่กำ�หนด เป็นจริงส่วนใหญ่ ทำ�ได้ถูกต้องตามหลักการ ไว้เป็นมาตรฐานว่ามีความสอดคล้องหรือไม่ วัดและประเมินผลทุกวิชา และสอดคล้อง หากไม่สอดคล้องก็จะเป็นข้อมูลนำ�ไปสู่การ กับผลงานวิจัยของ บริกเมน (Bringman. ตัดสินใจปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือล้มเลิก 1992: 2814-A) ได้ศึกษาเพื่อประเมินผล การใช้หลัก และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ของหลักสูตรการฝึกความพร้อมของนักเรียน จริญญา สมานญาติ (2554: 54-111) พบว่า ที่มีต่อความตั้งใจ ความเข้าใจในการฟังและ

106 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ทักษะทางสังคมของนักเรียนอนุบาล พบว่า พลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการ นักเรียนทุกชั้นเรียนสามารถรับการฝึกได้ใน พลศึกษา พุทธศักราช 2548 (ฉบับปรับปรุง ทักษะการเรียนรู้ที่จำ�เป็นต้องมีมาก่อนใน พ.ศ. 2550) พบว่า ผลการประเมินด้าน ด้านความตั้งใจการฟังและการตอบ และ ผลผลิต ด้านคุณภาพการปฏิบัติงานทั่วไป การเข้ากับคนอื่นได้ (ทักษะทางสังคม) ผล ของบัณฑิต อาจารย์ผู้สอน นักศึกษาชั้นปี ก็คือพฤติกรรมเพิ่มขึ้น นอกจากนี้นักเรียน ที่ 5 และบัณฑิต มีความเห็นสอดคล้องกัน สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมเหล่านี้ไปเป็นผล ว่า คุณภาพการปฏิบัติงานทั่วไปของบัณฑิต สัมฤทธิ์เพิ่มขึ้น (ความเข้าใจในการฟัง) และ อยู่ในระดับมาก ด้านคุณธรรม จริยธรรม แสดงให้เห็นด้วยว่าครูสามารถได้รับการฝึก และจรรยาบรรณในวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอน อบรมเพื่อรวมเข้าอยู่ในการฝึกอบรมครั้งนี้ นักศึกษาชั้นปีที่ 5 และบัณฑิต มีความ โดยไม่ต้องเปลี่ยนหลักสูตรที่มีอยู่ เห็นสอดคล้องกันว่า บัณฑิตในหลักสูตรมี 4. ด้านผลผลิต พบว่า บัณฑิต ผู้ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณใน บังคับบัญชาของบัณฑิต และเพื่อนร่วมงาน วิชาชีพ อยู่ในระดับมาก ด้านการปฏิบัติงาน ของบัณฑิต มีความเห็นสอดคล้องกันว่า ด้านพลศึกษา อาจารย์ผู้สอน นักศึกษาชั้นปี คุณภาพการปฏิบัติงานทั่วไป คุณภาพการ ที่ 5 และบัณฑิตมีความเห็นสอดคล้องกันว่า ปฏิบัติงานด้านการพลศึกษาอยู่ในระดับมาก บัณฑิตในหลักสูตรมีคุณภาพการปฏิบัติงาน บัณฑิตมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน ด้านพลศึกษา อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับ และบุคคลทั่วไป สามารถปรับตัวให้เข้ากับ งานวิจัยของ จริญญา สมานญาติ (2554 : สภาพแวดล้อมและผู้อื่นได้ ซึ่งสอดคล้อง 54-111) การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร กับแนวคิดของ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2537 : บัณฑิต โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา 127) กล่าวว่า การประเมินหลักสูตรนั้น สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคตะวัน มีจุดมุ่งหมายเพื่อพิจารณาทบทวนเกี่ยว ออกเฉียงเหนือ พบว่า การประเมินหลักสูตร กับคุณภาพของหลักสูตร โดยใช้ผลการวัด ด้านผลผลิตโดยรวมและจำ�แนกตามด้าน ในแง่มุมต่างๆ ของสิ่งที่จะประเมินนำ�มา ย่อย ได้แก่ คุณภาพการปฏิบัติงานทั่วไป พิจารณาร่วมกัน เช่น ตัวเอกสาร หลักสูตร ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ วัสดุ กระบวนการเรียนการสอน ตัวผู้เรียน ในวิชาชีพ และคุณภาพการปฏิบัติ งานด้าน ความคิดเห็นของผู้ใช้หลักสูตร และความคิด วิทยาศาสตร์การกีฬามีความเหมาะสมอยู่ใน เห็นจากผู้เกี่ยวข้องในชุมชนและสังคม และ ระดับมาก และสอดคล้องกับงานวิจัยของ เน สอดคล้องกับงานวิจัยของ สมพงษ์ ชาตะ วิลล์ (Neville. 1999: 963- A) พบว่า การ วิถี และคณะ (2552: 109) ที่ได้ประเมิน ศึกษาประสิทธิภาพผลของโปรแกรมการ ผลหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ประกันคุณภาพการศึกษาและการวางแผน

107 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ปรับปรุงโรงเรียนของคณะกรรมการการ แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรต่อไป ศึกษาแห่งรัฐอิลลินอยส์ พบว่า (1) กิจกรรม 1.2 ควรจัดการเรียนการสอนใน ที่สัมพันธ์กับโปรแกรมการประคุณภาพการ รายวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร, การ ศึกษา และการวางแผนปรับปรุงโรงเรียนนั้น วิจัยเบื้องต้น และการใช้คอมพิวเตอร์สำ�นักงาน สนับสนุนความเข้าใจในประโยชน์ของการร่วม เพื่อใช้ในการทำ�งานต่อไปในอนาคต กันปฏิบัติมากขึ้น (2) กรอบงานของรัฐไม่ได้ 2. ด้านปัจจัยเบื้องต้น ทำ�ให้วาระทางเทคนิคของการวางแผนการ ปรับปรุงสำ�หรับโรงเรียนเหล่านั้นก้าวหน้า 2.1 ศูนย์วิทยบริการควรจัดเครื่อง ขึ้นไป (3) การสนทนาเกี่ยวกับหลักสูตรซึ่ง คอมพิวเตอร์สำ�หรับนักศึกษาเพื่อใช้ในการ สัมพันธ์กับกิจกรรมการสังเกตเข้าร่วมงาน สืบค้นข้อมูลที่เพียงพอ และสัมพันธ์กับโอกาสนั้นได้รับการสนับสนุน 2.2 ควรจัดอาคารสถานที่เรียน ที่ใช้ จากการเข้าเกี่ยวข้องกับโปรแกรมการประกัน สำ�หรับการจัดการเรียนการสอนให้มีความ คุณภาพการศึกษาและวางแผนการปรับปรุง เหมาะสมและพร้อมใช้งานได้ทุกเวลา โรงเรียน แต่ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าโปรแกรม 2.3 ควรเพิ่มอุปกรณ์กีฬาทาง นี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรอย่าง พลศึกษาที่ใช้สำ�หรับการจัดการเรียนการ กระฉับกระเฉง (4) บทบาทของคะแนนจาก สอนให้มากขึ้น การทดสอบด้วยแบบทดสอบมาตรฐานใน 3. ด้านกระบวนการ ระบบโรงเรียน อันเป็นตัวบ่งชี้เบื้องต้นของ 3.1 ควรมีการวางแผนเพิ่มอัตรา การปรับปรุงโรงเรียนนั้นนับว่ามีนัยสำ�คัญ กำ�ลังอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน (5)ภาพลักษณ์ของคณะกรรมการการศึกษา ให้เพียงพอกับภาระงานและความต้องการ แห่งรัฐอิลลินอยส์ได้ปรับปรุงดีขึ้น ในที่ตั้ง ของผู้เรียน ของโรงเรียนเหล่านี้แต่ละโรงอันเป็นผลของ ลักษณะและการนำ�การริเริ่มโครงการความ 3.2 ควรมีหลักสูตรหรือเนื้อหาวิชา รับผิดชอบนี้ไป ที่เกี่ยวกับการใช้วิชาชีพครูและทางพลศึกษา ให้เพิ่มขึ้น เพราะต้องนำ�ไปใช้ในการปฏิบัติ ข้อเสนอแนะ งานจริง 4. ด้านผลผลิต ข้อเสนอแนะทั่วไป 4.1 ควรจัดการเรียนการสอนเพิ่มเติม 1. ด้านบริบท เนื้อหาวิชาเกี่ยวกับการตัดสินกีฬาให้มากยิ่ง 1.1 ควรจัดการเรียนการสอนตาม ขึ้น เพราะต้องนำ�ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ความต้องการของผู้เรียนเพื่อนำ�มาใช้เป็น

108 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

4.2 ควรมีเพิ่มทักษะการจัดการแข่งขัน เพื่อหาข้อบกพร่องอันจะนำ�ไปสู่การพัฒนา กีฬาประเภทต่างๆ ที่เป็นกีฬาสากลให้มากยิ่ง หลักสูตรต่อไป ขึ้น เพราะต้องนำ�ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง 2 ควรมีการสำ�รวจด้านคุณลักษณะ ข้อเสนอแนะในการทำ�วิจัยครั้งต่อไป อันพึงประสงค์ของผู้สำ�เร็จการศึกษาหลักสูตร 1 ควรมีการประเมินหลักสูตร ศึกษาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาพลศึกษา และพัฒนาหลักสูตร รวมทั้งมีการติดตาม จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อนำ�ไปเป็นข้อมูล ผลคุณภาพของบัณฑิตที่สำ�เร็จการศึกษา ในการพัฒนาหลักสูตรและพัฒนาคุณลักษณะ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชา ของผู้สำ�เร็จการศึกษาต่อไป พลศึกษา อย่างสม่ำ�เสมอและต่อเนื่อง ทั้งนี้

References Breithaupt, David L. “Collaborative Curriculum Development : An instructional Technology Integration Model for School-university Partnerships,” Dis- sertation Abstracts International. 58(05) : 1668-A ; November, 1997. Brigman, Greg A. “The Effects of Student Readiness Training on the Listening Comprehension, Attending, and Social Skills of Kindergarten Students (Readi- ness, Attention),” Dissertation Abstracts International. 52(08) : 2814-A ; February, 1992. Chatawiti, Sompong et. al., (2009). Evaluation of Bachdelor’s of Physical Educa- tion, Faculty of Education, Physical Education Institute, 2005 (Revised Issue 2007), Bangkok: Physical Education Institute, Chukampang, Chawalit. (2008). Curriculum Development. Mahasarakam: Ma- hasarakam University. . (2010). Curriculum and Teaching Research. Mahasarakam: Mahasarakam University.

109 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Janreun, Jutatip. (2009). Evaluation of Master’s of Education Thesis in Educational Measurement and Evaluation, Faculty of Education, Chiengmai University. Master of Education Thesis, Mahasarakam: Mahasarakam University, Poonachai, Tamrong. (2004). Evaluation of Master of Education Program in Educational Research, Faculty of Education, Mahasarakam University. Master of Education, Mahasarakam: Mahasarakam University, Ritwong, Patrawan. (2004). Evaluation of Master of Education Program in Educational Administration, Faculty of Education, Mahasarakam University. Master of Education, Mahasarakam: Mahasarakam University, Samanyat, Jarinya. (2009). Evaluation of Bachdelor’s of Sport Science Program, Physical Education Institute, North Eastern Campus. Master of Education Thesis, Chiengmai: Chiengmai University, Sooknalam, Anin. (2005). Evaluation of Master of Education Program in Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakam University. Master of Education, Mahasarakam: Mahasarakam University, Soontonrote, Wimonrat. (2010). Innovation for Learning. The 5th Edition. Kalasin: Prasan Printing, Sri-sa-ad Boonchom et. al., (1985). Curriculum and teaching Development. Ma- hasarakam: Department of Foundation of Education, Srinakarintarawirot Mahasarakam University, Neville, Lynn Bertino. “Quality Assurance and Improvement Planning in Two Elementary School : Case Studies in Illinois School Reform,” Dissertation Abstracts International. 60(04) : 963-A ; October, 1999. Wongyai, Wichai. (1994). Curriculum Development Process and Practice Teaching. Bangkok: Suwiriyasan.

110 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

รูปแบบการบริหารความเสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียน มัธยมศึกษา A RISK ADMINISTRATION MODEL FOR FINANCE AND PROCUREMENT IN SECONDARY SCHOOLS

สมพิศ คงสิม1, วิเชียร ชิวพิมาย2, สำ�เริง บุญเรืองรัตน์3, สุภัทรา เอื้อวงศ์4 Sompit Kongsim1, Vichien Chiwapimai2, Samrerng Boonruangrutana3, Supathra Ur-wongse4 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารความเสี่ยงการ บริหารการเงินและพัสดุและพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยงการบริหารการเงินและ พัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษา วิธีการดำ�เนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) ศึกษา สภาพปัญหาการบริหารความเสี่ยง การบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยการสอบถามผู้บริหารและครูเจ้าหน้าที่การเงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษา ของ โรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2553 ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำ�นวน 60 โรงเรียน เพื่อให้เห็นความเป็นมา ของการบริหารความเสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุของโรงเรียนมัธยมศึกษาและกำ�หนด กรอบแนวคิดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการพัฒนารูปแบบสมมุติฐาน 2) จัดประชุม สัมมนาผู้เชี่ยวชาญจำ�นวน 24 ท่าน เพื่อร่วมแสดงความเห็นเกี่ยวกับปัญหาเพิ่มเติมและ ประเมินตรวจสอบความเที่ยงตรงของสมมุติฐานรูปแบบ และปรับรูปแบบการบริหารความ เสี่ยง การบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 3) นำ�รูปแบบ

1นักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 2รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 3ศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 4พลเรือตรีหญิง ดร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 1Ph.D.(Candidate) Educational Administration. Faculty of Education. Vongchavalitkul University. 2Assistant Professor, Faculty of Education. Vongchavalitkul University. 3Professor, Faculty of Education. Vongchavalitkul University. 4Rear Admiral Dr. Faculty of Education. Siam University. 111 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

การบริหารที่ได้รับการตรวจสอบยืนยันความถูกต้อง สมบูรณ์ สามารถนำ�ไปปฏิบัติได้และ มีประโยชน์จากผู้เชี่ยวชาญ ในขั้นตอนที่ 2 ทดลองปฏิบัติบริหารจริงที่โรงเรียนกันทรารมณ์ อำ�เภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นเวลา 2 เดือน และเมื่อสิ้นสุดการทดลองตามรูป แบบคณะกรรมการมีความเห็นว่ารูปแบบที่นำ�มาทดลองมีความเหมาะสมมาก ครูมีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหามากที่สุด การบริหารงานตามรูปแบบ ส่งเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานมากที่สุดและสามารถแก้ปัญหาได้มาก รูป แบบนี้มีประโยชน์ และสามารถนำ�ไปใช้ดำ�เนินการได้ 4) ปรับปรุงรูปแบบจากข้อมูลที่ได้ จากการทดลองบริหารและนำ�มาเขียนรายงาน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารความเสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุใน โรงเรียนมัธยมศึกษา มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ปฏิบัติได้และมีประโยชน์มาก ครูมีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหามากที่สุด การบริหารงานตามรูปแบบส่งเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติ งานมากที่สุดและสามารถแก้ปัญหาได้มาก ABSTRACT The purpose of this research was to study the conditions and problems of school risk administration concerning finance and procurement and to develop a risk administration model for finance and procurement in secondary schools under the Office of Basic Education Commission, Ministry of Education, in North- eastern, Thailand, during the academic year 2011. The procedure of the research was divided into four steps:1) Explored the conditions and problems of school risk administration of finance and procurement from a sample of 60 schools and defined a conceptual framework in accordance with the hypothesis model. 2) Arranged a seminar of 24 experts in order to brainstorm and share personal opinions on the problems, scrutinized a hypothetical model to verify its validity and revised the risk administration model for finance and procurement in second- ary schools to be more complete in detail. 3) Implemented the complete model which was validated by the experts from step no. 2) for its accuracy, suitability and could be put into beneficial practice in Kanthararom school, Kanthararom district, Si Sa Ket province for two months. At the end of the experiment the administrative committees concluded the model was very suitable and teachers

112 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

were very much involved in solving problems. Administration operation accord- ing to the model promoted great effectiveness in work and problem solving.The useful model could continue to proceed.4) Made the final adjustments from the trial experiment in step no.3) and wrote the research conclusions. Research results revealed that a risk administration model for finance and procurement in secondary schools was accurate, complete and could henceforth be put into useful practice allowing the teachers to be greatly involved in solving problems. Administration operation promoted work efficiency and was effective in solving the problems.

Keywords:A risk administration model, finance administration and procurement.

บทนำ� จากจำ�นวน 163 ประเทศ และ พ.ศ. 2550 อันดับ 84 จาก 179 ประเทศ (พิพัฒน์ จากการสำ�รวจขององค์กรเพื่อความ ยอดพฤติการ, 2550) ผลการจัดอันดับนี้ โปร่งใสนานาชาติ(Transparency International แสดงว่านานาชาติเห็นว่าประเทศไทยมีความ Organization)ระหว่างปี 2538 - 2550 โปร่งใสค่อนข้างน้อย พบว่าประเทศไทยถูกจัดอันดับความโปร่งใส ดังนี้ ปี พ.ศ. 2538 มีอันดับที่ 34 จาก 41 นอกจากนี้จุรี วิจิตรวาทการ (2549) ประเทศ ปี พ.ศ. 2539 อันดับ37 จาก 54 ได้เสนอข้อมูลของสถาบันเพื่อความโปร่งใส ประเทศ ปี พ.ศ. 2540 อันดับ 39 จาก 52 ในประเทศไทย (Transparency Thailand) ประเทศ ปี พ.ศ. 2541 อันดับ 61 จาก 85 ว่าในปี 2549 ประเทศไทยมีดัชนีชี้วัดภาพ ประเทศ ปี พ.ศ.2542 อันดับ 68 จาก 99 ลักษณ์คอรัปชั่นได้คะแนน 3.6 คะแนน ประเทศ ปี พ.ศ. 2543 อันดับ 60 จาก 90 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน อยู่ในลำ�ดับที่ ประเทศ ปี พ.ศ. 2544 อันดับ 61 จาก 91 63 จากจำ�นวน 163 ประเทศ และอยู่ใน ประเทศ ปี พ.ศ. 2545 อันดับ 64 จาก 102 อันดับ 9 ของประเทศในเอเชีย จากจำ�นวน ประเทศ ปี พ.ศ. 2546 อันดับ 70 จาก 21 ประเทศ ตกลงจากปี 2548 ซึ่งเคยได้ 133 ประเทศ ปี พ.ศ. 2547 อันดับ 64 คะแนน 3.8 อันดับที่ 59 จาก 159 ทั่วโลก จาก 146 ประเทศ ปี พ.ศ.2548 อันดับ 59 และปี พ.ศ. 2551 ได้คะแนน 3.5 คะแนน จาก 159 ประเทศ ปี พ.ศ.2549 อันดับ 63 อยู่ในลำ�ดับที่ 80 จากจำ�นวน 180 ประเทศ

113 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

และอยู่ในอันดับ 10 ของประเทศในเอเชีย คือการทุจริตเงินบำ�รุงการศึกษา การทุจริตการ ได้คะแนน 3.5 คะแนน จาก 21 ประเทศ จัดซื้อจัดจ้าง การทุจริตเงินประมูลก่อสร้าง ซึ่งอันดับคะแนนดีขึ้นกว่าปีพ.ศ. 2550 ได้ อาคาร การปลอมลายมือชื่อเพื่อเบิกเงิน การ คะแนน 3.3 อยู่ในอันดับที่ 84 จากจำ�นวน ปลอมสัญญาเงินกู้ การแก้ไขเอกสารการเงิน 179 ประเทศ แม้ว่าจะมีคะแนนเพิ่มขึ้นแต่ โดยพลการ การเรียกเก็บเงิน การยักยอกเงิน ถือว่ายังต่ำ�อยู่ เนื่องจากไม่ถึงครึ่งของคะแนน นอกระบบ การรายงานเท็จ การหลอกลวง เต็ม (มติชนออนไลน์, 2551) ผู้อื่นให้ได้มาซึ่งทรัพย์ การละทิ้งการปฏิบัติ จากการพิจารณาการคอรัปชั่นราย หน้าที่ราชการ กรณีชู้สาว ความผิดทางเพศ กระทรวงในระหว่างปี 2540 - 2542 พบว่า ต่อเด็ก การดื่มสุรามาปฏิบัติหน้าที่ราชการ ข้าราชการกระทรวงศึกษาธิการ มีการทุจริต และการประพฤติชั่ว คอรัปชั่นสูงอยู่ในระดับต้นๆ ของข้าราชการ รัตนะ บัวสนธ์ (2545) ได้ศึกษากรณี ไทย(สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการ ที่ครูถูกกล่าวหาว่าทุจริตคอรัปชั่นในวงการ พลเรือน, 2544) ซึ่งสอดคล้องกับคณะ ศึกษาไทยในเขตภาคเหนือตอนล่างได้แก่ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (1) การจัดซื้อจัดจ้าง(2) โครงการอาหาร และประพฤติมิชอบในวงราชการ(2537-2542) เสริม (นม) สำ�หรับนักเรียน (3) โครงการ ได้กล่าวถึงข่าวและภาพสะท้อนเกี่ยวกับการ อาหารกลางวันนักเรียน (4) การนำ�สิ่งของ โกง การทุจริต การประพฤติมิชอบในวง และพาหนะของทางราชการไปใช้ส่วนตัว (5) ราชการ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ถูกร้อง การใช้เวลา ราชการไปปฏิบัติงานส่วนตัว เรียนเป็นจำ�นวนมาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และ(6) การเอื้อประโยชน์หรือหาประโยชน์ การทุจริตและประพฤติมิชอบได้ จากการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ลุกลามเข้าไปในสถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบ กุลเกลี้ยง (2549) ทำ�การ ของรัฐ ดังที่ กรใจเลิศ ป่าไม้ (2546) รายงาน วิจัยพบว่าพฤติกรรมการคอรัปชั่นในสถาน ว่าในระหว่างปี พ.ศ.2523 ถึงปี พ.ศ. 2546 ศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ การทำ�หรือใช้เอกสาร มีข้าราชการครูถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัย ปลอม การใช้เวลาราชการไปหาประโยชน์แก่ และถูกลงโทษทางวินัย 1,920 คนโดยแยก ตนเอง การออกคำ�สั่งสถานศึกษาที่ขัดต่อ เป็นข้าราชการครูจำ�นวน 1,255 คน เป็นผู้ ระเบียบกฎหมาย การปฏิบัติหรือละเว้นการ บริหาร 665 คน ระดับโทษที่ได้รับถูกลงโทษ ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริต การ วินัยร้ายแรงจำ�นวน 450 คน ถูกลงโทษวินัย ละทิ้งหรือการทอดทิ้งหน้าที่ การพิจารณา ไม่ร้ายแรงจำ�นวน1,039 คน ไม่มีโทษทาง ความดีความชอบขัดต่อหลักเกณฑ์วิธีการที่ วินัย 431 คน มีลักษณะของการกระทำ�ผิด กำ�หนด การล่วงละเมิดสิทธิเด็ก การประพฤติ

114 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

มิชอบในการคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการ การเรียนโดยไม่เป็นธรรมแก่นักเรียน และ การประพฤติมิชอบในการคัดนักเรียนเข้า การเอื้อประโยชน์จากการปฏิบัติหน้าที่โดย เรียน การเรียก การรับหรือยอมจะรับเงิน มิชอบ และ4) ด้านการบริหารงบประมาณ หรือทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยมิชอบ ได้แก่ การเรียกหรือยอมรับเงินหรือทรัพย์สิน การเบียดบัง ยักยอก หรือนำ�ทรัพย์สินของ หรือประโยชน์อื่นโดยมิชอบ การเบียดบัง ทางราชการไปใช้ส่วนตัวโดยทุจริต การเบิก หรือการยักยอก หรือนำ�ทรัพย์สินของทาง จ่ายเงินงบประมาณไม่โปร่งใส การเบิกจ่าย ราชการไปใช้ส่วนตัวโดยทุจริต การนำ�สิ่งของ เงินนอกงบประมาณไม่โปร่งใส การดำ�เนิน และพาหนะของทางราชการไปใช้ส่วนตัว การจัดซื้อจัดจ้างไม่โปร่งใส การใช้ข้อสอบ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณไม่โปร่งใส การ เอื้อเฉพาะผู้ที่ตนหรือคณะสอนพิเศษ การ ทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างโครงการอาหารเสริม เสนอผลงานทางวิชาการเป็นเท็จ และการ (นม) สำ�หรับนักเรียน โครงการอาหารกลาง ตัดสินผลการเรียนโดยไม่เป็นธรรมแก่นักเรียน วันนักเรียน จากการศึกษาผลงานวิจัยดังที่กล่าว ปัญหาการปฏิบัติงานการเงินในสถาน มาจะเห็นลักษณะของการทุจริตคอรัปชั่นและ ศึกษาเป็นที่ทราบแล้วว่าปัญหาด้านการเงิน การประพฤติมิชอบในวงราชการตามกรอบ เป็นปัญหาที่พบได้บ่อย การปฏิบัติงานการเงิน ภารกิจของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดังนี้ ของโรงเรียนนั้นจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย 1) ด้านบริหารทั่วไป ได้แก่ การทำ�หรือการ ระเบียบ ข้อบังคับและมติคณะรัฐมนตรี ปรากฏ ใช้เอกสารปลอม การใช้เวลาราชการไปหาผล ว่ามีหลายเรื่องที่โรงเรียนปฏิบัติผิดพลาดโดย ประโยชน์แก่ตนเอง การใช้เวลาราชการไป ไม่เข้าใจหรือรู้แต่ไม่ปฏิบัติจึงเป็นปัญหาเกิด ปฏิบัติงานส่วนตัว การออกคำ�สั่งสถานศึกษา ขึ้น มีการทักท้วงจากสำ�นักงานการตรวจเงิน ที่ขัดต่อระเบียบกฎหมาย การปฏิบัติหรือ แผ่นดิน กระทรวงการคลัง และแม้แต่หน่วย ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ หรือทุจริต งานที่อยู่ระดับเหนือโรงเรียนที่ไปตรวจแล้ว การละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ การประพฤติมิ พบปัญหาอยู่เป็นประจำ� ไม่ว่าจะเป็นการ ชอบในการคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียน 2) ด้าน เบิกเงิน การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บ บุคลากรได้แก่ การพิจารณาความดี ความ รักษาเงิน การนำ�ส่งเงิน การตรวจสอบและ ชอบขัดต่อหลักเกณฑ์วิธีการที่กำ�หนด การ การรายงาน (กฤษณพงศ์ สายวรณ์, 2548) ประพฤติมิชอบในการคัดเลือกบุคคลเข้ารับ สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ราชการ ความผิดกรณีชู้สาว ความผิดทาง (2539) ได้รายงานผลการปฏิบัติราชการ เพศต่อเด็ก 3) ด้านบริหารวิชาการ ได้แก่ ปีงบประมาณ 2539 ผลการตรวจสอบทั่วไป การใช้ข้อสอบเอื้อผู้เรียนพิเศษ การเสนอ ด้านการเงิน พบข้อบกพร่อง ที่สำ�คัญ ได้แก่ ผลงานทางวิชาการที่เป็นเท็จ การตัดสินผล

115 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

เงินขาดบัญชี ไม่มีหลักฐานทางการเงิน เบิก กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 ทำ�ให้เกิด เงินเกินสิทธิประเภทเงินสวัสดิการ ค่าใช้จ่าย อำ�นาจภายในตนเองเพิ่มขึ้น เช่น มาตรา 39 ในการเดินทาง และค่าตอบแทน จัดทำ�บัญชี (3) กำ�หนดให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้แทน ไม่เรียบร้อย ไม่ครบถ้วนตามระเบียบ ลูกหนี้ ของสถานศึกษา หรือส่วนราชการในกิจการ เงินยืมค้างชำ�ระนาน ยืมเงินมากเกินความ ทั่วไปรวมทั้งการจัดทำ�นิติกรรมสัญญาใน จำ�เป็น หลักฐานการจ่ายไม่เรียบร้อย การ ราชการสถานศึกษาหรือส่วนราชการได้รับ บริหารและควบคุมพัสดุไม่รัดกุม ผู้ตรวจสอบ มาและมอบอำ�นาจให้ ทั้งนี้ได้มีการกระจา ภายในปฏิบัติงานหน้าที่ไม่ครบถ้วน ไม่มีการ ยอำ�นาจทั้งด้านการบริหารทั่วไป การบริหาร แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจการรับเงินจ่ายเงินที่ บุคคล การบริหารวิชาการ และการบริหาร บันทึกไว้ในบัญชีกับหลักฐานตามที่กำ�หนด งบประมาณ แก่สถานศึกษาซึ่งอาจมีความ ไว้ตามระเบียบ มอบหมายให้เจ้าหน้าที่คน สัมพันธ์ในเชิงบวกต่อการทุจริตคอรัปชั่น เดียวกันทำ�หน้าที่รับจ่ายเงินและบันทึกบัญชี ซึ่งถือเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำ�คัญที่จะนำ�ไปสู่ กรใจเลิศ ป่าไม้ (2548) ได้รายงานว่า ความล้มเหลวของคุณภาพการศึกษา ความ มีข้าราชการครูทำ�ผิดวินัยในปีงบประมาณ2548 ด้อยประสิทธิภาพในการจัดการ และนำ�ไป (1 ตุลาคม 2547 ถึง 30 กันยายน 2548) สู่ความเสื่อมโทรมของสังคมการศึกษาใน กรณีทุจริต ด้านการเงิน พัสดุ จำ�นวน 122 ระยะยาว ดังนั้นสถานศึกษาควรมีระบบ เรื่อง แม้แต่ในมหาวิทยาลัยประสาทสืบค้า หรือกระบวนการในการบริหารจัดการเพื่อ (2552) กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมักถูกฟ้อง ป้องกันมิให้การทุจริตคอรัปชั่นเกิดขึ้นได้ ในเรื่องเกี่ยวกับเงินรายได้และงบประมาณ จึงควรที่จะต้องคิดถึงการบริหารความเสี่ยง ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา อธิการบดีถูก จากปัญหาการทุจริต คอรัปชั่น การ ถอดถอน สภามหาวิทยาลัยถูกฟ้อง ประพฤติมิชอบ และการปฏิบัติที่ผิดพลาด การทุจริตคอรัปชั่นและประพฤติมิ ด้านงานการเงินในโรงเรียน ถือเป็นภัย ชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานการเงินและพัสดุ คุกคามอย่างร้ายแรงที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน ของโรงเรียนที่กล่าวมานั้นพบว่าส่วนใหญ่ ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งอาจ เป็นข้อมูลในขณะที่สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีผลต่อการปฏิบัติงานด้านการสอนของครู นั้นยังปฏิบัติงานภายใต้การรับมอบอำ�นาจ ทำ�ให้คุณภาพการศึกษาลดลง ปัญหาด้าน จากกรมเจ้าสังกัดอยู่ซึ่งกรอบการใช้อำ�นาจ การเงินจึงเป็นประเด็นความเสี่ยงที่สำ�คัญ และดุลยพินิจต่างๆ ยังมีข้อจำ�กัด แต่ขณะนี้ ของสถานศึกษา โรงเรียนเป็นนิติบุคคลทั้งหมด ตามมาตรา 35 การวิจัยและพัฒนา “รูปแบบการ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ บริหารความเสี่ยงในการบริหารงานการเงิน

116 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

และพัสดุของโรงเรียน” จึงมีความสำ�คัญต่อ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องนำ�ไปพัฒนา การบริหาร การบริหารและการจัดการในโรงเรียน และเมื่อ ความเสี่ยงในโรงเรียนมัธยมศึกษา ดำ�เนินการเสร็จสิ้นแล้วก็จะได้มีระบบ วิธีการ 2. เป็นประโยชน์ในการที่จะพัฒนา กระบวนการป้องกันหรือการลดความเสี่ยง ระบบการบริหารการเงินและพัสดุให้โปร่งใส ในการบริหารงานการเงินและพัสดุโรงเรียน ได้มาตรฐานตามแนวนโยบายแห่งรัฐเพื่อให้ มัธยมศึกษา ให้ถูกต้องตามเจตนารมณ์ของ เกิดความชอบธรรมแก่นักเรียน กฎหมาย และนโยบายแห่งรัฐ สามารถสร้าง สังคมการศึกษาให้มีคุณภาพ เป็นสังคมที่มี ขอบเขตของการวิจัย ดุลยภาพ สมานฉันท์ มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความพอเพียง กำ�หนดขอบเขตของการวิจัยมุ่งไป ที่การพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยง คำ�ถามการวิจัย การบริหารการเงินและพัสดุของโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ 1. สภาพปัญหาการบริหารความ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียน มัธยมศึกษาครอบคลุมอะไรบ้าง วิธีการวิจัย 2. รูปแบบการบริหารความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหาการ การบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียน บริหารความเสี่ยงการบรหิารการเงินและพัสดุ มัธยมศึกษามีองค์ประกอบและขั้นตอน ในโรงเรียน มัธยมศึกษา โดยการสอบถามผู้ ดำ�เนินการอย่างไร บริหารและครู เจ้าหน้าที่การเงินและพสั ดุใน โรงเรียนมัธยมศึกษา ของโรงเรียนสังกัดสํา วัตถุประสงค์ของการวิจัย นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและพัฒนา ปีการศึกษา 2553 ในภาคตะวันออกเฉยีง รูปแบบการบริหารความเสี่ยงการบริหารการ เหนือที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจานวนํ 60 โรงเรียน เงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษา เกี่ยวกับ 1) สภาพปญหาการบริหารความ เสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียน ความสำ�คัญของการวิจัย 2) ระดับความรุนแรงและโอกาสในการเกิด ความเสี่ยง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ 1. ได้รูปแบบการบริหารความเสี่ยง ทดลองรูปแบบในโรงเรียนกันทรารมณ์ อำ�เภอ การบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียน กันทรารมย์ จังหวัด ศรีสะเกษ เป็นสำ�คัญ มัธยมศึกษาเพื่อใช้เป็นแนวทางให้หน่วยงาน

117 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

กรอบแนวคิดในการวิจัย 24 ท่านมาทำ�การสนทนากลุ่ม ในวันที่ 26 เดือนมีนาคม พ.ศ.2554 ณ ห้องโสตทัศนศึกษา ได้ศึกษา สังเคราะห์ หลักการ โรงเรียนกันทรารมณ์ โดยผู้วิจัยเสนอผลการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง วิจัยในขั้นตอนที่ 1 ให้ผู้เชี่ยวชาญได้รับทราบ โครงสร้างการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และขอความคิดเห็นหรือข้อมูลบ่งชี้ระดับ ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความ ปัญหาการบริหารความเสี่ยงการบริหารการ เสี่ยงด้านการเงินและพัสดุ แนวคิดเกี่ยวกับ เงินและพัสดุเพิ่มเติมแล้วนำ�เสนอสมมุติฐาน รูปแบบ และงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนารูป รูปแบบการบริหาร ให้ผู้เชี่ยวชาญทราบเพื่อขอ แบบ นำ�มาเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย ความเห็นและประเมินตรวจสอบความเที่ยง ตรงด้วยการตอบแบบสอบถามว่าถูกต้อง สมมุติฐานของการวิจัย สมบูรณ์ ปฏิบัติได้ และมีประโยชน์หรือไม่ สมมุติฐานรูปแบบการบริหารความ จากนั้นร่วมกันระดมแสดงความ เสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียน คิดเห็นปรับปรุงรูปแบบการบริหารความ มัธยมศึกษา เสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียน ในการบริหารความเสี่ยงการบริหารการ มัธยมศึกษา แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินตรวจ เงินและพัสดุในโรงเรียน ครอบคลุมขอบข่ายภาระ สอบความถูกต้อง สมบูรณ์ ปฏิบัติได้และ กิจการบริหารงานการเงินและพัสดุในโรงเรียน มีประโยชน์ของรูปแบบการบริหารอีกครั้ง มัธยมศึกษา 4 ด้านได้แก่ (1) การบริหารการ ขั้นตอนที่ 3 ทดลองบริหารรูปแบบ เงินตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง(2) การบริหารความเสี่ยงการบริหารการเงิน การบริหารการเงินและบัญชี(3)การบริหารงาน และพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่โรงเรียน พัสดุและสินทรัพย์ และ (4)การประเมินผลการ กันทรารมณ์ อำ�เภอกันทรารมย์ จังหวัด ดำ�เนินงานการเงินและพัสดุ และสอบถามเกี่ยว ศรีสะเกษ โดยการ กับแนวทางหรือวิธีการที่โรงเรียนได้เคยใช้แก้ไข 1. เลือกกรรมการบริหารฝ่ายต่างๆ ปัญหาการบริหารความเสี่ยงการบริหารการเงิน เพื่อให้กรรมการกำ�หนด ปรัชญา วิสัยทัศน์ และพัสดุในโรงเรียน เพื่อให้เห็นความเป็นมา พันธกิจ และเป้าหมาย และบทบาทหน้าที่ ของการบริหารความเสี่ยงการบริหารการเงิน ของกรรมการฝ่ายต่างๆ และพัสดุของโรงเรียนมัธยมศึกษา และกำ�หนด 2. ให้กรรมการทดลองแก้ปัญหา1- กรอบแนวคิดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ 2 ปัญหาในระยะเวลาประมาณ 1-2 เดือน การพัฒนารูปแบบสมมุติฐาน 3. ประเมินผลรูปแบบการบริหาร ขั้นตอนที่ 2 เชิญผู้เชี่ยวชาญจำ�นวน ความเสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุใน

118 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

โรงเรียนมัธยมศึกษา ด้วยการสอบถามความ ปฏิบัติงานความเสี่ยงทางการเงินและพัสดุ คิดเห็นของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 2.ได้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการ การบริหารการเงินและพัสดุโรงเรียนกันทรา บริหารความเสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุ รมณ์ ที่มีต่อรูปแบบบริหารหลังจากทดลอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษาของผู้บริหารและครู บริหารเกี่ยวกับความเหมาะสม การมีส่วน เจ้าหน้าที่การเงินอภิปรายผล ร่วมของครู ประสิทธิภาพของการปฏิบัติ รูปแบบการบริหารความเสี่ยงการ งานการเงินและพัสดุ ความสามารถในการ บริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษา แก้ปัญหา และประโยชน์ของรูปแบบการ ที่วิจัยได้ พบว่า มีความถูกต้อง เหมาะสม ครู บริหารแล้วปรับปรุงรูปแบบเป็นครั้งสุดท้าย มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาการบริหารงานตาม ขั้นตอนที่ 4 สรุปและนำ�เสนอรูป รูปแบบส่งเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติ แบบการบริหารความเสี่ยงการบริหารการ งานมากที่สุด การบริหารตามรูปแบบการ เงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษา บริหารสามารถแก้ปัญหาได้มาก มีประโยชน์ สามารถนำ�ไปใช้ดำ�เนินการได้ ทั้งนี้เนื่องจาก ผลการวิจัย ในการพัฒนารูปแบบครั้งนี้ได้พัฒนาขึ้นจาก 1. ได้รูปแบบการบริหารความเสี่ยง การศึกษา เอกสารวิชาการและทฤษฎีเกี่ยว การบริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียน กับการบริหารความเสี่ยงของสถาบันการ มัธยมศึกษา ที่มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ศึกษาจริยธรรมความมั่นคงในการทำ�งาน สามารถนำ�ไปปฏิบัติได้และมีประโยชน์มาก ของอังกฤษ (Higher Education Institution (ดังภาพประกอบในบทคัดย่อ) Ethics Integrity At Work, 2004) ส่วนงาน สาธารณะ รัฐบาลสก๊อตแลนด์ (The Scot- รูปแบบการบริหารความเสี่ยงการ tish Government Public Sector, 2007) บริหารการเงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษา สำ�นักตรวจสอบภายในองค์กร(Committee มีองค์ประกอบคือ คณะกรรมการที่ปรึกษา of Sponsoring Organizations of the คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงการบริหาร Treadway Commission (COSO, 2008)) การเงินและพัสดุ คณะอนุกรรมการการ ธารสุดา อมรเพชรกุล(2546) เกษม ภู่เจริญ บริหารความเสี่ยงการบริหารการเงินและ ธรรม (2549) ประกอบ กุลเกลี้ยง (2549) พัสดุ 3 ฝ่ายได้แก่ (1) คณะอนุกรรมการ ประเสริฐ อัครประถมพงศ์ (2550) เฟื่อง วิเคราะห์ความเสี่ยงทางการเงินและพัสดุ ฟ้า เทียนประภาสิทธิ์ (2550) อรัญ โสตถิ (2)คณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ปัญหา พันธ์ (2550) จนนำ�มาสู่การตั้งสมมุติฐาน ความเสี่ยงทางการเงินและพัสดุและ(3) รูปแบบบริหาร เพื่อแก้ปัญหาการบริหาร คณะอนุกรรมการติดตาม/ประเมินผลการ

119 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ความเสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุของ ย่างดีมาก จึงเป็นเหตุที่ทำ�ให้มั่นใจได้ว่ารูป โรงเรียน จากนั้นก็ได้ศึกษาปัญหาการบริหาร แบบการบริหารความเสี่ยงการบริหารการ ความเสี่ยงการบริหารการเงินและพัสดุใน เงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มี โรงเรียน และมีการประชุมสัมมนาผู้เชี่ยวชาญ ความถูกต้อง สมบูรณ์ สามารถนำ�ไปปฏิบัติ และการเสนอปัญหาจากประสบการณ์ใน ได้และมีประโยชน์ การทำ�งานของแต่ละท่านเพิ่มเติมจากการ ศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียน จาก ข้อเสนอแนะ นั้นได้มีการตรวจสอบความเที่ยงตรงของรูป ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย แบบจากความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และ มีการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับสภาพ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ปัญหาที่แท้จริงและที่สำ�คัญยิ่งคือได้นำ�รูป ขั้นพื้นฐาน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา แบบบริหารไปทดลองปฏิบัติบริหารจริงที่ ควรกำ�หนดนโยบายให้แต่ละสถานศึกษามี โรงเรียนกันทรารมณ์ ซึ่งเป็นโรงเรียนในฝัน การบริหารตามรูปแบบนี้ อันดับ1 ของประเทศ เป็นโรงเรียนยอดนิยม ข้อเสนอแนะในการนำ�ไปใช้ โดยการเสนอของบริษัทที่ทำ�การประเมิน ได้มี 1. ควรนำ�รูปแบบจากงานวิจัยนี้ การตรวจสอบความเที่ยงตรงของรูปแบบจาก ไปใช้ในการบริหารความเสี่ยงการบริหาร ความคิดเห็นของคณะกรรมการบริหารอีก การเงินและพัสดุในโรงเรียนมัธยมศึกษาอื่น ครั้งผลปรากฏว่ารูปแบบการบริหารใช้ได้ผล เพื่อการบริหารจัดการการเงินและพัสดุอย่าง ดี สอดคล้องกับแนวคิดของ วิลเลอร์ (Willer, มีประสิทธิภาพ 1986) คีพ (Keeves, 1988) ถวัลย์รัฐ วร 2. การนำ�รูปแบบไปใช้ในโรงเรียน เทพพุฒพงษ์ (2540) และได้รับการรับรอง ต้องปรับให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน มาตรฐานการประกันคุณภาพภายนอกใน รอบที่ 3 จากสำ�นักงานรับรองมาตรฐาน ข้อเสนอแนะในการทำ�วิจัย และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ 1. ควรวิจัยติดตามผลการใช้รูป มหาชน) (สมศ.) และอุทุมพร จามรมาร แบบในสถานศึกษาต่างๆ ที่นำ�รูปแบบการ (2541) ที่กล่าวว่า การพัฒนารูปแบบที่ดี บริหารไปใช้ มีส่วนสำ�คัญ 2 ส่วน คือ การสร้างรูปแบบ 2. ควรวิจัยพัฒนารูปแบบการ และการตรวจสอบความความเที่ยงตรงของ บริหารความเสี่ยงในโรงเรียนมัธยมศึกษา รูปแบบ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนารูปแบ ในด้านวิชาการ ด้านหลักสูตรและการสอน บนั้นๆ สำ�หรับการวิจัยนี้ยังได้มีการทดลอง และด้านการบริหารทั่วไป บริหารตามรูปแบบที่ปรับปรุงมาแล้วได้ผลอ

120 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

References Aran Sotethipan. (2007). Integration of Knowledge on Modern Public Administration. Retrieved November 22, 2007, from “http://www.netcomuk.co.uk” netcomuk. co.uk. 13. Committee of Sponsoring Organizations of the Tread Way Commission (COSO). (2008). Enterprise Risk - Management - Integrated Framework. [Online]. Retrieved January 10, 2008, from http://www.COSO/org/publictions.htm. Fuengfah Tienprapasit. (2007). Risk Management Office of the Auditor General of Thailand . Retrieved November 22, 2007. from http://phdb.moph. go.th/newsdoc/ files/9/39107477.ppt. Higher Education Institutions Ethics Integrity at Work. (2004). Higher Education Risk Factors and Definition. [Online]. Retrieved December 22, 2007, from http://hccs.edu./hcc/system%20Home/Departments/Internal_Audit/ Risk/%20Assessment%20P2- Ethicspoint.pdf.3-8. Juree Vijit -Vadakan. (2006). “ The Image of Corruption Index Annual Year B.E. 2549.” Teacher Civil Service Journal. 51(5). 52 – 53. Kasem Phucharoentam (2006). Risk Management System Development For Finance and Procurement Office of the President Nakhon Sawan Rajabhat University. Nakhon Sawan. Keeves, J.P. (1988). Educational Research, Methodology and Measurement: An International Handbook. Oxford: Pergamon Press. Kornchailert Pamai. (2003). Regulation of OCSC within reporting of disciplinary action and retirement of teacher civil service and education personnel. Retrieved February 19, 2009, from http://203.146.15.33/webtcs/ modules.php?. Kornchailert Pamai. (2005). Regulation of OCSC within reporting of disciplinary action and retirement of teacher civil service and education personnel B.E.2548. Retrieved February 19, 2009, from

121 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Kritsanapong Saivorn. (2005). Financial Management in Basic Education Schools Amnatcharoen Educational Service Area Office. Thesis, Master Degree in Education. Ubonratchathani: Ubon Ratchathani Rajabhat University. Matichon Online. (2008). “National Ranking Corruption.” Retrieved July 15, 2008, from http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1222173825. Office of the Auditor General of Thailand. (1996). Annual Fiscal Year Performance Report. Bangkok: Office of the Auditor General of Thailand Office of the Civil Service Commission. (2001). Thailand Corruption Report. Bangkok: Office of the Civil Service Commission. Pipat Yodprudtikan. (2007). New Government with corruption and transparency. Bangkokbiznews online. Retrieved July 15, 2009, from http://www. nidambe11.net/ekonomiz/2007q4/2007december25p3.htm. Prakob Kulkliang. (2006). A Risk Management Model for Preventing Corruption in Basic Education. Thesis, Doctor of Philosophy in Education. Phitsanulok:Faculty of Eduacation, Naresuan University. Prasart Suebka. (2009). “Modern Thai University Must Manage Risk-Crisis.” Daily Matichon. July 21, 2009: page 23. Prasert Akkharaprathompong. (2007). Documentation for discussion of risk management Chulalongkorn University. May 3, 2007: 2 Rattana Buosonte. (2002). Corruption in Educational Management of Thailand: A Case Study in Lower Northern Legion. Department of Academic Phitsanulok: Faculty of Education Naresuan University. Thanchuda Amornpetchkul. (2003). Risk Management System Development In Supplies Division, Office of Planning and Finance, Chulalongkorn University. Thesis, Master of Engineering (Industrial Engineering). Faculty of Engineering. Bangkok: Chulalongkorn University. Thawhanrat Worathepputthipong. (1997). Public Policy Formulation and Analysis :Theory and Application. Bangkok: Sematham. The National Anti-Corruption

122 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Commission. (1999). Annual Year Performance Report 1994-1999. Bangkok: The Amarin Printing and Publishing Public Company Limited. The Scottist Government Public Sector. (2007). Risk Management: Annex3. Re- trieved November 22, 2007, from. http://www.scotland.gov.uk/ topics/ Government/Finance/spfm/riskannex3. Utumporn Jamornmarnn. (1998). “Model.” Academic Journal. 1(2):22-26. Willer, D. (1986). Scientific Sociology :Theory and Method. New Jersy: Prentice-Hall.

123 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

การพัฒนารูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณี ศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) THE DEVELOPMENT OF DIFFUSION FOR ADOPTION MODEL ON EDUCATIONAL INNOVATION: CASE STUDY OF TEACHER’S TV PROGRAM (TTV)

ฐิติชัย รักบำ�รุง1, พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ2, ทิพย์เกสร บุญอำ�ไพ3 Thitichai luckbumrung1, Pongpasert hoksuwan2, Tipkeysorn Boonumpai3 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรม การศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) 2) ประเมินรับรองรูปแบบการแพร่เพื่อ การยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ วิธีดำ�เนินการวิจัยประกอบด้วย 1) การศึกษาเอกสาร หลักการทฤษฎี และงาน วิจัยที่เกี่ยวข้องโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิเคราะห์ระบบการแพร่ รายการโทรทัศน์ ครู (TTV) ปัจจุบัน 3) การวิเคราะห์การแพร่รายการโทรทัศน์ครูโดยใช้การเก็บข้อมูลด้าน ปริมาณจากแบบสอบถาม การเก็บข้อมูลด้านคุณภาพจากการสัมภาษณ์เจาะลึก และการ สนทนากลุ่ม 4) การพัฒนาร่างรูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณี ศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) 5) การตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพของรูปแบบการแพร่ เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) โดยการสนทนา กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 6) การนำ�รูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) ที่พัฒนาขึ้นไปยืนยันและแสดงความคิดเห็นโดยประธานกรรมการ ฝ่ายต่างๆ ของโครงการโทรทัศน์ครู (TTV) เพื่อมาปรับปรุง 7) การประเมินเพื่อรับรองรูป แบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษารายการโทรทัศน์ครู (TTV) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ

1นิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา 2, 3รองศาสตราจารย์ ดร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 1Ph.d. Candidate in Innovation and Educational Technology, Faculty of Education, Burapha University 2, 3Associate Professor Dr., Faculty of Education, Burapha University 124 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลด้าน ปริมาณ จำ�นวน 2,368 คน และด้านคุณภาพ จำ�นวน 303 คน จากกลุ่มครู ผู้บริหาร นิสิต/ นักศึกษาครู และผู้ปกครองทั่วประเทศ 2) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้สนทนากลุ่ม (Focus Group) คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านนวัตกรรมและ เทคโนโลยีการศึกษา หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง เป็นผู้มีความ รู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการแพร่ และการยอมรับนวัตกรรม จำ�นวน 10 ท่าน 3) กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการยืนยันและแสดงความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบคือประธานกรรมการฝ่ายต่างๆ ในโครงการโทรทัศน์ครู จำ�นวน 6 ท่าน และ 4) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินรับรองรูป แบบ คือผู้ทรงคุณวุฒิด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง จำ�นวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ 1) แบบสอบถาม ระดับการยอมรับรายการ การ รับชม ความต้องการที่มีต่อรายการโทรทัศน์ครู และความคิดเห็นที่มีต่อรายการโทรทัศน์ ครู 2) โครงสร้างคำ�ถามเพื่อการสัมภาษณ์เจาะลึกสำ�หรับกลุ่มผู้บริหาร และแนวทางการ สนทนากลุ่มสำ�หรับ ครู นิสิต/นักศึกษาครูและผู้ปกครอง 3) แบบสอบถามปลายเปิดสำ�หรับ ผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบร่างรูปแบบ 4) รูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการ ศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) 5) แบบสอบถามเพื่อยืนยันความเหมาะสม ของรูปแบบ 6) แบบประเมินรับรองรูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณี ศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) มีองค์ประกอบหลักในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ (1) ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ (2) กระบวนการขั้นสื่อสารให้รู้ว่ามีรายการ โทรทัศน์ครู (3) กระบวนการขั้นสื่อสารให้รู้ว่ารายการโทรทัศน์ครูดี (4) กระบวนการขั้น สื่อสารให้เกิดการตัดสินใจยอมรับรายการ (5) กระบวนการขั้นสื่อสารให้เกิดการนำ�รายการ ไปใช้ (6) กระบวนการขั้นสื่อสารให้เกิดการยืนยันการใช้รายการ 2) ผลการยืนยันรูปแบบ การแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) จาก ประธานกรรมการฝ่ายต่างๆ ของโครงการโทรทัศน์ครู พบว่ารูปแบบการแพร่สำ�หรับผู้บริหาร และครู มีความ“เหมาะสมมาก” ( = 4.39) รูปแบบการแพร่สำ�หรับนิสิต/นักศึกษาครู มี ความ“เหมาะสมมาก” ( = 4.43) และรูปแบบการแพร่สำ�หรับผู้ปกครอง มีความ“เหมาะ สมมาก” ( = 4.20) และในภาพรวมรูปแบบการแพร่มีความ“เหมาะสมมาก” ( = 4.34) 3) ผลการประเมินรับรองรูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) จากผู้ทรงคุณวุฒิ อยู่ในเกณฑ์ “เหมาะสมมาก” ( = 4.32)

คำ�สำ�คัญ:รูปแบบการแพร่, การยอมรับ, นวัตกรรมทางการศึกษา, โทรทัศน์ครู 125 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Abstract The purposes of this research were: 1) To develop the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV), 2) To evaluate and certify the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV) by the specialists. The methods of this research were: 1) Review of literatures and researches by the content analysis method, 2) Analysis the diffusion system of Teacher’s TV Program (TTV) in the present, 3) Analysis the diffusion of Teacher’s TV Program (TTV) by using the questionnaire for quantitative data, using in-depth interview and focus group for the qualitative data, 4) Develop draft of the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV), 5) Criticisms and debate the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV) by the experts, 6) Each chairmen in the board of Teacher’s TV Program (TTV) confirm and comment on the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV) and improved model from the result, 7) Evaluate and certify the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV) by the specialists. The samples were: 1) An amount of 2,368 for the quantitative data and an amount of 303 for qualitative data from the executives, teachers, students and parent, around Thailand, 2) The sample 10 experts in innovation and educational technology or the involved fields for focus group, 3) The sample 6 chairmen in the board of Teacher’s TV Program (TTV) for confirm and comment on the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV) and 4) The sample 5 specialists in innovation and educa- tional technology or the involved fields for Evaluate and certify the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV).The instruments used in this research were: 1) The questionnaires about the adopter categories, behavior to watch, comment and needs of Teacher’s TV Program (TTV), 2) The structure of In-depth interview for executives and the

126 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

questions of focus group for teachers, students and parent 3) The open-ended questionnaire for the expert, 4) the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV), 5) The questionnaires about confirmation the model, and 6) The evaluate and certify forms. The research results reveal that: 1) The diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV) are composed by (1) Philosophy, vision, mission and the objectives, (2) The process of com- municate to knowledge about Teacher’s TV Program, (3) The process of com- municate to advantage Teacher’s TV Program, (4) The process of communicate to except decision Teacher’s TV Program, (5) The process of communicate to implementation Teacher’s TV Program, (3) The process of communicate to con- firmation Teacher’s TV Program 2) The chairmen confirm diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV) at “much appropriate”. 3) The specialists certify the diffusion for adoption model on educational innovation: case study of Teacher’s TV Program (TTV) at “much appropriate”.

Keyword:Diffusion Model, Adoption, Innovation in Education, Teacher’s TV Program บทนำ� ผลการวิจัยเรื่องการวิเคราะห์ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง จากผลดังกล่าว กระบวนการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน สะท้อนถึงคุณภาพการศึกษาว่ายังไม่เป็นที่ ภายหลังการประเมินภายนอกรอบแรก น่าพอใจ การยกคุณภาพ การศึกษาจึงต้อง (สุวิมล ว่องวาณิช และคณะ, 2553) พบ พัฒนาทั้งระบบ สอดคล้องกับการปฏิรูปการ ว่า มาตรฐานด้านครู โรงเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ ศึกษาในทศวรรษที่สองปี 2552 - 2561 เน้น มาตรฐานในมาตรฐานที่ 8 คือ ตัวบ่งชี้ด้าน ให้คนไทยเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ จำ�นวนครูตามเกณฑ์ และ ครูมีการจัดการ เพิ่มโอกาสทางการศึกษานำ�ไปสู่การพัฒนา เรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพเน้นผู้เรียน คุณภาพคนไทยยุคใหม่ ส่งเสริมคุณภาพ เป็นสำ�คัญ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะใน ครูยุคใหม่ให้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ ก้าวทันกับสภาวะทางสังคมที่เปลี่ยนแปลง

127 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ไป (สำ�นักงานเลขาธิการ สภา-การศึกษา ด้วย ด้านการควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบ กระทรวงศึกษาธิการ, 2552) คุณภาพ และด้านการประเมินคุณภาพ และ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ปี จากผลการประเมินดังกล่าวได้มีข้อเสนอแนะ 2553 - 2555 สำ�นักงานคณะกรรมการการ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการดำ�เนินโครงการ อุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดำ�เนิน คือควรพัฒนาการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายให้ การโครงการ Teacher’s TV มีจุดมุ่งหมาย มากขึ้น ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนารูป เพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพครูกระตุ้นให้ครู และ แบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการ ผู้บริหารสถานศึกษา เกิดการพัฒนาตนเอง ศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) แนวคิดของรายการมีจุดเริ่มต้นจากความสำ�เร็จ ให้เป็นไปตามหลักวิชาการ และสอดคล้อง การดำ�เนินรายการโทรทัศน์ครูประเทศอังกฤษ กับแผนยุทธศาสตร์หลักโครงการรายการ เป็นการคัดการสอนหรือการปฏิบัติที่ดีที่สุด โทรทัศน์ครู ยุทธศาสตร์หลักที่ 4 ผลักดัน (Best Practices) นำ�เอาสถานการณ์ที่มีอยู่ การแพร่รายการโทรทัศน์ครูให้เข้าถึงกลุ่ม จริงมาให้ได้รับชมโดยใช้เทคโนโลยีโทรทัศน์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์หลักที่ 1 ผลักดัน ก่อให้เกิดการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพ (คณะ และส่งเสริมให้ครูพัฒนาคุณภาพการเรียนการ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553) สอน การบริหารและการนิเทศ (คณะศึกษา ดังนั้นลักษณะของรายการ ถือเป็นนวัตกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา,2553) อันจะ การศึกษาที่ถูกใช้ในประเทศอังกฤษ และนำ� นำ�ไปสู่กระบวนการแพร่นวัตกรรมการศึกษา เข้ามาใช้กับประเทศไทยโดยมีกลุ่มเป้าหมาย ที่ยอมรับ และสามารถผสมผสานกลมกลืน เฉพาะคือ ผู้บริหาร ครู นิสิตนักศึกษาครู กับชีวิตและความเป็นอยู่ตามบริบทของสังคม และผู้ปกครอง โดยมีช่องทางการเผยแพร่ ไทยในวงการวิชาชีพครู ได้อย่างเหมาะสม ผ่านโทรทัศน์อินเทอร์เน็ต ช่องโทรทัศน์การ ศึกษา ETV ออกอากาศทาง truevisions วัตถุประสงค์ของการวิจัย ช่อง สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย รายการ “ครูมือ 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการแพร่เพื่อ อาชีพ” นับได้ว่ารายการโทรทัศน์ครูได้เข้าสู่ การยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา กระบวนการแพร่นวัตกรรม เพื่อให้กลุ่มเป้า รายการโทรทัศน์ครู (TTV) หมายยอมรับ 2. เพื่อประเมินรับรองรูปแบบการ จากการสรุปผลการประเมินมาตรฐาน แพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: ด้านการประกันคุณภาพแยกตามฝ่ายพบว่า กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) โดย ฝ่ายเครือข่ายโทรทัศน์ครู มีผลการประเมิน ผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทุกด้าน ซึ่งประกอบ

128 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

วิธีการวิจัย กลุ่มสำ�หรับ ครู นิสิต/ นักศึกษาครูและ ผู้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ปกครอง 3. แบบสอบถามปลายเปิดสำ�หรับผู้ 1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวม เชี่ยวชาญในการตรวจสอบร่างรูปแบบ รวมข้อมูลด้านปริมาณ จำ�นวน 2,368 คน ได้มาจากการสุ่มหลายขั้นตอนและด้าน 4. รูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับ คุณภาพ จำ�นวน 303 คน ได้มาจากการ นวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการ สุ่มแบบเจาะจง จากกลุ่มครู ผู้บริหาร นิสิต/ โทรทัศน์ครู (TTV) นักศึกษาครู และผู้ปกครองทั่วประเทศ 5. แบบสอบถามเพื่อยืนยันความ 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้สนทนากลุ่ม เหมาะสมของรูปแบบ (Focus Group) คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านนวัตกรรม 6. แบบประเมินรับรองรูปแบบการ และ เทคโนโลยีการศึกษา หรือสาขาที่ แพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: เกี่ยวข้อง เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) เกี่ยวกับการแพร่ และการยอมรับนวัตกรรม จำ�นวน 10 ท่าน วิธีการดำ�เนินการวิจัย 3. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการยืนยันและ 1. ศึกษาเอกสาร หลักการทฤษฎี แสดงความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบคือประธาน และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยใช้การวิเคราะห์ กรรมการ ฝ่ายต่างๆ ของโครงการโทรทัศน์ เนื้อหา ครู จำ�นวน 6 ท่าน 2. วิเคราะห์ระบบการแพร่ รายการ 4. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมิน โทรทัศน์ครู (TTV) ปัจจุบัน รับรองรูปแบบคือผู้ทรงคุณวุฒิด้านนวัตกรรม 3. วิเคราะห์การแพร่รายการโทรทัศน์ และเทคโนโลยีการศึกษา หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ครูโดยใช้การเก็บข้อมูลด้านปริมาณจาก จำ�นวน 5 ท่าน แบบสอบถาม การเก็บข้อมูลด้านคุณภาพจาก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล การสัมภาษณ์เจาะลึก และการสนทนากลุ่ม 1. แบบสอบถาม ระดับการยอมรับ 4. พัฒนาร่างรูปแบบการแพร่เพื่อ รายการ การรับชม ความต้องการที่มีต่อ การยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู และความคิดเห็นที่มี รายการโทรทัศน์ครู (TTV) ต่อรายการโทรทัศน์ครู 5. ตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพของ 2. แนวคำ�ถามเพื่อการสัมภาษณ์ รูปแบบ โดยการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เจาะลึกสำ�หรับกลุ่มผู้บริหาร และสนทนา

129 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

6..นำ�รูปแบบการแพร่ที่พัฒนาขึ้นให้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการฝ่ายต่างๆ ของโครงการ โทรทัศน์ครูยืนยันและแสดงความคิดเห็น การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำ�มาปรับปรุง ค่าสถิติพื้นฐาน ประกอบด้วย ค่า 7. ประเมินเพื่อรับรองรูปแบบการ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยง แพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: เบนมาตรฐาน (Standard Deviation) กรณีศึกษารายการโทรทัศน์ครู (TTV) โดย

130 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

รปแบบู การแพร่เพื�อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV)

ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ ศูนย์ส่งเสริมการแพร่และการ ยอมรับรายการโทรทัศน์ครู การแพร่รายการสู่กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม : ประชาสัมพันธ์การมีและ ตําแหน่งที�อยู่ของTTV โดยผ่านช่อง ผู้บริหาร ครู นิสิต/นักศึกษา ผู้ปกครอง ทางการสื�อสาร การประกาศ ข่าวจาก หน่วยงาน ผู้นําทางความคิด ผู้แทน การเปลี�ยนแปลงและกลุ่มบ้าน รูปแบบ AIDM รูปแบบ AIDM+ HI รูปแบบ AIDM+ HI รูปแบบ HI + UP

สื�อสารให้รู้ว่ามีรายการโทรทัศน์ครู ประเมิน ไม่รู้ ขั�น การรับรู้ Knowledge ช่องทางการสื�อสาร ช่องทางจากภายนอก (Cosmopolite Channel) - สื�อมวลชน : โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ นิตยสาร สื�ออินเทอร์เน็ต รู้ หน่วยงาน : เขตพืนที�การศึกษา� /โรงเรียน/ มหาวิทยาลัย บุคคล - ผู้นําทางความคิด: ผู้อํานวยการเขตพืนที�การศึกษา� ผู้บริหาร อาจารย์ ครูในโรงเรียน กิจกรรม : เสนอข้อดี วิธีใช้ TTV ผลดี

- ผู้แทนการเปลี�ยนแปลง: ศึกษานิเทศก์ หัวหน้านักศึกษาแต่ละสาขา นายกสมาคมผู้ปกครอง จากการใช้ สร้างทัศนคติที�ดีโดยผู้นํา กลุ่มบ้าน : (Home Group) หน่วยงาน : โรงเรียนแยกย่อยเป็นแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ชมรมผู้ปกครอง บุคคล: ครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ผู้ปกครอง ทางความคิดและผู้แทนการ เปลี�ยนแปลงเสนอคุณลักษณะของ สื�อสารให้รู้ว่ารายการโทรทัศน์ครูดี รายการ หน่วยงานจัดกิจกรรมเผยแพร่ ครูที�ได้นํา TTV ไปใช้แล้วเกิดผล ช่องทางการสื�อสาร ช่องทางในท้องถิน� (Localite Channel) ขั�น - สื�อระหว่างบุคคล : ระหว่างหน่วยงานและผู้รับชมรายการ สื�อเฉพาะกิจ : DVD CD SMS Hotline จดหมายข่าว หน่วยงาน : เขตพืนที�การศึกษา� /โรงเรียน/ มหาวิทยาลัย ประเมิน ไม่จูงใจ Persuasion บุคคล - ผู้นําทางความคิด: ผู้อํานวยการเขตพืนที�การศึกษา� ผู้บริหาร อาจารย์ ครูในโรงเรียน การจูงใจ “””””””” - ผู้แทนการเปลี�ยนแปลง: ศึกษานิเทศก์ หัวหน้านักศึกษาแต่ละสาขา นายกสมาคมผู้ปกครอง กลุ่มบ้าน : (Home Group) หน่วยงาน : โรงเรียนแยกย่อยเป็ นแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ชมรมผู้ปกครอง จูงใจ บุคคล: ครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ผู้ปกครอง กิจกรรม : รับสมัครสมาชิกฯ ใน สื�อสารให้เกิดการตัดสินใจยอมรับรายการโทรทัศน์ครู รูปแบบและสถานที�ซึ�งสอดคล้องกับ วิถีชีวิต โดยผู้นําทางความคิดผู้แทน ขั�น ช่องทางการสื�อสาร ช่องทางในท้องถิน � (Localite Channel) - สื�อระหว่างบุคคล : สื�อสารระหว่างผู้บังคับบัญชา ผู้มีอํานาจ เพื�อน การเปลี�ยนแปลงช่วยกระตุ้น หน่วยงาน : เขตพืนที�การศึกษา� /โรงเรียน/ มหาวิทยาลัย Decision บุคคล - ผู้นําทางความคิด: ผู้อํานวยการเขตพืน� ที�การศึกษา ผู้บริหาร อาจารย์ ครูในโรงเรียน ปฏิเสธ “””””””” - ผู้แทนการเปลี�ยนแปลง: ศึกษานิเทศก์ หัวหน้านักศึกษาแต่ละสาขา นายกสมาคมผู้ปกครอง ประเมิน กลุ่มบ้าน : (Home Group) หน่วยงาน : โรงเรียนแยกย่อยเป็นแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ชมรมผู้ปกครอง การตัดสินใจ บุคคล: ครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ผู้ปกครอง ยอมรับ สื�อสารให้เกิดการนํารายการโทรทัศน์ครูไปใช้ กิจกรรม : กระตุ้นและติดตามผลที� เกิดจากการนําไปใช้ อํานวยความ (Localite Channel) ขั�น ช่องทางการสื�อสาร ช่องทางในท้องถิน � - สื�อเฉพาะกิจ : จดหมายข่าว สื�อระหว่างบุคคล การสนทนาระหว่างผู้บังคับบัญชา ผู้มีอํานาจ ศึกษานิเทศก์ เพื�อน สะดวกในการค้นหารายการจัด Implementation หน่วยงาน : เขตพืนที�การศึกษา� /โรงเรียน/ มหาวิทยาลัย โครงการติดตามผลการใช้ บุคคล - ผู้นําทางความคิด: ผู้อํานวยการเขตพืนที�การศึกษา� ผู้บริหาร อาจารย์ ครูในโรงเรียน “”””””””- ผู้แทนการเปลี�ยนแปลง: ศึกษานิเทศก์ หัวหน้านักศึกษาแต่ละสาขา นายกสมาคมผู้ปกครอง กลุ่มบ้าน : (Home Group) หน่วยงาน : โรงเรียนแยกย่อยเป็นแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ชมรมผู้ปกครอง ประเมิน ไม่นําไปใช้ บุคคล: ครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ผู้ปกครอง การนําไปใช้ นําไปใช้ สื�อสารให้เกิดการยืนยันการใช้รายการโทรทัศน์ครู กิจกรรม : สนับสนุนติดตามผลการ ใช้อย่างต่อเนื�อง ประกาศ ข่าว มอบ ช่องทางการสื�อสาร ช่องทางจากภายนอก (Cosmopolite Channel) - สื�อมวลชน : โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ นิตยสาร สื�ออินเทอร์เน็ต หน่วยงาน : เขตพืนที�การศึกษา� /โรงเรียน/ มหาวิทยาลัย รางวัล เกียรติบัตร ประกวดผลงาน ขั�น บุคคล - ผู้นําทางความคิด: ผู้อํานวยการเขตพืนที�การศึกษา� ผู้บริหาร อาจารย์ ครูในโรงเรียน สร้างต้นแบบ Confirmation “”””””””- ผู้แทนการเปลี�ยนแปลง: ศึกษานิเทศก์ หัวหน้านักศึกษาแต่ละสาขา นายกสมาคมผู้ปกครอง กลุ่มบ้าน : (Home Group) หน่วยงาน : โรงเรียนแยกย่อยเป็นแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ชมรมผู้ปกครอง บุคคล: ครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ผู้ปกครอง ประเมิน ไม่ยืนยัน การยืนยัน ใช้ในชีวิตประจําวัน ยืนยัน

131 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ผลการวิจัย การอภิปรายผล 1. รูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับ 1. รูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับ นวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการ นวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รายการ โทรทัศน์ครู (TTV) ประกอบด้วย (1) ปรัชญา โทรทัศน์ครู (TTV) องค์ประกอบของรูปแบบ วิสัยทัศน์ พันธ-กิจ วัตถุประสงค์ (2) ขั้น ประกอบด้วย สื่อสารให้รู้ว่ามีรายการโทรทัศน์ครู (3) ขั้น 1. ขั้นสื่อสารให้รู้ว่ามีรายการโทรทัศน์ สื่อสารให้รู้ว่ารายการโทรทัศน์ครูดี(4) ขั้น ครู 1) กลุ่มผู้บริหาร ใช้รูปแบบการแพร่แบบ สื่อสารให้เกิดการตัดสินใจยอมรับรายการ อิงอำ�นาจเบื้องสูง โดยกลุ่มผู้มีอำ�นาจสามารถ (5) ขั้นสื่อสารให้เกิดการนำ�รายการไปใช้ (6) ตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรม เป็น ขั้นสื่อสารให้เกิดการยืนยันการใช้รายการ ผู้สื่อสารเกี่ยวกับตัวนวัตกรรมให้กลุ่มผู้ใต้ 2. ผลการยืนยันรูปแบบการแพร่ บังคับบัญชาได้ทราบรายละเอียด 2) กลุ่ม เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณี ครู ใช้รูปแบบการแพร่แบบอิงอำ�นาจเบื้องสูง ศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) จาก และแบบมนุษยสัมพันธ์ สอดคล้องกับการ ประธานกรรมการฝ่าย ต่างๆ ของโครงการ วิจัยของ จงรักษ์ แจ้งยุบล (2545) พบว่า โทรทัศน์ครู เมื่อแบ่งรูปแบบตามแต่ละกลุ่ม ปัจจัยที่ทำ�ให้ครูสังคมศึกษายอมรับนวัตกรรม เป้าหมายพบว่ารูปแบบการแพร่สำ�หรับ มากที่สุดคือมีการฝึกอบรม บรรยากาศเอื้อ ผู้บริหารและครู มีความ“เหมาะสมมาก” ต่อการใช้ ฝ่ายบริหารให้การสนับสนุน และ ( = 4.39) รูปแบบการแพร่สำ�หรับนิสิต/ การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับเพื่อนครู 3) นักศึกษาครูมีความ“เหมาะสมมาก” ( = กลุ่มนิสิต/นักศึกษาครู ใช้รูปแบบการแพร่ 4.43) และรูปแบบการแพร่สำ�หรับผู้ปกครอง แบบอิงอำ�นาจเบื้องสูง และการแพร่แบบ มีความ“เหมาะสมมาก” ( = 4.20) และ มนุษยสัมพันธ์ สอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการ ภาพรวมรูปแบบการแพร่มีความ“เหมาะสม ของฮาวิกเฮอร์ส (Havighurst, 1972) วัย มาก” ( = 4.34) ผู้ใหญ่ตอนต้น ช่วงอายุ 18-30 ปี ให้ความ 3. ผลการประเมินรับรองรูปแบบ สำ�คัญกับการประกอบอาชีพ และแสวงหา การแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กลุ่มทางสังคม 4) กลุ่มผู้ปกครอง ใช้รูปแบบ กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) จาก การแพร่แบบมนุษย-สัมพันธ์ และการแพร่ ผู้ทรงคุณวุฒิ อยู่ในเกณฑ์ “เหมาะสมมาก” แบบอิงประชากรผู้ใช้นวัตกรรม สอดคล้อง ( = 4.32) กับงานวิจัยของ ลักษณา บุญนิมิตร (2542) พบว่าบทบาทของผู้ปกครองและครูที่ส่งเสริม การเรียนภาษาอังกฤษมีความสัมพันธ์ในทาง

132 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

บวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. ขั้นสื่อสารให้เกิดการตัดสินใจ 2. ขั้นสื่อสารให้รู้ว่ารายการโทรทัศน์ ยอมรับรายการ ขั้นนี้ Change Agency, ครูดี เป็นการนำ�เสนอคุณลักษณะของรายการ Change Agent และ Opinion Leader โทรทัศน์ครู โดยกลุ่มผู้บริหารมีสำ�นักงาน แต่ละกลุ่มทำ�หน้าที่เสนอคุณลักษณะสร้าง เขตพื้นที่การศึกษา (Change Agency) ทัศนคติที่ดีกระตุ้นให้เกิดการพิจารณายอมรับ เป็นหน่วยงานหลักทำ�หน้าที่ให้เกิดการ รายการและสมัครเป็นสมาชิก ผ่านสถานที่ที่ เปลี่ยนแปลง ศึกษานิเทศก์ (Change Agent) สอดคล้องกับวิถีชีวิต เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง และผู้อำ�นวยการ และศูนย์ส่งเสริมการแพร่และการยอมรับ เขตพื้นที่การศึกษา(Opinion Leader) เป็น รายการโทรทัศน์ ตรงกับวิลเบอร์ แชรมม์ ผู้นำ�ทางความคิด สำ�หรับกลุ่มครูมีโรงเรียน (Wilbur Schramm, 1973) กล่าวว่าเมื่อ เป็นChange Agency ศึกษานิเทศก์ เป็น ผู้รับสารทราบและสนใจเนื้อหาของสารนั้น Change Agent และผู้บริหารโรงเรียนเป็น จะทำ�การประเมินประโยชน์และแสวงหา Opinion Leader โดยภายในโรงเรียนครู ข่าวสารที่เอื้อต่อชีวิตประจำ�วัน การเรียนรู้ จะแยกออกเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือ และการประกอบอาชีพการงาน Home group สอดคล้องกับคำ�กล่าวของ 4. ขั้นสื่อสารให้เกิดการนำ�รายการ สำ�ลี ทองทิว (2544) ที่กล่าวว่า กลุ่มบ้าน ไปใช้ ขั้นนี้ Change Agency ทำ�หน้าที่ หรือ Home group เป็นการตัดสินใจเรียน ติดตามผลจากการนำ�ไปใช้ และ Change รู้และมองผลกระทบที่เกิดขึ้นเลือกวิธีการ Agent และ Opinion Leader ร่วมติดตาม แก้ปัญหาร่วมกัน ด้านนิสิต/นักศึกษาครู ผล มีระบบการจำ�แนกค้นหารายการโดย มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ แต่ละกลุ่มมีโครงการและกิจกรรมติดตามผล เป็น Change Agency หัวหน้านักศึกษา 5. ขั้นสื่อสารให้เกิดการยืนยันการใช้ แต่ละสาขาเป็น Change Agent และอาจารย์ รายการ ขั้นนี้ Change Agency ทำ�หน้าที่ เป็น Opinion Leader แนะนำ�ให้เห็นความ ติดตามผลจากการนำ�ไปใช้อย่างต่อเนื่อง สำ�คัญของวิชาชีพ สำ�หรับกลุ่มผู้ปกครองมี Change Agent และ Opinion Leader โรงเรียนเป็น Change Agency นายกสมาคม มีหน้าที่สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมและ ผู้ปกครองเป็น Change Agent ผู้บริหาร นำ�ผลที่เกิดจากการใช้มาร่วมประกวด การ โรงเรียน และครู เป็น Opinion Leader รับมอบรางวัลจากผู้ที่มีชื่อเสียงในวงการ โดยมีชมรมผู้ปกครองเป็นกลุ่มบ้าน (Home ศึกษา รวบรวมเป็นสื่อเฉพาะกิจเผยแพร่ผ่าน group) มีส่วนร่วมในการพิจารณายอมรับ สื่อมวลชน สื่อระหว่างบุคคล สื่ออินเทอร์เน็ต รายการ และนำ�ไปสู่การนำ�รายการไปใช้ การสนับสนุนให้เกิดบุคคลต้นแบบ สอดคล้อง

133 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

กับพอร์ทเทอร์ และ ลอว์เลอร์ (Porter and งานของโครงการโทรทัศน์ครู ตลอดจนการ Lawler, 1968) ได้กล่าวถึงตัวแปรที่ทำ�ให้ ประเมินผลในแต่ละขั้นและประเมินผลใน บุคคลมีความพยายามเพื่อผลการปฏิบัติ ภาพรวมของกลุ่มผู้รับชมรายการ โดยใช้ช่อง งานที่ดีเกิดจากแรงจูงใจด้านรางวัลภายใน ทางการติดต่อสื่อสาร ได้แก่ การใช้โทรศัพท์ คือ ความภาคภูมิใจภายในตนเองและรางวัล Hotline โดยใช้หมายเลขพิเศษสี่หลักบริการ ภายนอก ตลอด 24 ชั่วโมง SMS, E-mail, Blog, ช่องทางในการสื่อสาร แบ่งออกเป็น Twitter, Facebook, Webboard ติดต่อ สื่อมวลชนได้แก่ ช่องโทรทัศน์ฟรีทีวีจากการ สื่อสารและประสัมพันธ์ผ่านสื่อจดหมาย, สำ�รวจพบว่าไทรทัศน์ช่อง 3 ช่อง 7 และช่อง ไปรษณียบัตร, วารสาร ทุกช่องทางผู้รับ 9 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ คมชัดลึก มติ บริการไม่เสียค่าใช้จ่าย ตรงกับโคเลอร์และ ชน เป็นสื่อมวลชนที่ได้รับความนิยม นอกจาก อาร์มสตรอง (Kotler ;& Armstrong. 2004: นี้ยังรับฟังวิทยุผ่านรายการข่าว สถานีเพลง 16) กล่าวถึงกระบวนการบริหารลูกค้า ไทย เพลงลูกทุ่ง เพลงสากล และวิทยุท้อง สัมพันธ์ (CRM: Customer Relationship ถิ่น นิตยสาร เช่น ขวัญเรือน เนชั่นสุดสัปดาห์ Management) ที่มีองค์ประกอบคือ ฐาน มติชนสุดสัปดาห์ Edeuzone Seventeen ข้อมูลของผู้รับบริการที่ถูกต้องและทันสมัย ดังนั้นการใช้ช่องทางเพื่อประชาสัมพันธ์ไป การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สู่กลุ่มตัวอย่างควรเป็นช่องทางที่การเปิด 2. ผลการยืนยันรูปแบบการแพร่เพื่อ รับข่าวสารอยู่ในระดับสูงสอดคล้องกับ สุ การยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา รพงษ์ โสธนะเสถียร (2533) ที่กล่าวถึงการ รายการโทรทัศน์ครู (TTV) จากประธาน ใช้ความพึงพอใจในการสื่อสารขึ้นอยู่กับผู้รับ กรรมการฝ่ายต่างๆ ของโครงการโทรทัศน์ครู สารเป็นผู้ที่มีบทบาทเชิงรุก (Active) และมี พบว่ารูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับสำ�หรับ วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร (Goal director) ผู้บริหาร และครู สำ�หรับนิสิตนักศึกษาครู การใช้หรือการเปิดรับสื่อที่เลือกสรรแล้วเพื่อ สำ�หรับผู้ปกครอง และรูปแบบในภาพรวมมี สนองความต้องการ ความ “เหมาะสมมาก” จากผลดังกล่าวรูป ศูนย์ส่งเสริมการแพร่และการยอมรับ แบบการแพร่ฯ สามารถนำ�มาใช้ได้ในทุกกลุ่ม รายการโทรทัศน์ครู ทำ�หน้าที่ประชาสัมพันธ์ เป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มของนิสิต/ การมีอยู่ของรายการคุณลักษณะ การเปิด นักศึกษาครู เมื่อพิจารณาด้านกิจกรรมและ รับสมัครสมาชิก การกระตุ้นและติดตาม การดำ�เนินงานที่มีความเหมาะสมมากที่สุด ผลการนำ�รายการไปใช้ การสนับสนุนการใช้ คือ การนำ�เสนอคุณลักษณะสร้างทัศนคติ รายการอย่างต่อเนื่อง ประสานงานกับฝ่าย ที่ดีต่อนวัตกรรม ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎี กระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรม

134 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ของโรเจอรส์ (Rogers, 2003) ที่กล่าวว่า รายการแพร่และการยอมรับรายการโทรทัศน์ เมื่อบุคคลรับรู้ถึงคุณลักษณะและมีทัศนคติ ครู ต้องประกอบด้วยความพร้อมด้านบุคลากร ที่ดีต่อนวัตกรรมนั้นแล้วย่อมมีแนวโน้มที่จะ ฮาร์ดแวร์ซอฟแวร์ ตลอดจนช่องทางการ ตัดสินใจยอมรับนวัตกรรม สื่อสารและข้อมูลที่ได้รับจากการประเมิน 3. ผลการประเมินรับรองรูปแบบ จากศูนย์ส่งเสริมฯ ควรนำ�ไปใช้ในการแก้ไข การแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: ปรับปรุงฝ่ายงานโครงการโทรทัศน์ครู และ กรณีศึกษา รายการโทรทัศน์ครู (TTV) จาก การให้บริการของศูนย์ส่งเสริมการแพร่และ ผู้ทรงคุณวุฒิ อยู่ในเกณฑ์ “เหมาะสมมาก” การยอมรับรายการโทรทัศน์ครู พบว่า ประเด็นที่มีความเหมาะสมมากที่สุด 1.2 ช่องทางการแพร่ที่ทำ�การสำ�รวจ คือ รูปแบบการแพร่เพื่อการยอมรับนวัตกรรม ได้มาจากการสำ�รวจในช่วงระยะเวลาหนึ่ง การศึกษา: กรณีศึกษารายการโทรทัศน์ครู ถ้าต้องการนำ�ผลการวิจัยไปใช้ต้องคำ�นึงถึง (TTV) จะมีความเป็นไปได้ในการแพร่ไปสู่ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม และค่านิยม กลุ่มเป้าหมาย เนื่องจากการเกิดจากการ และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายใน สังเคราะห์จากเอกสารและงานวิจัยการเก็บ แต่ละกลุ่ม ข้อมูลด้านปริมาณและด้านคุณภาพ การ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ออกแบบกิจกรรม และช่องทางการสื่อสาร 2.1 ควรมีการวิจัยและพัฒนารูปแบบ ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของแต่ละกลุ่มให้ ของศูนย์ส่งเสริมการแพร่และการยอมรับ สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ มีการประเมิน รายการโทรทัศน์ครู เพื่อสนับสนุนให้เกิด ผลทุกขั้นตอน การใช้ศูนย์การส่งเสริมฯ การแพร่และประเมินผลของแต่ละฝ่ายงาน เป็นหน่วยงานขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนา อย่างเป็นรูปธรรม ปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่อง 2.2 ควรมีการพัฒนารูปแบบการ ข้อเสนอแนะ แพร่นวัตกรรมทางการศึกษาอื่นที่นำ�เข้ามา ใช้ในประเทศไทยทั้งในระดับโรงเรียนและ 1. ข้อเสนอแนะในการนำ�ผลการ มหาวิทยาลัยเพื่อเป็นข้อมูลทางการวิจัยแก่ วิจัยไปใช้ ผู้ที่สนใจต่อไป 1.1 การนำ�รูปแบบการแพร่เพื่อการ ยอมรับนวัตกรรมการศึกษา: กรณีศึกษา

135 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

References Faculty of Education Burapha University. (2010). The development of TV pro- gram for teacher development Project: Analysis of Policy, Content, De- sign, Preparation for Television Programs, Development and Production of Media Content Under the development plan for education “Strong Thailand Action Plan (B.E. 2553-2555)”. Chonburi: Faculty of Education Burapha University. Havighurst, R. (1972). Human Development and Education. 3rd ed. New York: Longmans. Jongruk Jangyubol. (2002). A Study on Level and Factors of Social Studies Teachers Acceptance of Instructional Innovations at Secondary School Level, Bangkok Metropolis. Master Degree in Teaching Social Studies Department of Secondary Education. Bangkok: Faculty of Education Chulalongkorn University. Kotler, P., Brown, L., Adam, S., and Armstrong, G. (2004). Marketing. 6th ed. Sydney: Pearson Education Australia. Lungsana Boonnimit. (1999). The Relationships Among Roles of Parents, Teach- ers and Peers in Supporting English Learning Achievement of Mathayom Suksa Three Students in Schools under the Department of General Education, Bangkok Metropolis. Master in Teaching English as a Foreign Language Department of Secondary School. Bankok: Faculty of Educa- tion Chulalongkorn University. Office of the Education Council . (2011). Education Reform Policy in the Second Decade (B.E. 2552-2561). Bangkok: Ministry of Education. Porter, L. W., & Lawler, E. E. (1968). Managerial Attitudes and Performance. Homewood, IL: Richard D. Irwin, Inc. Rogers M Everettm. (2003). Diffusion of Innovations. 5Th ed.NewYork: Free Press A Division of Simon & Schuster, Inc.

136 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Schramm W. (1973). Channels and Audience in Handbook of Communication. Chicago: R.Mcnally College Publishing Company. Sumlee Thongthew. (2002). Diffusion of Educational innovations for Administrators and Teachers in the Education Reform. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. Surapong Sotanasathien. (1990). Communication and Social. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. Suwimon and Others. (2012). Analysis of School’s Education Development Pro- cess after the First Round of External Evaluation. Document for the national conference “The quality of Education for Thailand”. Bangkok: Research Affairs Faculty of Education Chulalongkorn University.

137 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียผ รู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญาภาษิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 The Development of Thai Substance Group Curriculum (additional supplement) on the Topic of Phayapasit for Prathomsuksa 5, Ban Nongyarangka School

วีราภรณ์ สิทธิวงศ์1, พิศมัย ศรีอำ�ไพ2, ชวนพิศ รักษาพวก3 Weeraporn Sittiwong1, Pissamai Sri-ampai2, Chuanpit Ruksapuak3 บทคัดย่อ การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมีความจำ�เป็นต้องพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับความ ต้องการของท้องถิ่นและเปิดโอกาสให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำ�หนดหลักสูตรให้ หลากหลายและร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่นและความต้องการ ของชุมชมและผู้เรียน การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) สำ�รวจความต้องการจำ�เป็น พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน 2) พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนที่มีคุณภาพตั้งแต่ระดับเหมาะสม มากขึ้นไป 3) ทดลองใช้และหาประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียน 4) ประเมินผลการใช้ หลักสูตรโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน บ้านหนองหญ้ารังกา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำ�นวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ เอกสารประกอบหลักสูตร เรื่อง ผญาภาษิต แผนการจัดการ เรียนรู้ ที่มีคุณภาพระดับมากที่สุด จำ�นวน 9 แผน มีค่า ( = 4.71, S.D. = 0.26) แบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิด 4 ตัวเลือก จำ�นวน 30 ข้อ โดยมีค่าอำ�นาจจำ�แนก รายข้อตั้งแต่ .20 ถึง .58 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .87 แบบสอบถามความ คิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยหลักสูตรโรงเรียน ชนิดมาตราส่วน 5 ระดับ จำ�นวน 20 ข้อ มีค่าอำ�นาจจำ�แนกรายข้อตั้งแต่ .47 ถึง .89 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .96 และแบบสอบถามความคิดเห็นของครูผู้สอน ชนิดมาตราส่วน 5 ระดับจำ�นวน 30 ข้อ มี

1นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2รองศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3อาจารย์บัณฑิตศึกษาพิเศษ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1M.Ed. Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University 2Associate Professor Dr. Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University. 3Tether, Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University. 138 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ค่าอำ�นาจจำ�แนกรายข้อตั้งแต่ .27 ถึง .97 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .98 วิเคราะห์ ข้อมูลโดย หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ผลการวิจัยปรากฏ ดังต่อไปนี้ 1. ผลการสำ�รวจความต้องการจำ�เป็นของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความต้องการให้พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน บ้านหนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญาภาษิต ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 โดยให้นำ�ภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการถ่ายทอด ความรู้ให้กับผู้เรียน 2. ผลการพัฒนาและประเมินคุณภาพหลักสูตรโรงเรียนมีองค์ประกอบครบถ้วนเหมาะ สมสอดคล้องกันอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.76, S.D. = 0.26) และแผนการจัดการเรียน รู้ประกอบการใช้หลักสูตร ประกอบด้วย สาระสำ�คัญ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการ เรียนรู้ที่คาดหวัง จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ การวัดและประเมินผล กระบวนการเรียนรู้ อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด ( = 4.71, S.D. = 0.26) ผลการทดลองใช้และหาประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนบ้าน หนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญาภาษิต ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.00/84.67 และค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการ จัดการเรียนรู้ มีค่าเท่ากับ 0.6085 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนร้อยละ 60.85 ผลการประเมินความคิดเห็นของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหลักสูตรโรงเรียน อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง ( = 4.79, S.D. = 0.41) และผลการประเมินความคิดเห็น ของครูผู้ใช้หลักสูตร อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด ( = 4.69, S.D. = 0.25) โดยสรุป หลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญาภาษิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่พัฒนาขึ้นโดยใช้การวิจัยและ พัฒนา สอดคล้องกับความต้องการจำ�เป็นของผู้เรียนและท้องถิ่นเพราะพัฒนาขึ้นจากการ มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เป็นหลักสูตรที่มีองค์ประกอบที่ครบถ้วนและสอดคล้องกัน โดยผ่านการประเมินจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจากการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ผลการสอบถามความคิดเห็นของ นักเรียน และครูผู้สอน ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด ผู้เกี่ยวข้องสามารถนำ�หลักสูตรไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม

คำ�สำ�คัญ:การพัฒนาหลักสูตร, กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

139 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ABSTRACT The development of school curriculum needs to meet local needs and provide the communities a chance to participate in identifying curriculum so that the curriculum varies. The communities should also take part in organizing learn- ing activities which are consistent with the needs of communities and learners. The purposes of this research study were: 1) to survey the needs in developing school curriculum; 2) to develop the school curriculum that has quality at the “highly appropriate” level onward; 3) to try out the implementation and find out efficiency of school curriculum; and 4) to evaluate the use of school curriculum. The research sample was composed of 20 Prathom Suksa 5 students attend- ing Ban Nongyarunga School in the second semester of the academic year 2011. The research instruments consisted of: 1) curriculum’s supplementary document on the topic of Proverb Phaya; 2) nine instructional plans with the highest level of quality ( = 4.71, S.D. = 0.26; 3) a 30-itemed multiple-choice (four choices) learning achievement test with the itemized discriminating pow- ers ranging .20 to .58 and the reliability of .87; 4) a 20-itemed 5-rating-scaled questionnaire asking students’ opinions on learning that used school curriculum with the itemized discriminating powers ranging .47 to .89 and the reliability of .96; and 5) a 30-itemed 5-rating-scaled questionnaire asking teachers’ opinions with the itemized discriminating powers ranging .27 to .97 and the reliability of .98. The analysis of data employed Mean, Standard Deviation, and percentage. Findings were as follows: 1. Surveying the needs of students, teachers, parents, school committee, and local wisdoms revealed the needs to develop Ban Nongyarunga School cur- riculum, Thai language substance group (additional supplement), on the topic of Proverb Phaya, Prathom Suksa 5. The development should bring local wisdoms to take part in the process of conveying knowledge to learners. 2. The school curriculum development and evaluation revealed the complete elements at the “most appropriate” level ( = 4.76, S.D. = 0.26). Learning plans accompanied the curriculum including concepts, learning standards/indicators,

140 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

expected learning outcomes, learning objectives, learning contents, learning materials and resources, desired characteristics, measurement and evaluation, and learning process were at the “most appropriate” level ( = 4.71, S.D. = 0.26). 3. Trying out the implementation and finding out efficiency of Ban Nong- yarunga School curriculum, Thai language substance group (additional supple- ment), on the topic of Proverb Phaya, Prathom Suksa 5 revealed the efficiency of 83.00/84.67 and the effectiveness index was at 0.6085 which indicates that students gained 60.85% in learning. 4. The evaluation of students’ opinions on organization of learning that used school curriculum resulted the “highly agree” level ( = 4.79, S.D. = 0.41) and the evaluation of opinions of teachers who implemented the curriculum resulted the “highly appropriate” level ( = 4.69, S.D. = 0.25). In conclusion, Ban Nongyarunga School curriculum, Thai language substance group (additional supplement), on the topic of Proverb Phaya, Prathom Suksa 5 which was developed by research and development was consistent with the needs of learners and local communities as it was developed from participation of related persons. It was also the curriculum that had complete and harmoni- ous elements evaluated by groups of experts. The curriculum had efficiency and effectiveness, developed the higher level of achievement after instruction than before. Surveying opinions of students and teachers on organization of learn- ing that used the curriculum revealed the “highest” level. Related persons can implement the curriculum and used it to organize learning in appropriate ways.

Keywords:Development Curriculum, Thai Substance Group

บทนำ� ท้องถิ่นอีสานซึ่งมีหลายรูปแบบทั้งเพลงพื้น บ้าน ปริศนาคำ�ทาย นิทานพื้นบ้าน ตำ�นาน ชาวอีสานมีภาษาและวรรณกรรมทั้ง และสำ�นวนภาษิตต่างๆ ของชาวอีสานต่าง ภาษาพูดและภาษาเขียน ในการศึกษาวิจัย ก็ล้วนแต่มีลักษณะหนึ่งที่คล้ายคลึงกัน คือ ครั้งนี้ผญาภาษิต เป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรม แต่ละรูปแบบได้สอดแทรกไปด้วยคติธรรมซึ่ง

141 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ในภาษาถิ่นอีสานเรียกคำ�สั่งสอนที่มีคติธรรม ไว้ให้คงอยู่ ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ ทางพุทธศาสนานี้ว่า ผญาภาษิต ซึ่งได้แฝง การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่ส่งเสริมให้ อยู่ในวรรณกรรมท้องถิ่นแขนงต่างๆ และ สถานศึกษาจัดทำ�หลักสูตรให้สอดคล้องกับ ได้ปรากฏเป็นคำ�กล่าวที่ผู้ใหญ่สมัยโบราณ สภาพของท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มี ใช้กล่าวสั่งสอนลูกหลาน บุคคลทั่วไปให้ อยู่ในชุมชน ประพฤติตนอยู่ในหลักธรรม คำ�สอนทาง จากเหตุผลและความจำ�เป็นดังกล่าว พุทธศาสนาอยู่เสมอ โดยได้อาศัยความ ผู้วิจัยจึงมีความต้องการที่จะพัฒนาหลักสูตร ไพเราะจากการผูกถ้อยคำ�เรียงร้อยเป็นบท โรงเรียน เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น กวีชาวบ้าน ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เกิดความเบื่อ เรื่อง ผญาภาษิต สำ�หรับชั้นประถมศึกษาปี หน่ายถ้าหากสั่งสอนโดยใช้คำ�พูดธรรมดา ที่ 5 จากการประชุมคณะ กรรมการสถาน นอกจากนั้นผญาภาษิตยังเป็นวัฒนธรรม ศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านหนองหญ้า ที่ตกค้างมาจากสังคมบรรพชน เป็นมรดก รังกา มีมติเห็นชอบให้สถานศึกษาจัดทำ� ล้ำ�ค่าที่บรรพบุรุษได้ถ่ายทอดมาหลายชั่ว สาระเพิ่มเติมที่เน้นการนำ�ภูมิปัญญาท้องถิ่น อายุคนย่อมสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมในแง่ มาจัดสร้างหลักสูตร เปิดโอกาสให้ภูมิปัญญา มุมต่างๆ ในอดีต และบ่งชี้ให้ผู้ศึกษาได้รับ ท้องถิ่นที่มีความรู้ ความ สามารถ เข้ามามี รู้เข้าใจถึงวิถีชีวิตสภาพทางสังคมด้านต่างๆ ส่วนร่วมในการถ่ายทอดความรู้และการจัด ของท้องถิ่นได้ด้วยจากลักษณะและความ กระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนเพื่อให้เกิด สำ�คัญของผญาภาษิตที่นอกจากจะเป็นคำ�สั่ง ความรัก ความหวงแหน และตระหนักถึง สอนคนในสังคมแล้วยังทำ�หน้าที่เก็บรวบรวม คุณค่า ความสำ�คัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพวัฒนธรรมและสังคมของชาวอีสานไว้ ของตน และเพื่อให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการ อีกด้วย (จารุวรรณ ธรรมวัตร. 2526: 116) จัดทำ�หลักสูตรโรงเรียน จึงได้สำ�รวจความ ปัจจุบันการจัดกิจกรรมการเรียน คิดเห็นของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และ การสอนด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรมทางด้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลการสำ�รวจพบว่า มี ภาษา ยังไม่มีการนำ�ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ ความต้องการให้พัฒนาหลักสูตรในระดับ เกี่ยวกับผญามาใช้ในการเรียนการสอนอย่าง มากที่สุด ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความประสงค์ จริงจัง เนื่องจากยังไม่มีเอกสารและแนวทาง ที่จะพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวกับวรรณกรรม ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทำ�ให้ ท้องถิ่นอีสาน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา วัฒนธรรมด้านวรรณกรรมท้องถิ่น เรื่องผญา ไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่องผญาภาษิต ชั้น กำ�ลังจะสูญหายไปอย่างน่าเสียดาย ดังนั้นจึง ประถมศึกษาปีที่ 5 เพื่อเป็นการสนองต่อ จำ�เป็นที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือร่วมใจกันอนุรักษ์ เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษา วรรณกรรมท้องถิ่นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผญา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่ให้ชุมชนท้องถิ่นได้มี

142 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร การจัดการ เติม) เรื่อง ผญาภาษิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ศึกษา อบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล 4. เพื่อประเมินผลหลักสูตรโรงเรียน ข่าวสาร ในการพัฒนาชุมชนของตนเองให้ บ้านหนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ เข้มแข็งได้ต่อไป และเป็นการจัดการศึกษา ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่องผญาภาษิต ที่มาจากความต้องการของผู้เรียนและชุมชน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ท้องถิ่นอย่างแท้จริง อีกทั้งเพื่อเป็นแนวทาง กลุ่มตัวอย่าง ในการพัฒนาหลักสูตรที่ให้ความสำ�คัญกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อไป ตลอดจนร่วมกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ อนุรักษ์และสืบสานมรดกอันล้ำ�ค่าในท้อง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้าน ถิ่นของตนเพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้าน หนองหญ้ารังกา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา อันเป็นเอกลักษณ์สืบทอดภูมิปัญญาของ 2554 จำ�นวน 20 คน บรรพบุรุษของชาวชัยภูมิให้คงอยู่สืบต่อไป เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ได้แก่ ความมุ่งหมายของการวิจัย 1. เอกสารประกอบหลักสูตร เรื่อง 1. เพื่อสำ�รวจความต้องการจำ�เป็น ผญาภาษิต แผนการจัดการเรียนรู้ จำ�นวน การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองหญ้า 9 แผน รังกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระ 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เพิ่มเติม) เรื่องผญาภาษิต ชั้นประถมศึกษา เรียน ชนิด 4 ตัวเลือก จำ�นวน 30 ข้อ ปีที่ 5 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของ 2. เพื่อพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้าน นักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยหลักสูตรโรงเรียน หนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา ชนิดมาตราส่วน 5 ระดับ จำ�นวน 20 ข้อ ไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญาภาษิต ชั้น 4. แบบสอบถามความคิดเห็นของ ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีคุณภาพตั้งแต่ระดับ ครูผู้สอน ชนิดมาตราส่วน 5 ระดับจำ�นวน เหมาะสมมากขึ้นไป 30 ข้อ 3. เพื่อทดลองใช้และหาประสิทธิภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดย หาค่าเฉลี่ย ส่วน ของหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองหญ้ารังกา เบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่ม

143 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ขั้นตอนที่ 1 การสํารวจความตองการจําเปน 1. เครื่องมือที่ใชในการ

สํารวจ 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 1.1 แบบสอบถามนักเรียน 2. สํารวจความตองการจําเปนเกี่ยวกับ 1.2 แบบสอบถาม สภาพปญหาและความตองการนําภูมิ - ผูปกครอง ปญญาทองถิ่นมาใชในการจัดการเรียนรู - คณะกรรมการสถานศึกษา 3. สรางแบบสอบถาม - ครูผูสอน 4. เก็บรวบรวมขอมูล / วิเคราะหขอมูล

ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาและประเมินคุณภาพ 2.เครื่องมือที่ใชในการ โครงรางหลักสูตรโรงเรียน ประเมิน

1. กําหนดโครงรางหลักสูตรจากขอมูล 2.1 แบบประเมินคุณภาพ พื้นฐาน หลักสูตร 2. ประเมินโครงรางหลักสูตร - ประเมินความเหมาะสม 3. ปรับปรุงโครงรางหลักสูตรและแกไข สอดคลองขององคประกอบ ตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ หลักสูตร - ประเมินแผนการจัดการ

ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใชหลักสูตรโรงเรียน 3. เครื่องมือที่ใชในการ

ทดลอง 1. ทดสอบกอนเรียน (Pretest) 2. ดําเนินการทดลองตามแผนการจัดการ 3.1 แผนการจัดการเรียนรู เรียนรู 3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 3. ทดสอบหลังเรียน (Posttest) ทางการเรียนกอนเรียน – หลังเรียน

ขั้นตอนที่ 4 ผลการประเมินการใชหลักสูตร 4. เครื่องมือประเมินผล

โรงเรียน การใชหลักสูตรโรงเรียน

- สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ 4.1 แบบสอบถามความคิดเห็น กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่มีตอ - ครูผูสอน หลักสูตร - นักเรียน

ภาพประกอบ 1 ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญาภาษิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

144 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

สรุปผลการวิจัย หนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา ไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญาภาษิต ชั้น 1. ผลการสำ�รวจความต้องการจำ�เป็น ประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ ในการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียน จากการ 83.00/84.67 และค่าดัชนีประสิทธิผลของ ตอบแบบ สอบถามของ นักเรียนชั้นประถม แผนการจัดการเรียนรู้ มีค่าเท่ากับ 0.6085 ศึกษาปีที่ 5 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียน พื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน ครูผู้สอนภาษา ร้อยละ 60.85 ไทย และภูมิปัญญาท้องถิ่น พบว่า นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ต้องการให้โรงเรียน 4. ผลการประเมินความคิดเห็น พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา ของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญาภาษิต อยู่ใน ด้วยหลักสูตรโรงเรียน อยู่ในระดับเห็นด้วย ระดับมากที่สุด คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น อย่างยิ่ง ( = 4.79, S.D. = 0.41) และผล พื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน ครูผู้สอนภาษา การประเมินความคิดเห็นของครูผู้ใช้หลักสูตร ไทย และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความต้องการ อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด ( = 4.69, ให้พัฒนาหลักสูตร โดยนำ�ภูมิปัญญาท้องถิ่น S.D. = 0.25) เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการถ่ายทอด ความรู้ให้กับผู้เรียน ในระดับมากที่สุด อภิปรายผล 2. ผลการพัฒนาและประเมินคุณภาพ จากผลการวิจัยการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรโรงเรียนมีองค์ประกอบครบถ้วน โรงเรียนบ้านหนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการ เหมาะสมสอดคล้องกันอยู่ในระดับมากที่สุด เรียนรู้ ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญา ( = 4.76, S.D. = 0.26) และแผนการจัดการ ภาษิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัยได้นำ� เรียนรู้ประกอบการใช้หลักสูตร ประกอบ ประเด็นที่ค้นพบมาอภิปรายผล ดังนี้ ด้วย สาระสำ�คัญ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัว 1. การศึกษาและสำ�รวจความต้องการ ชี้วัด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จุดประสงค์ จำ�เป็นในการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียน จาก การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สื่อและแหล่ง การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ เรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การวัด การพัฒนาหลักสูตร พบว่าขั้นตอนแรกของการ และประเมินผล กระบวนการเรียนรู้ อยู่ใน พัฒนาหลักสูตรนั้นส่วนใหญ่จะเป็นขั้นตอน ระดับเหมาะสมมากที่สุด ( = 4.71, S.D. ของการศึกษาและสำ�รวจข้อมูลพื้นฐาน ซึ่ง = 0.26) เป็นสิ่งที่มีความจำ�เป็นและสำ�คัญอย่างยิ่งใน 3. ผลการทดลองใช้และหา การนำ�ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆ มากำ�หนด ประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนบ้าน เนื้อหาและองค์ประกอบของหลักสูตร ตามที่

145 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ในแคนาดา พบว่า แหล่งข้อมูลในห้องสมุด 2542 กล่าวว่า ให้หน่วยงานทางการศึกษา มีจำ�นวนน้อยมาก จึงมีความต้องการจำ�เป็น ระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วมใน ในการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนเพื่อนักเรียน การจัดการศึกษาโดยนำ�ประสบการณ์ ความ 2. การพัฒนาและประเมินคุณภาพ รอบรู้ ความชำ�นาญ และภูมิปัญญาท้องถิ่น หลักสูตรโรงเรียนเป็นการจัดการศึกษาให้ ของบุคคลดังกล่าวมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของ ทางการศึกษา เพื่อสนองตอบความต้องการ ท้องถิ่นที่แท้จริง มีกระบวนการพัฒนาคือ ของแต่ละชุมชนและเป็นการเปิดโอกาสให้ การศึกษาข้อมูลประกอบการพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่นสามารถจัดการศึกษาให้เหมาะสม ประกอบด้วย การศึกษาหลักสูตรขั้นพื้น สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมใน ฐาน พุทธศักราช 2551 เลือกสาระและ ด้านต่างๆ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551: มาตรฐานการเรียนรู้ขั้นพื้นฐาน ที่เกี่ยวข้อง 1 – 9) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สงัด กับภูมิปัญญาทางภาษา ซึ่งได้แก่ สาระที่ 4 อุทรานันท์ (2532: 38-34) กล่าวว่า การ หลักการใช้ภาษา และสาระที่ 5 วรรณคดี จะพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และวรรณกรรม ศึกษาข้อมูลจากการสำ�รวจ จำ�เป็นที่จะต้องทำ�การศึกษา สำ�รวจสภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากขั้นตอนที่ 1 เพื่อให้ ความต้องการของผู้เรียนเพื่อกำ�หนดกรอ หลักสูตรนั้นสอดคล้องกับความต้องการของผู้ บกว้างๆ สำ�หรับการพัฒนาหลักสูตรสภาพ เรียนและท้องถิ่น โดยการเชิญภูมิปัญญาท้อง ความต้องการ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ถิ่น ที่เรียกว่าปราชญ์ชาวบ้านให้เข้ามามีส่วน และสอดคล้องกับงานวิจัยของ สิริวรรรณ คุ้ม ร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการ บ้าน (2550) พบว่าผู้บริหาร ครู และคณะ เรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสรู้เรื่องราว กรรมการสถานศึกษามีความต้องการให้มี ของท้องถิ่นของตน รู้สภาพเศรษฐกิจ สังคม การพัฒนาหลักสูตรโดยจัดให้เป็นรายวิชา และวัฒนธรรม มีความรัก ความหวงแหนใน เพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ประเพณี และศิลปวัฒนธรรมในชุมชนท้อง ส่วน รัฐศาสตร์ สุขสวัสดิ์ (2550) พบว่าผู้มี ถิ่นของตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ส่วนเกี่ยวข้องมีความต้องการในการนำ�เรื่อง ฆนัท ธาตุทอง (2550: 176) กล่าวว่า แต่ละ ราวเกี่ยวกับประเพณีลากพระมาบรรจุไว้เป็น ท้องถิ่นมีสภาพที่แตกต่างกันออกไป ทั้งด้าน หลักสูตรของสถานศึกษารวมถึงกระบวนการ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและ ถ่ายทอดความรู้โดยปราชญ์ชาวบ้านให้แก่ อื่นๆ จึงจำ�เป็นต้องมีการพัฒนาหลักสูตรให้ นักเรียนด้วย และงานวิจัยของ เซเดอร์ส เหมาะสมกับสภาพและความต้องการของ ตรอม (Cederstrom. 1985: บทคัดย่อ) แต่ละท้องถิ่น เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ชีวิตจริง ได้ศึกษาพัฒนาหลักสูตรวรรณกรรมท้องถิ่น ในท้องถิ่นของตน เปิดโอกาสให้ผู้ใช้หลักสูตร

146 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร ส่งเสริม ขององค์ประกอบหลักสูตร อยู่ในระดับมาก ให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วม มีความสอดคล้องกับ ที่สุด มีค่าเท่ากับ 4.76 ชีวิตจริงและสามารถพัฒนาเพิ่มเติมขึ้นได้ 3. การทดลองใช้หลักสูตรโรงเรียน ตลอดเวลา และสอดคล้องกับงานวิจัยของ นำ�แผนการจัดการเรียนรู้ซึ่งวิเคราะห์มา นุพิศ อัคพิน (2552: บทคัดย่อ) กล่าวว่า จากหลักสูตรที่สร้างขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้หรือครู หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบที่ครบ ผู้สอนสามารถนำ�หลักสูตรไปใช้ได้อย่างมี ถ้วนและสอดคล้องกัน ซึ่งประกอบด้วยความ ประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ นำ� วิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะ สงัด อุทรานันท์ (2532: 268) กล่าวไว้ว่า สำ�คัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ แผนการสอนจะเป็นแนวทางในการใช้หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ของครู ถ้าหากไม่มีการจัดทำ�แผนการสอน สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ โครงสร้าง การใช้หลักสูตรก็จะเป็นอย่างไม่มีจุดหมาย เวลาเรียน การจัดการเรียนรู้ สื่อและแหล่ง ปลายทาง เป็นเหตุให้เกิดการเสียเวลาหรือ การเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียน บกพร่องในการใช้หลักสูตรเป็นอย่างมาก รู้ ผลการประเมินโครงร่างหลักสูตร มีความ อันจะส่งผลต่อความล้มเหลวของหลักสูตร เหมาะสมและสอดคล้องในระดับมาก สามารถ ในที่สุด ซึ่งเป็นไปตามหลักการของการจัด นำ�ไปทดลองใช้ได้ ส่วนงานวิจัยของ ปทุม กิจกรรมการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง วรรณ ทุมโยมา (2553: บทคัดย่อ) พบว่า การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 หลักสูตรโรงเรียนมีความเหมาะสมกับท้อง ผลปรากฏว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุด ถิ่น ผู้เรียนและการเรียนในปัจจุบันมีผลการ ประสงค์ของหลักสูตร ทั้งในด้านทักษะ ความรู้ ประเมินหลักสูตรโรงเรียนอยู่ในระดับดีมาก ความสามารถ เจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียน ผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้อยู่ใน รู้ โดยพิจารณาได้จากการสังเกตพฤติกรรม ระดับดีมาก และงานวิจัยของจีน แม็คกลิน ระหว่างเรียน การปฏิบัติกิจกรรม ทดสอบ (Jeanne McGlinn. 2005: 721–723) ได้ ย่อย และคะแนนจากแบบทดสอบวัดผล ศึกษาค้นคว้าเอกสารในประเด็นเรื่อง การอ่าน สัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนเฉลี่ยคิดเป็น วรรณกรรมของชนพื้นเมืองชาวอเมริกัน ครู ร้อยละ 84.67 แสดงว่าประสิทธิภาพของ ต้องรู้วัฒนธรรมและสภาพที่เป็นจริงของท้อง ผลลัพธ์ เท่ากับ 84.67 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ ถิ่นจึงจะสามารถสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำ�หนด สอดคล้องสัมพันธ์กัน แสดงให้เห็น และครูต้องทำ�วิจัย เตรียมข้อมูลเบื้องต้น ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรที่ พร้อมทั้งรวบรวมแหล่งข้อมูลจากหลายแหล่ง สร้างขึ้นส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม ในการสร้างวรรณกรรมที่เป็นของท้องถิ่น การ ผลการเรียนที่คาดหวังของหลักสูตรและ ประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้อง สอดคล้องกับงานวิจัยของ อุรา พิมพ์เรือง

147 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

(2552: 127 - 88) ได้ทำ�การศึกษาวิจัย โรงเรียนนี้แสดงให้เห็นว่า มีความสอดคล้อง เรื่องการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระ กับความต้องการจำ�เป็นของชุมชนและความ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง คิดเห็นของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องที่ต้องการนำ� การประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุในท้องถิ่น พบว่า ปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้ ความสามารถใน ผลการหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการ เรื่อง ผญาภาษิตมาใช้ในกระบวนการจัดการ เรียนรู้ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.05/88.23 เรียนรู้ ตลอดจนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E1/E2) ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ค่าดัชนี ที่เหมาะสมกับสภาพของชุมชนท้องถิ่นและ ประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้ เท่ากับ ผู้เรียน นักเรียนมีโอกาสได้ไปศึกษาแหล่ง 0.7309 หมายความว่า ผู้เรียนมีความ เรียนรู้ต่างๆ ในส่วนของครูพบว่า หลังจาก ก้าวหน้าในการเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการ นำ�แผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้สอนแล้ว ครูมี เรียนร้อยละ 73.09 นักเรียนหลังเรียนสูง ความคิดเห็นว่า แผนการจัดการเรียนรู้มีความ กว่าก่อนเรียน เช่นเดียวกับงานวิจัยของดวง เหมาะสม ตลอดจนการจัดกิจกรรมการเรียน จันทร์ ประเสริฐอาษา (2550: บทคัดย่อ) ได้ รู้ มีการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่หลาก ทำ�การศึกษาวิจัย เรื่องการพัฒนาหลักสูตร หลาย นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำ�กิจกรรม โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียน ร่วมมือกันเป็นกลุ่ม ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ รู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการเลี้ยง ถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียน มีความภาค จิ้งหรีด พบว่านักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยง ภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการถ่ายทอดความรู้ทั้ง จิ้งหรีด สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนนำ�ความรู้สู่ ร่วมกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาทางภาษาของท้อง การปฏิบัติและบรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้รวม ถิ่นไว้ให้คงอยู่ต่อไป ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด ทั้ง มีความสามารถในการนำ�ทรัพยากรที่มี ของ สตัฟเฟิลบีม (สมนึก ภัททิยธนี. 2546: ในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ 10 ; อ้างอิงมาจาก Stufflebeam.1973: 4. ผลการประเมินการใช้หลักสูตร 317) กล่าวว่า การประเมินหลักสูตรเป็นก ผลการประเมินการใช้หลักสูตรโรงเรียน ระบวนการในการรวบรวมข้อมูลนำ�เสนอผล บ้านหนองหญ้ารังกา กลุ่มสาระการเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อที่จะนำ�ไปใช้ให้เป็น รู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง ผญา ประโยชน์ในการตัดสินหาทางเลือกที่ดีกว่า ภาษิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยพิจารณา เดิม และสอดคล้องกับแนวคิดของประสาท จากแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน เนืองเฉลิม (2553: 91) กล่าวว่า ความรู้ และครูผู้สอนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียน ความเข้าใจที่ได้จากการประเมินหลักสูตร รู้ด้วยหลักสูตรโรงเรียน พบว่า มีความเห็น จะเป็นประโยชน์ช่วยให้มีการกลั่นกรอง ทุกด้านอยู่ในระดับมาก และมากที่สุดใน หลักสูตรเพื่อให้ได้หลักสูตรที่สอดคล้องกับ บางด้าน ในการจัดการเรียนรู้ด้วยหลักสูตร สภาพที่เป็นจริง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ

148 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

รัฐศาสตร์ สุขสวัสดิ์ (2550: บทคัดย่อ)) ได้ ชีวิตภายใต้ข้อคิด ปรัชญา จากวรรณกรรม ทำ�การศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่น ผู้เรียนได้เรียนรู้สิ่งที่อยู่ใกล้ตัวทำ�ให้ ท้องถิ่นเพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้าน เรื่อง เกิดการเรียนรู้ มีความเข้าใจเนื้อหาสาระได้ ประเพณีลากพระ พบว่าความคิดเห็นของ ง่าย และความคิดเห็นของครูผู้ใช้หลักสูตรที่ ผู้เกี่ยวข้องในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ พัฒนาขึ้น มีคุณภาพอยู่ในระดับดีหลักสูตร ในระดับมาก และบางประเด็นอยู่ในระดับ มีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน เนื้อหาของหลักสูตร มากที่สุด หลักสูตรมีความสอดคล้องกับ สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ความต้องการของนักเรียนและชุมชนท้อง การจัดกิจกรรมเหมาะสม และมีการวัดผล ถิ่น กิจกรรมการเรียนรู้ ทำ�ให้นักเรียนเกิด ประเมินผลสอดคล้องกับจุดประสงค์การ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องประเพณีและศิลป เรียนรู้ เวลาที่ใช้ในการจัดกระบวนการเรียน วัฒนธรรมในท้องถิ่นมากขึ้น นักเรียนมีความ รู้มีความเหมาะสม โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียน รัก ความหวงแหน ความภาคภูมิใจในตัวเรือ ได้ฝึกปฏิบัติจริง เนื้อหาสาระเป็นเรื่องที่ผู้ พระของชุมชนบ้านบางดาน มีบรรยากาศ เรียนมีความสนใจ ในการเรียนที่สนุกสนาน น่าสนใจและไม่ เครียด นักเรียนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความ ข้อเสนอแนะ รู้และแสดงความคิดเห็นกับครูผู้สอนอยู่เสมอ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป ปราชญ์ชาวบ้านมีความรู้ ความสามารถใน เรื่องประเพณีลากพระเป็นอย่างดีเช่นเดียว 1.1 ก่อนนำ�หลักสูตรไปใช้ควรได้รับ กับงานวิจัยของ นิรัฉรา วงศ์บุตร (2552: ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา 204 - 206) ได้ทำ�การศึกษาวิจัย เรื่อง การ ขั้นพื้นฐาน และครูควรศึกษารายละเอียด พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหน ต่างๆ ให้เข้าใจเพื่อให้การนำ�หลักสูตรไปใช้ องฉิม (สิงห์จันทร์บำ�รุง) กลุ่มสาระการเรียน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ รู้ภาษาไทย สาระท้องถิ่น เรื่อง วรรณกรรม ต่อนักเรียนมากที่สุด ท้องถิ่น พบว่า ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อ 1.2 หลักสูตรสร้างขึ้นตามแนวพระ การเรียนด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม ราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช หลักสูตร มีความเห็นด้วยอย่างยิ่ง หลักสูตร 2542 ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันที่เปิดโอกาสให้ มีความสอดคล้องกับความต้องการของท้อง โรงเรียนร่วมกับท้องถิ่นจัดทำ�หลักสูตรที่ ถิ่น กิจกรรมการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ สอดคล้องกับปัญหาและวิถีชีวิต ของชุมชน ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง ได้เรียนรู้จากแหล่ง สถานศึกษาสามารถนำ�ไปเป็นแนวทางใน เรียนรู้ในชุมชน จากปราชญ์ชาวบ้านซึ่ง การพัฒนาหลักสูตรในกลุ่มสาระอื่นๆ ได้ เป็นผู้มีความรู้และมีรูปแบบวิถีการดำ�เนิน

149 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

1.3 ในกระบวนการจัดกิจกรรมการ ประสบการณ์เกี่ยวกับประเพณีและศิลป เรียนการสอน อาจยืดหยุ่นเวลาให้เหมาะสม วัฒนธรรมในชุมชนท้องถิ่นของตน และ กับกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสนำ�เสนอ ควรเป็นผู้ที่มีเทคนิคที่หลากหลายในการ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ารวบรวม ถ่ายทอดความรู้เพื่อจูงใจผู้เรียน เนื่องจาก 1.4 การจัดการศึกษาในปัจจุบัน ควร นักเรียนมีพื้นฐานของการเรียนรู้และความ จัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพและความ สามารถที่แตกต่างกัน ต้องการของท้องถิ่นอย่างแท้จริง ให้ผู้เรียนได้ 2. ข้อเสนอแนะในการทำ�วิจัยครั้ง เรียนรู้สิ่งที่ใกล้ตัว เกี่ยวกับหมู่บ้าน ชุมชนถิ่น ต่อไป ที่อยู่อาศัย ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอด 2.1 ควรทำ�การวิจัยเกี่ยวกับการ จนสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อ พัฒนาหลักสูตรที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นใน จะทำ�ให้นักเรียนมีความรัก ความภาคภูมิใจ ด้านต่างๆ ในกลุ่มสาระอื่นนอกเหนือจาก และหวงแหนประเพณีและศิลปวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อให้ผู้ ในท้องถิ่น เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างหลากหลายในการ 1.5 ครูผู้สอนควรจัดหาสื่อและแหล่ง อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น เรียนรู้ต่างๆ เพิ่มเติมให้กับผู้เรียนอย่างหลาก 2.2 ควรทำ�การวิจัยเกี่ยวกับการนำ� หลาย หรือจัดหาเอกสารหนังสือสำ�หรับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้มาพัฒนา การค้นคว้าให้กับผู้เรียนอย่างพอเพียงและ เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ ประสานงานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ล่วง และความจำ�เป็นของแต่ละท้องถิ่นโดยพัฒนา หน้าเพื่อความพร้อมก่อนการจัดกิจกรรม เป็นสื่อการเรียนรู้ที่เป็นนวัตกรรมใหม่ๆ เช่น การเรียนรู้ บทเรียนสำ�เร็จรูป (CAI) บทเรียนออนไลน์ 1.6 ปราชญ์ชาวบ้านที่ถ่ายทอด (E-Learning) ความรู้ ควรเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจ มี

150 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

References Akpin, Nupid. (2010). Local Curriculum Development, Working, Occupation, and Technology Learning Substance titled. “Bark Dyed Cotton,” Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction, Mahasarakam University. Dharmawat, Jaruwan. (1983). Villagers’ Paya Poet. Mahasarakam: Thai Language and Eastern Language Department, Faculty of Humanities, Srinakarinta- rawirot Mahasarakam. Koomban, Siriwan. (2007). Curriculum Development of Supplementary Thai Language Learning Substance T 4027 Local Lierature. Master of Educa- tion Thesis in Thai Language Teaching, Department of Curriculum and Instructional Technique, Silapakon University. Lorelei Cederstrom. (2009) Developing a curriculum for Native Literature, 1985. Available online at http://vnweb.hwwilsonweb.com (2009/10/20) Nuangchalerm, Prasat. (2010). Educational Program. Mahasarakam: Mahasarakam University Printing. Pattaniyatanee, Somneuk. (2003). Educational Measurement. The 6th Printing. Kalasin: Prasan Printing. Pimreung, Ura. (2009). Local Curriculum Development, Working, Occupation, and Technology Learning Substance titled. “Flower Handmade from Lo- cal Material,” Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction, Mahasarakam University, Prasert-a-sa, Duangjan. (2010). Curriculum Development by using Local Wisdom, Working, Occupation, and Technology Learning Substance titled “Cricket Raising,” Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction, Ma- hasarakam University. Rattasat, Sooksawad. (2010). Local Curriculum Development for Transferring the Local Wisdom titled “Lakpra Tradition,” Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction, Taksin University. Tattong, Kanat. (2007). Local Curriculum. Bangkok: Pechkasem Printing.

151 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Toomyota, Patoomwan. (2010). Local Curriculum Development titled “Cradle Plaiting,” Master of Education Thesis in Educational Research, Mahasarakam University. Utranan, Sa-ngad. (1989). Foundation and Principle of Curriculum Development. the 3rd Edition, Bangkok: Mitsayam Printing.

152 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม Comparisons of Learning Achievement, Analytical Thinking, and Achievement Motivation of Mathayomsueksa 2 Students Between Using Simulation Approach and Problem Base Learn- ing for social studies, Religion and Culture Learning Strands

ลักขณา ศรีมามาศ1, พัฒนานุสรณ์ สถาพรวงศ2, สุมาลี ชูกำ�แพง3 Lukkhana Srimamas1, Pattananusorn Sathapornwong2, Sumalee Chookhampaeng3 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ จำ�ลอง และแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) ศึกษา ดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลองและแผนการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้ สถานการณ์จำ�ลอง และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 และ 2/4 โรงเรียนโพธิแสนวิทยา อำ�เภอกุสุมาลย์ สำ�นักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำ�นวนห้องเรียนละ 33 คน และ 35 คน ตามลำ�ดับ ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่

1นิสิตระดับปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3อาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1M. Ed. Candidate in Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University 2Asst. Prof. Dr., Faculty of Education, Mahasarakham University 3Lecturer, Faculty of Science, Mahasarakham University 153 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

(1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน เรื่อง กฏหมายน่ารู้ รูปแบบละ 8 แผน รวมเวลาเรียนแบบละ 16 ชั่วโมง (2) แบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำ�นวน 30 ข้อ มีค่าอำ�นาจ จำ�แนกตั้งแต่ 0.33 – 0.88 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.72 (3) แบบทดสอบ วัดการคิด วิเคราะห์ เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำ�นวน 25 ข้อ มีค่าความยากตั้งแต่ 0.28 – 0.43 ค่าอำ�นาจจำ�แนกตั้งแต่ 0.26 – 0.68 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (KR-20) เท่ากับ 0.80 (4) แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จำ�นวน 20 ข้อ มีค่าอำ�นาจจำ�แนกรายข้อ (rxy) ตั้งแต่ 0.66 – 0.88 และค่าความ เชื่อมั่นทั้งฉบับ (α) เท่ากับ 0.84 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมุติฐานใช้ F-test (One - way MANOVA) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และแผนการจัดการเรียนรู้โดย ใช้ปัญหาเป็นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 83.59/82.73 และ 81.56/81.05 ตามลำ�ดับ 2. ดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และแผนการ จัดการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีค่าเท่ากับ 0.6890 และ 0.6694 ตามลำ�ดับ 3. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลองมีการคิดวิเคราะห์สูง กว่ากลุ่มที่จัด การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .003 แต่ นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ ทั้งสองกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ไม่แตกต่างกัน

คำ�สำ�คัญ:การจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง, การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น ฐาน, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, การคิดวิเคราะห์, แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ABSTRACT The purposes of this research were: (1) to develop plans for learning organization using the simulation approach and Problem based learning approach of Mathayomsuksa 2 level with a required efficiencies of 80/80, (2) to find out effectiveness indices of those two mentioned plans, (3) to compare learning achievement, analytical thinking and achievement motivation of the students

154 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

who learned using the two different approaches. The sample used in this study consisted of 68 Mathayomsueksa 2 students attending Potisaenvitthaya school in Kusuman district, under the Office of Secondary Educational Service Area Zone 23 in the second semester of the academic year of 2011, obtained using the cluster random sampling technique. They were randomly divided into two experimental groups, 33 and 35 students, and were randomly assigned in differ- ent of two experimental groups. The instruments used for the study comprised of: (1) 2 types of learning plans as mentioned 8 plans each, for 16 hours per each approach ; (2) a 30 item of learning achievement test with a discriminat- ing powers ranging 0.33 - 0.88, and a reliability of 0.72 ; (3) 25-item analytical thinking ability test with difficulties ranging 0.28 - 0.43, discriminating powers ranging 0.26 - 0.68, and a reliability of 0.80 ; a 20-item scales of achievement motivation with discriminating powers ranging 0.66 - 0.88, and a reliability of 0.84. The statistics used for analyzing data were percentage, mean, standard deviation, and F-test (One-way MANOVA) was employed for testing hypotheses. The results of the study were as follows: 1. The plans of Simulation learning approach and Problem-based learning approach had efficiencies 1(E /E2) of 83.59/82.73 and 81.56/81.05 respectively. 2. The plans of Simulation learning approach and Problem-based learn- ing approach had the effectiveness indices of 0.6890 and 0.6694, indicating that these students progressed their learning at 68.90 and 66.94 percentage respectively. 3. The students who learned using the Simulation learning approach showed higher analytical thinking ability than the group who learned using problem-based learning approach at the level of significance .003, but they did not show different of learning achievement, and achievement motivation.

Keywords:Simulation Learning Approach, Problem-Based Learning Approach, Learning Achievement, Analytical Thinking Ability, Achievement Motivation

155 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

บทนำ� สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ยังไม่เน้น ให้ผู้เรียนปฏิบัติจริง ผู้เรียนยังขาดการเสริม การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา สร้างทักษะการคิดให้บรรลุเป้าหมาย ยังขาด ศาสนา และวัฒนธรรม ในสาระหน้าที่พลเมือง กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กิจกรรมยัง วัฒนธรรมและการดำ�เนินชีวิตในสังคม จะ ไม่เอื้อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่สามารถมอง ต้องเรียนรู้ระบบการเมืองการปกครองใน กว้าง คิดไกลใฝ่รู้ วิธีการเรียนยังไม่เน้นให้ สังคมปัจจุบัน ได้แก่ การปกครองระบอบ ผู้เรียนคิดเชื่อมโยงการค้นหาคำ�ตอบและ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น การนำ�ความรู้ไปประยุกต์ใช้ จึงทำ�ให้ผู้เรียน ประมุขลักษณะและความสำ�คัญการเป็น ขาดความกระตือรือร้นในการเรียนและรับผิด พลเมืองดี ความแตกต่างความหลากหลาย ชอบงานการเรียนเท่าที่ควร ความใส่ใจใน ทางวัฒนธรรมค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่า การแสดงความคิดเห็นเพื่อเสริมสร้างความ นิยมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง รู้ในบทเรียนผ่านการปฏิบัติค่อนข้างน้อย เป็นประมุข สิทธิหน้าที่ เสรีภาพการดำ�เนิน ขาดการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียนและ ชีวิตอย่างสันติสุข (สำ�นักงานคณะกรรม การ ระหว่างครูกับผู้เรียน และผู้เรียนมีส่วนร่วม การศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2552: 132) กลุ่ม ในการเรียนรู้ค่อนข้างน้อย ปัจจัยดังกล่าวจึง สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิด จะต้องเรียนรู้ และแสวงหาประสบการณ์ วิเคราะห์อยู่ในระดับไม่น่าพอใจ และผู้วิจัย ทางด้าน ระบบการเมืองการปกครอง ระบบ ได้พิจารณาเห็นว่ากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ การเมืองประเทศต่างๆ โดยเฉพาะการเมือง สถานการณ์จำ�ลอง และกิจกรรมการเรียน การปกครองของไทยภายใต้รัฐธรรมนูญ ทั้ง โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นวิธีการจัดการเรียน ต้องเรียนรู้เข้าใจรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมาย รู้ที่มีคุณค่าสำ�หรับผู้เรียน ช่วยเสริมสร้างให้ผู้ สูงสุดในการปกครองประเทศ ระบบการ เรียนประสบผลสำ�เร็จในการเรียนได้ เพราะ ปกครองท้องถิ่นและกฎหมายสำ�คัญที่ เป็นกิจกรรมการเรียนที่ท้าทายความสามารถ เกี่ยวข้องกับชีวิตคนไทย เพื่อจะได้ปฏิบัติ ของผู้เรียนในการค้นหาคำ�ตอบด้วยความ ตนเป็นพลเมืองดีในวิถีทางประชาธิปไตย เข้าใจ ควบคู่กับวิธีการสืบเสาะหาความรู้ และมีส่วนร่วมต่อสังคมอย่างมีเหตุผล อย่างมีขั้นตอน ซึ่งการออกแบบกิจกรรมการ (กรมวิชาการ. 2544: 25-26) เรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง เป็นวิธีการ จากสภาพปัญหาด้านการจัดการเรียน เรียนที่ทำ�ให้ผู้เรียนได้รับรู้ประสบการณ์ตรง รู้ของโรงเรียนโพธิแสนวิทยา อำ�เภอกุสุมาลย์ ในการเรียน เป็นการเรียนรู้ที่น่าสนใจเพราะ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จะช่วยให้ผู้เรียนได้แสดงพฤติกรรมความรู้สึก เขต 23 พบว่า กิจกรรมการเรียนกลุ่มสาระ นึกคิด และเจตคติต่อการเรียนรู้ที่ดี เพราะ

156 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

การใช้สถานการณ์จำ�ลองประกอบบทเรียน อย่างเป็นระบบ เป็นการนำ�ข้อดีของวิธีการ จะมีบรรยากาศที่สนุกและจูงใจให้ นักเรียน สืบเสาะหาความรู้และคำ�ตอบให้กับปัญหา มีความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม ที่ข้องใจ ทำ�ให้เกิดความภูมิใจที่ได้ใช้สติ และเรียนอย่างมีชีวิตชีวามีการเคลื่อนไหว ปัญญาและความรู้ความสามารถในการคิด อิริยาบถ ปัจจัยเหล่านี้จะส่งผลให้ผู้เรียนมี และมีส่วนร่วมในการเรียน ทำ�ให้การเรียนรู้ ความสนใจต่อการเรียนเป็นวิธีการเรียน ที่ผู้ นั้นมีคุณค่า มีความหมายยิ่งขึ้น การจัดการ สอนที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สภาพความ เรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน ยังเป็นวิธีการส่ง เป็นจริงและเกิดความเข้าใจในสถานการณ์ เสริมให้นักเรียนคิดอย่างไตร่ตรองรอบคอบ ที่มีตัวแปรจำ�นวนมากที่มีความสัมพันธ์ สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยความเข้าใจและนำ� กันอย่างซับซ้อน (ทิศนา แขมมณี. 2547: ไปประยุกต์ ใช้เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ 370) ในขณะที่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อย่างเหมาะสมและมีคุณค่าสำ�หรับตนเอง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นกระบวนการการ (นิราศ จันทรจิตร. 2550: 97-113) เรียนที่นำ�ความรู้ประสบการณ์มาสร้างสรรค์ จากเหตุผลและความสำ�คัญดังกล่าว องค์ความรู้ เนื้อหาสาระของวิชาที่เรียน อีก ข้างต้น ผู้วิจัยในฐานะผู้สอนกลุ่มสาระการ ทั้งยังเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การให้เหตุผล ตามแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จึงมีความสนใจและ แบบสร้างสรรค์นิยม สนับสนุนให้ผู้เรียนสร้าง ต้องการศึกษาค้นคว้าวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพ ความรู้ใหม่จากการศึกษาสถานการณ์ปัญหา ผู้เรียนในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การ อย่างเข้าใจ และออกแบบวิธีการแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของ ผ่านการคิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์ โดย นักเรียน ในเชิงเปรียบเทียบผลการเรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ และการปฏิบัติในสถานการณ์จริง ใช้ทักษะ จำ�ลองและการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน การสังเกตการจินตนาการเพื่อเกิดการเรียน เพื่อจะได้นำ�ผลการวิจัย ไปใช้ประโยชน์ในการ รู้ด้านกระบวนการ การคิดวิเคราะห์ การ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในส่วนที่เกี่ยวข้องให้ ค้นหาความรู้โดยใช้คำ�ถาม การจัดโครงสร้าง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป ให้ผู้เรียนเกิดมโนมติด้วยความเข้าใจ และ สามารถนำ�ความรู้ที่เกิดขึ้นไปใช้แก้ปัญหา ความมุ่งหมายของการวิจัย ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ และกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่ โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และแผนการจัดการ จะใฝ่หาความรู้ ฝึกให้ผู้เรียนคิดแก้ปัญหา เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มสาระการ

157 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.2 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตาม ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 และ เกณฑ์ 80/80 2/4 โรงเรียนโพธิแสนวิทยา จำ�นวน 33 คน 2. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของ และ 35คน ตามลำ�ดับ ซึ่งได้มาโดยการสุ่ม แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ แบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จำ�ลอง และเเผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ 1.3 เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ปัญหาเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เนื้อหาในสาระหน้าที่พลเมือง เรื่อง กฎหมาย 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ น่ารู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำ�นวนรูปแบบ เรียน การคิดวิเคราะห์ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การเรียนรู้รูปแบบละ 16 ชั่วโมง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชนิด ดังนี้ และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถาน การณ์จำ�ลอง และแผนการจัดการเรียนรู้โดย สมมติฐานของการวิจัย ใช้ปัญหาเป็นฐาน ใช้เวลาเรียนแผนละ 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่ม ชั่วโมง จำ�นวนรูปแบบละ 8 แผน รวมเวลา ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ รูปแบบละ 16 ชั่วโมง จำ�ลอง และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เป็นฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน การคิด เรียน เรื่องกฎหมายน่ารู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา วิเคราะห์ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์แตกต่างกัน ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 เป็นแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก วิธีการวิจัย จำ�นวน 30 ข้อ มีค่าอำ�นาจจำ�แนกรายข้อ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตั้งแต่ 0.33 – .88 และค่าความเชื่อมั่นทั้ง ฉบับ เท่ากับ 0.72 1.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโพธิแสนวิทยา 3. แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ อำ�เภอกุสุมาลย์ สำ�นักงานเขตพื้นที่การ เป็นแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จำ�นวน ศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ในภาคเรียนที่ 2 25 ข้อ มีค่าความยากตั้งแต่ 0.28 – 0.43 ปีการศึกษา 2554 จำ�นวน 120 คน จาก ค่าอำ�นาจจำ�แนกตั้งแต่ 0.26 – 0.68 และค่า ห้องเรียน 4 ห้อง ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (KR-20) เท่ากับ0.80

158 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

4. แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เป็น มาตรฐาน และค่าร้อยละ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 อันดับ 2. การหาดัชนีประสิทธิผลของ จำ�นวน 20 ข้อ มีค่าอำ�นาจจำ�แนกรายข้อ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ (rxy) ตั้งแต่ 0.66 – 0.88 และมีค่าความ จำ�ลอง และแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.84 ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง กฎหมายน่ารู้ โดยการ คำ�นวณจากสูตร E.I. การดำ�เนินการวิจัย 3. การวิเคราะห์เปรียบเทียบผล 1. ทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบทดสอบ สัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และแรง วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับนักเรียนกลุ่ม จูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม ปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียน 2. จัดการเรียนรู้ด้วยแผนการ รู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และการจัดการ จัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง กฎหมาย แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน น่ารู้ โดยการทดสอบสมมติฐานด้วย F-test เรื่อง กฎหมายน่ารู้ ใช้เวลาเรียนแผนละ 2 (One-way MANOVA) ชั่วโมง รูปแบบละ 8 แผน รวมเวลารูปแบบ ละ 16 ชั่วโมง ผลการวิจัย 3. ทดสอบหลังเรียนเมื่อสิ้นสุดการ ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ เรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เรียน แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ และ สถานการณ์จำ�ลอง และแผนการจัดการ แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานกลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การวิเคราะห์ข้อมูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยดำ�เนิน 83.59/82.73 และ 81.56/81.05 ตามลำ�ดับ การวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 2. ดัชนีประสิทธิผลของแผนการ 1. การหาประสิทธิภาพของแผนการ จัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และ จัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีค่าเท่ากับ 0.6890 และ 0.6694 ตามลำ�ดับ เรื่อง กฎหมายน่ารู้ ทั้งสองรูปแบบ ตามเกณฑ์ 3. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียน 80/80 โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน รู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลองมีการคิดวิเคราะห์

159 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

สูงกว่ากลุ่มที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น นั้นจะส่งผลถึงผู้เรียนในลักษณะเดียวกันกับ ฐาน อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .003 ที่เกิดขึ้นในสถานการณ์จริง โดยมีจุดประสงค์ แต่นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ทั้งสอง ที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สภาพความเป็น กลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแรงจูงใจ จริงเกิดความเข้าใจในสถานการณ์ที่เขากำ�ลัง ใฝ่สัมฤทธิ์ ไม่แตกต่างกัน เผชิญอยู่ ขณะที่ผู้เรียนจะต้องใช้ข้อมูลทั้งหมด ที่ได้รับประกอบกับวิจารณญาณของตนเอง อภิปรายผล ช่วยในการปฏิบัติตามสถานการณ์นั้นให้ดีที่สุด ซึ่งการเรียนรู้แบบสร้างสถานการณ์จำ�ลองนี้ การวิจัยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการถ่ายโยงการเรียนได้ ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และแรงจูงใจ ดีและสามารถนำ�ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง ใฝ่สัมฤทธิ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ได้ (ทิศนา แขมมณีและคณะ. 2545: 202) 2 เรื่อง กฎหมายน่ารู้ ระหว่างการจัดการ ส่วนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และการ จะออกแบบกิจกรรมสำ�คัญที่ประกอบด้วย จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สามารถ การกำ�หนดปัญหา นักเรียนทำ�ความเข้าใจ อภิปรายผลได้ดังนี้ กับปัญหา ออกแบบและดำ�เนินการศึกษา 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ค้นหาคำ�ตอบเกี่ยวกับปัญหานั้น นำ�ความรู้ สถานการณ์จำ�ลอง และแผนการจัดการเรียน ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาสังเคราะห์เป็น รู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ความรู้ใหม่ แล้วนำ�มาสรุปและประเมินค่า ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ของคำ�ตอบ จัดการนำ�เสนอและประเมินผล 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.59/82.73 งาน อีกทั้ง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ และ 81.56/81.05 ตามลำ�ดับ การที่ผล ปัญหาเป็นฐานเป็นการใช้ตัวปัญหาเป็นสาระ การวิจัยปรากฏเช่นนี้ อาจเนื่องมาจากการ หลัก สำ�หรับผู้เรียนที่จะได้เรียนรู้ทักษะการ จัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง ได้ แก้ปัญหา ที่จะเป็นตัวกระตุ้นการเรียนรู้ไป มุ่งเน้นการเรียนรู้ที่สนับสนุนให้ผู้เรียนเกิด สู่คำ�ถามที่ต้องการคำ�ตอบและจะชี้นำ�ให้ผู้ การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำ�หนด โดย เรียนสืบค้นหาคำ�ตอบต่อไป (พวงรัตน์ บุญ ให้ผู้เรียนแสดงออกหรือปฏิบัติกิจกรรมใน ญานุรักษ์. 2544: 42) ซึ่งสอดคล้องกับผล สถานการณ์ที่มีบทบาทข้อมูลและเงื่อนไขการ การวิจัยของเหรียญทอง สุดสังข์ (2550: แสดงที่สะท้อนความเป็นจริง และมีปฏิสัมพันธ์ 114) ที่พบว่าแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ กับสิ่งต่างๆ ในสถานการณ์นั้นโดยใช้ข้อมูล ปัญหาเป็นฐาน และแผนการจัดการเรียน ที่มีสภาพคล้ายกับข้อมูลในความเป็นจริงใน รู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง เรื่องคุณธรรม การตัดสินใจและแก้ปัญหา ซึ่งการตัดสินใจ จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา

160 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในสถานการณ์ปัญหา เหตุการณ์ที่กำ�หนด มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 82.84/ 82.50 และ สามารถใช้ข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายกับของ 83.67/85.37 ตามลำ�ดับและผลการศึกษา สถานการณ์จริงประกอบ การวิเคราะห์ ของ เนตรา มูลดวง (2550: 75) ที่พบว่า สถานการณ์ การตัดสินใจและดำ�เนินการแก้ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ ปัญหาให้บรรลุผล ซึ่งเป็นการจัดสถานการณ์ จำ�ลอง เรื่อง วิถีประชาธิปไตย ชั้นมัธยมศึกษา ให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมแก้ปัญหา ทั้งใน ปีที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.27/85.97 ลักษณะของรายบุคคลและกลุ่มย่อยและมีขั้น 2. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถาน ตอนการจัดกิจกรรมการเรียน สามารถช่วย การณ์จำ�ลอง และแผนการจัดการเรียน ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และความสามารถ รู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ในการคิดบรรลุผลได้ ซึ่งทิศนา แขมมณี และ ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คณะ (2545: 56) ได้เสนอแนวคิดไว้ว่า การ มีดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ .6890 และ .6694 เรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง เป็นกระบวน แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียน การที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ คิดเป็นร้อยละ 68.90 และ 66.94 ามลำ� เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำ�หนด โดยให้ผู้ ดับ การที่ผลการวิจัยปรากฏเช่นนี้ อาจเป็น เรียนลงไปเล่นในสถานการณ์ที่มีบทบาท ผลเนื่องมาจาก ผู้วิจัยได้ออกแบบแผนการ ข้อมูล และกติกาการเล่น ที่สะท้อนความ จัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง และ จริง และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏ การจัดการเรียนรู้โดยปัญหาเป็นฐาน ตาม อยู่ในสถานการณ์นั้น โดยมีจุดประสงค์มุ่ง กรอบการจัดกิจกรรมการเรียนที่มุ่งให้ความ ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สภาพความเป็นจริง สำ�คัญกับการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการรู้คิด เกิดความเข้าใจที่ดีในเหตุการณ์ที่เขากำ�ลัง ของผู้เรียน ขณะที่ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนา เผชิญอยู่ ซึ่งผู้เรียนจะต้องใช้ข้อมูลประกอบ ความรู้ความเข้าใจด้านความคิดรวบยอด กับวิจารณญาณของตนให้ปฏิบัติหน้าที่ตาม ของเนื้อหาบทเรียน เมื่อพิจารณาเงื่อนไข สถานการณ์นั้นให้บรรลุผล ส่วนการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้สถานการณ์ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานนั้น ผู้วิจัยเห็นว่าเป็นการ จำ�ลอง ที่ให้ความสำ�คัญกับแนวคิด หลักการ ออกแบบกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่าน ของกระบวนการเรียนที่ผู้สอนจัดสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เริ่ม หรือจำ�ลองเหตุการณ์ประกอบ เพื่อให้ผู้ จากการเผชิญปัญหาที่ครูจัดหรือออกแบบให้ เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมแก้ปัญหา และส่งผล ผู้เรียนรายบุคคลและกลุ่ม ร่วมกันคิดวางแผน ให้เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่กำ�หนด นำ�ไปสู่การปฏิบัติเพื่อค้นหาคำ�ตอบและเกิด โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์ การเรียนรู้จากกลุ่มผู้เรียนร่วมกัน โดยครูเป็น ผู้คอยให้คำ�ชี้แนะประเด็นความเข้าใจเพิ่ม

161 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

เติมเพื่อสนับสนุนให้การแก้ปัญหาและการ ใช้ปัญหาเป็นฐาน และแผนการจัดการเรียน ค้นหาคำ�ตอบของผู้เรียนประสบผลสำ�เร็จ รู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง เรื่อง คุณธรรม และเกิดการเรียนรู้ในข้อมูลใหม่ๆ ด้วยตนเอง จริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีดัชนี ซึ่งนิราศ จันทรจิตร (2553: 258) มีความ ประสิทธิผลเท่ากับ 0.6804 และ 0.7246 เห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา ตามลำ�ดับ เป็นฐานว่า มีลักษณะเป็นกิจกรรมการเรียน 3. นักเรียนกลุ่มที่จัดการเรียนรู้โดย ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือการใช้คำ�ถาม เพื่อ ใช้สถานการณ์จำ�ลอง มีการคิดวิเคราะห์สูง สนับสนุนให้นักเรียนได้ใช้ความพยายามใน กว่ากลุ่มที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น การศึกษาค้นคว้าและแสวงหาคำ�ตอบ ด้วย ฐาน อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .003 วิธีการสืบเสาะหาความรู้ หรือเป็นกิจกรมที่ แต่นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ทั้งสอง นักเรียนยกประเด็นปัญหาที่ต้องการสำ�รวจ กลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแรง ค้นหาคำ�ตอบ และเลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาที่ จูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ไม่แตกต่างกัน ที่ผลการวิจัย เหมาะสมและมีคุณค่า โดยให้นักเรียนลงมือ ปรากฏเช่นนี้ อาจเนื่องมาจาก นักเรียนกลุ่ม ปฏิบัติด้วยตนเอง หรือเป็นกิจกรรมที่ครูจัด ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ สถานการณ์การเรียนรู้ที่มีลักษณะตรงกัน จำ�ลอง เป็นกลุ่มที่มีโอกาสลงมือปฏิบัติจริง ข้ามกับรูปแบบการเรียนที่มุ่งเน้นด้านเนื้อหา กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ ซึ่งมีครูเป็นผู้ดำ�เนินการจัดการข้อมูลความรู้ เรียนอย่างทั่วถึง และเกิดความพร้อมใน โดยกิจกรรมการเรียนที่ยึดปัญหาเป็นฐานมี การเรียนรู้ทั้งกายใจ สถานการณ์ที่นำ�มา ความต้องการให้ครูเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือ ใช้ในกิจกรรมการเรียน ได้รับการออกแบบ จัดระบบปัญหา หรือจัดคำ�ถามให้แก่นักเรียน ด้วยส่วนประกอบที่มีบริบทของเหตุการณ์ที่ โดยทางอ้อม และการใช้คำ�ถามช่วยให้ผู้เรียน เกี่ยวข้องค่อนข้างหลากหลาย เสริมสร้างให้ ค้นหาคำ�ตอบ แต่ไม่ได้เป็นผู้ดำ�เนินการแก้ นักเรียนมีโอกาสคิดวิเคราะห์ด้วยเหตุผลเพื่อ ปัญหาด้วยตัวครูเอง สอดคล้องกับผลการ นำ�ความรู้ประสบการณ์เดิม มาเชื่อมโยงกับ วิจัยของสุภาพร ทัศคร (2554: 94) ที่พบ บริบทเหตุการณ์ที่ปรากฏในขณะนั้น เพื่อนำ� ว่า แผนการจัด การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น ไปสู่การตัดสินใจเลือกปฏิบัติในการแก้ปัญหา ฐาน เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำ� ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลความรู้ประกอบ วัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา การลงความเห็นในหลายมิติของเงื่อนไขใน และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีดัชนี สถานการณ์มากกว่า ไม่เหมือนกับการใช้ ประสิทธิผล 0.5968 และสอดคล้องกับผล สถานการณ์เพื่อการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็น การ วิจัยของเหรียญทอง สุดสังข์ (2550: ฐาน เพราะกิจกรรมการเรียนโดยใช้ปัญหา 114) ที่พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้แบบ เป็นฐานผู้สอนจะจัดและกำ�หนดปัญหาให้ผู้

162 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

เรียนศึกษาทำ�ความเข้าใจเฉพาะกรณี เพื่อให้ คำ�ถามให้เกิดความเข้าใจในทุกบริบทของ ผู้เรียนคิดหาคำ�ตอบคล้ายกับการระบุปัญหา การเรียน ซึ่งในตอนสุดท้ายของกิจกรรมก็ ในบทเรียนให้รับรู้เข้าใจแล้วผู้เรียนจะวิเคราะห์ จัดให้ผู้เรียนสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมใน เงื่อนไขของปัญหาส่วนที่เป็นสาเหตุ ว่ามีทาง ส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประเด็นที่สามารถ เลือกหรือแนวทางการแก้ปัญหาด้วยวิธีการ นำ�ไปปรับใช้และสรุปอ้างอิงวิธีการหรือ ใดบ้าง โดยผู้เรียนจะเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่ เงื่อนไขไปอธิบายเหตุการณ์ในบริบทอื่นอีก มีคุณภาพและเหมาะกับความเข้าใจของตน ด้วย โดยเฉพาะการอภิปรายในประเด็นของ มาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ และถ้าหากวิธีการ กิจกรรมที่ใช้ได้ผล และมีประสิทธิภาพหรือ ดังกล่าวยังไม่บรรลุก็จะคิดเลือกวิธีการอื่น มีความล้มเหลวเกิดขึ้น ซึ่งมูลเหตุของปัจจัย มาใช้แก้ปัญหาแทนดังนั้น วิธีการเรียนตาม ดังกล่าวจึงส่งผลให้นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการ เงื่อนไขดังกล่าวจึงอาจเป็นการลองผิดลอง จัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง มี ถูกในการค้นหาคำ�ตอบของปัญหาก็ได้ซึ่ง ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์สูงกว่า อาจจะส่งผลต่อกระบวนการคิดของผู้เรียน กลุ่มที่ได้รับการจัด การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา ในลักษณะที่ต่างกัน ทำ�ให้กระบวนการคิด เป็นฐาน ส่วนเหตุผลของการจัดการเรียน ของผู้เรียนที่นำ�มาใช้ในบริบทของสถานการณ์ รู้ทั้งสองแบบช่วยให้นักเรียนทั้งสองกลุ่มมี จำ�ลองมีความท้าทาย ซับซ้อนมากกว่า การ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแรงจูงใจใฝ่ คิดในสถานการณ์ของการใช้ปัญหาเป็นฐาน สัมฤทธิ์ไม่แตกต่างกันนั้น อาจเป็นเพราะ ซึ่ง Savage & Armstrong (2004: 232- ว่า การจัดการเรียนรู้ทั้งสองแบบมีกิจกรรม 233) มีแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ผ่าน ที่เปิดโอกาสให้นักเรียนสร้างความเข้าใจใน การใช้สถานการณ์จำ�ลองไว้ว่า เป็นกิจกรรม ความคิดรวบยอดของเนื้อหาในบทเรียนเรื่อง การเรียนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออก กฎหมายน่ารู้ ในระดับใกล้เคียงกัน รวมทั้ง ตามบทบาทในสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่ นักเรียนทั้งสองกลุ่มมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ไม่ ปรากฏในบทเรียน และต้องการให้ผู้เรียนเกิด แตกต่างกัน ซึ่งอาจเป็นเพราะว่านักเรียนทั้ง การเรียนรู้อย่างเข้าใจผ่านกิจกรรมการละเล่น สองกลุ่มได้รับกิจกรรมที่ท้าทายความรู้ความ หรือการแสดง ด้วยการวิเคราะห์เหตุการณ์ สามารถ และจูงใจให้ผู้เรียนกระตือรือร้น มุ่ง ที่จะเรียนผ่านประสบการณ์และตัดสินใจ มั่นและสนใจที่จะทำ�กิจกรรมในบทเรียนให้ วางแผนการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาให้บรรลุ สำ�เร็จ เนื่องจากกิจกรรมสถานการณ์จำ�ลอง วัตถุประสงค์ที่ต้องการ กิจกรรมการเรียน จะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามจนเข้าใจในเป้า ตามแนวคิดนี้จะช่วยเสริมสร้างแรงจูงใจใน หมายของการเรียน และผู้เรียนจะออกแบบ การเรียนสูงมาก นักเรียนจะทำ�กิจกรรม เหตุการณ์บทบาทที่จะแสดงให้เชื่อมโยงกับ ด้วยความมุ่งมั่นให้บรรลุด้วยการคิดตอบ จุดประสงค์ในการเรียน เป็นการสร้างความ

163 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

เข้าใจในปัญหาบทเรียนที่มีศักยภาพ กระตุ้น ใช้ทักษะทางสังคมและการคิดหาวิธีการที่ ให้ถามคำ�ถามและอภิปรายในประเด็นข้อผิด จะค้นหาคำ�ตอบของปัญหา ดังนั้น จึงอาจ พลาดหรือข้อบกพร่องที่ได้เกิดขึ้น รวมทั้ง สรุปได้ว่ากิจกรรมการเรียนรู้ทั้งสองแบบ ให้การยอมรับในความคิดเห็นของผู้อื่นด้วย ได้แก่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ กิจกรรม การเรียนด้วยสถานการณ์จำ�ลองยัง จำ�ลองและการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนเป็นกลุ่ม ผู้เรียน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อความเข้าใจในบท และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ไม่แตกต่างกัน ซึ่ง เรียน ขณะที่ทำ�กิจกรรมกลุ่มยังเปิดโอกาส สอดคล้องกับผลการวิจัยของเหรียญทอง ให้ผู้เรียนแต่ละคนแสดงออกรายบุคคลใน สุดสังข์ (2550: 114) ที่พบว่านักเรียนชั้น บทบาทที่ตนรับผิดชอบ ในขณะที่กิจกรรม มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ การเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานประกอบการ แบบใช้ปัญหาเป็นฐานเรื่องคุณธรรมจริยธรรม วิจัยครั้งนี้ได้ออกแบบให้ผู้เรียนเรียนเป็นกลุ่ม มีความสามารถการคิดวิเคราะห์สูงกว่ากลุ่ม และรับผิดชอบร่วมกันคิดวิธีการแก้ปัญหาให้ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ สำ�เร็จ และเกิดความคิดรวบยอดในเนื้อหา จำ�ลอง อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ บทเรียน รวมทั้งความมุ่งมั่นแก้ปัญหาในบท .05 และไม่สอดคล้องในกรณีที่นักเรียนทั้ง เรียนที่ได้รับมอบหมายให้บรรลุร่วมกัน ซึ่ง สองกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่าง Ong & Borich (2006: 69-71) ได้เสนอ กัน ในทิศทางเดียวกันกับผลของการเปรียบ ความเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทียบการคิดวิเคราะห์ ปัญหาเป็นฐานไว้ว่า เป็นกิจกรรมการเรียน ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้ทั้งการคิดและการ ข้อเสนอแนะ ปฏิบัติควบคู่กัน ในการกำ�หนดปัญหาและ 1. ข้อเสนอแนะในการนำ�ไปใช้ วิธีการค้นหาคำ�ตอบ ซึ่งเป็นปัญหาที่นำ�พา ผู้เรียนให้เกิดความรู้ความเข้าใจในบทเรียน จากผลการวิจัยที่พบว่าการจัดการ และควรเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชีวิต เรียนแบบใช้สถานการณ์จำ�ลองและการจัดการ จริงของผู้เรียน โดยมีครูผู้สอนคอยให้คำ� เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีประสิทธิภาพ แนะนำ�ให้ผู้เรียนคิดและค้นหาคำ�ตอบ ด้วย เหมาะกับการนำ�ไปใช้พัฒนาให้นักเรียนมี กระบวนการค้นหาความรู้ความเข้าใจในเชิง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแรงจูงใจใฝ่ ของความลุ่มลึก การจัดการเรียนรู้โดยใช้ สัมฤทธิ์สูงขึ้น ในขณะที่การจัดการเรียนรู้ ปัญหาเป็นฐานที่ดีนั้น ควรสนับสนุนให้ผู้ โดยใช้สถานการณ์จำ�ลอง มีศักยภาพในการ เรียนแก้ปัญหาและค้นพบคำ�ตอบหรือความ พัฒนาผู้เรียนด้านการคิดวิเคราะห์ สูงกว่าการ คิดรวบยอดของความรู้ด้วยตนเอง ผ่านการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ดังนั้น

164 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

จึงสมควรที่จะนำ�ไปปรับใช้ในสถานการณ์ 2.2 ควรศึกษาคุณภาพด้านผลการ การเรียนในชั้นเรียนที่เกี่ยวข้อง ให้บังเกิด เรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ ประสิทธิภาพที่เหมาะสมต่อไป ภายใต้กรอบของตัวแปรอิสระด้านฐานะความ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป เป็นอยู่ เพศ หรือไสตล์การเรียนรู้ของผู้เรียน 2.1 ควรดำ�เนินการวิจัยเพื่อนำ�วิธี 2.3 ควรวิจัยเปรียบเทียบผลการเรียน จัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ จำ�ลองและวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา จำ�ลอง และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน เพื่อเปรียบเทียบผลของตัวแปร เป็นฐาน กับวิธีการจัดการเรียนรู้แบบอื่นหรือ ตามด้าน การคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมี ในรายวิชาอื่น เช่น การจัดการเรียนรู้ตาม วิจารณญาณ ความคิดสร้างสรรค์ การยอมรับ แนวทฤษฏีสร้างสรรค์ความรู้ การประยุกต์ นับถือตนเอง การคิดแก้ปัญหา ความเชื่อมั่น ใช้ทฤษฎีพหุปัญญา การจัดการเรียนรู้ตาม ในตนเอง การคิดตัดสินใจ หรือความฉลาด แนวคิดสมองเป็นฐาน การจัดการเรียนรู้ ทางอารมณ์ ของผู้เรียน ด้วยกลุ่มร่วมมือ การจัดการเรียนรู้รูปแบบ 4MAT การจัด การเรียนรู้ด้วยโปรแกรมบท เรียน หรือการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปา

References Department of Academic. (2001). Curriculum of Basic Education B.E.2544. Bangkok: The Express Transportation Organization of Thailand Printing. Nirat Jantharajit. (2010). Learning For Thinking. Maha Sarakham: Maha Sarakham University Publishing. Neatra Moondoung. (2007). The Development of Lesson Plan for Simulations Learning, Entitled Democratic Approach in Social Studies, Religion and Culture Content Strands of Mathayomsuksa Three Level. Independent Study for Master of Education Degree. Mahasarakham: Mahasarakham University. Ong, Ai-Choo and Borich, Gary D. (2006). Teaching Strategies That Promote Thinking: Models and Curriculum Approaches. Singapore: McGraw-Hill Education.

165 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Poungrat Boonyanurat. (2001). New Directions of Thai Teachers. Bangkok: Project of Professional Development in Higher Education, Department of Higher Education, Faculty of Education, Rheanthong Sudsang. (2007). The Comparison of Learning Outcomes of Mathayomsuksa One Students Between Using Problem-Based Learning and Simulations Learning Approach, Entitled Moral and Ethics, For Social Studies, Religion and Culture Content Strands. Thesis for Master of Education Degree. Mahasarakham: Mahasarakham University. Severiens, Sabine E. (2009). “Academic and Social Integration and Study Progress in Problem Based Learning,” Dissertation Abstracts International. 58(1): 59-69 ; July. Supaporn Thatsakorn. (2011). The Comparison of Learning Achievement, Ana- lytical Thinking Abilities, and Emotional Intelligence of Mathayomsuksa Two Students, Between Using Role PlayingApproach and Problem-Based Learning Approach, Entitled Law of Day Life. Thesis for Master of Educa- tion Degree. Mahasarakham: Mahasarakham University. The Office of Basic Education Commission. (2008). The Core Curriculum of Basic Education B.E. 2551. Bangkok: The Agricultural Co-operation of Thailand Publishing. Tissana Khammanee. (2001) Strategies of Teaching. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing. Tissana Khammanee. (2002). The Students – Centered Learning. 5th edition. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing.

166 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

การพัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อ ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น A Structural Equation Model of Factors Affecting School Effectiveness Under Local Administration Organizations

ปาริชาติ โน๊ตสุภา1, วาโร เพ็งสวัสดิ์2, วัลนิกา ฉลากบาง3, จิตติ กิตติเลิศไพศาล4 Parichat Notesupa1, Waro Phengsawat2, Wannika Chalakbang3, Jitti Kittileuspaisan4 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน และระดับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) ตรวจสอบความ สอดคล้องกลมกลืนของตัวแบบของปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ (3) ศึกษาอิทธิพลทาง ตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ ระยะแรกเป็นการกำ�หนด กรอบแนวคิดในการวิจัย ระยะที่สองเป็นการตรวจสอบสมมติฐานการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำ�นาจ จำ�แนกระหว่าง 0.38-0.94 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 กลุ่มตัวอย่างเป็นโรงเรียนใน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำ�นวน 630 โรง ใช้วิธีสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi -stage random sampling) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และ ตรวจสอบความตรงของตัวแบบ

1นักศึกษาปริญญาเอก สาขาภาวะผู้นำ�ทางการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 2, 3ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 4ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 1Ed.D. (Leadership in Educational Administration) Faculty of Education, Sakon Nakhon Rajabhat University 2, 3Assistant Professor,Dr., Faculty of Education, Sakon Nakhon Rajabhat University 4Assistant Professor,Dr., Faculty of Administration, Sakon Nakhon Rajabhat University 167 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ผลการวิจัย 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ ปัจจัยสมรรถนะองค์การ ปัจจัยการจัดกระบวนการ เรียนรู้ และปัจจัยบรรยากาศของโรงเรียน ประสิทธิผลของโรงเรียนมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณารายละเอียดในแต่ละปัจจัย พบว่า ส่วนใหญ่ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก มีเพียงปัจจัยสมรรถนะองค์การที่อยู่ในระดับปานกลาง 2. ผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแบบที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Chi-square = 226.11 ค่าองศาอิสระ = 115 ค่า P = 0.063 ค่าดัชนี GFI = 0.96 ค่าดัชนี AGFI = 0.91 ค่าดัชนี RMSEA = 0.056 และค่า CN = 276.52) 3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมต่อประสิทธิผลของ โรงเรียน เรียงลำ�ดับตามค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลจากมากไปหาน้อยดังนี้(1) อิทธิพลทางตรง มี 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยสมรรถนะองค์การ ปัจจัยการจัดกระบวนการเรียนรู้ ปัจจัยบรรยากาศ ของโรงเรียนและปัจจัยภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ (2) อิทธิพลทางอ้อมมี 3 ปัจจัย คือ ปัจจัย สมรรถนะองค์การที่ส่งผ่านปัจจัยการจัดกระบวนการเรียนรู้กับปัจจัยบรรยากาศของโรงเรียน ปัจจัยภาวะผู้นำ�ทางวิชาการที่ส่งผ่านปัจจัยการจัดกระบวนการเรียนรู้กับปัจจัยบรรยากาศ ของโรงเรียน และปัจจัยบรรยากาศของโรงเรียนที่ส่งผ่านปัจจัยการจัดกระบวนการเรียนรู้ และ(3) อิทธิพลรวมมี 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยสมรรถนะองค์การ ปัจจัยการจัดกระบวนการ เรียนรู้ ปัจจัยบรรยากาศของโรงเรียน และปัจจัยภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ

คำ�สำ�คัญ:ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ/ สมรรถนะองค์การ/ การจัดกระบวนการเรียนรู้/บรรยากาศ ของโรงเรียน/ประสิทธิผลของโรงเรียน ABSTRACT The research objectives were to (1) study factors affecting school effectiveness under local administration organizations and the level of school effectiveness; (2) examine the goodness-of-fit of the model of factors affecting school effectiveness under local administration organizations developed by the researcher with the empirical data; and (3) study the direct influence, indirect influence and total influence of factors affecting school effectiveness under local

168 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

administration organizations. The study was administered into 2 phases: the first phase was determination on the study framework; the second phase comprised a test of hypothesis based on a set of 5-level rating scale questionnaires with the discrimination power of 0.38-0.94 and the reliability coefficient of 0.97. The sample of 630 schools under local administration organizations were obtained using Multi-stage Random Sampling. Statistics used included frequency, percent- age, mean, standard deviation, Pearson’ Product Moment Correlation Coefficients the linear structural equation model and confirmatory factor analysis. The research finding: 1. The factors affecting school effectiveness were instructional leadership, organization’s competency, learning process management, school climate. The school effectiveness was in general at the high level. Considering each factor in detail, this research found that most factors were at the high level except the organization’s competency which was at the average level. 2. The goodness-of-fit test of the model of administrative factors affecting school effectiveness developed by this researcher showed that the model was consistent with the empirical data (Chi-square = 226.11, degree of freedom (df) = 115, P = 0.063, goodness-of-fit index (GFI) = 0.96, adjusted-goodness-of-fit index (AGFI) = 0.91, root mean square error of approximation (RMSEA) = 0.056 and critical number (CN) = 276.52.) 3. The factors that had direct, indirect and total effect on school effective- ness with the path coefficients ranging from large to small respectively as (1) direct effect in 4 factors those were organization’s competency, learning process management, school climate, and instructional leadership. (2) indirect effect in 3 factors those were organization’s competency influencing through learning process management and school climate, instructional leadership influencing through learning process management and school climate, school climate in- fluencing through learning process management, and (3) total influence in 4 factors those were organization’s competency, learning process management, school climate and instructional leadership.

Keywords:instructional leadership/ organization’s competency /learning process management/ school climate/ school effectiveness

169 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

บทนำ� ช่วยให้คนมีความฉลาดในการใช้ชีวิตอย่างมี ความสุข สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ให้เป็น ประเทศไทยจัดการศึกษาตามพระ ประโยชน์และมีจิตสำ�นึกที่ดีทางสังคม มี ราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ความเป็นประชาธิปไตยและก่อให้เกิดความ 2542 ที่มุ่งให้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการ เป็นธรรมในสังคมยิ่งขึ้น การศึกษาจึงเป็น พัฒนาประเทศ โดยใช้แผนการศึกษาแห่ง รากฐานที่สำ�คัญในการพัฒนาทุกๆ ด้านดัง ชาติ(พ.ศ.2545– 2559)มาเป็นกรอบใน นั้นคุณภาพของคนในประเทศจะเป็นเช่นไร การดำ�เนินการปฏิรูปการศึกษาให้สอดคล้อง ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ กันทั้งประเทศและสอดรับกับวิสัยทัศน์แนว การจัดการศึกษาในสถาบันการศึกษาเป็น นโยบาย มาตรการ ระเบียบและกฎหมายอื่นๆ สำ�คัญ (ชิดชนก เชิงเชาว์ และคณะ, 2541) เพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพคนตามเป้าหมายการ พัฒนาประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ ผู้วิจัยซึ่งทำ�หน้าที่ในตำ�แหน่งผู้ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เนื่องจากการ บริหารการศึกษาขององค์กรปกครองส่วน ศึกษาเป็นเครื่องมือสำ�คัญที่จะพัฒนาคนให้มี ท้องถิ่น มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ ความเจริญ มีความรู้ ทักษะในการดำ�รงชีวิต และมาตรฐานการศึกษาให้เป็นไปตามความ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถปรับ ต้องการของท้องถิ่นและหลักเกณฑ์ มาตรฐาน ตัวเข้ากับสภาพการณ์สังคมในยุคของการ ที่รัฐกำ�หนดทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ เปลี่ยนแปลงยุคของการแข่งขัน การศึกษา และตามอัธยาศัยจึงมีความสนใจที่จะหารูป จึงเป็นเรื่องที่ได้รับการยอมรับและให้ความ แบบปัจจัยที่จะส่งผลต่อประสิทธิผลของ สำ�คัญในการพัฒนาประเทศและมีบทบาท โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยตรงในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มี นำ�มาพัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์โครงสร้าง ความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงทางค่านิยม เชิงเส้นของปัจจัยที่มีต่อประสิทธิผลของ เจตคติ และวัฒนธรรมในสังคมทุกระดับ ซึ่ง โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้อง วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในสังคมเป็นผลมาจาก ถิ่นที่สอดคล้องกับบริบทและสภาวการณ์ที่ การดำ�เนินกิจกรรมด้านการศึกษา สถาบัน เปลี่ยนแปลงไปของสังคมไทย ผู้วิจัยคิดว่า ต่างๆ ที่ดำ�เนินกิจกรรมด้านการศึกษาต่างก็ ตัวแบบที่พัฒนาขึ้นจะเป็นสารสนเทศให้กับผู้ มียุทธวิธีที่แตกต่างกันไปหรืออาจกล่าวได้ว่า บริหารโรงเรียนขององค์กรปกครองส่วนท้อง การดำ�เนินกิจกรรมในสถาบันหรือองค์การ ถิ่นนำ�ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง และ ที่จัดการศึกษาจะเกิดประสิทธิภาพและ การปฏิบัติงานในหน้าที่ซึ่งสามารถทำ�ให้เกิด ประสิทธิผลย่อมเกิดจากการบริหารจัดการ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริหารและ ศึกษาที่มีคุณภาพ การศึกษาที่มีคุณภาพ บุคลากรของโรงเรียนให้มีเจตคติในทางบวก และเป็นปัจจัยสำ�คัญที่ส่งผลต่อประสิทธิผล

170 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ของโรงเรียนตามวัตถุประสงค์และบรรลุเป้า ทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวม หมายของการศึกษาที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน ต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดองค์กร เป็นที่ยอมรับของสังคมต่อไป ปกครองส่วนท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อ การดำ�เนินการวิจัยครั้งนี้ มีขั้นตอน ประสิทธิผลของโรงเรียนและระดับประสิทธิผล การดำ�เนินการวิจัยเป็น 2 ระยะ คือ ของโรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระยะที่ 1 การกำ�หนดกรอบแนวคิด 2. เพื่อตรวจสอบความสอดคล้อง การวิจัย ในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยได้ดำ�เนินการโดย กลมกลืนของตัวแบบของปัจจัยที่ส่งผล 1) วิเคราะห์เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดองค์กร ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน ปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับ 2 ) สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำ�นวน 8 คน ข้อมูลเชิงประจักษ์ การสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียนที่ได้รับรางวัล 3. เพื่อศึกษาอิทธิพลทางตรง อิทธิพล พระราชทาน จำ�นวน 1 แห่ง ในสังกัดองค์กร ทางอ้อม และอิทธิพลรวมของปัจจัยที่ส่งผล ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อกำ�หนดรูปแบบ ต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดองค์กร ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัย ปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน ระยะที่ 2 ตรวจสอบความสอดคล้อง สมมติฐานของการวิจัย ระหว่างรูปแบบเชิงสมมติฐานกับข้อมูลเชิง ประจักษ์ ผู้วิจัยได้กำ�หนดวิธีการวิจัย ดังนี้ การวิจัยครั้งนี้ได้ตั้งสมมติฐานใน สำ�หรับการตรวจสอบความสอดคล้องระหว่าง การวิจัย ดังนี้ รูปแบบเชิงสมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 1. ปัจจัยประสิทธิผลของโรงเรียน ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อยู่ใน วิจัย ได้แก่ โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครอง ระดับมาก ส่วนท้องถิ่น จำ�นวน 1,920 โรงเรียนบุคลากร 2. ตัวแบบปัจจัยประสิทธิผลของ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน โรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครูวิชาการ ในปีการศึกษา 2553 จำ�นวน ที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกลมกลืนกับ 36,350 คนจำ�แนกเป็นผู้บริหาร 1,920 ข้อมูลเชิงประจักษ์ คน ครูผู้สอน 34,430 คน กลุ่มตัวอย่าง 3. ตัวแบบปัจจัยที่พัฒนาขึ้นมีอิทธิพล ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ได้จำ�นวน

171 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

โรงเรียน 630 โรง ผู้ให้ข้อมูล 1,890 คน การเปิดโอกาสให้ร่วมตัดสินใจ (3) ตัวแปร ตัวแปรที่ศึกษา ผล ได้แก่ ปัจจัยด้านประสิทธิผลของโรงเรียน 1. ตัวแปรแฝงภายนอก ประกอบด้วย สามารถวัดตัวแปรที่สังเกตได้ 4 ตัว คือ 1) ตัวแปรแฝง 2 ตัว ได้แก่ (1) ตัวแปรปัจจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) คุณลักษณะอัน ด้านภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ สามารถวัดได้ พึงประสงค์ของผู้เรียน 3) ความพึงพอใจใน จากตัวแปรที่สังเกต 4 ตัวคือ 1) การนิยาม งานของบุคลากร และ4) ความเป็นชุมชน และการสื่อสารเป้าหมายร่วม 2) การกำ�กับ แห่งการเรียนรู้ ติดตามและประเมินผลกระบวนการเรียน การสอน 3) การส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และ 4) การเป็นผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง (2) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้ ตัวแปรปัจจัยด้านสมรรถนะองค์การ สามารถ 1. แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง วัดได้จากตัวแปรสังเกต 5 ตัวคือ 1) การจัด ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อสัมภาษณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ โครงสร้างที่เหมาะสม 2) วิสัยทัศน์ พันธกิจ 2. แบบสอบถามแบบมาตราส่วน และยุทธศาสตร์ 3) ความรู้ความสามารถ ประมาณค่า 5 ระดับ สอบถามเกี่ยวกับ ของบุคลากร 4) การจัดทรัพยากรการเรียน ปัจจัยที่มีประสิทธิผลของโรงเรียน มีค่า รู้และ 5) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ อำ�นาจจำ�แนกระหว่าง 0.38-0.94 ค่าความ การสื่อสารในการบริหาร เชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 2. ตัวแปรแฝงภายใน ประกอบด้วย ตัวแปรแฝง 2 ตัว ได้แก่ (1)ปัจจัยด้านการจัด การเก็บรวบรวมข้อมูล กระบวนการเรียนรู้ สามารถวัดได้จากตัวแปร สังเกต 5 ตัวคือ 1) การเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ ผู้วิจัยเก็บรวมรวมข้อมูลโดยส่ง 2) การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน แบบสอบถามทางไปรษณีย์พร้อมสอดซอง อย่างหลากหลาย3) การเน้นกระบวนการ เปล่า ติดแสตมป์ บางส่วนผู้วิจัยนำ�ส่งด้วย คิด 4) การจัดบรรยากาศที่เอื้อ ต่อการเรียน ตนเอง และบางส่วนจะให้ผู้ช่วยนักวิจัยนำ� รู้ และ 5) การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง (2) ส่งให้ยังโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง ในกรณีที่ ตัวแปรปัจจัยด้านบรรยากาศของโรงเรียน ยังไม่ได้รับคืน ผู้วิจัยจะดำ�เนินการติดตาม สามารถวัดได้จากตัวแปรที่สังเกตได้ 5 ตัว โดยวิธีการต่างๆ เช่น โทรศัพท์ประสานไป คือ 1) ความคาดหวังสูง 2) บรรยากาศเชิง ยังผู้บังคับบัญชาของสถานศึกษาในสังกัด บวก 3) ความเป็นกันเองความไว้วางใจซึ่ง ส่งแบบสอบถามไปให้ใหม่ ให้ผู้ช่วยนักวิจัย กันและกัน 4) การจัดระบบการจูงใจ และ5) ติดตาม และติดตามด้วยตนเอง จนได้รับ

172 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

กลับคืนจากกลุ่มตัวอย่าง 630 โรง คิดเป็น ประจักษ์ พบว่า ตัวแบบปัจจัยประสิทธิผล ร้อยละ 100 ของโรงเรียนมีความสอดคล้องกลมกลืนกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีตัวแบบเหมือนกัน การวิเคราะห์ข้อมูล กับตัวแบบเชิงสมมติฐาน วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรม 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรง อิทธิพล สำ�เร็จรูป (1) วิเคราะห์สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ทางอ้อม และอิทธิพลรวมต่อประสิทธิผล ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน ของโรงเรียน โดยเรียงลำ�ดับค่าสัมประสิทธิ์ มาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย อิทธิพลจากมากไปหาน้อย ดังนี้ (1) อิทธิพล ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment ทางตรง 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยสมรรถนะของ Correlation Coefficient) (2) สถิติที่ใช้ใน องค์การ ปัจจัยการจัดกระบวนการเรียนรู้ การทดสอบสมมติฐาน ตรวจสอบความ ปัจจัยบรรยากาศของโรงเรียน และปัจจัย สอดคล้องของรูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้าง ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ (2) อิทธิพลทางอ้อม เชิงสาเหตุตามทฤษฎีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มี 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยสมรรถนะขององค์การ จากลุ่มตัวอย่าง โดยประมาณค่าพารามิเตอร์ ที่ส่งผ่านปัจจัยการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยวิธีไลค์ลิฮูดสูงสุด (Maximum Likelihood กับปัจจัยบรรยากาศของโรงเรียน ปัจจัย Estimate) ตามโมเดลที่ใช้เป็นกรอบแนวคิด ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการที่ส่งผ่านปัจจัยการ ในการวิจัย ซึ่งมีตัวแปรที่ประกอบด้วยตัวแปร จัดกระบวนการเรียนรู้กับปัจจัยบรรยากาศ แฝงทั้งภายในและภายนอก ผลการวิเคราะห์ ของโรงเรียน และปัจจัยบรรยากาศของ จะนำ�เสนอในรูปการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โรงเรียนที่ส่งผ่านปัจจัยการจัดกระบวนการ เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรต่างๆ ค่าสถิติ เรียนรู้ และ(3) อิทธิพลรวม 4 ปัจจัย คือ สำ�คัญที่ใช้ในการตรวจสอบความสอดคล้อง ปัจจัยสมรรถนะขององค์การ ปัจจัยการจัด ของรูปแบบสมมติฐานการวิจัยกับข้อมูลเชิง กระบวนการเรียนรู้ ปัจจัยบรรยากาศของ ประจักษ์ มีดังนี้ ค่า X2, ค่า GFI,ค่า AGFI, โรงเรียน และปัจจัยภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ ค่า RMSEA อภิปรายผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย 1. ตัวแบบภาวะผู้นำ�ทางวิชาการใน 1. ผลการตรวจสอบความสอดคล้อง ห้องปฏิบัติการ Far West ซึ่งได้ข้อค้นพบ กลมกลืนของตัวแบบปัจจัยที่ส่งผลต่อ สอดคล้องกับผลการวิจัยของ Hallinger, ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดองค์กรปกครอง Bickman & Devis (1990) ที่พบว่า ภาวะ ส่วนท้องถิ่น ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับข้อมูล เชิง ผู้นำ�ทางวิชาการของผู้บริหารโดยส่งผ่าน

173 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

บรรยากาศ และการจัดระบบการเรียนการ แรก องค์ประกอบของสมรรถนะองค์การไม่ สอน และยังมีผลการศึกษาบางเรื่องที่พบ ว่าจะเป็นด้านโครงสร้าง วิสัยทัศน์ พันธกิจ ว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ�ทาง และยุทธศาสตร์ ความรู้ความสามารถของ วิชาการของผู้บริหารกับผลสำ�เร็จของโรงเรียน บุคลากร การจัดทรัพยากรการเรียนรู้ และ ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Eberts & Stone, 1988; Hack, Larsen ในการบริหาร เป็นองค์ประกอบที่เอื้อให้เกิด & Marcoulides, 1990) การเรียนรู้ของนักเรียน และ ความพึงพอใจ 2. ปัจจัยสมรรถนะองค์การมีผล ของครูได้โดยตรงจึงอาจไม่จำ�เป็นต้องใช้วิธี โดยตรงต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สอดคล้อง การหรือกระบวนการอื่นๆ สนับสนุนมากนัก กับแนวคิดของวรเดช จันทรศร (2539); ประการที่สอง ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ธงชัย สันติวงษ์ (2539); Jackson & นั้นจำ�เป็นต้องอาศัยองค์ประกอบหรือปัจจัย Holvino (1986); Preedy (1993); Miller อย่างหลากหลายเพื่อให้นักเรียนบรรลุผลตาม (2001) และ Texas Education Agency เป้าหมายที่กำ�หนดไว้ ซึ่งปัจจัยสมรรถนะ (2004) ที่ให้ทัศนะไว้สอดคล้องกัน คือ องค์การเป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งที่จะ สมรรถนะองค์การเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพล สนับสนุนการดำ�เนินงานให้บรรลุผลตาม ต่อประสิทธิผลขององค์การ ทั้งนี้เนื่องจาก เป้าหมาย และประการสุดท้าย บรรยากาศ การบริหารองค์การที่จะมีประสิทธิผลนั้น ขององค์การซึ่งเกี่ยวข้องกับการตั้งความคาด ต้องสามารถนำ�และกระตุ้นการใช้ทรัพยากร หวังไว้สูง การจัดบรรยากาศเชิงบวก การให้ ทางการบริหาร ตลอดจนกลไกในการปฏิบัติ ความเป็นกันเองและไว้วางใจซึ่งกันและกัน งานทั้งมวลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ การส่งเสริมให้มีการตัดสินใจร่วม ตลอด อย่างมีประสิทธิผลนั่นเอง และเมื่อพิจารณา จนการจัดระบบการจูงใจนั้น มีความจำ�เป็น ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลทางตรงของปัจจัย ที่จะต้องอาศัยความพร้อมด้านสมรรถนะ สมรรถนะองค์การจะเห็นว่ามีค่าอิทธิพลสูง องค์การอยู่บ้าง เช่น การจัดโครงสร้างที่เน้น คือ 13.80 แสดงให้เห็นว่า หากโรงเรียนมี การมีส่วนร่วมของบุคลากร เป็นต้น ซึ่งถ้า ความพร้อมในด้านสมรรถนะองค์การแล้ว พิจารณาองค์ประกอบย่อยอื่นๆ ดังกล่าว ย่อมจะส่งผลถึงประสิทธิผลของโรงเรียนด้วย จะเห็นว่าเกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านภาวะผู้นำ� แต่เมื่อพิจารณาค่า สัมประสิทธิ์อิทธิพลของ ทางวิชาการเป็นส่วนใหญ่ การส่งผ่านปัจจัยการจัดกระบวนการเรียน 3. ปัจจัยการจัดกระบวนการเรียนรู้ รู้และปัจจัยบรรยากาศของโรงเรียน พบว่า พบว่า มีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของ มีค่าอิทธิพลต่ำ� คือ 0.21 และ 0.27 ตาม โรงเรียนสูง มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ ลำ�ดับ ซึ่งมีเหตุผลอธิบาย ดังนี้ ประการ 1.20 และมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ.01 ซึ่ง

174 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

แสดงให้เห็นว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้มี เพราะบรรยากาศเป็นเรื่องของการส่งเสริม ความสำ�คัญยิ่งต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สนับสนุนให้กิจกรรมการเรียนรู้ หรือการ ทั้งนี้เป็นเพราะการจัดกระบวนการเรียนรู้ ดำ�เนินงานต่างๆ ของโรงเรียนเป็นไปอย่าง เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นสำ�หรับนักเรียนโดยตรง ราบรื่น นอกจากนี้บรรยากาศยังช่วยเสริม นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมมากที่สุด สร้างขวัญและกำ�ลังใจในการปฏิบัติงานของ และถือเป็นกิจกรรมสำ�คัญที่จะทำ�ให้การเรียน บุคลากรอีกด้วย ซึ่งถ้าบุคลากรมีความตั้งใจ รู้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งสอดคล้อง และเต็มใจปฏิบัติหน้าที่เป็นอย่างดีแล้วย่อม กับผลการวิจัยของ Silins & Murray-Harvey ส่งผลให้งานประสบผลสำ�เร็จตามเป้าหมาย (1999); Scheerens (2000); Saunder ที่ตั้งไว้ในที่สุด สอดคล้องกับแนวคิดและผล (2000); Alig-Mielcarek (2003) ที่พบว่า งานวิจัยของ ภารดี อนันต์นาวี (2545); พร ปัจจัยที่ทำ�ให้โรงเรียนมีประสิทธิผลมีหลาย พิเศก (2546); สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์ (2548) ปัจจัยโดยมีปัจจัยการจัดกระบวนการเรียนรู้ Jatuporn (2005); Heneveld & Craig เป็นปัจจัยที่สำ�คัญซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อผล (1996); Saunders (2000) และ Skipper การเรียนรู้ของผู้เรียน นอกจากนี้ยังสอดคล้อง (2006) ที่พบว่า การสนับสนุนอย่างพอเพียง กับแนวคิดและผลการวิจัยหลายเรื่องที่มีข้อ และอย่างดีจากผู้ปกครองและชุมชน ในด้าน ค้นพบสอดคล้องกันว่ากระบวนการเรียนรู้ ระบบการศึกษา วัสดุอุปกรณ์ บรรยากาศของ จะส่งผลโดยตรงต่อประสิทธิผลของโรงเรียน โรงเรียน (school climate) และวัฒนธรรม ได้แก่ ผลงานวิจัยของ Edmonds, 1979 ของโรงเรียนมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของ cited in Hoy & Miskel (2005); Caldwell นักเรียน (student outcomes) นอกจาก & Spinks (1990); Halton, 1992 อ้างถึง นี้ ยังสอดคล้องกับแนวคิดและผลการวิจัย ในวิโรจน์ สารรัตนะ (2548) และ Hoy & ของนักวิชาการ/สถาบันต่างๆ ที่ได้ข้อสรุป Miskel (2005) สอดคล้องกันว่า การจัดบรรยากาศที่เอื้อและ 4. ปัจจัยบรรยากาศของโรงเรียน พบว่า เหมาะสมจะส่งผลให้การจัดกระบวนการเรียน มีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของโรงเรียน รู้มีประสิทธิภาพและส่งผลต่อประสิทธิผลของ มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.71และ โรงเรียนในที่สุด (อำ�รุง จันทวานิช (2547); มีอิทธิพลทางอ้อมผ่านการจัดกระบวนการ Purkey & Smith (1983 cited in Hoy เรียนรู้ มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.70 & Miskel, 2005); Scheerens (2000); และมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากข้อ Saunder (2000); Duttweiler (1990 cited ค้นพบดังกล่าวชี้ให้เห็นถึงความสำ�คัญของ in Sergiovanni 2001); School District บรรยากาศที่มีต่อประสิทธิผลของโรงเรียน of Hillsborough County, Florida (2005) โดยมีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งนี้ และ Hoy & Miskel (2005))

175 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ข้อเสนอแนะ 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ประสิทธิผลของโรงเรียน จากผลการศึกษาดังกล่าว มีข้อเสนอ แนะจากผลการวิจัยเพื่อการปรับปรุงนโยบาย 2.1 เนื่องจากผลการวิจัยพบว่า ปัจจัย ทางการศึกษา และข้อเสนอแนะสำ�หรับการ สาเหตุสำ�คัญที่ส่งผลทางตรงทำ�ให้โรงเรียน วิจัยครั้งต่อไป ดังต่อไปนี้ มีประสิทธิผล คือ ปัจจัยสมรรถนะองค์การ รองลงไป คือ ปัจจัยการจัดกระบวนการ 1. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับ เรียนรู้ และบรรยากาศของโรงเรียน ดัง การใช้ตัวแบบปัจจัยประสิทธิผลของโรงเรียน นั้น การเพิ่มสมรรถนะองค์การจึงเป็นเรื่อง 1.1 เนื่องจากผลการวิจัย พบว่า ระดับ สำ�คัญที่ควรให้ความสนใจโดยเฉพาะเรื่อง ปัจจัยประสิทธิผลของโรงเรียนในภาพรวมอยู่ การจัดโครงสร้างองค์การ การกำ�หนดวิสัย ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละปัจจัยจะ ทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์การพัฒนา เห็นว่าอยู่ในระดับมากเช่นกัน ยกเว้น ปัจจัย ความรู้ความสามารถของบุคลากร การจัด สมรรถนะองค์การที่อยู่ในระดับปานกลาง ทรัพยากรการเรียนรู้ และการใช้เทคโนโลยี ดังนั้น จึงควรมีนโยบายในการสนับสนุนส่ง สารสนเทศและการสื่อสารในการบริหาร เสริมให้โรงเรียนมีความพร้อมมากยิ่งขึ้นโดย ตลอดจนพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ เฉพาะในด้านสมรรถนะของโรงเรียน และบรรยากาศของโรงเรียน 1.2 จากผลการวิเคราะห์สถิติพื้น 2.2 เมื่อพิจารณาปัจจัยภาวะผู้นำ�ทาง ฐาน มีประเด็นต่างๆที่ควรได้รับความใส่ใจ วิชาการแม้จะส่งผลทางตรงต่อประสิทธิผล ในการพัฒนาให้มากขึ้น เนื่องจากมีค่าเฉลี่ย ของโรงเรียนต่ำ� แต่ส่งผลทางอ้อมผ่านปัจจัย อยู่ในระดับต่ำ�สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเด็น บรรยากาศของโรงเรียนสูง ดังนั้น จึงควร อื่นในแต่ละปัจจัยที่นำ�มาศึกษา คือ ประเด็น กำ�หนดรูปแบบในการพัฒนาภาวะผู้นำ�ทาง คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การใช้ ICT วิชาการของผู้บริหารโรงเรียนที่จะนำ�ไป สู่ ในการบริหาร การนิยามและการสื่อสารเป้า การพัฒนาโรงเรียนให้มีประสิทธิผล หมายร่วม การเน้นกระบวนการคิด การ ได้นั้น จะต้องเน้นการพัฒนาให้มีอิทธิพล กำ�หนดความคาดหวังสูง คุณลักษณะอัน ผ่านปัจจัยบรรยากาศของโรงเรียน พึงประสงค์ของนักเรียน การประเมินผลการ ใช้ ICT อย่างต่อเนื่อง การเยี่ยมชั้นเรียนโดย 3. ข้อเสนอแนะเพื่อการนำ�ตัวแบบ สม่ำ�เสมอหรือทุกวัน องค์กรในชุมชนมีส่วน ปัจจัยทางการบริหารไปใช้ในโรงเรียน ร่วมในการจัดการเรียนการสอน การกำ�หนด 3.1 เนื่องจากค่าสัมประสิทธิ์การ เป้าหมายเกี่ยวกับคุณภาพของนักเรียนที่ พยากรณ์ สำ�หรับสมการโครงสร้างของตัว ท้าทาย และนักเรียนมีทักษะในการคิด แบบแสดงว่าตัวแปรแฝงภายนอกซึ่งเป็น

176 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ตัวแปรสาเหตุทั้งสองตัวแปร อธิบายความ เชิงคุณภาพจะมีประโยชน์ในการอธิบาย แปรปรวนร่วมในตัวแปรการจัดกระบวนการ ประสิทธิผลของโรงเรียนได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เรียนรู้ บรรยากาศของโรงเรียน และประสิทธิผล 4.2 ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับอิทธิพล ของโรงเรียนได้สูง จึงยืนยันได้ถึงความตรง ของตัวแปรอื่นๆ นอกเหนือจากกรอบแนวคิด ของตัวแปรที่นำ�มาศึกษา ทำ�ให้มีความมั่นใจ และตัวแปรที่ใช้ในงานวิจัยนี้ ทั้งนี้เนื่องจาก ในการพัฒนาปัจจัยสมรรถนะองค์การ และ มีตัวแปรจำ�นวนมากที่ได้จากการศึกษา ศักยภาพของผู้บริหารด้านภาวะผู้นำ�ทาง วิเคราะห์ที่ยังไม่ได้นำ�มาศึกษา วิชาการว่าจะเป็นการพัฒนาที่ถูกทิศทาง (do 4.3 ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัย the right things) และควรให้ตระหนักว่า ทางการบริหารที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล ปัจจัยทั้งสองนี้มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ ของหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่สถาบันทางการ โรงเรียนในทางอ้อม ดังนั้น รูปแบบในพัฒนา ศึกษา โดยอาจปรับเปลี่ยนตัวแปรปัจจัย จะต้องให้ถูกทิศทาง ไม่ว่าจะส่งผลโดยตรง ทางการบริหารให้เหมาะสมกับบริบทของ หรือพัฒนาโดยผ่านปัจจัยอื่น โดยเฉพาะสอง หน่วยงานนั้นๆ ปัจจัยที่นำ�มาศึกษา คือ การจัดกระบวนการ เรียนรู้ และบรรยากาศของโรงเรียน 4.4 ควรทำ�การวิจัยเปรียบเทียบ ตัวแบบปัจจัยทางการบริหารที่มีอิทธิพล 4. ข้อเสนอแนะสำ�หรับการวิจัย ต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในสถานศึกษา ครั้งต่อไป ของรัฐและเอกชน เพื่อจะได้ทราบถึงปัจจัย 4.1 ควรมีการวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยว ทางการบริหารในการพัฒนาโรงเรียนให้มี กับประสิทธิผลของโรงเรียน เนื่องจากการ ประสิทธิผลที่มีความเหมือนและความแตก วิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยสนใจเฉพาะตัวแปรที่ ต่าง อันจะเป็นแนวทางในการพัฒนาอย่าง เป็นการรับรู้ของบุคคลในเรื่องประสิทธิผล เหมาะสมต่อไป ของโรงเรียน ดังนั้น หากมีการเก็บข้อมูล

References Alig-Mielcarek, M.J. (2003). A model of school success: Instructional leadership, academic press, and student achievement. Dissertation Presented in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy in the Graduate School of The Ohio State University.

177 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Anunnavee P. (2002). Factors That Affect The Efficiency of The Primary School Under The Office of The National Primary Education. Thesis Ph.d. (Education), Chonburi: Burapha University. Chantasorn W. (1996). Improvement and Government Management Reform. Bangkok: Institute of Policy Studies, Association of Social Sciences, Thailand. Cherngchaow C. and Others. (1998). Analysis of the structure of the elements that affect the performance of the private school to teach Islam in the southern border provinces. Songklanakarin Journal of social science and Humanities, 4 (May -August). Eberts & Stone. (1988). Factors Affecting School Effectiveness. London: Green- wood Press. Hallinger, P. & Murphy, J. (1985). Assessing the Instructional Management Be- haviors of Principal, Elementary School Journal. 217- 248. Heneveld, W. & Craig, H. (1995). School Count: World Bank Project Designs and the Quality of Primary Education in Sub – Saharan Africa. Policy Research Working Paper No. WTP 303. Washington DC.: World Bank. Hoy,W.K,&,C.G. Miskel. (2005). Educational Administration: Theory, Research, and Practice.6th ed. New York: McGraw-Hill. Miller, S. (2001). Navigating the Recession Through Effective Leadership. Retrieved December 29, 2006, from http:www.entrepreneur.com/ article/04621295548200.html. Pheng sawasdi W. (2005). Development of a Linear Structure Relations of Effective Leadership of Executive that Affect Efficiency of Primary School Education. Thesis Ph.D. (Education), Khon Kaen: Graduate School Khon Kaen University. PhiSek P. (2003). Cultural Organizations and Some Factors that Affect Productivities Science- School army. Thesis Ph.d. (Education), Bangkok: Graduate School of Srinakharinwirot University.

178 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Sararattana W. (2005). Executive Professional Development School: 3 dimensions to the Executives Administrators. 5th. Bangkok: Tipwisut. Skipper, S. (2006).Conceptual Framework for Effective Inclusive Schools, 2006. Wiwatthananon S. (2006). Factors that Affect Multiple Descriptors Level for Effectiveness of secondary School in Bangkok. Thesis Ph. D. (Education) Nakornratchasima: Graduate School, Vongchavalitkul University.

179 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนดีเด่น: การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎี ฐานราก Instructional Leadership in Excellence School: A Grounded Theory Study

สมเกียรติ พละจิตต์1, ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร2, สมคิด สร้อยน้ำ�3, ศิริ ฮามสุโพธิ์4 Somkiat Palajit1, Sakthai Surakitborworn2, Somkid Sroinam3, Siri Hamsupo4 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาลักษณะภาวะผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนดี เด่น เพื่อหาข้อสรุปเชิงทฤษฎีซึ่งนำ�ไปสู่การสร้างทฤษฎีฐานราก พื้นที่ที่ใช้ในการศึกษา เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ใช้วิธีการเลือกเชิงทฤษฎี (theoretical sampling) วิธี การที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ การสังเกตและจดบันทึก การสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ เอกสาร และการจัดสนทนากลุ่ม กลุ่มเป้าหมายหลักที่ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน รองผู้อำ�นวยการโรงเรียน หัวหน้างานวิชาการ หัวหน้าระดับชั้นเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระการ เรียนรู้ ครูดีเด่นประเภทต่างๆ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน ศึกษานิเทศก์ และผู้มาศึกษาดูงาน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการแปลความและ ตีความหมายข้อมูล แล้วสร้างมโนทัศน์ขึ้นโดยอาศัยความไวเชิงทฤษฎี และใช้โปรแกรม สำ�เร็จรูปช่วยในการจัดระบบการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า ลักษณะภาวะผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนดีเด่น มี 3 ระดับ ได้แก่ ระดับบุคคล มี 15 ลักษณะ ระดับทีม มี 24 ลักษณะ และระดับโรงเรียน มี 25 ลักษณะ ผลสืบเนื่องจากภาวะผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนดีเด่น ผลด้านบวกมี 11 ลักษณะ ผลด้านลบ มี 4 ลักษณะ

คำ�สำ�คัญ:ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ / โรงเรียนดีเด่น / การสร้างทฤษฎีฐานราก

1นักศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาภาวะผู้นำ�ทางการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 2รองศาสตราจารย์ ประจำ�สาขาวิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 3รองศาสตราจารย์ ประจำ�คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 4รองศาสตราจารย์ ประจำ�คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ 180 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Abstract The objective of this study was to understand the characteristics from a instructional leadership in excellence school. The researcher selected the study by using theoretical sampling and identifying a big–size congruent with the research objectives. The researcher participated in the study and collected data through observations and field notes, in-depth interviews, document analysis, and focus group discussion. The key informants were the school administrators team, the task leader, teacher award, the school committee, alumni and community leader, the students’ caretakers, the students, education supervisor, administrators and teachers in network center and school visitors. Data was analyzed by using trans- lating and interpretative data. Then, the concepts were depending on theoretical sensitivity. The data analysis system was organized by computer program. The findings were as follows: The study found that a instructional leadership is 3 levels: 1. The major characteristics of person instructional leadership in excel- lence school were 15. 2. The major characteristics of team instructional leadership in excellence school were 24. 3. The major characteristics of school instructional leadership in excel- lence school were 25. The consequences resulting from being instructional leadership in excel- lence school, the positive effects were 11 and 4 negative effects.

Keywords:instructional leadership / excellence school / grounded theory study

181 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

บทนำ� พัฒนางานที่มีผลงานที่โดดเด่นของโรงเรียน ดีเด่นที่มีผลงานด้านวิชาการที่มีความเป็น 2 มิติของการพัฒนาโรงเรียนใน เลิศ ในด้านการพัฒนาขีดความสามารถใน ยุคปัจจุบันมีทั้งความยั่งยืนและความไม่ การแข่งขันของนักเรียน ในการสอบเพื่อวัด ยั่งยืน ซึ่งความไม่ยั่งยืนของการพัฒนานั้น และประเมินผลในระดับชาติของ O-NET เกิดจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น การเปลี่ยน (Ordinary National Education Test) การ ผู้นำ�บ่อยทำ�ให้มีการเปลี่ยนนโยบายตาม สอบ GAT- PAT (General Aptitude Test: ผู้นำ� การเมืองนำ�การศึกษาเพราะถึงแม้จะ Professional Aptitude Test) นักเรียนใน มีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งเป็น โรงเรียนดีเด่นสามารถทำ�คะแนนในการสอบ กฎหมายแม่บททางการศึกษา แต่ก็ไม่ได้รับ ได้เต็ม ผลการสอบเข้ามหาวิทยาลัย การ การสนองตอบต่อการพัฒนาในประเด็นที่มี สอบเข้าคณะแพทย์ศาสตร์ และการสอบชิง ความสำ�คัญ จึงทำ�ให้โรงเรียนขาดหลักการ ทุนเล่าเรียนหลวง นักเรียนมีความสำ�เร็จใน ทำ�งานที่ยึดมาตรฐานชาติ ขาดทิศทางใน การสอบเข้าได้อย่างต่อเนื่องและมีปริมาณที่ การทำ�งานที่เป็นมาตรฐานอันเดียวกัน และ น่าพอใจในระดับสูง นอกจากนั้นโรงเรียนดี ในการศึกษาและพัฒนาภาวะผู้นำ�ที่ผ่านมา เด่นยังได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในร้อย ส่วนมากเป็นการนำ�ทฤษฎีที่ได้รับการพัฒนา ของโรงเรียนยอดนิยมในระดับประเทศ เป็น ขึ้นในสังคมตะวันตกมาพัฒนากับสังคมไทย โรงเรียนตัวแบบนวัตกรรมเด็กล้นห้องของ ซึ่งมีพื้นฐานเป็นสังคมเกษตรกรรม สังคม กระทรวงศึกษาธิการ เนื่องจากมีจำ�นวน แบบจารีตประเพณีและสังคมแบบอำ�นาจ นักเรียนต่อห้องสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน แต่ นิยม คุณลักษณะของคนไทยและข้าราชการ โรงเรียนสามารถจัดการเรียนการสอนให้ ไทย ส่วนใหญ่ยังสอดคล้องและเข้ากันได้ดีกับ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า บริบททางสังคมแบบนี้อยู่ ซึ่งตรงข้ามกับวิถี ค่าเฉลี่ยในระดับประเทศติดต่อกันถึง 2 ปี ชีวิตแบบตะวันตกซึ่งเป็นสังคมอุตสาหกรรม จากการทำ�งานของโรงเรียนดีเด่นในลักษณะ และมีความสอดคล้องเข้ากันได้ดีกับการใช้ ดังกล่าวมีความสอดคล้องกับเกณฑ์การ ทฤษฎีภาวะผู้นำ�ในบริบททางสังคมแบบนั้น ประเมินคุณภาพภายนอก ในรอบที่ 3 ของ จึงเกิดปัญหาในเรื่องความไม่ยั่งยืนของการ สำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน พัฒนาภาวะผู้นำ�ในรูปแบบของการนำ�ทฤษฎี คุณภาพการศึกษา (สมศ.)ที่มุ่งเน้นการพัฒนา ภาวะผู้นำ�ของสังคมตะวันตกมาใช้ (วิโรจน์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของทุกกลุ่มสาระ สารรัตนะ, 2548: 95) ให้มีการยกระดับและมีมาตรฐานเดียวกัน ในความไม่ยั่งยืนของการพัฒนา ก็ยัง โดยใช้คะแนน O-NET (Ordinary National มีความยั่งยืนปรากฏให้เห็น โดยเฉพาะการ Education Test) เป็นเกณฑ์การประเมินผล

182 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

การเรียนของนักเรียนทุกโรงเรียน จึงถือได้ว่า วัตถุประสงค์ โรงเรียนมีทิศทางการทำ�งานที่สอดคล้องกับ เพื่อเสนอข้อสรุปเชิงทฤษฎีลักษณะ มาตรฐานชาติ โรงเรียนดีเด่นจึงมีส่วนสำ�คัญ ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนดีเด่น ในรูป ในการพัฒนาการศึกษาของชาติให้มีคุณภาพ แบบการศึกษาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของ ทัดเทียมกับต่างประเทศ (อำ�รุง จันทวา เงื่อนไขการเกิด กระบวนการเกิดและปัจจัยที่ นิช, 2547: 1) โรงเรียนจึงเป็นหน่วยงานที่ ส่งผล การคงอยู่ และผลสืบเนื่องติดตามมา สำ�คัญในการนำ�นโยบายไปสู่การปฏิบัติ เมื่อ จากภาวะผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนดีเด่น โรงเรียนมีความสำ�เร็จสูงผู้ที่ได้รับประโยชน์ มากที่สุดก็คือ นักเรียนและผู้ปกครอง และ ผู้ที่มีบทบาทสำ�คัญที่ทำ�ให้โรงเรียนประสบ สมมติฐานการวิจัย ความสำ�เร็จและมีความยั่งยืน คือ ผู้บริหาร ลักษณะภาวะผู้นำ�ทางวิชาการใน และครู ซึ่งมีการทำ�งานตามภาระงานทั้ง 4 โรงเรียนดีเด่น มี 3 ระดับ คือ งาน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 1. ระดับบุคคล เป็นลักษณะของ มีทั้งภาระงานของบุคคล ทีม และโรงเรียน บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ มีความรับ กลุ่มคนเหล่านี้จึงมีลักษณะเป็นผู้นำ�ทาง ผิดชอบสูง แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง มี วิชาการ (Hoy and Miskel, 2005: 118) ความคาดหวังสูง และมีคุณธรรม จริยธรรม การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก ในลักษณะงานของบุคคล มีการมอบหมาย (grounded theory study) จึงเป็นวิธีการวิจัย งานและกำ�หนดผู้รับผิดชอบ เชิงคุณภาพอีกทางเลือกหนึ่งในการแสวงหา 2. ระดับทีม เป็นลักษณะของบุคคล คำ�ตอบให้กับสังคม ถูกพัฒนาขึ้นโดย Barney ในทีมที่จะต้องมีความผูกพัน ความกลม Glaser and Anselm Strauss เพื่อสร้าง เกลียว มีมนุษย์สัมพันธ์ และมีประสบการณ์ คำ�อธิบายเชิงทฤษฎีจากข้อมูลโดยตรง ดัง สูง ส่วนลักษณะการทำ�งานในทีมต้องมีกฎ นั้นในการศึกษาภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ โดย เกณฑ์ มีการคัดคนเข้าทำ�งาน มีความเสมอ การใช้วิธีการวิจัยการสร้างทฤษฎีฐานรากมี ภาค การสร้างความสัมพันธ์ มีการแก้ปัญหา ส่วนช่วยให้เกิดทฤษฎีภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ การประสานงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ ที่สามารถนำ�ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้ มีที่ปรึกษา การพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และ บริหารและโรงเรียนให้ดีเด่นและมีคุณภาพ การบริหารโดยพึ่งตนเอง ที่ยั่งยืน ในบริบทของความเป็นไทยได้ วิธี 3. ระดับโรงเรียน เป็นลักษณะการ การนี้จะเป็นทางออกของการแก้ปัญหา ทำ�งานที่เป็นภาพรวม ของบุคคลและทีมใน ในการพัฒนาเพื่อให้เกิดความยั่งยืน (ชาย โรงเรียน ที่จะต้องเป็นผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง โพธิสิตา, 2547: 7)

183 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

เป็นแบบอย่างที่ดี มีความหลากหลายใน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต บทบาทการเป็นผู้นำ� มีการสร้างผู้นำ� สร้าง 23 ซึ่งใช้หลักการเลือกตัวอย่างเชิงทฤษฎี ศรัทธา และรักษาเกียรติประวัติของโรงเรียน (theoretical sampling) ที่มีหลักการที่สำ�คัญ ลักษณะงานของโรงเรียนจะมีการจัดองค์การ คือ เป็นพื้นที่ที่สอดคล้องและตรงกับความ โครงสร้าง กำ�หนดเป้าหมายร่วม การบริหาร มุ่งหมายของการวิจัย เป็นโรงเรียนที่จะตอบ จัดการที่ดี สร้างฐานข้อมูลเป็นระบบ มี คำ�ถามการวิจัยได้ หลักสูตรสถานศึกษา สร้างทีมงาน การบริการ กลุ่มเป้าหมายหลักที่ใช้ในการศึกษา และเอื้ออำ�นวยประโยชน์ นำ�ยุทธศาสตร์การ การกำ�หนดผู้ให้ข้อมูลหลัก (key วางแผนมาใช้ สร้างเครือข่าย นำ�เทคโนโลยี informant) จะใช้วิธีการเลือกเชิงทฤษฎี มาประยุกต์ใช้ พัฒนางานโดยใช้ผลการวิจัย (theoretical sampling) ซึ่งกลุ่มผู้ให้ข้อมูล มีการกำ�หนดมาตรฐานการทำ�งาน สร้างแรง หลักที่จะให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ มีจำ�นวน จูงใจ เน้นการมีส่วนร่วม การพัฒนาทีมงาน ทั้งสิ้น 10 กลุ่ม จำ�นวนรวม 48 คน แบ่งออก สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ และเน้นผลงาน เป็น กลุ่มบริหารโรงเรียน ได้แก่ ผู้อำ�นวยการ ละนวัตกรรม ส่วนลักษณะของสิ่งแวดล้อมมี โรงเรียนและรองผู้อำ�นวยการ กลุ่มหัวหน้า ชุมชนสังคมที่ดี ที่ตั้งไม่มีมลภาวะ และมีแหล่ง งาน ได้แก่ หัวหน้างานงานวิชาการ หัวหน้า เรียนรู้ที่หลากหลาย ที่ส่งผลต่อบรรยากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้าระดับชั้นเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ กลุ่มครูดีเด่น กลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน กลุ่มผู้ปกครองนักเรียน กลุ่ม วิธีการวิจัย ศิษย์เก่าและผู้นำ�ชุมชน กลุ่มศึกษานิเทศก์ การเลือกพื้นที่ที่ศึกษา การสร้างแนวคำ�ถาม เลือกจากโรงเรียนดีเด่นที่มีคุณลักษณะ แนวคำ�ถามเป็นเค้าโครงหัวข้อคำ�ถาม ดังนี้ มีชื่อเสียงมาอย่างยาวนาน มีผลงาน มีลักษณะเป็นโครงร่างคร่าวๆ แต่มีตัวแปร ดีเด่นในระดับชาติ มีผู้ปกครองต้องการส่ง ที่จะให้ตอบ มีความยืดหยุ่น ใช้เป็นแนวทาง บุตรหลานมาเข้าเรียนเป็นจำ�นวนมาก เป็น ในการซักถาม แนวคำ�ถามจะช่วยให้ผู้วิจัย โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสกลนคร เก็บข้อมูลในภาคสนามได้ตรงทิศทาง แนว โดยผู้วิจัยและศึกษานิเทศก์ประจำ�เขตพื้นที่ คำ�ถามที่สร้างขึ้นจะยึดสมมติฐานชั่วคราว การศึกษาทั้ง 3 เขต ร่วมกันพิจารณา โดย เป็นแนวทางในการกำ�หนดประเด็นคำ�ถาม เสนอมาเขตพื้นที่ละ 1 โรงเรียน รวม 3 มีการหาคุณภาพของเครื่องมือโดยการหา โรงเรียน และคัดให้เหลือ 1 โรงเรียน ได้แก่ ค่าความตรงจากผู้เชี่ยวชาญทางการวิจัยว่า โรงเรียนศรีโคตรบูรณ์ จังหวัดสกลนคร สังกัด ข้อคำ�ถามดังกล่าวถามได้ตรงประเด็นหรือไม่

184 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

สามารถสื่อสารกับผู้ให้ข้อมูลหลักได้เข้าใจ การเก็บข้อมูล ตรงกันหรือไม่ ผู้ตอบมีความเข้าใจและมี จากการได้สมมติฐานชั่วคราว นำ� ปฏิกิริยาอย่างไร ความต่อเนื่องของเนื้อหา ไปสู่การสร้างแนวคำ�ถาม และใช้แนวคำ�ถาม และการตอบคำ�ถามเป็นอย่างไร เป็นแนวทางในการเก็บข้อมูล โดยใช้เครื่อง เครื่องมือ มือ 4 ชนิด ได้แก่ การสังเกตและจดบันทึก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษามี 4 ชนิด การสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์เอกสาร ได้แก่ การสังเกตและจดบันทึก การสัมภาษณ์ และการจัดสนทนากลุ่ม การเก็บข้อมูลจะ เชิงลึก การวิเคราะห์เอกสาร และการจัด เป็นวิธีที่ไม่มีการกำ�หนดลักษณะเฉพาะของ สนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลหลักไว้ล่วงหน้า ซึ่งเริ่มต้นจาก การดำ�เนินการวิจัย การสัมภาษณ์ระดับลึกของบุคคลผู้ให้ข้อมูล หลักรายแรก แล้วโยงไปสู่รายต่อไป ซึ่งเป็น การเข้าสู่พื้นที่ที่ศึกษา ผู้วิจัยได้ เทคนิคการสุ่มแบบ Snow Ball ซึ่งหลักใน เตรียมตัวเองโดยเข้ารับการอบรมเพิ่มเติมเพื่อ การเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักในครั้งที่สองและครั้ง เพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเชิงคุณภาพ ต่อๆ ไป ผู้วิจัยจะเลือกโดยดูความสัมพันธ์ การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก การคัด ที่แตกต่างจากกลุ่มมโนทัศน์ (concept) ใน เลือกผู้ช่วยผู้วิจัยเพื่อช่วยในการทำ� ครั้งที่ผ่านมา และจะดำ�เนินการในลักษณะ วิจัย การประสานงานกับโรงเรียนดีเด่นใน นี้ไปจนกว่ากลุ่มมโนทัศน์ (concept) ที่เกิด ด้านต่างๆ การเตรียมวัสดุ-อุปกรณ์ ประกอบ ขึ้นนั้นซ้ำ�ๆ กัน จนเป็นแบบแผนที่แน่นอน การทำ�วิจัย แม้เมื่อไปสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักในรา การสร้างความคุ้นเคย ผู้วิจัยมีเทคนิค ยอื่นๆ ต่อไปก็ไม่ได้ข้อมูลใหม่มาเพิ่มเติมอีก ในการสร้างความสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความ จึงเป็นจุดที่อิ่มตัว (theoretical saturation) คุ้นเคย โดยการไปถึงก่อนและกับทีหลัง (Kathy Charmaz, 2006: 96) ผู้วิจัยจึงจะ การรับประทานอาหารร่วมกันและการมอบ หยุดการศึกษา ของฝาก การมีปฏิสัมพันธ์กับทุกๆ คน การ การวิเคราะห์ข้อมูล ทำ�งานช่วยเหลือครูและการร่วมกิจกรรมทุก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการแปล กิจกรรม การสนทนาทางวิชาการ ความจากบันทึกข้อมูลที่เก็บมาได้และมา ผู้วิจัยได้ฝังตัวในพื้นที่การวิจัย เป็น ทำ�การตีความหมายข้อมูล แล้วสร้างมโน เวลา 5 เดือน ทั้งนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลปฐมภูมิ ทัศน์หรือเปิดรหัส (coding) ในการสร้าง ที่เป็นจริงตามธรรมชาติของปรากฏการณ์ มโนทัศน์ (concept) ผู้วิจัยต้องอาศัยความ และเป็นการเข้าถึงวิธีการวิจัย ไวทางทฤษฎี (theoretical sensitivity) จาก

185 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

การศึกษาอบรมและจากประสบการณ์การ คำ�อธิบายจะเป็นข้อเสนอเชิงทฤษฎี ทฤษฎี ทำ�งาน จากนั้นนำ�มโนทัศน์ที่ได้ไปตรวจ ในความหมายของวิธีการวิจัยนี้เป็นทฤษฎีใน สอบกับมโนทัศน์ในสมมติฐานชั่วคราว เพื่อ ระดับกลาง (middle range theory) ที่ใช้ ยืนยันกับมโนทัศน์เดิมหรือมีข้อมูลใหม่ก็ อธิบายปรากฏการณ์ความสัมพันธ์ระหว่าง จะต้องทำ�การปรับปรุงมโนทัศน์ แล้วนำ� มโนทัศน์หรือชุดของมโนทัศน์ ไปเก็บข้อมูลอีก จนไม่มีคำ�ตอบที่แตกต่าง ลักษณะการเก็บข้อมูลและการ หรือได้คำ�ตอบที่ซ้ำ�ๆ กัน ซึ่งเป็นจุดอิ่มตัว วิเคราะห์ข้อมูลจะกระทำ�ไปพร้อมๆ กัน (saturation) จึงทำ�การสรุปมโนทัศน์ในสมมติ จุดอิ่มตัวเป็นลักษณะของการได้คำ�ตอบที่ซ้ำ� ฐานนั้นๆ แล้วเขียนเป็นคำ�อธิบายและจัด กันในเรื่องของตัวบุคคล เวลา และสถานที่ กลุ่มมโนทัศน์ที่มีลักษณะคล้ายกันให้รวม หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง และในการรวบรวม อยู่ในชุดเดียวกัน และอธิบายความเชื่อม ข้อมูลเพื่อทำ�การวิเคราะห์ได้ใช้โปรแกรม โยงให้มีเหตุผลที่สัมพันธ์กันในเงื่อนไขการ คอมพิวเตอร์สำ�เร็จรูปช่วยในการจัดระบบ เกิด กระบวนการเกิดและปัจจัยที่ส่งผลต่อ ข้อมูล กระบวนการ การคงอยู่ และผลสืบเนื่อง ซึ่ง

ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที�เกี�ยวข้อง สมมติฐานชั�วคราว

-เวลา แนวคําถาม -บุคคล ปรับปรุงสมมติฐาน -สถานที�

เก็บข้อมูล สร้างมโนทัศน์ ตรวจสอบ (สมมติฐานเดิม) จุดอิ�มตัว

ผู้วิจัยต้องมีความไวเชิงทฤษฎี ยืนยันสมมติฐานเดิม อธิบายมโนทัศน์

-การสัมภาษณ์เชิงลึก

-การสังเกตและจดบันทึก รวมมโนทัศน์เป็นชุดและอธิบายความเชื�อมโยง

-การวิเคราะห์เอกสาร

-การสนทนากลุ่ม ทฤษฎี (เป็นคําอธิบายความเชื�อมโยงของชุดมโนทัศน์)

ภาพประกอบ 1 วิธีการวิจัย ภาพประกอบ 1 วิธีการวิจัย ผลการวจัยิ รับผิดชอบ มนุษยสัมพันธ์และคุณธรรม ลักษณะภาวะผู้นําทาง และการคงอยู่ ได้แก่ เจตคติที�ดีต่ออาชีพ วิชาการในโรงเรียนดีเด่น สรุปเป็น และโรงเรียน และแรงจูงใจ ข้อเสนอเชิงทฤษฎีใน 3 ระดับ ได้แก่ 186 2. ระดับทีม มี 24 ลักษณะ 1. ระดับบุคคล มี 15 ลักษณะ ตามเงื�อนไขการเกิด ได้แก่ เปาหมาย้ ตามเงื�อนไขการเกิด ได้แก่ วิสัยทัศน์ ร่วมกัน การมีส่วนร่วม กฎเกณฑ์ ขนาด ความตื�นตัวและการปรับตัว ความท้าทาย ของทีม การบริหารจัดการตนเอง และ ความสามารถสูง และหลักการทํางาน การมอบหมายงาน กระบวนการเกิด กระบวนการเกิด ได้แก่ การปรับปรุงงาน ได้แก่ การวางแผน การปรับปรุงงานและ และพัฒนางานอย่างต่อเนื�อง และการ พัฒนางานอย่างต่อเนื�อง การพัฒนา แก้ปญหาั ส่วนปจจัยที�ส่งผลั ได้แก่ การ ทีมงาน และการแก้ปญหาั ส่วนปจจัยที�ั บริหารเวลา ความคิดสร้างสรรค์ ความใฝ่ ส่งผล ได้แก่ การตัดสินใจ ผู้นํา-ผู้ตามที�ดี รู้และการแสวงหาความรู้ ความ การติดตามงาน ความเสมอภาค ความคิด วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ผลการวิจัย 3. ระดับโรงเรียน มี 25 ลักษณะ ตามเงื่อนไขการเกิด ได้แก่ วิสัยทัศน์ร่วม ลักษณะภาวะผู้นำ�ทางวิชาการใน เกียรติประวัติของโรงเรียน การระดมทรัพยากร โรงเรียนดีเด่น สรุปเป็นข้อเสนอเชิงทฤษฎี จากทุกภาคส่วน การมีส่วนร่วม การสร้าง ใน 3 ระดับ ได้แก่ เครือข่ายความร่วมมือ เป้าหมายสูง การจัด 1. ระดับบุคคล มี 15 ลักษณะ ตาม โครงสร้างองค์การ ศักยภาพครู การกำ�หนด เงื่อนไขการเกิด ได้แก่ วิสัยทัศน์ ความตื่นตัว มาตรฐานงาน การสร้างทีมงานคุณภาพ และการปรับตัว ความท้าทาย ความสามารถ ศักยภาพนักเรียน และหลักสูตร กระบวนการ สูง และหลักการทำ�งาน กระบวนการเกิด เกิด ได้แก่ การวางแผน การปรับปรุงงานและ ได้แก่ การปรับปรุงงานและพัฒนางานอย่าง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาทีมงาน ต่อเนื่อง และการแก้ปัญหา ส่วนปัจจัยที่ส่งผล และการแก้ปัญหา ส่วนปัจจัยที่ส่งผล ได้แก่ ได้แก่ การบริหารเวลา ความคิดสร้างสรรค์ การสื่อสารที่ดี การประชาสัมพันธ์ การเอื้อ ความใฝ่รู้และการแสวงหาความรู้ ความรับ อำ�นวยประโยชน์ การนำ�ระบบคุณภาพเข้า ผิดชอบ มนุษยสัมพันธ์และคุณธรรม และ มาประยุกต์ใช้ บรรยากาศการทำ�งาน ระบบ การคงอยู่ ได้แก่ เจตคติที่ดีต่ออาชีพและ ฐานข้อมูล และการติดตามงาน และการคงอยู่ โรงเรียน และแรงจูงใจ ได้แก่ แรงจูงใจ และวัฒนธรรมมุ่งผลสำ�เร็จ 2. ระดับทีม มี 24 ลักษณะ ตาม ผลสืบเนื่องจากภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ เงื่อนไขการเกิด ได้แก่ เป้าหมายร่วมกัน ในโรงเรียนดีเด่น ด้านบวกต่อนักเรียน ได้แก่ การมีส่วนร่วม กฎเกณฑ์ ขนาดของทีม การ วัฒนธรรมในการใฝ่รู้ วินัยเด่น การบริหาร บริหารจัดการตนเอง และการมอบหมายงาน เวลา และผู้นำ�-ผู้ตามที่ดี ผู้บริหารและครู กระบวนการเกิด ได้แก่ การวางแผน การ ได้แก่ ความก้าวหน้าในวิชาชีพ การยอมรับ ปรับปรุงงานและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และความพึงพอใจในงาน โรงเรียน ได้แก่ การพัฒนาทีมงาน และการแก้ปัญหา ส่วน ตัวแบบนวัตกรรม และความมีชื่อเสียง ผู้ ปัจจัยที่ส่งผล ได้แก่ การตัดสินใจ ผู้นำ�-ผู้ ปกครองและชุมชน ได้แก่ ความพึงพอใจ ตามที่ดี การติดตามงาน ความเสมอภาค ส่วนด้านลบต่อนักเรียน ได้แก่ ไม่มีทักษะ ความคิดสร้างสรรค์ บรรยากาศการทำ�งาน ด้านมนุษยสัมพันธ์ และค่านิยมไม่ประหยัด การเรียนรู้ร่วมกัน การทำ�งานข้ามทีม การ ครู ได้แก่ ภาระงานไม่เท่ากัน และผู้นำ�ไม่มี สื่อสารที่ดี ความไว้วางใจ และความรับผิด ภาวะผู้นำ� ชอบ และการคงอยู่ ได้แก่ แรงจูงใจ ความ กลมเกลียว และวัฒนธรรมมุ่งผลสำ�เร็จ

187 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ข้อเสนอแนะ ชุมชน ในการเตรียมความพร้อมให้กับเด็ก ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงเข้าเรียนในทุกๆ ด้าน 1. ข้อเสนอแนะในการนำ�ผลการ เพราะถ้านักเรียนมีความพร้อมสูง นักเรียน วิจัยไปใช้ ก็จะสามารถต่อยอดการเรียนได้มากตาม 1.1 จากผลการวิจัยที่พบว่า ลักษณะ ไปด้วยเช่นกัน ลักษณะการเสริมสร้างให้ ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ มีทั้งระดับบุคคล ทีม บูรณาการ ในโครงการเยี่ยมบ้าน โครงการ และโรงเรียน ดังนั้นเมื่อโรงเรียนหรือหน่วย ประชุมผู้ปกครอง เป็นต้น งานอื่นที่ต้องการนำ�ผลการวิจัยไปพัฒนา ให้ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป เรียงลำ�ดับความสำ�คัญของลักษณะภาวะผู้นำ� ทางวิชาการเหล่านี้ก่อน โดยให้เลือกพัฒนา 2.1 การเลือกศึกษาปรากฏการณ์ ระดับบุคคลก่อนระดับอื่น เพราะการพัฒนา ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนดีเด่นที่มี ใดๆ ที่จะเกิดประสิทธิผล ต้องเกิดจากการ ขนาดใหญ่พิเศษครั้งนี้ เป็นการศึกษาภาวะ พัฒนาตนเองก่อนพัฒนาคนอื่น เป็นการ ผู้นำ�ในระดับบุคคล ทีม และโรงเรียน ซึ่ง พัฒนาจากสิ่งใกล้ตัวไปหาสิ่งที่ไกลตัว เป็นลักษณะภาวะผู้นำ�ทางวิชาการที่หลอม รวมในแต่ละระดับ ซึ่งอาจจะยังไม่ชี้ชัดลง 1.2 จากข้อค้นพบที่สำ�คัญในการ ไปถึงตำ�แหน่งที่ดำ�รงอยู่ การวิจัยครั้งต่อ วิจัยครั้งนี้ ที่พบว่า วัฒนธรรมที่มุ่งผลสำ�เร็จ ไปจึงอาจจะใช้วิธีการศึกษาที่ชี้ชัดลงไปที่ ศักยภาพผู้เรียน ศักยภาพครู การระดม ตำ�แหน่ง เช่น ผู้บริหารโรงเรียน ครูดีเด่น ทรัพยากรจากทุกภาคส่วน การสร้างเครือ ทีมงานวิชาการ เพื่อให้ได้ข้อสรุปเชิงทฤษฎี ข่ายความร่วมมือ และการมีเป้าหมายร่วม ในลักษณะที่เจาะลึก เป็นลักษณะที่สำ�คัญในการพัฒนาภาวะ ผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนดีเด่น ผู้บริหาร 2.2 การใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โรงเรียนควรให้ความตระหนักในการหากลยุทธ์ (qualitative research) เพื่อสร้างทฤษฎี เพื่อการพัฒนาครู ทีมงาน และโรงเรียน ใน ฐานราก (grounded theory study) ใน ลักษณะนี้ โดยใช้ความจริงใจและนำ�ตนเอง สาขาภาวะผู้นำ�ทางการบริหารการศึกษา เป็นต้นแบบในการพัฒนา ในครั้งนี้ อาจทำ�ให้ได้ข้อสรุปเชิงทฤษฎีที่ยัง ไม่ชัดเจนพอในบางประเด็น ทั้งนี้อาจเป็น 1.3 จากผลการวิจัยที่พบว่า ศักยภาพ เพราะผู้วิจัยได้ตั้งประเด็นคำ�ถามการวิจัยไว้ นักเรียน เป็นเงื่อนไขที่สำ�คัญในการเกิด กว้าง เพื่อให้ครอบคลุมปรากฏการณ์หลาย ลักษณะภาวะผู้นำ�ทางวิชาการโรงเรียน เพราะ แง่หลายมุม จำ�เป็นต้องใช้ข้อมูลมาก ดังนั้น นักเรียนที่มีศักยภาพจะมีขีดความสามารถใน การวิจัยครั้งต่อไป อาจนำ�วิธีการวิจัยเชิง การแข่งขันสูง จึงเห็นควรให้โรงเรียนต่างๆ มี ปริมาณ (quantitative research) มาศึกษา การเสริมสร้างความเข้าใจกับผู้ปกครองและ

188 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ต่อเนื่องได้ เช่น การวิเคราะห์องค์ประกอบ 2.3 ควรใช้ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ภาวะผู้นำ�ทางวิชาการในโรงเรียนยอดนิยม ในครั้งนี้ เป็นแนวทางในการศึกษาภาวะผู้นำ� การศึกษาโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ทางวิชาการในโรงเรียนดีเด่นที่อยู่ต่างบริบท ประสิทธิผลของการเป็นภาวะผู้นำ�ทางวิชาการ กัน และอาจจะชี้ชัดลงไปในตำ�แหน่งของ ในโรงเรียนดีเด่น เป็นต้น บุคคล ทีม ในโรงเรียนดีเด่น

References Bodhi Sita, Chai. (2004). Art and Science of Qualitative Research. Nakhon Pathom: Mahidol University. Chan varnish, Amrug. (2004). Guidelines on the Best Practice for Quality Schools. Bangkok: Picwangraphics. Charmaz, Kathy. (2006). Constructing Grounded Theory: A Practical Guide Through Qualitative Analysis. California: Sage. Hoy, WK. and Miskel, C.G.. (2005). Educational Leadership and reform. United States of America: Information age publishing inc. Sanrattana, Wirot. (2005). School administrators Three-dimensional professional development to become effective leaders. 5nd Edition. Bangkok: Tipwisutt.

189 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะ การคิดเชิงระบบ Collaborative Computer Network Based Learning Model to enhance System thinking’s Skill.

แสงทอง บุญญิ่ง1 Sangtong Boonying1 บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำ�เสนอรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ สำ�หรับนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาซึ่งมี ที่มาจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องก่อนที่จะสังเคราะห์เป็นร่างรูปแบบและ นำ�เสนอผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมจำ�นวน 17 ท่าน ผลจากการสังเคราะห์ พบว่ารูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ มีขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 7 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่1. ปฐมนิเทศน์รายวิชา ขั้นที่2. รับรู้ปัญหา ขั้นที่3. ศึกษาข้อมูล ขั้นที่4. เพิ่มพูนกระบวนการคิด ขั้นที่5. พินิจในกลุ่มย่อย ขั้นที่6. ทยอย แพร่สู่กลุ่มใหญ่ และขั้นตอนสุดท้ายคือการประเมินผู้เรียน โดยขั้นที่1และขั้นสุดท้ายเป็นการ จัดการเรียนรู้ในห้องเรียนปกติ ส่วนขั้นที่2ถึงขั้นตอนที่6 ใช้สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหา ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่มและเพิ่มพูนกระบวนการคิดเชิงระบบโดยการฝึกคิด ฝึกปฏิบัติ ซึ่งผู้เขียนได้อธิบายรายละเอียดของแต่ละขั้นตอนไว้ในบทความนี้ซึ่งจะนำ�เสนอในลำ�ดับต่อ

คำ�สำ�คัญ:รูปแบบการเรียน การเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทักษะ การคิดเชิงระบบ

1นักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา 1Ph.D. Candidate in Education Technology, Burapha University 190 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Abstract This article aims to present the Collaborative Computer Network Based Learning Model to enhance System thinking’s Skill (CCNBLEST), for students in higher education. The model was synthesizing from related documents and the researches, then present to the experts (17 persons) for check and revise. The results from synthesis found that: CCNBLEST was composed of 7 learning steps as follow: 1) a subjective orientation 2) acknowledge problems 3) an information absorption 4) enhance the thinking’s skill 5) a small group thinking 6) to used share idea and 7) the last step is student assessment. The environment of mutual learning through computer network. The prominent point of this model is student has a chance to use the information technology in knowledge seeking with teamwork process and enhance system thinking’s skill by thinking and practical training.

Keywords: Learning Model, Collaborative Learning, Computer Network Based Learning, System Thinking

บทนำ� มุ่งเน้นความเท่าเทียมทางการศึกษาในทุก ชุมชนและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียน แนวโน้มของรูปแบบการจัดการ รู้จากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งลดปัญหาการขาด ศึกษาในปัจจุบันและอนาคตจะมีลักษณะ ผู้สอนที่มีความรู้ความสามารถ เน้นการ การจัดการเรียนการสอนตามความพร้อม พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย แบบไม่จำ�กัดเวลา สถานที่ โดยเน้นปริมาณ และรับผิดชอบต่อสังคม สร้างความร่วมมือ แต่คำ�นึงถึงคุณภาพเพื่อมาตรฐานการศึกษา ระหว่างองค์กรและสถาบันต่างๆ เพื่อแลก มีการปฏิรูปการเรียนรู้โดยมุ่งจัดการเรียนการ เปลี่ยนวิชาการทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ มุ่งพัฒนา จัดหา และนานาชาติ (สุภาณี เส็งศรี, 2543) จาก และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แนวโน้มของการจัดการศึกษาในปัจจุบันและ ในกระบวนการเรียนการสอนทางไกล เพื่อ อนาคตที่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีและการดำ�เนิน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งวิทยาการ การตามนโยบายของบพระราชบัญญัติการ อย่างอิสระ ลดข้อจำ�กัดทางการศึกษาโดย

191 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ศึกษาแห่งชาติส่งผลให้มหาวิทยาลัย/สถาบัน คนเราอยู่ร่วมกันเป็นสังคม วิธีการเรียนที่จะ การศึกษาต่างๆ หลายแห่งในประเทศไทย ก่อให้เกิดเกิดการเรียนรู้ที่ถาวรควรเป็นการ ได้เริ่มให้มีการใช้บทเรียน online เป็นส่วน เรียนรู้ที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กันในสังคม เสริมในการเรียนการสอน พยายามปฏิรูป การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative การศึกษาจากการเรียนการสอนแบบดั่งเดิม learning) เป็นวิธีการเรียนแบบหนึ่งที่ถูกนำ� (classroom study) สู่การเรียนการสอนผ่าน เข้ามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (E-learning) การ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์(Computer และคุณภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีวิธี Network Based Learning) จึงถูกนำ�มาใช้ การที่เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน เพื่อการเรียนการสอนในหลายระดับ โดย ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม สมาชิก เฉพาะอย่างยิ่งในระดับอุดมศึกษา เพื่อมุ่ง แต่ละคนต้องมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และใน การขยายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษา ความสำ�เร็จของกลุ่ม ทั้งโดยการแลกเปลี่ยน และให้การศึกษาต่อเนื่องแก่ผู้ที่อยู่ในวัย ความคิดเห็นและการแบ่งปันทรัพยากรการ ทำ�งาน(Re-Training) และการเรียนรู้ตลอด เรียนรู้ รวมถึงการให้กำ�ลังใจแก่กันและกัน ชีวิต(Long-Life Learning) โดยมุ่งเน้นการให้ สมาชิกแต่ละคนต้องรับผิดชอบการเรียนรู้ บริการการเรียนรู้ภายใต้หลักการที่สำ�คัญคือ และภาระงานของตนเอง พร้อมไปกับการ ความยืดหยุ่น(Flexibility) ความสามารถใน มีปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกในกลุ่ม โดยมีจุดมุ่ง การเข้าถึง(Accessibility and Affordability) หมายในการเรียนรู้ร่วมกัน ซึ่งความสำ�เร็จ ประสิทธิภาพ(Efficiency) และความสามารถ ของแต่ละบุคคลคือความสำ�เร็จของกลุ่ม ในการรวบรวมความรู้ (Wisdom of Collec- และความสำ�เร็จของกลุ่มคือความสำ�เร็จของ tion) แต่การที่จะทำ�ให้การเรียนการสอนบน ทุกคนเช่นกัน (Panizt T, 1990) ผู้สอนจะ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ผลและเกิดผลลัพธ์ มีบทบาทในการจัดโครงสร้าง คอยติดตาม ทางการเรียนรู้อย่างสูงสุดดังที่กล่าวมาข้างต้น ผล และส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการร่วม จึงต้องใช้วิธีการเรียนการสอนที่มีกิจกรรม มือในการเรียน โดยมีบทบาทเป็นผู้อำ�นวย การเรียนที่มีความสอดคล้องเหมาะสม และ ความสะดวกในการเรียนรู้ (facilitator) และ เอื้ออำ�นวยต่อรูปแบบของการเรียนการสอน เป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ (resource) บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงจะใช้ศักยภาพ นอกจากนั้นแล้วการเรียนรู้ร่วมกันยังเป็นวิธี ของเทคโนโลยีของระบบเครือข่ายได้อย่าง การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนรู้จักการคิดเชิงระบบ เต็มประสิทธิภาพและทำ�ให้ได้ผลลัพธ์และ (System Thinking) อีกทั้งยังสนับสนุนให้ คุณประโยชน์ต่อการเรียนรู้อย่างสูงสุด ซึ่ง ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ขึ้นได้ด้วย การเรียนรู้ที่ดีควรเกิดจากสภาพที่เป็นจริง ที่ ตนเอง (constructivist) ซึ่งเป็นคุณลักษณะ

192 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนตามพระ วิจัยที่เกี่ยวข้อง และนำ�มาเชื่อมโยงกับสภาพ ราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นจริงการจัดการเรียน ๒๕๔๒ และสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ การสอนในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย ตามแนวทฤษฏี Social Constructivism ของ และนำ�เสนอผู้เชี่ยวชาญจำ�นนวน 17 ท่าน Vygotsky ซึ่งเป็นทฏษฏีที่เน้นปฏิสัมพันธ์ เพื่อตรวจสอบและปรับปรุง ผู้เขียนคาดหวัง ทางสังคม เชื่อว่าการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เป็นอย่างยิ่งว่ารูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันบน มีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนาพุทธิปัญญา เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการ แต่ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียน คิดเชิงระบบที่ได้นำ�เสนอในครั้งนี้จะเป็นอีก การสอนในรูปแบบใด วิธีการใด สิ่งหนึ่งที่ผู้ หนึ่งทางเลือกของการจัดการเรียนการสอนใน ออกแบบรูปแบบการเรียนการสอนจะต้อง ระดับอุดมศึกษาและระดับอื่นๆที่จะสามารถ คำ�นึงถึง คือ รูปแบบการเรียนต้องเน้นการ พัฒนาผู้เรียนทั้งในด้านเนื้อหาวิชาการและ ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถนำ� เผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้ วิชาความรู้ที่ได้เล่าเรียนไปใช้ในการพัฒนา มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา การจัดการ คุณภาพชีวิตได้อย่างยั่งยืนและถาวร ซึ่งราย ศึกษาจำ�เป็นต้องมุ่งเน้นความสำ�คัญทั้งด้าน ละเอียดต่างๆในบทความนี้จะได้นำ�เสนอใน ความรู้ ความคิด เพื่อพัฒนาคนให้มีความ ลำ�ดับต่อไป สมดุลทั้งร่างกายและความคิด (กระทรวง ศึกษาธิการ, 2544) เพราะการสอนให้ผู้ สภาพปัญหาและการจัดการเรียนการ เรียนเกิดทักษะการคิดจะเปรียบเสมือนการ สอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พึง ติดอาวุธทางปัญญาให้กับผู้เรียน ทำ�ให้ผู้เรียน ประสงค์ ได้มีเครื่องมือที่ใช้ในการแสวงหาความรู้ได้ การจัดการเรียนการสอนบนเครือข่าย ไปตลอดชีวิตจึงนับได้ว่าการสอนให้ผู้เรียน คอมพิวเตอร์ถือได้ว่าเป็นการเรียนการสอน ได้รู้จักวิธีการคิด เป็นสิ่งที่พึงประสงค์อย่าง ในรูปแบบใหม่ ที่ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยิ่งในสภาพของสังคมปัจจุบัน (มนตรี แย้ม เป็นช่องทางในการถ่ายทอดเนื้อหา เป็น กสิกร, 2545) เครื่องมือการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและเป็น บทความนี้จึงได้นำ�เสนอรูปแบบการ เครื่องมือในการสร้างองค์ความรู้(ประชิต เรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อ อินทนก, 2541) โดยมีการใช้ชื่อเรียกที่ พัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ ซึ่งเป็นรูปแบบ ต่างกันออกไปอันได้แก่ E-Learning, On- การเรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผู้เขียน line Learning, Web-Based Education, ได้ออกแบบขึ้นมาจากการศึกษาเอกสารงาน Web-Based Instruction, Tele-Learning,

193 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Tele-Education, Virtual Classroom, Virtual 1997) และข้อจำ�กัดอีกประการหนึ่งของ University(ส.ก.ศ. 2544) การเรียนรู้ร่วมกัน รูปแบบการสอนในอดีตมุ่งเน้นความรู้หรือ บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์(Collaborative เนื้อหามากกว่าการเน้นที่กระบวนการที่จะ Computer-Based Learning ) เป็นอีกวิธี ได้มาซึ่งความรู้(Jonassen, Mayes and การหนึ่งที่นำ�การเรียนรู้ร่วมกันเข้ามาใช้โดย Mc Aleese, 1993) แทนที่จะใช้ในการเรียนการสอนในชั้นเรียน แต่ทั้งนี้รูปแบบการเรียนบนเครือ ปกติ แต่กลับนำ�มาใช้กับการเรียนการสอนที่ ข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันเน้นกระบวนการ เป็นลักษณะการเรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เรียนการสอนที่เน้นการท่องจำ� ละเลย โดยใช้คอมพิวเตอร์และเครือข่ายการสื่อสาร กระบวนการสอนให้คิด สอนเพื่อเตรียมการ เป็นเครือข่ายหลักในการเรียนการสอน โดยผู้ สอบเป็นหลัก กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจเฉพาะ เรียนจะสื่อสารในการเรียนกับผู้สอนและกับผู้ ประเด็นที่คิดว่าจะต้องนำ�ไปตอบในการสอบ เรียนด้วยกันผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ เพื่อวัดผลหลังเรียนหรือวัดผลรายวิชา ผล มีการเชื่อมต่อถึงกันบนระบบอินเตอร์เน็ตหรือ สะท้อนกลับที่ตามมาคือผู้เรียนใช้วิธีการ อินทราเน็ตก็ได้ ด้วยการใช้ซอฟต์แวร์เป็นตัว ท่องจำ� ขาดกิจกรรมการเรียนที่ส่งเสริม ช่วยในการสื่อสารข้อมูล เช่น การใช้ E-mail, ให้ผู้เรียนได้รู้จักการคิด รู้จักวิเคราะห์และ Web-board, Bulletin Board, Conferenc- สังเคราะห์ กระบวนการเรียนการสอนทาง ing System, Video Conference, Chat ไกลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ยังไม่พร้อม Room, Whiteboard โดยผู้เรียนสามารถที่ ที่จะพัฒนาคนให้มีคุณสมบัติเข้ากับโลกยุค จะสื่อสารกันได้ทั้งแบบ Asynchronous และ ใหม่ วิธีการถ่ายทอดเนื้อหาเป็นแบบการสอน Synchronous ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความ ทางเดียว เน้นเรื่องความจำ�มากกว่าสอนให้ผู้ พร้อมและความต้องการของตนเอง(Bernard เรียนวิเคราะห์แยกแยะหาเหตุผล ผู้เรียนขาด M, 2000) ถือเป็นเป็นเทคนิคการสอนบน องค์ความรู้เพื่อการพิจารณาในเชิงองค์รวม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีความยืดหยุ่นใน อย่างเป็นระบบ (แผนพัฒนาการศึกษาระดับ ด้านการถ่ายทอดเนื้อหาสำ�หรับการศึกษา อุดมศึกษา ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) ทางไกล แต่การใช้เทคนิคการเรียนรู้ร่วม ทบวงมหาวิทยาลัย. 2540: 17) ผลที่ตาม กันในลักษณะเช่นนี้จำ�เป็นต้องใช้วิธีการ มาประการหนึ่งคือ ทำ�ให้กศึกษาขาดทักษะ ออกแบบการสอนแบบใหม่ เนื่องจากรูปแบบ ในการคิด ส่งผลให้ขาดความสามารถในการ การสอนในอดีตไม่ได้มีคำ�แนะนำ�สำ�หรับการ จัดการการแก้ปัญหางาน ทำ�ให้กระบวนการ ออกแบบให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับ ทำ�งานล่าช้า จัดระเบียบความคิดและขั้นตอน ผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน และมีข้อจำ�กัด ในการปฏิบัติงานได้ไม่ดี อันเป็นปัญหาที่ส่ง ยากที่จะปรับเปลี่ยน(Hanafin and Land, ผลกระทบไปถึงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน

194 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

เมื่อสำ�เร็จการศึกษาไปแล้ว หากสถาบันการ ที่ทำ�ให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก(ทิศ ศึกษาในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยยัง นา แขมมณีและคณะ, 2544) ซึ่งการคิด คาดหวังที่จะเจริญก้าวหน้าโดยมีระบบการ เป็นสิ่งที่สามารถสอนหรือพัฒนาได้ทั้งทาง เรียนการสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็น ตรงและทางอ้อม โดยผู้สอนสามารถจัด อีกหนึ่งช่องทางของการจัดการศึกษา ประเด็น สถานการณ์เพื่อส่งเสริมการคิดของผู้เรียน หนึ่งที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องพิจารณา คือ “ ได้(Robert, 2003) ดังที่นักจิตวิทยาหลาย จะทำ�อย่างไรให้การจัดการเรียนการสอนบน ท่านที่ได้พยายามศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับหลัก เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นอีกหนึ่งช่องทาง การพัฒนาการคิดของมนุษย์ เช่น Piaget ซึ่ง ของการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ เป็นนักจิตวิทยากลุ่มที่มีความเชื่อว่า มนุษย์ สามารถสร้างคนไทยให้ดีพร้อมทั้งความรู้ ทุกคนสามารถจัดระบบการคิดของตนเอง และความคิด “ ประเด็นนี้ถือเป็นจุดอ่อน ได้โดยอัตโนมัติเพื่อให้เกิดการปรับตัวเพื่อ ที่จำ�เป็นต้องแก้ไขปรับปรุง ที่อาจจะก่อให้ ให้เกิดสภาวะสมดุล(Equilibration)(กิ่งฟ้า เกิดปัญหาในการพัฒนาการศึกษาระดับ สินธุวงษ์, 2547) อุดมศึกษาในปัจจุบันและอนาคต ดังนั้นการสอนการคิดเชิงระบบ กล่าวโดยสรุป คือ การออกแบบการ (System Thinking) ควบคู่กับการสอน เรียนการสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของ เนื้อหาผ่านสังคมการเรียนรู้ร่วมกันบนเครือ สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ ข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ไทย ต้องตระหนักถึงความจำ�เป็นที่ต้องมี ในหลักการเนื้อหาควบคู่กับการฝึกการคิด กระบวนการการสอนที่เน้นทักษะการคิด อย่างเป็นระบบ จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ผู้ ในการเรียนควบคู่ไปกับการสอนเนื้อหาใน เขียนได้นำ�เสนอในบทความนี้ ซึ่งจะกล่าว รายวิชา ซึ่งถือเป็นเรื่องสำ�คัญอย่างยิ่งใน ถึงในลำ�ดับถัดไป การจัดการศึกษาที่ต้องพัฒนาและฝึกฝน จนเกิดเป็นทักษะติดตัวผู้เรียนไปตลอดชีวิต หลักการสอนเพื่อพัฒนาการคิดเชิง บ่มเพาะให้ผู้เรียนที่จะสำ�เร็จการศึกษาเป็น ระบบ (System Thinking) บัณฑิตที่มีการคิดอย่างมีจุดหมาย มีทิศทาง ก่อนที่จะได้กล่าวถึงรูปแบบการ มีกระบวนการคิดที่ดี รอบคอบจะทำ�ให้ได้คำ� เรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อ ตอบหรือบทสรุปที่มีคุณภาพ เชื่อมโยงไปสู่ พัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบที่ผู้เขียนจะ การกระทำ�งานหรือการดำ�รงชีวิตที่เหมาะ ได้นำ�เสนอในบทความนี้ ผู้เขียนขอหยิบยก สมของแต่ละบุคคลต่อไป (สราลี โชติดิลก, ทฤษฏีและหลักการที่เกี่ยวข้องกับการสอนเพื่อ 2548) เพราะการคิดเป็นกระบวนการทาง พัฒนาการคิดเชิงระบบให้ผู้อ่านได้ทำ�ความ สมองที่มนุษย์มีศักยภาพสูงมากและเป็นสิ่ง

195 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

เข้าใจก่อน เพื่อที่จะได้ทราบที่มาที่ไป และ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงในลักษณะความเป็น ด้วยเหตุผลอะไร ผู้เขียนถึงได้ให้ความสำ�คัญ เหตุเป็นผลกันอย่างไรบ้าง ทั้งนี้รูปแบบพฤติ กับการออกแบบการเรียนการสอนบนเครือ กรรมทิ่เกิดขึ้นอาจจะก่อให้เกิดสถานการณ์ที่ ข่ายคอมพิวเตอร์ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนได้ ขยายวงกว้างขึ้นหรืออาจก่อให้เกิดสถานการณ์ ทั้งในด้านเนื้อหาเนื้อหาวิชาการและศักยภาพ แบบสมดุลที่ไม่มีการขยายผลที่กว้างขวางมาก ด้านการคิด ขึ้นก็ได้ การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ได้นั้น การคิดเชิงระบบ (System Think- จำ�เป็นต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างความสัม ing) เป็นความสามารถในการคิดของผู้เรียน พันธระหว่างปัจจัยสาเหตุย่อย อันจะส่งผล ที่สามารถมองปัญหาหรือสถานการณ์บาง ให้รูปแบบพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงและในที่สุด อย่างด้วยการค้นหารูปแบบความสัมพันธ์ นำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงระดับสถานการณ์ ระหว่างองค์ประกอบที่เป็นต้นเหตุของปัญหา ด้วยกระบวนการที่กล่าวมานี้ถือว่าเป็นกระ และความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อย บวนการปฏิบัติการคิดเชิงระบบ(Kreuzer, ต่างๆที่มีส่วนทำ�ให้เกิดปัญหา ซึ่งเป็นการ 2001) ซึ่งมีนักจิตวิทยาหลายกลุ่มที่ได้นำ� มองในลักษณะภาพรวม(Wholeness) ซึ่ง เสนอรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการคิดใน สามารถจำ�แนกการมองปัญหาเป็น 3 ระดับ เชิงระบบ ดังต่อไปนี้ คือ ระดับสถานการณ์(Event) ระดับแบบแผน 1. กลุ่มรูปแบบที่ใช้กระบวนการ พฤติกรรม(Pattern of Behavior) และระดับ คิดเป็นแนวทาง (Cognitive process ap- โครงสร้างระบบ(System Structure) ซึ่ง proaches) กลุ่มนี้มีข้อตกลงเบื้องต้นที่เป็น เป็นการคิดที่แสดงให้เห็นโครงสร้างทั้งหมดที่ หลักการสำ�หรับพัฒนารูปแบบว่า ความ เชื่อมสัมพันธ์กันเป็นหนึ่งเดียวกันภายใต้บริบท สามารถในการคิด ขึ้นอยู่กับกระบวนการ ของสิ่งแวดล้อมที่เปิดปัญหานั้นๆ เป็นการ ขั้นพื้นฐานของกระบวนการคิดเบื้องต้น คิดในเชิงบูรณาการ กล่าวคือ เป็นการคิด บางประการ เช่น การเปรียบเทียบ การจัด โดยการเชื่อมโยงเรื่องต่างๆกับปัจจัยอื่นๆ ลำ�ดับ การแยกประเภทการอ้างอิง และการ ที่เกี่ยวข้องให้ขยายขอบเขตออกไปเพื่อให้ ทำ�นายแนวโน้ม ได้มุมมองใหม่ๆ ความเป็นไปได้ใหม่ๆ โดย 2. กลุ่มรูปแบบที่ใช้หลักยุทธศาสตร์ ไม่ด่วนสรุปหรือตัดสินปัญญหาก่อนจะได้ การคิดเป็นแนวทาง (Heuristics oriented) มาซึ่งแนวทางที่ดีที่สุด เมื่อเผชิญกับปัญหา กลุ่มนี้มีข้อตกลงเบื้องต้น ที่เน้นหนักเรื่อง จะพิจารณาสร้างความเข้าใจกับสถานกา ของยุทธวิธีที่จะใช้ในการแก้ปัญหาที่จะทำ�ให้ รณ์นั้นๆให้ได้ว่า ปัจจัยสาเหตุของการเกิด สำ�เร็จตามเป้าหมายได้มากที่ สถานการณ์นั้นมีปัจจัยสาเหตุย่อยอะไรบ้าง จากนั้นพิจารณาว่าปัจจัยสาเหตุย่อยนั้นมี

196 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

3. กลุ่มรูปแบบที่ใช้พัฒนาการ อยู่ โดยให้เด็กสามารถค้นหาข้อผิดพลาด ของการคิดตามทัศนะของเพียเจท์เป็น ที่มักจะเกิดขึ้นในขณะที่ทำ�การคิด และนำ� แนวทาง(Formalthinking or stage devel- ผลจากการค้นพบนั้นมาทำ�การแก้ไข ซึ่งจะ opment) กลุ่มนี้อาศัยทัศนะเกี่ยวกับการคิด ทำ�ให้เด็กได้พัฒนาศักยภาพของการคิดถึง ของเพียเจท์เป็นหลักการในการพัฒนารูป ระดับสูงสุด แบบ โดยมีความเชื่อว่าผู้เรียนจะสามารถ สำ�หรับรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันบน พัฒนาการคิดของตนเองจากการคิดเฉพาะ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการ ด้าน และจากสิ่งที่เป็นรูปธรรมให้เป็นความ คิดเชิงระบบที่ผู้เขียนจะได้นำ�เสนอในบทความ สามารถในการคิดแนวกว้าง และคิดใน นี้ได้อาศัยฐานแนวคิดของกลุ่มรูปแบบ ที่ใช้ สิ่งที่เป็นนามธรรมได้ โดยเฉพาะในระดับ พัฒนาการของการคิดตามทัศนะของเพียเจท์ มหาวิทยาลัยได้มีการจัดในรูปแบบต่างๆ เป็นแนวทาง(Formal thinking or stage เพื่อฝึกฝนและส่งเสริมทักษะการคิดในขณะ development) ซึ่งสามารถปรับเหมาะให้ ที่เรียนเนื้อหาวิชาตามหลักสูตร ใช้ในการเรียนการสอนระดับมหาวิทยาลัย 4. กลุ่มรูปแบบที่ใช้ความหมายภาษา เพื่อฝึกฝนและส่งเสริมทักษะการคิดในขณะ และสัญลักษณ์เป็นแนวทาง (Language ที่เรียนเนื้อหาวิชาตามหลักสูตร และจัดสภาพ and symbol manipulation) กลุ่มนี้มีข้อ แวดล้อมการเรียนกตามแนวทางคอนสตรัค ตกลงเบื้องต้นว่า การเขียนที่ดีมีประสิทธิผล ติวิสต์ที่เน้นการจัดสภาพแวดล้อมการเรียน นั้นจะเป็นกิจกรรมที่มีแบบแผนและจำ�เป็น รู้โดยผ่านกระบวนการสถานการณ์ปัญหา ต้องใช้ความสามารถในการแสดงออกของ (Problem Base) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียน ความคิดอย่างแจ่มชัดและมีความต่อเนื่อง ค้นคว้าและแสวงหาคำ�ตอบจากแหล่งความ ลักษณะการเขียนที่มีประสิทธิผลดังกล่าว รู้ จากแหล่งข้อมูล หรือจากเพื่อนผู้เรียนด้วย จำ�เป็นต้องมีการวางแผนตลอดจนกำ�หนด กัน ก่อนที่จะมีการรวมกลุ่มกันเพื่อแก้ปัญหา แนวทางปฏิบัติที่ดีเพื่อนำ�ไปสู่เป้าหมาย ร่วมกัน โดยผู้สอนจะต้องจัดเนื้อหาเพื่อให้ผู้ 5. กลุ่มรูปแบบที่ใช้การคิดเป็น เรียนได้ศึกษาค้นคว้า และมีเครื่องมือหรือ เนื้อหาสาระของการเรียนเช่นเดียวกับวิชา แหล่งข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้เรียน อื่น (Thinking about thinking) กลุ่มนี้มีข้อ ได้ค้นหาเพื่อนำ�ข้อมูลมาเข้าร่วมอภิปรายกับ ตกลงเบื้องต้นว่าการคิดหรือการเรียนรู้เกี่ยว เพื่อนในกลุ่มใหญ่ อาศัยหลักการการเรียนรู้ กับการคิดจะสามารถพัฒนากระบวนการคิด ร่วมกัน (Collaborative Learning) เพื่อให้ ของผู้เรียนได้ กลุ่มนี้จึงมุ่งที่จะพัฒนาการคิด ผู้เรียนได้รับทราบแนวคิดของผู้อื่น ซึ่งจะ ของผู้เรียนให้ถึงขีดสุดตามศักยภาพที่เด็กมี เปรียบเสมือนเป็นข้อมูลย้อนกลับ(Feedback) (มนตรี แย้มกสิกร, 2545) ทำ�ให้ผู้เรียนได้

197 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ปรับปรุงพัฒนาด้านการคิดที่เป็นระบบได้ เรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดย อย่างต่อเนื่อง โดยรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกัน มีองค์ประกอบของรูปแบบ 3 องค์ประกอบ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบที่ผู้เขียนได้ หลักดังต่อไปนี้ พัฒนาขึ้นนั้นประกอบด้วยขั้นตอนการเรียนรู้ 1. องค์ประกอบด้านทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 7 ขั้นตอน คือ ปฐมนิเทศน์รายวิชา การรับรู้ รูปแบบการเรียนที่พัฒนาขึ้นได้อาศัยฐาน ปัญหา ค้นหาข้อมูล เพิ่มพูนกระบวนการคิด และที่มาจากทฤษฏีที่สอดคล้องดังต่อไปนี้ พินิจในกลุ่มย่อย ทยอยแพร่สู่กลุ่มใหญ่ และ 1. การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอน ขั้นสุดท้ายคือร่วมใจรับการประเมิน ซึ่งราย สตรัคติวิสต์ (Constructivist) หมายถึง การ ละเอียดการจัดกิจกรรมและชิ้นงานที่ผู้เรียน ประยุกต์เอาหลักการและ ทฤษฎีคอนสตรัค ต้องฝึกปฏิบัติในแต่ละขั้นตอนนั้นผู้เขียนได้ ติวิสต์ มาใช้ในการจัดสภาพแวดล้อมทางการ นำ�เสนอไว้แล้วในหัวข้อถัดไป เรียนการสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบ ตื่นตัว องค์ปกระกอบของรูปแบบการเรียนรู้ (Active Learning) โดยผู้เรียนและผู้สอนสา ร่วมกันบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อ มารสื่อสารกันและมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม พัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ กันแบบทิศทางเดียวและสองทิศทาง เพื่อ จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในการ ให้ผู้เรียนสามารถปรับโครงสร้างทางความ จัดการเรียนการสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คิดโดยดูดซึมความรู้เดิมเข้ากับความรู้ใหม่ ของสถาบันอุดมศึกษาได้สะท้อนให้เห็นจุด รู้จักการเรียนรู้โดยใช้การคิดอย่างเป็นระบบ ด้อยของจัดการศึกษาที่เน้นการสอนเนื้อหา โดยใช้กระบวนการกลุ่มเป็นสำ�คัญ ด้วยการท่องจำ�มากกว่าการสอนให้ผู้เรียน 2. การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative รู้จักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อประยุกต์ใช้ Learning) หมายถึง วิธีการเรียนที่จัดการ ความรู้ที่ได้รับให้กลับกลายเป็นองค์ความรู้ที่ เรียนรู้โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อ สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน และชีวิต แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ โดย การทำ�งานได้อย่างยั่งยืนและถาวร ผู้เขียน ใช้ความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียนรวม จึงได้นำ�เสนอ รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันบน ถึงแหล่งข้อมูลภายนอกเพื่อร่วมกันสร้างชิ้น เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการ งาน มีการแสดงความคิดเห็น การอภิปราย คิดเชิงระบบ เพื่อเป็นต้นแบบที่ใช้ในการเรียน ระหว่างกลุ่มผู้เรียนในการแลกเปลี่ยนความรู้ การสอนระดับอุดมศึกษาเพื่อเน้นให้ผู้เรียน และความคิดเห็น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ได้เกิดการเรียนรู้ควบคู่กับการพัฒนาการคิด ผู้เรียนมีการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การ เชิงระบบ (System Thinking) ผ่านสังคมการ สร้างสรรค์ความรู้ร่วมกัน

198 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

3. การเรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ (Computer Network-Based Learning) 1. ผู้สอน เป็นรูปแบบการเรียน หมายถึง รูปแบบการเรียนที่อิงเครือข่าย การสอนที่มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วม คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลางในการสื่อสารและ กันระหว่างกลุ่มผู้เรียนและผู้สอน ผู้สอนมี ถ่ายทอดเนื้อหาให้แก่ผู้เรียน เน้นการสร้าง บทบาทในการเป็นผู้คอยติดตามและให้คำ� เนื้อหาการเรียนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ แนะนำ�(Monitoring and Guidance) เป็น ได้ด้วยตนเอง (Human to Computer) และ บทบาทที่ผู้สอนสามารถให้คำ�แนะนำ�กลุ่มผู้ สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์เพื่อเรียนรู้ร่วมกับ เรียนในขณะทำ�งาน มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ผู้อื่น(Human to Human) โดยอาศัยการ ของผู้เรียน ตรวจสอบการมีส่วนร่วมกิจกรรม สื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และใช้ กลุ่ม หรือตรวจสอบการทำ�งานในกลุ่มได้ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการ ตรวจสอบพัฒนาการการเรียนรู้ การแนะนำ� สร้างองค์ความรู้สำ�หรับผู้เรียน การเรียนหรือปรึกษาด้านการเรียนแก่ผู้เรียน 4. การพัฒนาการคิด (Thinking แต่ละคน สร้างบรรยากาศความเป็นกันเอง Development) หมายถึง กระบวนการใน เพื่อช่วยสร้างความมั่นใจ ให้ผู้เรียนได้กล้าที่จะ การการพัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบที่ แสดงออกทางความคิดอย่างเต็มที่ นอกจาก สามารถพัฒนาความคิดของนักศึกษาได้รอบ นั้นแล้วยังทำ�หน้าที่เป็นผู้คอยอำ�นวยความ ด้าน และสามารถกระตุ้นให้นักศึกษาเรียน สะดวก (Facilitator) คอยช่วยเหลือผู้เรียน รู้ที่จะคิดมากกว่าการเรียนรู้ในเนื้อหาบท เพื่อให้ผู้เรียนสามารถฝึกกระบวนการคิดเชิง เรียน มีการเรียนรู้เนื้อหาไปพร้อมๆกับการ ระบบด้วยตนเองและเป็นกลุ่ม ช่วยอำ�นวย ฝึกทักษะการคิด โดยไม่จำ�เป็นต้องมีผู้ชี้นำ� ความสะดวกให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันภายใน 5. การคิดเชิงระบบ(System Think- กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ ช่วยแจ้งข่าวหรือตอบ ing) หมายถึง ความสามารถในการคิดของ กระทู้ปัญหาต่างๆที่ผู้เรียนสอบถามมา เป็น นักศึกษาที่สามารถมองปัญหาหรือสถานการณ์ ผู้ประเมินผู้เรียน (Assessment Manage- บางอย่างด้วยการค้นหารูปแบบความสัมพันธ์ ment) ผู้สอนจะต้องทำ�หน้าที่ประเมินผลผู้ ระหว่างองค์ประกอบที่เป็นต้นเหตุของปัญหา เรียน พิจารณาพัฒนาการของผู้เรียน ให้ผล และความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อย ย้อนกลับ(Feedback) และให้คำ�แนะนำ�หรือ ต่างๆที่มีส่วนทำ�ให้เกิดปัญหา ซึ่งเป็นการมอง แนะแนวทางแก่ผู้เรียน ในลักษณะภาพรวม (Wholeness) 2. ผู้เรียน เป็นรูปแบบการเรียน 2. องค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อม การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ การเรียนรู้ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ สามารถพัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบด้วย

199 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ตนเองจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกใน ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน กลุ่ม แสวงหาความรู้และฝึกฝนการคิดด้วย 4. เทคนิคการเรียนรู้ร่วมกัน เป็น การลงมือค้นคว้าด้วยตนเอง(Self Learning) รูปแบบการเรียนการสอนที่ใช้เทคนิคเรียน ภายใต้การช่วยเหลือของครูผู้สอน ผู้เรียนจึง รู้ร่วมกันแบบ STAD Model: Student ไม่ใช่ผู้รับความรู้จากผู้สอน แต่เป็นผู้วินิจฉัย Teams-Achievement Divisions โดยมีการใช้ ผู้ตัดสินใจเลือกและทำ�อย่างชาญฉลาด ใฝ่รู้ ปัญหาเป็นฐานหรือ PBL (Problem based ค้นคว้า ทดลอง พิสูจน์หาความรู้อยู่ตลอด Learning) เพื่อใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ เวลา ผู้เรียนจึงเป็นศูนย์กลางของการเรียน เรียนเกิดความต้องการใฝ่หาความรู้ที่จะใช้ การสอน มีส่วนร่วมในบทเรียนด้วยการเรียน เพื่อแก้ปัญหา รู้ร่วมกันคนอื่นๆในห้องเรียน เรียนรู้ร่วมกัน 3. องค์ประกอบด้านขั้นตอนการ เป็นกลุ่ม(Group Learning) เพื่อให้ทำ�งาน จัดการเรียนรู้ ร่วมกัน (Working Group) หรือแก้ปัญหา ตามที่ได้รับมอบหมายร่วมกันเป็นกลุ่ม จากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อแบ่งปันประสบการณ์อันจะช่วยพัฒนา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สามารถสรุป กระบวนการคิดให้ดียิ่งขึ้น เป็นขั้นตอนของรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันบน เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการ 3. รูปแบบการสื่อสาร เป็นรูปแบบ คิดเชิงระบบ 7 ขั้นตอน ได้แก่ ปฐมนิเทศน์ การเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ รายวิชา รับรู้ปัญหา ศึกษาข้อมูล เพิ่มพูน สื่อสารกันระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและผู้เรียน กระบวนการคิด พินิจในกลุ่มย่อย ทยอย กับผู้เรียนได้ทั้งแบบเวลาเดียวกัน โดยใช้การ แพร่สู่กลุ่มใหญ่ และขั้นตอนสุดท้ายคือการ สนทนากลุ่ม (Chat) และแบบต่างเวลากัน เปิดใจรับการประเมิน ซึ่งมีรายละเอียดดัง โดยใช้กระดานข่าว (Web board) เพื่อแลก รูปภาพที่ 1 เปลี่ยนความรู้ระหว่างผู้เรียนด้วยกันหรือหรือ

200 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

รูปภาพที่ 1. ขั้นตอนการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกัน รปภาพที�ู 1บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ. ขั�นตอนการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื�อพัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ ขั้นที่ 1 ปฐมนิเทศน์รายวิชา (Subjec- คิดและผังวงจรสาเหตุแห่งปัญหา(Causal tive Orientation: offline) ในขั้นตอนแรกผู้ Loop Diagrams: CLD) เพื่อกระตุ้นให้ผู้ สอนทำ�การแจ้งรายละเอียดของรายวิชาขั�นที� 1 ปฐมนิเทศน์รายวิชา รวม เรียนเกิดความสนใจในประเด็นปัญหาที่จะจะได้รับจากการเรียนรู้ ก่อนที�จะมีการทดสอบ (ถึงข้อตกลงในการดำSubjective Orientation�เนินกิจกรรม : offline )อธิบายขั้น ในขั�นตอน ได้รับจากการเรียนรู้ก่อนเรียน ก่อนที่จะมีการทดสอบ แรกตอนการเรียนรู้ผู้สอนทําการแจ้งรายละเอียดของรายวิชา ฝึกให้ผู้เรียนได้เขียนผังความ ก่อนเรียน ขั�นที� 2 รับรู้ปัญหา (Acknowledge รวมถึงข้อตกลงในการดําเนินกิจกรรม อธิบาย Problem : online) ขั�นตอนนี�จะต้องมีการ ขั�นตอนการเรียนรู้ ฝึกให้ผู้เรียนได้เขียนผัง201 นําเสนอปัญหาด้วยการจําลองสถานการณ์ ความคิดและผังวงจรสาเหตุแห่งปัญหา ปัญหาและถ่ายทอดปัญหานั�นๆออกมาใน (Causal Loop Diagrams : CLD) เพื�อกระตุ้น ลักษณะภาพเคลื�อนไหว (Animation) เพื�อ ให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในประเด็นปัญหาที� เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เกิดความขัดแย้ง ทางปัญา สถานการณ์ปัญหาที�นําเสนอควร Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ขั้นที่ 2 รับรู้ปัญหา (Acknowledge ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องและสนทนากลุ่มย่อยกับ Problem: online) ขั้นตอนนี้จะต้องมีการนำ� เพื่อนร่วมชั้นเพื่อซักถามซึ่งกันและกันก่อน เสนอปัญหาด้วยการจำ�ลองสถานการณ์ปัญหา ที่จะเขียนรายงานสรุปข้อมูลและทฤษฏีที่ค้น และถ่ายทอดปัญหานั้นๆออกมาในลักษณะ พบโดยแยกเป็นประเด็น ด้วยการพิมพ์ลงใน ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เพื่อเป็นการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และทำ�การบันทึกก่อน กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เกิดความขัดแย้งทางปัญา ส่งให้อาจารย์ผู้สอนผ่านระบบการจัดส่งงาน สถานการณ์ปัญหาที่นำ�เสนอควรเป็นปัญหา ที่ระบบเตรียมไว้ให้ ปลายเปิดที่สามารถมีคำ�ตอบได้หลากหลาย ขั้นที่ 4 เพิ่มพูนกระบวนการคิด มีทางแก้ไขที่หลากหลายวิธี ผู้เรียนจะได้เกิด (Thinking’s Skill: online) เป็นกระบวน การคิดและใช้ปัญญาในหลายแง่หลายมุม การที่ผู้เรียนแต่ละคนได้ใช้ความคิดเพิ่ม กระตุ้นให้สมองของผู้เรียนเกิดความพร้อม เติมเกี่ยวกับปัญหา โดยผู้เรียนแต่ละคนจะ ก่อนที่จะมีการปรับโครงสร้างทางปัญญา ต้องทำ�การพัฒนาแผนภาพวงจรสาเหตุแห่ง มีความต้องการที่จะซึมซับความรู้ใหม่เพื่อ ปัญหา (Causal Loop Diagrams: CLD) ซึ่ง ปรับเข้าสู่โครงสร้างของความรู้เดิมที่มีอยู่ เป็นกิจกรรมที่ฝึกให้ผู้เรียนได้ ซึมซับกับองค์ แล้ว หลังจากนั้นให้ผู้เรียนเขียนผังความคิด ประกอบที่เป็นต้นเหตุของปัญหา ผู้เรียนจะ เกี่ยวกับประเด็นปัญหา ด้วยการเขียนลงใน ต้องทำ�การคิดวิเคราะห์เพื่อสังเคราะห์เอา โปรแกรมคอมพิวตเตอร์และบันทึกก่อนส่ง องค์ประกอบย่อยที่เป็นต้นเหตุของปัญหา ให้อาจารย์ผู้สอนผ่านระบบการจัดส่งงาน และกำ�หนดความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลว่า ที่ระบบเตรียมไว้ให้ องค์ปผระกอบใดมีความสัมพันธ์เป็นเหตุหรือ ขั้นที่ 3 ศึกษาข้อมูล (Information เป็นผลมีการเชื่อมโยงกันอย่างไร โดยการ Absorb: online) เมื่อผู้เรียนได้รับทราบ พัฒนาเป็นวงจรเชื่อมโยงกันเพื่อให้มองเห็น ประเด็นปัญหาแล้ว ในขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะ ความสัมพันธ์ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ ได้ค้นหาข้อมูลและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับ ประกอบที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เป็นการตอบย้ำ� สถานการณ์ปัญหาที่ได้รับรู้มา โดยการสืบค้น ให้ผู้เรียนได้เข้าใจโครงสร้าง ต้นหมายปลาย จากอินเตอร์เน็ตและแหล่งข้อมูลที่ระบบจัด เหตุและที่มาของปัญหาได้อย่างเป็นระบบ เตรียมไว้ให้เพื่อที่ผู้เรียนจะได้ทำ�ความเข้าใจ ขั้นที่ 5 พินิจในกลุ่มย่อย (contem- กับปัญหาว่าปัญหาที่ได้รับมามีองค์ประกอบ plate: online) หลังจากที่ผู้เรียนได้ผ่านขั้น อะไรที่เกี่ยวข้อง การที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าว ตอนของการเพิ่มพูนกระบวนการคิด ของ ต้องใช้องค์ความรู้หลักและองค์ความรู้ย่อย ตนเองแล้ว เมื่อเข้าสู่ขั้นตอนผู้เรียนจะได้ อะไรบ้าง ซึ่งผู้เรียนจะได้ค้นคว้าข้อมูลเพื่อ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นในกลุ่มย่อย เพื่อ หาคำ�ตอบในเชิงประจักษ์ ด้วยการศึกษา

202 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ให้สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนได้นำ�เสอนผล เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนแต่ละคนมีพัฒนาการ การคิดของตนเองต่อที่ประชุมกลุ่มด้วยการ ด้านกระบวนการคิดและคุณภาพการคิดไปใน สนทนากลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง ทิศทางที่ผู้สอนคาดหวังหรือไม่ ก่อนที่ผู้สอน กันและกันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์(Chat) จะให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนแต่ละคน เพื่อผู้ เพื่อให้สมาชิกทั้งหมดในกลุ่มได้รับฟัง เรียนแต่ละคนจะได้นำ�ผลย้อนกลับดังกล่าว การคิดของแต่ละคนและช่วยกันสรุปเพื่อคัด ไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงรูปแบบการคิด กรองแนวคิดก่อนที่จะมีการสร้างผลงานการ ของตนเองในบทเรียนต่อไป คิดของกลุ่มที่เป็นผลงานที่ร่วมกันคิดลงใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์และทำ�การบันทึก บทสรุป ก่อนส่งให้อาจารย์ผู้สอนผ่านระบบการจัด การคิดเชิงระบบ (System Think- ส่งงานระบบเตรียมไว้ให้ ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้ ing) เป็นรูปแบบการคิดที่อาศัยรากฐานของ เรียนจะเกิดการเชื่อมโยงความรู้ของตนที่มี การอธิบายความสัมพันธ์ของปัญหา เพื่อนำ� อยู่เข้ากับความรู้ใหม่ที่ได้รับมา เรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวข้องกับปัญหามาเชื่อม ขั้นที่ 6 ทยอยแพร่สู่กลุ่มใหญ่ (pub- โยงความสัมพันธ์ ช่วยให้สามารถทราบถึง licize: online) เป็นขั้นตอนของการนำ�เสนอ สาเหตุปัจจัยของปัญหา เกิดเป็นทักษะการ ผลงานการคิดจากกลุ่มย่อยสู่กลุ่มใหญ่ โดย คิดแบบบูรณาการ ที่เอื้อให้เกิดการแก้ปัญหา ผลงานการคิดที่จัดเก็บอยู่ในรูปแบบของไฟล์ ได้ตามเป้าประสงค์ รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกัน ข้อมูลจะถูกคัดลอกและนำ�ไปโพส (Post) บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะ บนกระดานข่าวเพื่อให้สมาชิกทั้งห้องได้ การคิดเชิงระบบ (CCNBLEST) ที่นำ�เสนอ เข้าไปศึกษาผลงานการคิดของแต่ละกลุ่ม ในบทความนี้ได้สังเคราะห์ขึ้นบนพื้นฐานการ และเกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้เรียนแต่ละคน คิดที่ว่า “สอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะได้สัมผัสกับผลงานการคิดของกลุ่มอื่นๆ อย่างไรถึงจะทำ�ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการ และเกิดการเปรียบเทียบการคิดของตนเอง คิดอย่างเป็นระบบ” ซึ่งประกอบด้วย 7 ขั้น กับกลุ่มใหญ่ เกิดการตกผลึกด้านความคิด ตอน ได้แก่ ปฐมนิเทศน์รายวิชา รับรู้ปัญหา ทำ�ให้ผู้เรียนเกิดรูปแบบการคิดที่แปลกใหม่ ศึกษาข้อมูล เพิ่มพูนกระบวนการคิด พินิจใน และเพิ่มพูนความคิดขึ้นอีกครั้ง กลุ่มย่อย ทยอยแพร่สู่กลุ่มใหญ่ และขั้นตอน ขั้นที่ 7 ร่วมใจรับการประเมิน สุดท้ายคือการเปิดใจรับการประเมิน ทุกขั้น (Evaluation: offline) ขั้นสุดท้ายของการ ตอนได้ผ่านการนำ�เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญด้าน เรียน ผู้สอนต้องทำ�การประเมินกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศ และผู้เชี่ยวชาญด้าน คิดและคุณภาพการคิดเชิงระบบของผู้เรียน เทคโนโลยีการศึกษาจำ�นวน 17 ท่าน ก่อน

203 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

เผยแพร่ในบทความนี้ ผู้เขียนมีความคาดหวัง การพัฒนาการศึกษาไทยในระดับอุดมศึกษา และมีความตั้งใจเป็นอย่างยิ่งว่า “รูปแบบการ ให้เป็นการจัดการศึกษาทางไกลที่สามารถ เรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อ พัฒนาบัณฑิตทั้งในทางวิชาการและด้าน พัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ” ที่นำ�เสนอ ความคิดควบคู่กันไปอย่างยั่งยืนและถาวร ผ่านบทความนี้จะเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของ

References Department of Education (2001): Primary Education Programe, B.E.2544. Bangkok: ExpressTransportation Organization of Thailand. Hannafin, M.J., Hannafin, K.M., Land, S.,& Oliver, K. (1997). Grounded practice and the design of constructivist learning environments. Educational Technology Research and Development. 45(3), 101-117. Jonassen, D. H., Mayes, J. T., & McAleese, R. (1993). A manifesto for a constructivist approach to technology in higher education. Kingfah Sinthuwong (2004),Pia Jeh: A Student’ learning and development, Khon Kaen, Faculty of Education, Khon Kaen University. Kreuzer, J.M.G. Foreword (2001): System Dynamic in Education, System Dynamic, 9, 2 (Summer 1983). Ministry of University Affair (1997): Higher Education Development Plan: 8th Issue (BE.2540-2544) Srinakharinwirot Research and Development- Journal of Humanities and Social Sciences.10(3): 1-18. Montri Yaemkasikorn (2002): The improvement of systematic thinking development: Thesis of Doctoral Degree of Education: Graduate School: Srinakharinwirot University. Panizt T.(1990), “Co-operative versus cooperative leaning: A Comparison of the two concepts which will help us under-stand the underlying nature of interactive learning”.

204 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Prachit Inthakanoke (1998): The comparison of implicit and explicit E-learning affected the secondary school students’ learning achievement in different ways. Thesis of Graduate School, Chulalonkorn University. Robert, Fisher. (2003). Teaching Thinking. London. Continuum. Sirikarn Kohsum, (2001) Teaching children to be creative: Bangkok: Tube Publication. Sararee Chotdilok (2005): The improvement of higher level thinking of secondary school student through the systematic development teaching. Thesis of Doctoral Degree of Education Programe. Chonburi: Graduate School: Burapha University. Bangsaen. Suphanee Saengsri (2000) The improvement of long-distance teaching in higher educational level. Thesis of Doctoral Degree of Education. Chulalonkorn University. Bangkok. Titsana Kaemanee (2011): Thinking Innovation. Bangkok: The Master Group Management.

205 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

ยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ใน โรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Strategies for the Development of Induction Program for Administrators in Schools under The Office of The Basic Education Commission

เจษฎาภรณ์ รอบคอบ1, ผศ.ดร.ทศพล อารีนิจ2, ผศ.ดร.สุชาติ ลี้ตระกูล3, ดร.สุวดี อุปปินใจ4 Chetsadaporn Robkhob1, Thosapol Arreenich2, Suchart Leetrakoon3, Suwadee Ouppinjai4 บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ ในการ พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) กำ�หนดยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่ม ประจำ�การ ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) ตรวจสอบ ยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิธีวิจัยที่ใช้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยอาศัยกรอบ แนวคิดการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การของ Daresh and Playko การ ดำ�เนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึง ประสงค์ในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ โดยใช้แบบสอบถาม ผู้บริหารสถานศึกษา

1นักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 2ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 3ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 4อาจารย์ ดร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1Ed.D. Candidate in Educational Administration, Faculty of Education, Chiangrai Rajabhat University 2Assistant Professor Dr., Faculty of Education, Chiangrai Rajabhat University 3Assistant Professor Dr., Faculty of Education, Chiangrai Rajabhat University 4Teacher Dr.,Faculty of Education, Chiangrai Rajabhat University 206 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ในระยะเริ่มประจำ�การ จำ�นวน 103 คน และสัมภาษณ์เชิงลึก จำ�นวน 3 คน 2) การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคาม โดยใช้ SWOT Analysis และพัฒนา ร่างยุทธศาสตร์จากผลการวิเคราะห์ 3) การตรวจสอบร่างยุทธศาสตร์ครั้งที่ 1 โดยผู้ทรง คุณวุฒิและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นรายบุคคล 4) การตรวจสอบร่างยุทธศาสตร์ครั้งที่ 2 โดย ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยการสนทนากลุ่ม 5) การประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของยุทธศาสตร์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาผู้บริหาร สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ประกอบด้วย 3 ด้านหลัก คือ ด้านสมรรถนะทางการ บริหาร ด้านการบริหารงานสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และด้านการพัฒนาตนเองของผู้บริหาร สถานศึกษา พบว่าสภาพปัจจุบันในการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองในด้านสมรรถนะ ทางการบริหารอยู่ในระดับปานกลาง ด้านการบริหารงานสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับ ปานกลาง และการพัฒนาตนเองของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับน้อย ส่วนสภาพที่พึง ประสงค์ในการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 2) ยุทธศาสตร์การ พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างโอกาส ให้ผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเตรียมความพร้อมของผู้ บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาใน ระยะเริ่มประจำ�การ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้บริหาร สถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ 3) การตรวจสอบยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหารสถาน ศึกษาระยะประจำ�การ ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบ ว่า ยุทธศาสตร์นั้นมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในระดับมาก

คำ�สำ�คัญ:ผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ, สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน Abstract The purposes of this research were to 1) study the current and desir- able circumstances in developing the administrators in induction program of the schools under the Office of the Basic Education Commission ; 2) formulate the strategies for developing those school administrators; and 3) to determine the strategies for their developments in induction program under the Office of the

207 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Basic Education Commission. A descriptive research method was used to conduct this research; Daresh and Playko’s framework was employed in developing those school administrators in induction program. The research was conducted in 5 stages of, namely; 1) studying the current and desirable circumstances in their performances using the questionnaires of 103 school administrators in induction program and 3 depth - interviewers, 2) analyzing weakness, strength, opportunity, and threat by SWOT Analysis and developing the draft strategy derived from the analytical results; 3) determining the first draft strategy by individual peer reviewer and stakeholder; 4) determining the second draft strategy by peer reviewers and stakeholders on focus group discussion; and 5) assessing the appropriateness and feasibility by peer reviewers. The research findings were 1) the current and desirable circumstances in developing the school administrators in induction program consisting of 3 aspects; that is, the administrative competence, the administration of basic education schools, and the self-development of the school administrators. In terms of the current circumstances, the performance and self-development of the administra- tors were found at moderate level. The administration was found at a moderate level. And, the self-development of the administrators was found at a low level. In terms of the desirable circumstances, the performance and self-development of the administrators were found at high level of three aspects; 2) the strategies for developing the school administrators in induction program under the Office of the Basic Education Commission were composed of 4 strategies as follows: the first strategy was to create the opportunities for the school administrators in induction program ; the second strategy was to prepare the readiness for the school administrators in induction program; the third strategy was to develop the school administrators in induction program ; and the fourth strategy was to promote the performance efficiency of the school administrators in induction program, and 3) the determination of the strategies for developing the school administrators in induction program under the Office of the Basic Education Commission; the appropriateness and feasibility of the strategies were found to be a high level.

Keywords:the school administrators in induction program, the Office of the Basic Education Commission

208 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

บทนำ� พึงประสงค์...” (พระธรรมปิฏก, 2541: 3) การศึกษาเป็นปัจจัยที่สำ�คัญในการ การศึกษาจึงเป็นสิ่งจำ�เป็นในสังคม พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นองค์ประกอบ ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง และมีวิวัฒนาการ พื้นฐานในการพัฒนาประเทศ ในแผนพัฒนา ตามกระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) ดัง เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. นั้นการศึกษาต้องเตรียมคนให้มีคุณสมบัติ 2555 – 2559) ได้ระบุให้ความสำ�คัญกับ เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ แต่ปัจจุบัน การพัฒนาคนและสังคมไทยสู่สังคมคุณภาพ ภาพสะท้อนจากผลผลิตทางการศึกษาทั้งใน โดยการพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอด เชิงปริมาณและคุณภาพของไทย โดยเฉพาะ ชีวิตคนไทยทุกช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการ กลุ่มนักเรียนทั้งในระดับประถมศึกษา และ เปลี่ยนแปลง มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย มัธยมศึกษา ซึ่งเป็นการศึกษาในระดับขั้นพื้น ที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสติปัญญาที่รอบรู้ และมี ฐานที่สำ�คัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ จิตใจที่สำ�นึกในคุณธรรม จริยธรรม มีความ การเมืองของชาติมากกว่าระดับอื่น แต่การ เพียร มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ตลอด จัดการศึกษาในระดับนี้ยังไม่มีประสิทธิภาพ ชีวิต ควบคู่กับการเสริมสร้างสภาพแวดล้อม เท่าที่ควร เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อน ในสังคมและสถาบันทางสังคมให้เข้มแข็ง บ้านและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ พบว่า และเอื้อต่อการพัฒนาคน (สำ�นักงานคณะ ด้อยกว่าประเทศอื่นๆ ทั้งในเชิงปริมาณและ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง เชิงคุณภาพ (รุ่ง แก้วแดง, 2545) ชาติ, http://www. ratchakitcha.soc.go.th/ จากสภาพดังกล่าวจึงมีความจำ�เป็น DATA/PDF/2554/E/ 152/1.PDF,2554) อย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาการศึกษาให้มี ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าการเรียนรู้หรือการศึกษา คุณภาพและมีประสิทธิภาพเพื่อให้ทันต่อ เป็นปัจจัยสำ�คัญจะช่วยพัฒนาคน สร้างคน ความเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม การจะ ให้มีคุณภาพเพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาประเทศ พัฒนาการศึกษาดังกล่าวนั้น ผู้บริหารสถาน ดังพระบรมราโชวาทของพระบาท สมเด็จ ศึกษาถือได้ว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทสำ�คัญในการ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ที่ บริหารและการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ ว่า “...นอกจากการศึกษาจะสอนให้คนที่มี ซึ่ง ธีระ รุญเจริญ (2550: 7) กล่าวไว้ว่า คุณภาพคือทั้งเก่ง ทั้งดี มาเป็นกำ�ลังบ้าน ผู้บริหารโรงเรียนเป็นบุคลากรหลักที่สำ�คัญ เมือง ความเก่งเป็นปัจจัยและพลังสำ�หรับ ของสถานศึกษาและเป็นผู้นำ�วิชาชีพที่จะ การสร้างสรรค์ และให้ความดีเป็นปัจจัย ต้องมีสมรรถนะ ความรู้ ความสามารถ เพื่อประคับประคองหนุนนำ�คนเก่งให้เป็น และคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนมีจรรยา ไปในทางที่ถูก ที่อำ�นวยผลเป็นประโยชน์อัน บรรณวิชาชีพที่ดี จึงจะนำ�ไปสู่การจัดและ

209 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

บริหารสถานศึกษาที่ดี มีประสิทธิผลและ บรรจุและแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหาร ประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับ สมหวัง พิธิยา สถานศึกษา แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทั่วไป นุวัฒน์ และคณะ (2543: 1) ได้สรุปว่า และกลุ่มประสบการณ์ (สำ�นักงานคณะ ผู้บริหารโรงเรียนเป็นตัวชี้วัดที่สำ�คัญต่อ กรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ทิศทางการดำ�เนินนโยบายทางการศึกษา ศึกษา, http://203.146.15.33/webtcs/ หากผู้บริหารมีความสามารถสูง มีวิสัยทัศน์ files/v22-54.pdf, 2555) เมื่อพิจารณา กว้างไกล การดำ�เนินงานทางการศึกษาไป โดยละเอียดพบว่า การเริ่มรับตำ�แหน่งผู้ ในทิศทางที่มุ่งหวังไว้ ย่อมสำ�เร็จได้โดยไม่ บริหารสถานศึกษาตามที่ สำ�นักงานคณะ เป็นเพียงแค่ความคิด แต่สามารถปฏิบัติได้ กรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการ การจะก้าวขึ้นมาเป็นผู้บริหารสถาน ศึกษากำ�หนด จะมีกลุ่มข้าราชการครูที่ไม่มี ศึกษานั้นเป็นเรื่องที่ไม่ยากนัก แต่การเป็น ประสบการณ์ด้านการบริหารมาก่อนสามารถ ผู้บริหารสถานศึกษาที่ประสบผลสำ�เร็จและ เริ่มรับตำ�แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ปรากฏ เป็นที่ยอมรับในการบริหารจัดการสถาน ตามหลักเกณฑ์ในกลุ่มทั่วไป ข้อ 6 ระบุเป็น ศึกษา นั้นเป็นเรื่องที่ยากยิ่งกว่า ซึ่งเป็นสิ่ง ครูที่มีวิทยฐานะไม่ต่ำ�กว่าชำ�นาญการ และ ที่สังคมไทยยุคปฏิรูปการศึกษาต่างอยากเห็น ในกลุ่มประสบการณ์ ข้อ 5 ระบุเป็นครู มา และคาดหวัง และเราคงไม่อาจปฏิเสธได้ว่า แล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี สำ�หรับวุฒิปริญญา ความสำ�เร็จหรือประสิทธิภาพของงาน ไม่ ตรี และ 2 ปี สำ�หรับปริญญาโท และมี ว่าในหน่วยงานใดๆ ก็ตาม ผู้บริหารเป็น วิทยฐานะไม่ต่ำ�กว่าครูชำ�นาญการพิเศษมา ปัจจัยที่มีความสำ�คัญเป็นอย่างยิ่ง ฉะนั้น แล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี มีสิทธิเข้ารับการคัด ผู้ที่จะเริ่มรับตำ�แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา เลือกเริ่มรับตำ�แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา จึงจำ�เป็นต้องได้รับการยอมรับจากทุกฝ่าย และมีกลไกในการพัฒนาข้าราชการครูและ ต้องกลั่นกรองเป็นพิเศษตามหลักเกณฑ์ บุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำ�รง ที่ทางราชการกำ�หนด ตำ�แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา เป็นไปตามที่ ปัจจุบันการเริ่มรับตำ�แหน่งผู้บริหาร กฎหมายกำ�หนด เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ สถานศึกษา มีข้าราชการครูและบุคลากร เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยา ทางการศึกษาที่สนใจเป็นจำ�นวนมาก ทำ�ให้มี บรรณวิชาชีพที่เหมาะสมในอันที่จะทำ�ให้ การแข่งขันกันสูง โดยสำ�นักงานคณะกรรมการ การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่ราชการ ได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา เมื่อพิจารณาการพัฒนาข้าราชการ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อ ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้ง ให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการสถานศึกษาดัง

210 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

กล่าว มีความสอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนา สับสนและคับข้องใจในตัวเองอยู่ในระดับ ผู้บริหารในทัศนะของ Daresh & Playko สูง เนื่องจากเพิ่งเปลี่ยนสถานการณ์ทำ�งาน (1992: 147) ได้เสนอว่า รูปแบบการพัฒนา จากการเป็นผู้ปฏิบัติหรือผู้ตาม (Follower) วิชาชีพของผู้บริหารในระยะต่างๆ ควรมีดังนี้ มาเป็นผู้บริหารหรือผู้นำ� (Leader) มีการ คือ 1) ระยะก่อนประจำ�การ (Preservice เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่จากความ preparation) จะเน้นการเรียนรู้จากผู้ที่มี สัมพันธ์กับบุคคลในวงจำ�กัดกลายเป็นความ ความรู้ในองค์ความรู้ในศาสตร์หรือข้อเท็จ สัมพันธ์กับบุคคลในวงกว้างมากขึ้น ทั้งภายใน จริงในเชิงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสิ่งที่ผู้บริหาร โรงเรียน ชุมชน และสังคม ซึ่งสภาพบุคคลที่ ควรกระทำ�หรือไม่ควรกระทำ� เน้นการอธิบาย อยู่ในสภาพการณ์เช่นนี้เป็นที่ตระหนักกันดี ถึงวิธีการ (How to) เพื่อการปฏิบัติเป็น ว่า หากมีการเริ่มต้นที่ดีและถูกทางย่อมจะ สำ�คัญ 2) ระยะเริ่มประจำ�การ (Induction ส่งผลดีต่อคุณภาพการศึกษาในระยะยาว programs) จะเน้นการชี้นำ�ถึงวิธีการทำ�งาน แต่หากเริ่มต้นไม่ดี ไม่ถูกต้อง หรือไม่เหมาะ ที่ถูกต้องที่มีลักษณะเฉพาะ เจาะจงภายใน สมย่อมส่งผลเสียหายตามมาในระยะยาว องค์การมากขึ้น ไม่เน้นการเรียนรู้องค์ความ เช่นกัน ทั้งนี้เนื่องจากผู้บริหารสถานศึกษา รู้ ศาสตร์ หรือข้อเท็จจริงในเชิง วิทยาศาสตร์ ระยะเริ่มประจำ�การเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะเป็น มากเท่าระยะก่อนประจำ�การ 3) ระยะประจำ� ผู้ที่มีอายุราชการที่ต้องทำ�งานต่อไปอีกนาน การ (Inservice education) เน้นให้ผู้บริหาร ดังนั้นจึงมีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหาร เรียนรู้ถึงวิธีการบริหารในหน้าที่ขององค์การ สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การจะต้องได้ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากการศึกษา เมื่อพิจารณาตามทัศนะของ Daresh การพัฒนาวิชาชีพในระยะเริ่มประจำ�การของ & Playko การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา วิชาชีพอื่นๆ จะเห็นว่ามีหลายวิชาชีพที่มีการ ของไทยจะขาดหายไปในช่วงของการพัฒนา พัฒนาอย่างต่อเนื่องในระยะเริ่มประจำ�การ ผู้บริหารสถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ ก่อนเข้าสู่ระยะประจำ�การ เช่น ข้าราชการครู (Induction programs) ซึ่ง วิโรจน์ สารรัตนะ, เมื่อบรรจุแต่งตั้งเป็นครูผู้ช่วยแล้ว จะมีการ สัมพันธ์พันธุ์พฤกษ์ และนักศึกษาปริญญา ประเมินเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่าง เอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รุ่นที่ 1 เข้ม โดยประเมินเป็นระยะๆ รวม 8 ครั้ง (2546: 3 - 6) เห็นว่า ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นเวลา 2 ปี ก่อนจะแต่งตั้งเป็นครู ค.ศ.1 ในระยะเริ่มประจำ�การ เป็นบุคคลที่มีความ จากเหตุผลที่กล่าวในข้างต้น แสดง สำ�คัญต่อการจัดการศึกษาของประเทศ และ ให้เห็นว่าการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาใน เป็นกลุ่มบุคคลที่อยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ระยะเริ่มประจำ�การนี้มีความสำ�คัญมาก ซึ่งถือ ที่สำ�คัญของชีวิตการทำ�งาน ซึ่งจะมีความ เป็นระยะที่สำ�คัญแต่ไม่ปรากฏเด่นชัดถึงการ

211 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

พัฒนาที่เป็นรูปธรรม เป็นเพียงแนวทางหรือ วิจัยน้อยมากเกี่ยวกับการพัฒนาผู้บริหาร วิธีการพัฒนา ตามพระราชบัญญัติระเบียบ สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ รวมทั้งการ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาในระยะดังกล่าวยังไม่เป็นรูปธรรมที่ พ.ศ. 2547 มาตรา 19 ระบุให้ ก.ค.ศ. มี ชัดเจน หน่วยงานพัฒนายังขาดยุทธศาสตร์ อำ�นาจ และหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุนการ หรือกระบวนการที่จะพัฒนา ซึ่งยุทธศาสตร์ พัฒนา การเสริมสร้างขวัญกำ�ลังใจ และการ นี้มีความสำ�คัญมาก จะเป็นแนวทางหรือวิธี ยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากร การในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาใน ทางการศึกษา มาตรา 81 ระบุให้ผู้บังคับ ระยะเริ่มประจำ�การให้มีความรู้และสามารถ บัญชามีหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุนผู้ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้ อยู่ใต้บังคับบัญชา โดยการให้ไปศึกษา ฝึก วิจัยจึงมีความสนใจที่จะพัฒนายุทธศาสตร์การ อบรม ดูงาน หรือปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนา พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ� ตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. กำ�หนด นั่นแสดง การ โดยมีคำ�ถามการวิจัย และวัตถุประสงค์ ว่าหน่วยงานตามสายการบังคับบัญชาคือ การวิจัยดังนี้ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำ�นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คำ�ถามการวิจัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกระทรวงศึกษาธิการ 1. สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึง มีหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนา ประสงค์ในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารที่เริ่มรับตำ�แหน่งใหม่ ซึ่งรูปแบบ ในระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียนสังกัด ของการพัฒนาส่วนใหญ่ที่ปรากฏจะเป็นการ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น ประชุม ติดตาม หรือนิเทศจากหน่วยงานต้น ฐาน เป็นอย่างไร สังกัด หรือเป็นการพัฒนาผู้บริหารแบบรวม ทั้งหมด ซึ่งถูกกำ�หนดจากส่วนกลาง ซึ่งถ้า 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหาร มีการแยกหรือจำ�แนกการพัฒนาเฉพาะกลุ่ม สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียน ผู้บริหารในระยะเริ่มประจำ�การก็จะทำ�ให้ สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น เป็นการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น พื้นฐาน ควรเป็นอย่างไร จากการศึกษาสำ�รวจผลงานทางการ 3. การตรวจสอบยุทธศาสตร์การ บริหารการศึกษาหรือการวิจัยทางการศึกษา พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ� ของหน่วยงานทางการศึกษาต่างๆ รวมทั้ง การ ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ งานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาทั้งในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นอย่างไร ปริญญาโทและปริญญาเอกในมหาวิทยาลัย ต่างๆ ภายในประเทศ พบว่ามีการศึกษา

212 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ความมุ่งหมายของการวิจัย 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร สถาน ศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ โดยการ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและ กำ�หนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้จาก สภาพที่พึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้บริหาร ตารางกำ�หนดขนาดของ Krejcie & Morgan สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียน (1970: 607- 610) ที่ความเชื่อมั่น 95 % สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น ได้กลุ่มตัวอย่าง จำ�นวน 103 คน โดยใช้วิธี พื้นฐาน การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purpo- 2) เพื่อกำ�หนดยุทธศาสตร์การพัฒนา sive Sampling) ผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ใน 3. กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักในการสัมภาษณ์ โรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการ ระดับลึก(In – dept Interview) เป็นกลุ่ม ศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ 3) เพื่อตรวจสอบยุทธศาสตร์การ โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ� (Purposive Sampling) จำ�นวน 3 คน การ ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. แบบสอบถาม มีลักษณะเป็น วิธีดำ�เนินการวิจัย มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ โดยแบบสอบถามเป็นแบบ 2 คำ� ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตอบ (Two answers) เพื่อสอบถามความ 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่ม ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ประจำ�การ เกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและสภาพ เฉพาะผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำ�นักงาน ที่พึงประสงค์ในการปฏิบัติงานของผู้บริหาร เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ตามหนังสือ สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ และประกาศของสำ�นักงานคณะกรรมการการ 2. แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ 04049/ว 2277 (Structured interview) ใช้ในการศึกษาการ ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ในตำ�แหน่ง พัฒนาสมรรถนะทางการบริหาร การบริหาร ผู้อำ�นวยการสถานศึกษากลุ่มทั่วไป ลำ�ดับ งานสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รูปแบบวิธีการ ที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง ลำ�ดับที่ 1 ถึง พัฒนาตนเองผู้บริหารสถานศึกษา และปัจจัย ลำ�ดับที่ 53 และกลุ่มประสบการณ์ ลำ�ดับ สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกที่ส่ง ที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง ลำ�ดับที่ 1 ถึง ผลต่อการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะ ลำ�ดับที่ 90 รวมทั้งสิ้น 143 คน เริ่มประจำ�การ

213 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

3. แบบสอบถามความคิดเห็นของ 2. การศึกษาการพัฒนาสมรรถนะ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แบบ ทางการบริหาร การบริหารงานสถานศึกษา มาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้ ขั้นพื้นฐาน รูปแบบวิธีการพัฒนาตนเองผู้ ในการตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะในการ บริหารสถานศึกษา และปัจจัยสภาพแวดล้อม ปรับปรุงร่างยุทธศาสตร์ ทั้งภายในและภายนอกที่ส่งผลต่อการพัฒนา 4. แบบประเมินความเหมาะสมและ ผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ เป็นไปได้เกี่ยวกับของยุทธศาสตร์ เป็นแบบ จำ�นวน 3 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมี มาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้ โครงสร้าง(Structured interview) ทำ�การ ในการประเมินความเหมาะสมและเป็นไปได้ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา เกี่ยวกับของยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหาร (content analysis) สรุปสาระสำ�คัญ สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียน 3. กำ�หนดร่างยุทธศาสตร์การพัฒนา สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น ผู้บริหารสถานศึกษาระยะประจำ�การ ใน พื้นฐานโดยผู้ทรงคุณวุฒิ โรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จากการวิเคราะห์ ข้อมูล ข้อมูลสภาพแวดล้อมโดยใช้เทคนิค SWOT 1. ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพ Analysis และจัดทำ�ร่างยุทธศาสตร์ฉบับที่ 1 ที่พึงประสงค์ในการปฏิบัติงานของผู้บริหาร จากผลการวิเคราะห์ สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ เก็บรวบรวม 4. ตรวจสอบและปรับปรุงร่าง ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้รับคืนมาทั้งหมด ยุทธศาสตร์โดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีส่วน 103 คน ทำ�การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ ได้ส่วนเสีย จำ�นวน 2 ครั้ง โดยครั้งที่หนึ่ง เชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ได้แก่ เป็นการตรวจสอบรายบุคคล เก็บรวบรวม การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ ส่วน ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ทำ�การวิเคราะห์ ที่เป็นคำ�ถามแบบมาตราส่วนประมาณ ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ผู้วิจัยนำ�ผล ค่า วิเคราะห์ด้วยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) การวิเคราะห์ข้อมูลและข้อเสนอแนะที่ได้มา และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard ปรับปรุงร่างยุทธศาสตร์ฉบับที่ 2 และนำ�ผล Deviation) ส่วนที่เป็นเนื้อหาข้อเสนอแนะ การวิเคราะห์และข้อเสนอแนะที่เห็นแตก ในคำ�ถามปลายเปิด ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ต่างกัน มาจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group สรุปประเด็น สาระสำ�คัญ แล้วใช้ค่าสถิติพื้น Discussion ) ในการตรวจสอบและปรับปรุง ฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ร่างยุทธศาสตร์ครั้งที่สอง เพื่อให้ได้ข้อสรุป แล้วนำ�มาปรับปรุงร่างยุทธศาสตร์ฉบับที่ 3

214 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

5. ประเมินความเหมาะสมและความ 2.3 ด้านการพัฒนาตนเองของผู้ เป็นไปได้ของยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหาร บริหารสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับ สถานศึกษาระยะประจำ�การ ในโรงเรียน มากที่สุด ( = 4.68) สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหาร ขั้นพื้นฐาน โดยผู้ทรงคุณวุฒิ เก็บรวบรวม สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียน ข้อมูลโดยใช้แบบประเมิน ทำ�การวิเคราะห์ สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ และกำ�หนด พื้นฐานประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ให้ข้อที่มีค่าเฉลี่ยเกิน 3.50 เป็นยุทธศาสตร์ 5 มาตรการ 22 แนวทางปฏิบัติ ดังนี้ ที่มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ตาม 2.1 การสร้างโอกาสให้ผู้บริหาร วัตถุประสงค์ของการวิจัย สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ผลการวิจัย 2.1.1 การสร้างโอกาสและส่งเสริม ผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ 1. สภาพปัจจุบันในการพัฒนาผู้ 2.1.1.1 ส่งเสริมการคัดเลือกข้าราชการ บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ดังนี้ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่มีศักยภาพ 1.1 ด้านสมรรถนะทางการบริหาร และมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานเข้าสู่ ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.47) ตำ�แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา 1.2 ด้านการบริหารงานสถานศึกษา 2.1.1.2 ออกระเบียบหรือกฎหมาย ขั้นพื้นฐาน ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( ที่ระบุช่วงระยะเวลาของผู้บริหารระยะเริ่ม = 3.49) ประจำ�การแยกให้ชัดเจนออกจากระยะ 1.3 ด้านการพัฒนาตนเองของผู้ ประจำ�การ บริหารสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับ 2.1.1.3 กำ�หนดนโยบายและจัดทำ� น้อย ( = 2.31) แผนพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่ม 2. สภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาผู้ ประจำ�การ บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ดังนี้ 2.1.1.4 ส่งเสริมการพัฒนาผู้บริหาร 2.1 ด้านสมรรถนะทางการบริหาร สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ แยกเป็นการ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.88) เฉพาะจากระยะประจำ�การ 2.2 ด้านการบริหารงานสถานศึกษา 2.2 การเตรียมความพร้อมของผู้ ขั้นพื้นฐาน ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ( = 4.85)

215 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

2.2.1 การเตรียมความพร้อมผู้บริหาร ให้ประสบความสำ�เร็จตามเป้าหมาย สถานศึกษาก่อนเข้าสู่ระยะเริ่มประจำ�การ 2.2.1.4 พัฒนาหลักสูตรและฝึกอบรม 2.2.1.1 ปรับปรุงหลักสูตรการพัฒนา การส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารสถาน ก่อนเข้าสู่ตำ�แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ที่ ศึกษาขั้นพื้นฐานทั้ง 4 กลุ่มงาน ประกอบ มีเนื้อหาและสาระสอดคล้องกับสภาพและ ด้วย 1) ด้านการบริหารงานวิชาการ เน้น บริบทสถานศึกษาที่ต้องเข้าไปปฎิบัติหน้าที่ การส่งเสริมให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ 2.2.1.2 ส่งเสริมการฝึกประสบการณ์การ การจัดการเรียนรู้ 2) ด้านการบริหารงาน ปฏิบัติงานในสถานศึกษาต้นแบบ ที่มีการ งบประมาณและสินทรัพย์ เน้นการพัฒนา บริหารจัดการในสภาพยากลำ�บาก และ ระบบตรวจสอบภายในโรงเรียนได้อย่างมี ขาดแคลน ในการพัฒนาก่อนเข้าสู่ตำ�แหน่ง ประสิทธิภาพ 3) ด้านการบริหารงานบริหาร ผู้บริหารสถานศึกษา ทั่วไป เน้นการประเมินการใช้เทคโนโลยี 2.2.1.3 พัฒนาหลักสูตรและฝึก สารสนเทศเพื่อนำ�มาปรับปรุงการบริหาร อบรมการเสริมสร้างสมรรถนะทางการบริหาร จัดการ และ 4) ด้านการบริหารงานบุคลากร ประกอบด้วย 1) ด้านการบริหารจัดการ เน้นการออกแบบระบบประเมินผลการปฏิบัติ ในการวางแผนกลยุทธ์ เน้นการจัดทำ�แผน งานของครูและบุคลากร โดยการนำ�ผลการ กลยุทธ์ โดยนำ�แนวทาง วิธีการ กระบวนการ ประเมินมาพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน บริหารอย่างเป็นระบบ และสอดคล้อง 2) อย่างต่อเนื่อง ด้านการบริหารบุคคล ในการทำ�งานเป็น 2.2.1.5 พัฒนาหลักสูตรและฝึก ทีม เน้นการดำ�เนินการพัฒนาบุคลากรอย่าง อบรมการบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงรุก เป็นระบบ โดยหาความจำ�เป็นในการพัฒนา 2.3 การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา บุคคล วางแผน ดำ�เนินการและติดตาม และ ในระยะเริ่มประจำ�การ ประเมินผลการพัฒนาบุคลากร 3) ด้านการ 2.3.1 การเสริมสร้างทักษะและค่า บริหารงาน ในการตัดสินใจ เน้นการจัดการ นิยมในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถาน กับปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยการตัดสินใจ ศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ แก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างเป็นผลดี 4) ด้าน คุณลักษณะส่วนบุคคล ในการสื่อสาร เน้น 2.3.1.1 การฝึกอบรมทักษะและ การบูรณาการเทคนิควิธีการสื่อสารผ่านสื่อ ภาวะผู้นำ�ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้บริหาร ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ในส่วนการเป็น สถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ ผู้นำ� เน้นการสามารถทำ�ให้ครู บุคลากร และ 2.3.1.2 ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรม ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายปฏิบัติตามหน้าที่ องค์กร และการทำ�งานเป็นทีม การอยู่ร่วม กันแบบยืดหยุ่น และการส่งเสริมบรรยากาศ

216 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

การทำ�งานแบบเอื้ออาทร ผู้บริหารสถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ 2.3.1.3 เสริมสร้างทัศนคติและค่า 2.4.1.3 ส่งเสริมการปฏิบัติงาน นิยมที่ดีในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้บริหารสถาน ข้าราชการครูบรรจุใหม่ ในโรงเรียนขนาด ศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ เล็กที่ขาดแคลนบุคลากร โดยจัดทำ�คู่มือ 2.3.2 การส่งเสริมการพัฒนาตนเอง มาตรฐานการปฏิบัติงานในสถานศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ศึกษาขนาดเล็ก 2.3.2.1 ส่งเสริมการพัฒนาตนเอง 2.4.1.4 ส่งเสริมและสนับสนุนสื่อ ของผู้บริหารสถานศึกษา เน้นการจัดตั้ง เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา แก่ กลุ่มเครือข่ายผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่ม สถานศึกษาขนาดเล็ก ขาดแคลนครู สถาน ประจำ�การ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ศึกษาที่อยู่ห่างไกลในพื้นที่ยากลำ�บาก การพัฒนาที่ยั่งยืน 2.4.1.5 สนับสนุนเจ้าหน้าที่ธุรการ 2.3.2.2 ส่งเสริม สนับสนุนและ ตามโครงการคืนครูให้นักเรียน ให้แก่โรงเรียน ให้โอกาสผู้บริหารสถานศึกษาในระยะเริ่ม ขนาดเล็กโรงเรียนละหนึ่งคน ไม่ไปปฏิบัติ ประจำ�การ ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และที่หน่วย หน้าที่รวมกับโรงเรียนอื่น งานต้นสังกัดจัดให้ ในรูปแบบที่หลากหลาย 2.4.1.6 เสริมสร้างขวัญและกำ�ลังใจ 2.4 การส่งเสริมประสิทธิภาพการ ในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาระยะ ระยะเริ่มประจำ�การ ครู และบุคลากรทางการ เริ่มประจำ�การ ศึกษา ที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ใน 2.4.1 การสนับสนุนและส่งเสริม พื้นที่ยากลำ�บาก และขาดแคลน ในรูปแบบ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานแก่ผู้บริหาร ที่หลากหลาย สถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ 2.4.1.7 ส่งเสริมการนิเทศ กำ�กับ 2.4.1.1 หน่วยงานต้นสังกัดให้การ ติดตาม และประเมินผลผู้บริหารสถานศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยต่างๆ ตามความ ในระยะเริ่มประจำ�การอย่างเป็นระบบและ จำ�เป็นในการพัฒนาการบริหารจัดการสถาน ต่อเนื่อง เพื่อนำ�ผลมาปรับปรุงพัฒนา ศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาในระยะเริ่ม 2.4.1.8 ส่งเสริมการนิเทศ ผู้บริหาร ประจำ�การ สถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การแบบ 2.4.1.2 ส่งเสริมการปฏิบัติงานโดย กัลยาณมิตร โดยมีพี่เลี้ยง คอยให้คำ�ปรึกษา จัดทำ�คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานตาม แนะนำ� ช่วยเหลือ และเป็นตัวแบบที่ดีในการ ภารกิจขอบข่ายการบริหารสถานศึกษาของ

217 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ครองตน ครองคน และครองงาน การพัฒนาทั้งด้านสมรรถนะทางการบริหาร 3. ผลการตรวจสอบยุทธศาสตร์ การบริหารงานสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาในระยะ การพัฒนาตนเอง เริ่มประจำ�การ ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงาน สอดคล้องกับ วิโรจน์ สารรัตนะ, คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สัมพันธ์พันธุ์พฤกษ์ และนักศึกษาปริญญา ยุทธศาสตร์นั้นมีความเหมาะสมและมีความ เอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รุ่นที่ เป็นไปได้ในระดับมาก ( = 4.39) จึงเป็น 1 (2546: 3 - 6) ที่เห็นว่า ผู้บริหารสถาน ยุทธศาสตร์ที่มีความเหมาะสมและมีความ ศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ เป็นบุคคลที่มี เป็นไปได้ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ความสำ�คัญต่อการจัดการศึกษาของประเทศ มีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการ อภิปรายผล พัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1. สภาพปัจจุบันในการพัฒนา 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหาร ผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียน ด้านสมรรถนะทางการบริหาร ภาพรวมอยู่ สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น ในระดับปานกลาง ( = 3.47) ด้านการ พื้นฐาน ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ บริหารงานสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาพรวม 5 ยุทธศาสตร์ 22 วิธีการดำ�เนินการ ใน อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.49) ประเด็นยุทธศาสตร์ได้แก่ 1) การสร้างโอกาส ให้ผู้บริหารสถานศึกษาระยะประจำ�การ 2) ด้านการพัฒนาตนเองของผู้บริหาร การเตรียมความพร้อมของผู้บริหารสถาน สถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ( = ศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ 3) การพัฒนา 2.31) ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนา ผู้บริหารสถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ� ผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ การ และ 4) การส่งเสริมประสิทธิภาพการ นั้น ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่ม โดยด้านสมรรถนะทางการบริหาร ภาพรวม ประจำ�การ สอดรับกับยุทธศาสตร์และวิธี อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.88) ด้านการ การดำ�เนินการ ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์ บริหารงานสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาพรวม สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ทำ�ให้ อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.85) และด้าน การกำ�หนดยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหาร การพัฒนาตนเองของผู้บริหารสถานศึกษา สถานศึกษาระยะเริ่มประจำ�การ ในโรงเรียน ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.68) สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น แสดงให้เห็นว่าผู้บริหารสถานศึกษาในระยะ พื้นฐานนี้ เป็นยุทธศาสตร์ที่สนองต่อความ เริ่มประจำ�การยังมีความต้องการจำ�เป็นใน

218 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ต้องการจำ�เป็นในการพัฒนาผู้บริหารสถาน ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติคือ การสนับสนุน ศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ ทั้งในด้าน จากส่วนกลางหรือหน่วยงานต้นสังกัด ข้อ สมรรถนะทางการบริหาร การบริหารสถาน เสนอแนะในการดำ�เนินการคือ ศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการในการ 1.1 หน่วยงานต้นสังกัดที่เกี่ยวข้อง พัฒนาตนเอง ควรนำ�เอาองค์ความรู้ไปปรับใช้ในการพัฒนา 3. การตรวจสอบยุทธศาสตร์การ ผู้บริหารสถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ� อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป การ ในโรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ 1.2 สถาบันผลิตผู้บริหารหรือหน่วย การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ยุทธศาสตร์นั้น งานที่เกี่ยวข้องในการฝึกอบรมพัฒนาผู้บริหาร มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้มาก ควรนำ�เอาองค์ความรู้ไปจัดทำ�หลักสูตรใน จึงเป็นยุทธศาสตร์ที่มีความเหมาะสมและ การผลิตผู้บริหารสถานศึกษาหรือจัดการฝึก มีความเป็นไปได้ตามวัตถุประสงค์ของการ อบรมพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาในระยะ วิจัย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่ายุทธศาสตร์ดัง เริ่มประจำ�การ กล่าวได้ผ่าน พัฒนาตามขั้นตอนการวิจัย 2. ข้อเสนอแนะในการทำ�วิจัยครั้ง ในกระบวนการตรวจสอบและปรับปรุงร่าง ต่อไป ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์ถึงสองครั้ง ก่อนจะมีการประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของ 2.1 การศึกษาเปรียบเทียบสภาพการ ยุทธศาสตร์ ซึ่งทั้ง ผู้ตรวจสอบและผู้ประเมิน พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาระยะเริ่มประจำ� ยุทธศาสตร์นั้น ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ การของรัฐ กับการพัฒนาผู้บริหารสถาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีความเชี่ยวชาญ ศึกษาระยะเริ่มประจำ�การของภาคเอกชน และเข้าใจสภาพของผู้บริหารสถานศึกษา กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งการ ระยะเริ่มประจำ�การนั่นเอง ศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาผู้บริหารสถาน ศึกษาระยะเริ่มประจำ�การของประเทศไทยกับ ข้อเสนอแนะ ต่างประเทศ ที่มีการพัฒนาบุคลากรทางการ ศึกษาโดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษาแล้ว จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะดัง ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนอย่างโดดเด่นต่อไป ต่อไปนี้ 2.2 การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม 1. ข้อเสนอแนะในการนำ�ผลการ ผู้บริหารสถานศึกษาในระยะเริ่มประจำ�การ วิจัยไปใช้ จากการดำ�เนินการวิจัยนี้พบว่า ปัจจัยสำ�คัญที่มีส่วนผลักดันหรือขับเคลื่อน Reference

219 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Theera Rooncharoen (2007). Professionalism in the management of education during the era of education reform. Bangkok: L.T. Press Printing House. Phra Dhammapitaka (P.A. Payutto) (1998). It’s time to dismantle the new personal development system. Bangkok Plan Printing Rung Kaewdaeng (2002). Thai education revolution. Bangkok: Matichon Wiroj Sararattana, Samphan Phanpreuk and Doctorial students of the Faculty of Educational Management 1st Class. New administrators in primary and secondary schools. Journal of Education Khon Kaen University. 26 (3): 3 – 6. Somwung Pithiyaniwat et al. (2000). The essence of the Act in respect of license for administrators. Bangkok: Office of teacher professional reform Office of Teachers and Educational Personnel Committee (2011). Rules and procedures for recruiting teachers and educational personnel for appoint- ing to the position of deputy director and director of education. Retrieved on 26 June 2012 from http:// 203.146.15.33/webtcs/files/v22-54.pdf Office of the National Economic and Social Development Board (2011). The Eleventh National Economic and. Social Development Plan (2012-2016). Retrieved on 16 July 2012 from http://www. ratchakitcha.soc.go.th/DATA/ PDF/2554/E/ 152/1.PDF Daresh, J.C. and Playko, M.A. (1992). The Professional Development of School Administrators: Preservice, induction, and inservice applications. Boston: Allyn & Bacon. Krejcie, R.V.,and Morgan D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities Education and Psychological measurement. 607- 610

220 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

กลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขต ภาคเหนือตอนบน Strategies of identities of basic education in the North of Thailand

ทองพรรณ ปัญญาอุดมกุล1, ดร.สุวดี อุปปินใจ2, ผศ.ดร.ทศพล อารีนิจ3, ผศ.ดร.สุชาติ ลี้ตระกูล4 Tongphan Punyaudomkul1, Suwadee Ouppinjai2, Thosapol Arreenich3, Suchart Leetrakoon4 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบันในการสร้างอัตลักษณ์ของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน (2) กำ�หนดกลยุทธ์การสร้างอัต ลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน (3) ตรวจสอบกลยุทธ์ การสร้าง อัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน โดยอาศัย กรอบการพัฒนากลยุทธ์ ปรับปรุงจากแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์ของ Wheelen and Hunger เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการศึกษาสภาพปัจจุบัน ในการสร้างอัตลักษณ์ของสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบนที่ประสบความสำ�เร็จและได้ผลการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีงบประมาณ 2554 ในระดับดีมากทุกตัวบ่งชี้ จำ�นวน 2 แห่ง และแบบสอบถามผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอน บน เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำ�นวน 317 แห่ง กำ�หนดกลยุทธ์โดยใช้ เทคนิค SWOT Analysis และ TOWS Matrix โดยผู้วิจัยและผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก ซึ่งเป็นผู้กำ�หนดกลยุทธ์ ในระดับปฏิบัติการตรวจสอบและประเมินความเหมาะสมของกลยุทธ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ด้วย

1นักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 2อาจารย์ ดร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 3ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 4ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1Ed. D. Candidate in Educational Administration, Faculty of Education, Chiangrai Rajabhat University 2Teacher Dr.,Faculty of Education, Chiangrai Rajabhat University 3Assistant Professor Dr., Faculty of Education, Chiangrai Rajabhat University 4Assistant Professor Dr., Faculty of Education, Chiangrai Rajabhat University 221 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

การสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพปัจจุบันในการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้น ฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบนด้านสภาพแวดล้อมภายนอก อยู่ในระดับมาก ด้าน สภาพแวดล้อมภายใน อยู่ในระดับปานกลาง และ สภาพปัจจุบันในการสร้างอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การกำ�หนดอัตลักษณ์ องค์ประกอบของอัตลักษณ์ การ ปฏิบัติตามอัตลักษณ์ การประเมิน อัตลักษณ์ และการธำ�รงรักษาอัตลักษณ์ อยู่ในระดับ มากทุกด้าน (2) กลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขต ภาคเหนือตอนบน ประกอบด้วย 6 กลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 ปรับโครงสร้างและนโยบาย เกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงคุณภาพผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 3 ปรับปรุงสื่อ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 4 สร้าง เครือข่ายการพัฒนา และการประชาสัมพันธ์ กลยุทธ์ที่ 5 สร้างความตระหนักและความ เข้าใจเกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้กับผู้เกี่ยวข้องและชุมชน กลยุทธ์ที่ 6 ปรับกระบวนการทำ�งาน โดยใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศ (3) การตรวจสอบกลยุทธ์การสร้าง อัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน พบว่า กลยุทธ์นั้น มี ความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในระดับมาก

คำ�สำ�คัญ:อัตลักษณ์, สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก Abstract The objective of this research were (1) to explore the current state of identities of basic education in the North of Thailand (2) define strategies of identities of basic education in the North of Thailand and (3) check strategies of identities of basic education in the North of Thailand. The conceptual of strategic management. Wheelen and Hunger. Data collection. By explore the current state. By means of interviews toEducational success. Queries school administrators of the samples. Develop the community the community participation management strategies by using the SWOT Analysis and TOWS Matrix, assessing the suitability of the strategies focus group. The research results indicated that 1) explore the current state of identi- ties of basic education in the North of Thailand Environment Identity formation

222 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

Identity element compliance identity assessment identity and maintaining identity at a high level section Resources at a moderate level. 2) strategies of identities of basic education in the North of Thail consists of six main strategies; (1) Structure and policies for establishing of the identity; (2) Improve the quality of learning (3) The media sources that contribute to the identity; (4) Network development and public relations; (5) Awareness and understanding of the identity; (6) The process by using information systems. 3) check strategies of identities found strategy is appropriate and possible.

Keywords:Identities, basic education

บทนำ� คณะกรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานต้น สังกัด ทุกสถานศึกษาไม่ว่าเล็กใหญ่ เหมือน “อัตลักษณ์” (Identity) เป็นความ กันหมดทั้งประเทศจะมีปรัชญา ปณิธาน รู้สึกนึกคิดที่บุคคลมีต่อตนเองว่า “ฉันคือใคร” วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการปฏิสังสรรค์ระหว่างตัว อัตลักษณ์สถานศึกษา จึงหมายถึง ลักษณะ เรากับ คนอื่น โดยผ่านการมองตนเองและ เฉพาะของสถานศึกษา ที่มีความโดดเด่น การที่คนอื่นมองเรา อัตลักษณ์ต้องการความ เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา (สำ�นักงาน ตระหนัก (Awareness) ในตัวเราและพื้น รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการ ฐานของการเลือกบางอย่าง นั่นคือเราจะ ศึกษา (องค์การมหาชน). 2553: 6) และ ต้องแสดงตนหรือยอมรับอย่างตั้งใจกับอัต อัตลักษณ์ของสถานศึกษาเน้นไปที่การ ลักษณ์ที่เราเลือก ความสำ�คัญของการแสดง กำ�หนดภาพความสำ�เร็จ (Image of Suc- ตนก็คือ การระบุได้ว่าเรามีอัตลักษณ์เหมือน cess) ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน หรือเป็น กลุ่มหนึ่งและมีความแตกต่างจากกลุ่มอื่น ลักษณะหรือคุณสมบัติโดดเด่นของนักเรียน อย่างไร และ “ฉันเป็นใคร” ในสายตาคนอื่น ที่สำ�เร็จการศึกษาจากสถานศึกษาแห่งนั้นซึ่ง (นันธนัย ประสานนาม. 2549: 1) คุณลักษณะหรือคุณสมบัติโดดเด่นของนักเรียน ในส่วนของการศึกษา อัตลักษณ์ ก็คือคุณภาพผู้เรียนที่สถานศึกษากำ�หนด หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นของผู้เรียนตามปรัชญา (สุพักตร์ พิบูลย์. http:// drsuphakedqa. ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการ blogspot.com. 2555) จัดตั้งสถานศึกษาที่ได้รับความเห็นชอบจาก

223 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

คุณภาพการจัดการศึกษาสะท้อน ผู้เรียน ซึ่ง การประเมินคุณภาพภายนอก จากคุณภาพผู้เรียนที่กำ�หนดตามหลักสูตร ได้กำ�หนด ตัวบ่งชี้ด้านอัตลักษณ์คือตัวบ่ง แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา 2551 ในมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ ของผู้เรียน นอกจากนั้นสถานศึกษาแต่ละ ของการจัดตั้งสถานศึกษา และตัวบ่งชี้ที่ 10 แห่งที่มีบริบทต่างกันให้กำ�หนดการพัฒนา ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่ง คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะ ผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ของตนเอง ตามบริบทของสถานศึกษา และ การประเมินคุณภาพภายใน ได้กำ�หนด ความโดดเด่นตามที่สถานศึกษาต้องการ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้าน อัต ให้เกิดกับผู้เรียน โดยผ่านการจัดกิจกรรม ลักษณ์ของสถานศึกษา ในมาตรฐานที่ 14 โครงการที่เป็นจุดเน้นของสถานศึกษาที่ได้ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย รับการยอมรับจากบุคคลทั้งในระดับชุมชน ตามวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นที่กำ�หนด และในวงกว้าง ส่งผลสะท้อนเป็นคุณลักษณะ ขึ้น (สำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน เฉพาะของผู้เรียน (สำ�นักทดสอบทางการ คุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน). 2555: ศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา 17-18) จากการประเมินคุณภาพการศึกษา ขั้นพื้นฐาน. 2554: 10) ของสำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน ดังนั้นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการ คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ในการ ศึกษาของสถานศึกษาจึงต้องให้ความสำ�คัญ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. และจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพรวมถึงได้ 2554-2558) พบว่า อัตลักษณ์มุ่งเน้นตาม รับการรับรองคุณภาพของสถานศึกษาตาม ที่สถานศึกษากำ�หนด และการสร้างให้ผู้เรียน มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ที่สถานศึกษา ซึ่งกำ�หนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง กำ�หนดจากความโดดเด่นตามที่สถานศึกษา ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน ตามบริบทของสถาน พ.ศ. 2545 หมวด 6 ว่าด้วยเรื่องมาตรฐาน ศึกษากลับไม่ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตาม และการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา เป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นของ 47 มาตรา 48 และมาตรา 49 (สมเดช สี สถานศึกษา สถานศึกษาไม่ตระหนักในเรื่อง แสง. 2554: 72) ความเป็นเลิศเฉพาะทางของผู้เรียนที่สำ�เร็จ การประกันคุณภาพการศึกษาดัง การศึกษาจากสถานศึกษา จึงทำ�ให้ความโดด กล่าว มุ่งเน้นให้สถานศึกษาส่วนใหญ่หัน เด่นของผู้เรียนสูญหายไป (สุพักตร์ พิบูลย์, มาพัฒนาสถานศึกษาโดยคำ�นึงถึงคุณภาพ http://drsuphakedqa. blogspot.com. 2555) โดยเฉพาะสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

224 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

ขนาดเล็ก ที่มีปัญหาที่เด่นชัดที่สุด คือ ครู วัน จันทร์ ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) ไม่ครบชั้น และจำ�นวนผู้เรียนในแต่ละชั้นมี จากการที่ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา จำ�นวนน้อย ทำ�ให้ครูไม่สามารถจัดกิจกรรม สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะโดดเด่นและความ การเรียนการสอนให้หลากหลายได้ สังคมผู้ เป็นเลิศของสถานศึกษาจึงเป็นสิ่งที่ทำ�ให้ผู้ เรียนคับแคบ การเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนไม่กว้าง เรียนและผู้ปกครองในการเลือกให้บุตรหลาน พอ ผู้เรียนจึงมีความจำ�กัดในการพัฒนาการ เข้าศึกษาแห่งนั้น เช่น โรงเรียนในเครือจุฬา เรียนรู้ ที่ไม่สามารถเรียนรู้ได้ทุกเรื่อง จึงทำ�ให้ ภรณ์เน้นบุคลิกนักวิทยาศาสตร์ โรงเรียน คุณภาพของผู้เรียนอยู่ในเกณฑ์ต่ำ�แทบทุก วิชิราวุธวิทยาลัยเน้นความเป็นสุภาพบุรุษ ด้าน ตลอดจนไม่ผ่านการประเมินคุณภาพ และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยความ ภายนอกจากสำ�นักงานรับรองมาตรฐานและ มีภาวะผู้นำ�และสภาพบุรุษ เป็นต้น แต่ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) (เดลินิวส์. สถานศึกษาขนาดเล็ก ซึ่งพบว่าไม่สามารถ “แก่งจันทร์โมเดล” สูตรแก้ปัญหาโรงเรียน จัดการศึกษาที่จะทำ�ให้ผู้เรียนได้บรรลุตาม ขนาดเล็ก. http://www. dailynews.co.th/. อัตลักษณ์ที่กำ�หนดไว้ ดังปัญหาที่กล่าวมา 2555) กอรปกับการพัฒนาผู้เรียนในสถาน แล้วข้างต้น รวมทั้งการสร้างอัตลักษณ์ของ ศึกษาขนาดเล็กให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สถานศึกษาไม่สอดคล้องกับปรัชญา พันธ บรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และ กิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถาน จุดเน้นของสถานศึกษา จนสามารถก่อให้ ศึกษา ที่สะท้อนให้เห็นว่า สถานศึกษาอาจ เกิดเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ตาม จะยังไม่มีความเข้าใจ หรือขาดกลยุทธ์ใน มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และตัวบ่งชี้ การสร้าง อัตลักษณ์ให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา ของสำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน การมีกลยุทธ์ที่ชัดเจนในการสร้างอัตลักษณ์ คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)ค่อนข้าง ของสถานศึกษาเป็นการดำ�เนินการเพื่อให้ ที่เป็นไปได้ยาก และจากการประเมินคุณภาพ ไปสู่ปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของ การศึกษาของสำ�นักงานรับรองมาตรฐาน การจัดตั้งสถานศึกษา ซึ่ง กลยุทธ์ หมายถึง และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ แนวทาง วิธีการ หรือเทคนิคที่ดำ�เนินการ มหาชน) ในการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่หนดไว้ (ชรัติ อุ่น รอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) พบว่า สถาน สัมฤทธิ์. 2550: 102)การกำ�หนด กลยุทธ์ ศึกษาขนาดเล็กมีผลการประเมินอยู่ในระดับ ที่เหมาะสมมีความสำ�คัญ และเป็นพื้นฐาน คุณภาพดีมาก ร้อยละ 4.01 หรือ 193 โรง ของทุกขั้นตอนในกระบวนการวางแผน จาก 4,816 โรง ที่ได้รับการประเมิน และ หรือเป็นวิธีการโดยรวมที่องค์กรต้องทำ�ขึ้น เป็นกลุ่มที่ไม่ได้รับการรับรองมากที่สุด คิด เพื่อเป็นกรอบให้การดำ�เนินงานบรรลุตาม เป็นร้อยละ 32.12 หรือ 1,547 โรง (มติชน, วัตถุประสงค์ และทำ�ให้เกิดการใช้ประโยชน์

225 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

จากสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกมากที่สุด ขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน (เกรียงศักดิ์ เจริญวงค์ศักดิ์. 2549: 2) โดย 2. เพื่อกำ�หนดกลยุทธ์การสร้างอัต เฉพาะในเขตภาคเหนือตอนบนซึ่งประกอบ ลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ด้วย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย ในเขตภาคเหนือตอนบน จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดพะเยา จังหวัด 3. เพื่อตรวจสอบกลยุทธ์การสร้าง ลำ�พูน จังหวัดแพร่ และจังหวัดน่าน ซึ่งทั้ง อัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาด 8 จังหวัด มีภูมิประเทศเป็นภูเขา ที่ราบ เล็กในเขตภาคเหนือตอนบน และหุบเขา มีเขตแดนทางตอนเหนือติดกับ ชายแดนพม่าและลาว ภูมิอากาศอยู่ในเขต ขอบเขตเนื้อหาการวิจัย โซนร้อนแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูกาล สถานศึกษาส่วนใหญ่เป็นสถานศึกษาขนาด อาศัยแนวคิดของ สำ�นักงานคณะ เล็ก ซึ่งสถานศึกษาขนาดเล็ก ก็มีปัญหาใน กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง เรื่องของการสร้างอัตลักษณ์เหมือนกับสถาน ศึกษาธิการ และสำ�นักงานรับรองมาตรฐาน ศึกษาอื่นทั่วไป โดยมีคำ�ถามการวิจัย และ และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ วัตถุประสงค์การวิจัยดังนี้ มหาชน) ในด้าน 1) จัดโครงการ กิจกรรม ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัย คำ�ถามการวิจัย ทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นของสถานศึกษา 2) ผลการดำ�เนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุ 1. สภาพปัจจุบันในการสร้างอัต ตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้น ลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ของสถานศึกษา อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ในเขตภาคเหนือตอนบนเป็นอย่างไร ขั้นพื้นฐานจึงประกอบด้วย การกำ�หนดอัต 2. กลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของ ลักษณ์ องค์ประกอบของอัตลักษณ์ การปฏิบัติ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาค ตาม อัตลักษณ์ การประเมินอัตลักษณ์ และ เหนือตอนบนควรเป็นอย่างไร การธำ�รงรักษาอัตลักษณ์ (ธงชัย สันติวงษ์, 3. การตรวจสอบกลยุทธ์การสร้าง 2542: 128 – 135; สุมิตรา ศรีวิบูลย์, อัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาด 2547: 85 – 107; สุพักตร์ พิบูลย์, http:// เล็กในเขตภาคเหนือตอนบนควรเป็นอย่างไร www. thaiall.com/. 2555) และกรอบการ พัฒนากลยุทธ์ ปรับปรุงจาก Wheelen and วัตถุประสงค์ของการวิจัย Hunger (2004: 9) ประกอบด้วย 1) การ ตรวจสอบสภาพแวดล้อม (Environmental 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันในการ scanning) 2) การจัดทำ�กลยุทธ์ (Strategy สร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

226 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

formulation) 3) การประเมินผลและการ 2.2 ผู้บริหารที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน ควบคุม (Evaluation and control) การกำ�หนดกลยุทธ์ ในระดับปฏิบัติการ จำ�นวน 10 คน วิธีดำ�เนินการวิจัย 3. กลุ่มตรวจสอบกลยุทธ์การสร้าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง อัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาด เล็กในเขตภาคเหนือตอนบน ได้แก่ ผู้ทรง 1. กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษา คุณวุฒิที่เป็นนักการศึกษาที่มีความรู้ และ สภาพการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา เชี่ยวชาญด้านการกำ�หนดกลยุทธ์ การใช้ ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน กลยุทธ์ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาด ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาด เล็ก จำ�นวน 10 คน เล็กในเขตภาคเหนือตอนบน สังกัดสำ�นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำ�นวน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1,830คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถาน 1. แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือ (Structured interview) ใช้ในการศึกษา ตอนบน สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการ แนวทางการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการกำ�หนดขนาดของ ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่ประสบความสำ�เร็จใน กลุ่มตัวอย่างจากตารางกำ�หนดขนาดของ เขตภาคเหนือตอนบน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้น เครจซีและมอร์แกน (Krejcie & Morgan, ฐานในการสร้างแบบสอบถาม 1970: 608-609) ที่ความเชื่อมั่น 25 % ได้ 2. แบบสอบถาม เป็นแบบมาตราวัด กลุ่มตัวอย่าง จำ�นวน 317 คน เลือกกลุ่ม ค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยมีเนื้อหา ตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้น ครอบคลุมตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้น ตอน (Multi-Stage Random Sampling) ฐาน ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ใช้ใน 2. กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการสร้าง การศึกษาสภาพปัจจุบันในการสร้างอัตลักษณ์ กลยุทธ์สร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขต ขนาดเล็ก ได้แก่ ภาคเหนือตอนบน 2.1 สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก 3. การจับคู่ประเด็นสำ�คัญ โดยใช้ ในเขตภาคเหนือตอนบนที่ผ่านการประเมิน ตาราง TOWS Matrix ใช้ในการกำ�หนด คุณภาพภายนอกรอบสาม ปีงบประมาณ กลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 2554 ที่ได้ผลการประเมินในระดับดีมาก ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน ทุกตัวบ่งชี้ จำ�นวน 2 แห่ง 4. แบบสอบถามแบบมาตรส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) ใช้ในการ 227 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

สอบถามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยว แล้วใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่า กับความเหมาะสมและเป็นไปได้ของกลยุทธ์ ร้อยละ สังเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้น โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis ฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน 3. กำ�หนดกลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขต ข้อมูล ภาคเหนือตอนบน เก็บรวบรวมข้อมูลโดย 1. ศึกษาแนวทางการสร้างอัตลักษณ์ การสังเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิค SWOT ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่ประสบ Analysis และ TOWS Matrix และประชุม ความสำ�เร็จในเขตภาคเหนือตอนบน เก็บ เชิงปฏิบัติการ รวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาจากเอกสาร 4. ตรวจสอบและประเมินความ ของสถานศึกษา และสัมภาษณ์ผู้บริหาร เหมาะสมกลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของ และสอบถามครูโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขต มีโครงสร้าง ทำ�การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการ ภาคเหนือตอนบน เก็บรวบรวมข้อมูลโดย วิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) สรุป ใช้แบบสอบถาม ทำ�การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย สาระสำ�คัญ การแจกแจงความถี่ และกำ�หนดให้ข้อที่มีค่า 2. ศึกษาสภาพปัจจุบันในการสร้าง เฉลี่ยเกิน 3.50 เป็นกลยุทธ์ที่มีความเหมาะ อัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาด สมและมีความเป็นไปได้ตามวัตถุประสงค์ เล็กในเขตภาคเหนือตอนบน เก็บรวบรวม ของการวิจัย ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้รับคืนมาทั้งหมด 317 คน ทำ�การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลจาก ผลการวิจัย แบบสอบถาม ส่วนที่เป็นสถานภาพทั่วไป 1. สภาพปัจจุบันในการสร้าง อัต ของผู้ตอบและข้อมูลโรงเรียน วิเคราะห์ ลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ด้วยสถิติวิเคราะห์ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ในเขตภาคเหนือตอนบน ดังนี้ (Descriptive Statistic) ได้แก่ การแจกแจง 1.1 ด้านสภาพแวดล้อมภายนอก ความถี่ การหาค่าร้อยละ ส่วนที่เป็นคำ�ถาม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.59)1.2 แบบมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ด้วย ด้านสภาพแวดล้อมภายใน ในภาพรวมอยู่ใน การหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบน ระดับปานกลาง ( = 3.44)1.3 ด้านการ มาตรฐาน (Standard Deviation) ส่วนที่เป็น กำ�หนดอัตลักษณ์ ในภาพรวมอยู่ในระดับ เนื้อหาข้อเสนอแนะ ในคำ�ถามปลายเปิด ใช้ มาก ( = 3.71) 1.4 ด้านองค์ประกอบของ การวิเคราะห์เนื้อหาสรุปประเด็น สาระสำ�คัญ อัตลักษณ์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (

228 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

= 3.84)1.5 ด้านการปฏิบัติตามอัตลักษณ์ การเรียนรู้ ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( = 3.881.6 2.3.2 ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการประเมินอัตลักษณ์ ในภาพรวมอยู่ 2.4 สร้างเครือข่ายการพัฒนา และ ในระดับมาก ( = 3.63)1.7 ด้านการธำ�รง การประชาสัมพันธ์ รักษาอัตลักษณ์ ในภาพรวมอยู่ในระดับปาน กลาง ( = 3.17)ฃ2. กลยุทธ์การสร้างอัต 2.4.1 สร้างเครือข่ายการพัฒนาอัต ลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ลักษณ์ของสถานศึกษา ในเขตภาคเหนือตอนบน ประกอบด้วย 6 2.4.2 พัฒนาระบบการประชาสัมพันธ์ กลยุทธ์หลัก 15 กลยุทธ์รอง ดังนี้ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา 2.1 ปรับโครงสร้างและนโยบาย 2.5 สร้างความตระหนักและความ เกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา เข้าใจเกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์ของสถาน 2.1.1 ปรับโครงสร้างและนโยบาย ศึกษาให้กับผู้เกี่ยวข้องและชุมชน ของสถานศึกษา 2.5.1 สร้างความตระหนักให้ ครู 2.1.2 สร้างความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้อง บุคลากรเกี่ยวกับบทบาทในการสร้างอัต ชุมชนในการกำ�หนดนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธ ลักษณ์ของสถานศึกษา กิจ เป้าประสงค์ เพื่อปรับแผน กลยุทธ์ และ 2.5.2 สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการ แผนการบริหารงบประมาณ สร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 2.2 ปรับปรุงคุณภาพผู้เรียน 2.6 ปรับกระบวนการทำ�งาน โดย 2.2.1 ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้อง ใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศ กับสภาพความต้องการของชุมชน 2.6.1 ปรับระบบการบริหารข้อมูล 2.2.2 พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน สารสนเทศ ตามหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการสร้างอัต 2.6.2 ปรับกระบวนการทำ�งาน โดย ลักษณ์ของสถานศึกษา ใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศ 2.2.3 พัฒนาลักษณะโดดเด่นเพื่อ 2.6.3 ปรับปรุงระบบการนิเทศ เสริมสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาด้วย กิจกรรมพัฒนาอัตลักษณ์ของสถานศึกษา หลักกัลยาณมิตร 2.6.4 พัฒนาระบบการตรวจสอบ 2.3 ปรับปรุงสื่อ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ ผลการดำ�เนินงาน ตามเป้าหมาย ของสถาน ต่อการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ศึกษา เสนอไว้ในภาพที่ 1 2.3.1 พัฒนาการผลิต และใช้สื่อ 3. ผลการตรวจสอบกลยุทธ์การสร้าง

229 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

10

กลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั�นพื�นฐานขนาดเล็ก ในเขตภาคเหนือตอนบน

1. สร้างความ 2. ปรับ 3. ปรับ 4. ปรับปรุง 5. ปรับปรุงสื�อ 6. สร้ าง ตระหนักและความ โครงสร้างและ กระบวนการ คุณภาพผู้เรียน แหล่งเรียนรู้ที� เครือข่าย เข้าใจเกี�ยวกับการ นโยบาย ทํางาน โดยใช้ เอื�อต่อการ การพัฒนา และ

สร้ างอัตลักษณ์ของ เกี�ยวกับ ระบบข้อมูล สร้ างอัตลักษณ์ การประชา สถานศึกษาให้กับ การสร้าง สารสนเทศ ของ สัมพันธ์ ผู้เกี�ยวข้องและ อัตลักษณ์ของ สถานศึกษา ชุมชน สถานศึกษา

1.1 สร้างความ 2.1 ปรับ 3.1 ปรับระบบ 4.1 ปรับปรุง 5.1 พัฒนา 6.1 สร้ าง ตระหนักให้ ครู โครงสร้างและ การบริหาร หลักสูตรให้ การผลิต และ เครือข่าย

บุคลากรเกี�ยวกับ นโยบายของ ข้อมูล สอดคล้องกับ ใช้สื�อ การพัฒนา บทบาทในการ สถานศึกษา สารสนเทศ สภาพความ การเรียนรู้ อัตลักษณ์ของ สร้ างอัตลักษณ์ 2.2 สร้ าง 3.2 ปรับ ต้องการของชุมชน 5.2 ปรับปรุง สถานศึกษา ของสถานศึกษา ความร่วมมือ กระบวนการ 4.2 พัฒนา และพัฒนา 6.2 พัฒนาระบบ 1.2 สร้างองค์ กับผู้เกี�ยวข้อง ทํางาน โดยใช้ คุณภาพของผู้เรียน แหล่งเรียนรู้ การประชา ความรู้เกี�ยวกับการ และชุมชนใน ระบบข้อมูล ตามหลักสูตร สัมพันธ์อัตลักษณ์

สร้ าง การกําหนด สารสนเทศ สถานศึกษาเพื�อ ของสถานศึกษา อัตลักษณ์ของ นโยบาย 3.3 ปรับปรุง การสร้างอัตลักษณ์ สถานศึกษา วิสัยทัศน์ ระบบการนิเทศ ของสถานศึกษา พันธกิจ กิจกรรมพัฒนา 4.3 พัฒนา เ ป้ า ป ร ะ ส ง ค ์ อัตลักษณ์ของ ลักษณะ เพื�อปรับแผน สถานศึกษา โดดเด่นเพื�อ

กลยุทธ์ และ 3.4 พัฒนา เสริมสร้าง แผนการบริหาร ระบบการ อัตลักษณ์ของ งบประมาณ ตรวจสอบผล สถานศึกษาด้วย การดําเนินงาน หลักกัลยาณมิตร ตามเป้าหมาย ของสถานศึกษา

ภาพที� 1 กลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั�นพื�นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน ภาพที่ 1 กลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน

230 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

อัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาด ในเรื่อง อัตลักษณ์ของสถานศึกษาด้วยการ เล็กในเขตภาคเหนือตอนบน พบว่า กลยุทธ์ สื่อสารภาษาที่เข้าใจง่าย และควรสร้างการ นั้นมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ มีส่วนร่วมของการขับเคลื่อนจะต้องมาจาก ในระดับมาก ( = 3.69) จึงเป็นกลยุทธ์ที่มี พลังความพยายามและการมีส่วนร่วมพร้อม ความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ตาม กันทั้งองค์กร ในกระบวนการและวิธีการสร้าง วัตถุประสงค์ของ การวิจัย ความสำ�เร็จตามอัตลักษณ์ที่กำ�หนด 2. กลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของ อภิปรายผล สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาค 1. สภาพปัจจุบันในการสร้างอัต เหนือตอนบน ประกอบด้วย 6 กลยุทธ์ ดังนี้ ลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก กลยุทธ์ที่ ปรับโครงสร้างและนโยบายเกี่ยวกับ ในเขตภาคเหนือตอนบนด้านสภาพแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา กลยุทธ์ ภายนอก ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = ที่ 2 ปรับปรุงคุณภาพผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 3 3.59) ด้านสภาพแวดล้อมภายใน ในภาพ ปรับปรุงสื่อ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการสร้าง รวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.44) และ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 4 สร้าง สภาพปัจจุบันในการสร้างอัตลักษณ์ของ เครือข่ายการพัฒนา และการประชาสัมพันธ์ สถานศึกษา ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การกำ�หนด กลยุทธ์ที่ 5 สร้างความตระหนักและความ อัตลักษณ์ องค์ประกอบของอัตลักษณ์ การ เข้าใจเกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์ของสถาน ปฏิบัติตามอัตลักษณ์ การประเมินอัตลักษณ์ ศึกษาให้กับผู้เกี่ยวข้องและชุมชน กลยุทธ์ และการธำ�รงรักษาอัตลักษณ์ ในภาพรวมทุก ที่ 6 ปรับกระบวนการทำ�งาน โดยใช้ระบบ ด้าน อยู่ในระดับมาก ( = 3.65) แสดงให้เห็น ข้อมูลสารสนเทศ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า การ ว่า สภาพปัจจุบันในการสร้าง อัตลักษณ์ของ กำ�หนดกลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของสถาน สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาค ศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือ เหนือตอนบน จะต้องอาศัยความร่วมมือและ ตอนบน เป็นการกำ�หนดกลยุทธ์ให้สอดคล้อง การมีส่วนร่วมจากหลายๆ ฝ่าย พร้อมทั้งมี กับ เป้าหมาย ความเป็นมาของสถานศึกษา การประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ สุพักตร์ พิบูลย์ (http://www. ปภาดา อัศวธีรากุล (http:// www.rajini. thaiall.com/. 2555) ที่กล่าวว่า อัตลักษณ์ ac.th/. 2555) ที่กล่าว ว่ากระบวนการ ของสถานศึกษา ต้องสอดคล้องกับ ความ สร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาควรมีการ เป็นมาของสถานศึกษา และเจตนารมณ์ใน ประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจให้กับ การจัดตั้งสถานศึกษา กำ�หนดอัตลักษณ์ใน บุคลากรภายในสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง เรื่องความเป็นเลิศเฉพาะทางของเยาวชน ที่ต้องมีก่อนสำ�เร็จการศึกษา โดยผ่านการ

231 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

ประชาพิจารณ์ร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ภายนอก มากำ�หนดเป็นกลยุทธ์ (Strategy ปฏิบัติตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษาโดย Formulation) โดยการพิจารณาเลือกประเด็น การจัดกิจกรรมการส่งเสริม พัฒนา และ สำ�คัญจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมจับ ประเมินอย่างเป็นระบบ ซึ่งการกำ�หนด คู่ประเด็น แล้วจึงตรวจสอบและประเมิน กลยุทธ์ดังกล่าวนี้ ถือเป็นการกำ�หนดกลยุทธ์ ความเหมาะสมกลยุทธ์ ซึ่งกระบวนการดัง ระดับองค์กรเพื่อกำ�หนดทิศทางทั้งหมดของ กล่าวได้กรอบการพัฒนากลยุทธ์ ปรับปรุง องค์กรและจะมีการกำ�หนดกลยุทธ์ย่อยหรือ จาก Wheelen and Hunger (2004: 9) ที่ กลยุทธ์รองซึ่งสอดคล้องกับ อนิวัช แก้วจำ�นง ประกอบด้วย การตรวจสอบสภาพแวดล้อม (2551: 3) ได้กล่าวว่ากลยุทธ์ ทำ�ให้เกิด (Environmental scanning) การจัดทำ�กลยุทธ์ การกำ�หนดทิศทางทางองค์กร(Direction (Strategy formulation) และการประเมินผล Setting) ทำ�ให้มีการคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วน และการควบคุม (Evaluation and control) เสียกับองค์กร(Stakeholders) ทำ�ให้องค์กร คำ�นึงถึงผลกระทบทั้งในระยะสั้นและระยะ ข้อเสนอแนะ ยาว (Short – term and Long - term Ad- จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะดัง vantage)และ มีการมุ่งเน้นผลสำ�เร็จอย่างมี ต่อไปนี้ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล(Efficiency and Effectiveness) และ Wheelen and 1. ข้อเสนอแนะด้านนโยบายผู้บริหาร Hunger (2004: 9) ที่กล่าวว่า กลยุทธ์ของ ของกระทรวงศึกษาธิการ สำ�นักงานคณะ องค์กรประกอบด้วย กลยุทธ์ระดับองค์กร กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำ�นักงาน (Corporate Strategy) กลยุทธ์ระดับธุรกิจ เขตพื้นที่การศึกษา ควรพัฒนาองค์ความ (Business strategy) และกลยุทธ์ระดับ รู้เกี่ยวกับกระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของ ปฏิบัติ (Functional strategy) สถานศึกษา สร้างความตระหนักให้กับ ผู้ บริหารครู ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ต่อการส่งเสริม 3. การตรวจสอบกลยุทธ์การสร้าง ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ บรรลุ อัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาด ตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้น เล็กในเขตภาคเหนือตอนบน พบว่า กลยุทธ์ ของสถานศึกษา จะทำ�ให้ส่งผลต่อการพัฒนา นั้นมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ มาก จึงเป็นกลยุทธ์ที่มีความเหมาะสมและ 2. ข้อเสนอแนะในการนำ�ไปปฏิบัติใน มีความเป็นไปได้ตามวัตถุประสงค์ของการ สถานศึกษาขนาดเล็ก ผู้อำ�นวยการสถานศึกษา วิจัย อาจเป็นเพราะว่ากลยุทธ์ดังกล่าวได้ ควรพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ ผ่าน กระบวนการตรวจสอบสภาพแวดล้อม สร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ให้กับครู ผู้ (Environmental Scanning)ทั้งภายในและ มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง สม่ำ�เสมอ มี

232 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556

การจัดตั้งคณะกรรมการดำ�เนินการและส่ง ไป ควรวิจัยเกี่ยวกับกลยุทธ์การสร้างเครือ เสริมการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมเพื่อ ข่ายการมีส่วนร่วมเพื่อการสร้างอัตลักษณ์ การสร้าง อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา ซึ่งเป็นกระบวนการสำ�คัญ 3. ข้อเสนอแนะในการทำ�วิจัยครั้งต่อ ในการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา

Reference Kriengsak Charoenwongsak (2006). Strategic Thinking. (5th Edition, Page 2). Bangkok: Success Media. Charat Unsamrit (2007). Introduction of development strategy for higher education management system of the Army to promote national security. Doctor of Philosophy of Educational Management, Department of Educational Policy, Management, and Leadership, Faculty of Education, Chulalongkorn University. Bangkok. Daily news (7 September 2012). “Kangjan Model: Solution formula for small sized shools. Retrieved on 19 June 2012 from http://www.dailynews. co.th/.education/153720. Thongchai Suntiwongse (1999). Organization and Communication. (Page 128- 135). Bangkok: Thammasart University Papada Ausawatheerakul (23 May 2011). Process of identity creation of edu- cational institutions. On TV program of the Office for National Education Standards and Quality Assessment – Summary of Discussion from Bai Nee Mee Kham Tob TV Program “How to get prepared for the third as- sessment” on Monday 23 May 2011 at Modern 9 TV Channal at 3.15pm – 4pm. Retrieved on 19 June 2012 from http://www.rajini.ac.th/ Piyawan Porasuntisook (16 Juky 2012). Economic/Education: Reported lots of small sized school underperformed. Mathichon Page 22. Somdech Srisaeng (2011). School management manual of Basic education under the Education Act. (Page 72). Nakorn Sawan: Rim Ping Printing National.

233 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 5 Number 2 May – August 2013

Supak Piboon (2012) (13 July 2010). Seminar on educational quality assurance for inter exchange of learning and preparation for the third external assessment. Retrieved on 19 June 2012 from http://drsuphakedqa. blogspot. com/ Sumitra Sriwiboon (2004). Identity Design (Page 85-107). Bangkok: Love and Lift Press The Office for National Education Standards and Quality As- sessment (Public Organization) (2010). Manual for the third external assessment (2011-2012). Basic Educational Level, Educational Institution Edition 2011 1st Edition Page 6). Bangkok: Matchpoint The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) (2012). Manual for the third external assessment (2011-2012). Basic Educational Level, Educational Institution Edition (Amended on November 2011) (Page 17-18). Bangkok: Offset Plus Co., Ltd. Bureau of Educational Testing, Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education (2011). Guidelines for evaluating the quality of basic education for internal quality assurance of educational institutions (Page 10). Bangkok: National Office of Buddhism Printing House Aniwat Kaewchumnong (2008). Strategic Management (Page 3). Songkhla: Num Silk Advertising Wheelen, Thomas L., and David J. Hunger. (2004). Strategic Management and Business Policy. New York: Addison-Wesley Publishing Company, Inc. Krejcie, Robert V. and Daryle W . Morgan. (1970,). Determining Sample Size for Research Activities Education and Psychological Measurement. 607 – 609. Wheelen, Thomas L., and David J. Hunger. (2004). Strategic Management and Business Policy. New York: Addison-Wesley Publishing Company, Inc. Krejcie, Robert V. and Daryle W . Morgan. (1970,). Determining Sample Size for Research Activities Education and Psychological Measurement. 607 – 609.

234 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

คำ�แนะนำ�สำ�หรับผู้นิพนธ์ วารสารบริหารและพัฒนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็น วารสารวิชาการสาขาวิชาทางการศึกษา พิมพ์เผยแพร่ผลงานในรูปแบบบทความวิจัย บทความวิทยานิพนธ์ บทความวิจารณ์หนังสือ และบทความทั่วไปทางการศึกษา บทความที่ได้รับการพิจารณาพิมพ์เผยแพร่ในวารสารจะต้องมีสาระน่าสนใจ เป็นงาน ทบทวนความรู้เดิมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ รวมทั้งข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ อ่าน เป็นบทความที่ไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในวารสารอื่นใดมาก่อน และไม่อยู่ในระหว่าง การพิจารณาพิมพ์เผยแพร่ในวารสารใดๆ บทความอาจได้รับการปรับปรุงตามที่กอง บรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบทางวิชาการเห็นสมควร เพื่อให้วารสารมี คุณภาพระดับมาตรฐานสากลและนำ�ไปอ้างอิงได้ การส่งต้นฉบับ 1. ภาษา พิมพ์ต้นฉบับเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ การใช้ภาษาไทยให้ยึด หลักการใช้คำ�ศัพท์และการเขียนทับศัพท์ภาษาอังกฤษตามหลักของราชบัณฑิตยสถาน คำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวเล็กทั้งหมดยกเว้นชื่อเฉพาะ ถ้าต้นฉบับเป็นภาษาอังกฤษ ควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้องด้านการใช้ภาษาจากผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษ ก่อน 2. รูปแบบต้นฉบับ ใช้กระดาษ A4 พิมพ์ห่างจากขอบกระดาษด้าน บน ซ้าย 3.5 เซนติเมตร และล่าง ขวา 2.5 เซนติเมตร จัดรูปแบบ 2 คอลัมน์ ยกเว้น บทคัดย่อ ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เอกสารอ้างอิง และตาราง ให้จัดรูปแบบ 1 คอลัมน์ 3. ชนิดและขนาดตัวอักษร ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวอักษร Cordia New ซึ่งขนาดตัวอักษร มีดังนี้ ชื่อเรื่อง ใช้ตัวอักษรขนาด 20 pt. ตัวหนา ชื่อ-สกุลผู้นิพนธ์ ใช้ตัวอักษรขนาด 18 pt. ตัวปกติ หัวข้อหลัก ใช้ตัวอักษรขนาด 18 pt. ตัวหนา หัวข้อรอง ใช้ตัวอักษรขนาด 16 pt. ตัวหนา เนื้อเรื่องในหัวข้อหลักและหัวข้อรอง ใช้ตัวอักษรขนาด 16 pt. ตัวปกติ 235 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

เชิงอรรถหน้าแรกที่เป็นชื่อ-สกุล ตำ�แหน่งทางวิชาการ และหน่วยงานต้นสังกัด ของผู้นิพนธ์ ใช้ตัวอักษรขนาด 14 pt. ตัวปกติ 4. จำ�นวนหน้า ความยาวของบทความไม่เกิน 15 หน้า รวมตาราง ภาพ ประกอบ รูปภาพ และเอกสารอ้างอิง 5. การส่ง ส่ง file ต้นฉบับที่งานวารสาร ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเครือข่าย วิชาการ ชั้น 4 อาคารศึกษาศาสตร์ 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตำ�บลตลาด อำ�เภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000 โทรศัพท์ 0-4374-3143-4 ต่อ 101, 102, 0-4375-4321-40 ต่อ 6052 โทรสาร 0-4372-1764 หรือส่งทาง E-mail: [email protected] ต้นฉบับให้ระบุชื่อ-สกุลผู้นิพนธ์ทุกคน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อม หมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และ E-mail address ทุกคนที่สามารถติดต่อได้สะดวก

236 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

บทความวิจัยและบทความวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วยหัวข้อและจัดเรียงลำ�ดับ ดังนี้ 1. ชื่อเรื่องภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ชื่อ-สกุลผู้นิพนธ์ทุกคนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3. บทคัดย่อภาษาไทย (บทคัดย่อ มีความยาวไม่เกิน 300 คำ�) 4. คำ�สำ�คัญภาษาไทย 5. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (บทคัดย่อ มีความยาวไม่เกิน 300 คำ�) 6. คำ�สำ�คัญภาษาอังกฤษ (Keywords) 7. บทนำ� 8. วัตถุประสงค์ 9. สมมุติฐาน (ถ้ามี) 10. วิธีการวิจัย (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปร เครื่องมือ การดำ�เนินการวิจัย หรือการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูล) 11. ผลการวิจัย 12. อภิปรายผล 13. ข้อเสนอแนะ 14. เอกสารอ้างอิง (ให้อ้างอิงเฉพาะที่อ้างในบทความเท่านั้น)

237 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

บทความทั่วไป ประกอบด้วยหัวข้อและจัดเรียงลำ�ดับ ดังนี้ 1. ชื่อเรื่องภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ชื่อ-สกุลผู้นิพนธ์ทุกคนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3. บทคัดย่อภาษาไทย (บทคัดย่อ มีความยาวไม่เกิน 300 คำ�) 4. คำ�สำ�คัญภาษาไทย 5. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (บทคัดย่อ มีความยาวไม่เกิน 300 คำ�) 6. คำ�สำ�คัญภาษาอังกฤษ (Keywords) 7. บทนำ� 8. เนื้อหา 9. บทสรุป 10. เอกสารอ้างอิง

บทความวิจารณ์หนังสือ ตำ�รา 1. ชื่อเรื่องภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ชื่อ - สกุลผู้นิพนธ์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3. ชื่อ - สกุลผู้วิจารณ์หนังสือ ตำ�รา ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4. บทกล่าวนำ�หนังสือ ตำ�รา 5. ส่วนประกอบสำ�คัญในการวิจารณ์หนังสือ ตำ�รา 5.1 ประเด็นเนื้อหาโดยรวมของหนังสือ ตำ�รา 5.2 องค์ความรู้ที่ได้จากหนังสือ ตำ�รา 5.3 การนำ�ไปประยุกต์ใช้ 5.4 ข้อเสนอแนะเชิงวิพากษ์วิจารณ์ 5.5 บทสรุปของผู้วิจารณ์ 6. เอกสารอ้างอิง

238 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

การอ้างอิงเอกสาร ใช้รูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงระบบ American Psychological Association (APA) ดังตัวอย่าง

1. หนังสือ ชื่อผู้นิพนธ์. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ (ครั้งที่พิมพ์ ตั้งแต่พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป). เมืองที่ พิมพ์: สำ�นักพิมพ์. บุญชม ศรีสะอาด. (2547). วิธีการทางสถิติสำ�หรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. Kosslyn, S. M., & Rosenberg, R. S. (2004). Psychology: The brain, the person, the world (2nd ed.). Essex, England: Pearson Education Limited. Mussen, P., Rosenzweig, M. R., Aronson, E., Elkind, D., Feshbach, S., Geiwitz, P. J., et al. (1973). Psychology: An introduction. Lexington, Mass.: Health.

2. วารสาร ชื่อผู้นิพนธ์. (ปีที่พิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่ (ฉบับที่), หน้า. เผชิญ กิจระการ และสมนึก ภัททิยธนี. (2545). ดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index: E.I.). วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 8(1), 30-36. Klimoski, R., & Palmer, S. (1993). The ADA and the hiring process in organizations. Consulting Psychology Journal: Practice and Research, 45(2), 10-36.

239 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

3. วิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระ ชื่อผู้นิพนธ์. (ปีที่พิมพ์). ชื่อวิทยานิพนธ์. ระดับปริญญา, สถาบันการศึกษา, เมือง. ดรุณนภา นาชัยฤทธิ์. (2550). ผลการเรียนจากบทเรียนมัลติมีเดียบนระบบเครือข่าย ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เรื่องการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการศึกษา ในห้องเรียน ของนิสิตปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม. นงเยาว์ ธรรมวงศา. (2549). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วน ร่วมเรื่องเพศศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม. Piyakun, A. (2007). Reading strategies used by Thai ESL students. Doctoral dissertation, Monash University, Melbourne.

4. หนังสือรวมเรื่อง ชื่อผู้นิพนธ์. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ใน ชื่อบรรณาธิการ (บรรณาธิการ), ชื่อหนังสือ (ครั้งที่ พิมพ์ ตั้งแต่พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป, หน้า). เมืองที่พิมพ์: สำ�นักพิมพ์. ประสาท เนืองเฉลิม. (2549). วิทยาศาสตร์พื้นบ้าน: การจัดการเรียน รู้มิติทางวัฒนธรรมท้องถิ่น การบูรณาการความรู้พื้นบ้านกับการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อชุมชน: กรณีศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ป่า ปู่ตา. ใน ฉลาด จันทรสมบัติ (บรรณาธิการ), ศึกษาศาสตร์วิจัย ประจำ�ปี 2548-2549 (หน้า 127-140). มหาสารคาม: สารคามการพิมพ์-สารคามเปเปอร์. Cooper, J., Mirabile, R., & Scher, S. J. (2005). Actions and attitudes: The theory of cognitive dissonance. In T. C. Brock & M. C. Green (Eds.), Persuasion: Psychological insights and perspectives (2 nd ed., pp. 63-79). Thousand Oaks, CA, US: Sage Publications, Inc.

240 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

5. หนังสือพิมพ์ ชื่อผู้นิพนธ์. (วันที่ เดือน ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ชื่อหนังสือพิมพ์, หน้า. รัฐพงศ์ ศิริสานนท์. (25 กุมภาพันธ์ 2548). องค์ประกอบของความสำ�เร็จ. มติชน, หน้า 22. Brown, P. J. (2007, March 1). Satellites and national security. Bangkok Post, p. B4.

6. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ชื่อผู้นิพนธ์. (วันที่ เดือน ปีที่ปรับปรุงล่าสุด). ชื่อเรื่อง. วันที่ทำ�การสืบค้น, ชื่อฐานข้อมูล สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (3 ธันวาคม 2548). ธนาคารหลักสูตร. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2550, จาก http://db.onec.go.th/thaigifted/lessonplan/index.php Wollman, N. (1999, November 12). Influencing attitudes and behaviors for social change. Retrieved July 6, 2005, from http://www.radpsynet.org/ docs/wollman-attitude.html

241 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

Instruction for Authors Journal of Administration and Development, Faculty of Education, Ma- hasarakham University (JAD, Ed, MSU), is an academic journal in the field of education, research and development, participatory action research, innova- tion development in administration and knowledge management. The journal publishes a variety of academic results, including research articles, thesis articles, book review articles, and review articles. The articles to be published maybe reviews of current issues, or scholarly issues that contribute a new body of knowledge, which demonstrate interesting and valuable points of view of readers. It is important to note that articles submitted to Journal of Ad- ministration and Development should not have been preprinted or previously submitted to other publications. The context of the articles may be revised as appropriate by the journal editorial board and peer reviews in order to make it fit the international standards and be accepted as reference.

Submission of manuscripts: 1. Language: Manuscripts can be written in either Thai or English. Thai manuscripts should adhere to the Royal Institution’s principles in using vocabulary and borrowed English words. All English words must be typed in small letters, except proper names. English manuscripts must be checked for correctness of the language by an English expert prior to submission. 2. Paper: Manuscripts should be typed in A4 paper, and required to have 3.5 cm margins on top side and left side and to have 2.5 cm on bottom side and right side. The contents of the article should be arranged in two columns format accept the abstract in both Thai and English, schedule, and references should be arranged in one column format. 3. Style and size of fonts: Both Thai and English manuscripts are required to type in “Cordia New” font style with font size as follows: 242 วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554

Title of the article: 20 pt. Bold Name(s) of the authors; 18 pt. Normal Main heading: 18 pt. Bold Sub-heading: 16 pt. Normal Body of the text: 14 pt. Normal The first page of footnotes presenting author’s names, academic titles, and affiliations: 14 pt. Normal 4. Number of pages: The article is required not to be longer than 15 pages. These include tables, figures, pictures, and references. 5. Submission: The author (s) should submit an original file to the Journal of Education Division, the Ground Floor of Education Building 1, Faculty of Educa- tion, Mahasarakham University, Tambon Talat, Amphoe Mueng, Maha Sarakham 44000, Tel: 0-4374-3143-4 ext. 101, 102, 0-4375-4321-40 ext. 6074, Fax: 0-4372-1764. The author can also submit to: [email protected] The original file should include name(s) of the author(s), telephone number(s), facsimile number(s), and email address (es). Organization of research and thesis articles: Should be arranged in the following order; 1. Title in Thai and English 2. Name (s) of the author (s) in Thai and English 3. Abstract in Thai (abstract should be no more than 300 words) 4. Keywords in Thai 5. Abstract in English (abstract should be no more than 300 words) 6. Keywords in English 7. Introduction 8. Objectives 9. Hypothesis (if any) 243 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

10. Research methodology: population and samples, variables, instru- ments, procedures/experiments, and data analysis 11. Research results 12. Discussion 13. Suggestion 14. References

Organization of review articles: Should be arranged in the following orders: 1. Title in Thai and English 2. Name(s) of the author(s) in Thai and English 3. Abstract in Thai (abstract should be no more than 300 words) 4. Keywords in Thai 5. Abstract in English (abstract should be no more than 300 words) 6. Keywords in English 7. Introduction 8. Contents 9. Summary 10. References References: Listed and referred to in the American Psychological Association (APA) Style

244 ใบสมัครสมาชิกวารสารการบริหารและพัฒนาวารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Membership Application Form)

วันที่ (Date) …………………………………………………………………………………………………………………………...... ชื่อ-สกุล (First Name and Surname) ………………………………………………………………………………...... ที่อยู่สำ�หรับจัดส่งวารสาร (Mailing Address) ……………………………………….…………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………………….…...... จังหวัด (State/Province) …………………………………………………………………………………………………...... รหัสไปรษณีย์ (Post/Zip Code) …………………………………………………………………………………………...... ประเทศ (Country) ……………………………………………………………………………………………………………...... โทรศัพท์ (Telephone No.) ………………………………………………………………………………………………...... โทรสาร (Fax No.) ……………………………………………………………………………………………………………...... Email Address …………………………………………………………………………………………………………………......

[ ] ค่าสมัครสมาชิก 1 ปี 270 บาท (One-year Membership 270 ฿) [ ] ค่าสมัครสมาชิก 2 ปี 480 บาท (Two-year Membership 480 ฿) [ ] ค่าสมัครสมาชิก 3 ปี 700 บาท (Three-year Membership 700 ฿)

สั่งจ่ายธนาณัติหรือตั๋วแลกเงิน สั่งจ่าย ปณ. โนนศรีสวัสดิ์ ในนาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม ธรรมทัศนานนท์ งานวารสารภาควิชาการบริหาร การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตำ�บลตลาด อำ�เภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000 Please send your personal check or money order to the following address: Prof. Dr. Suthum Thummatasananon, The Journal of Administration and Development, Faculty of Education, Mahasarakham University, Tambon Talat, Amphoe Mueng, Maha Sarakham 44000. ------สำ�หรับเจ้าหน้าที่ (Officer only) สมาชิกเลขที่ ...... รับวารสาร เล่มที่...... 245 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011 Guest Advisory Board in International Prof. Dr. Wijit Srisaarn Walailak University Prof. Dr. Pote Sapianchai National Research Council of Thailand (Education) Prof. Dr. Kriengsak Chareonwongsak Institution of Future Studies for Development Prof. Dr. Teera Runcharoen Vongchavalitkul University Prof. Dr. Chaiyong Brahmawong Assumption University Prof. Dr. Duangduen Bhanthumnavin National Institution of Development Administration Prof. Dr. Suthat Yoksan Srinakharinwirot University Prof. Dr. Krasae Chanawongse College of Bundiththasia Prof. Dr. Chutima Sacchnand Sukhothai Thammathirat University Prof. Dr. Phaithoon Sinlarat Dhurikij Pundit University Prof. Dr. Suchart Prasithrat College of Patoomtani Prof. Dr. Pruet Siribanpitak Chulalongkorn University Guest Advisory Board in International Prof. Dr.Marilyn Waring Deakin University, Australia Prof. Dr.Matthew H.S. KuofieUniversity of Michigan, USA Prof. Dr.Gary Price University of Wisconsin-Madison, USA Prof. Patricia KlassIllinois State University, USA Asst. Prof. Dr.Richard SmithNanyang Technical University, Singapore Peer Reviewers Prof. Dr. Teera Runcharoen Vongchavalitkul University Prof. Dr. Pruet Siribanpitak Chulalongkorn University Assoc. Prof. Dr. Pissamai Sri-Ampai Mahasarakham University Assoc. Prof. Dr. Neon Pinpradit Khonkaen University Assoc. Prof. Dr. Suntorn Kontbantau Buriram Rajabhat University Assoc. Prof. Dr. Nit Bungamongkon Khonkaen University Assoc. Prof. Dr. Boonchom Srisa-ard Mahasarakham University Assoc. Prof. Dr. Chalard Chantarasombat Mahasarakham University Assoc. Prof. Dr. Wimonrat Soonthornrojana Mahasarakham University Assoc. Prof. Dr. Vichien Chiwapimai Vongchawalitkul University Assoc. Prof. Dr. Lakkana Sariwat Mahasarakham University Assoc. Prof. Dr. Chanya Apipalakul Khonkaen University Assoc. Prof. Dr. Thooptong Kwangsawad Mahasarakham University Assoc. Prof. Dr. Montree Yamkasikorn Burapha University Assoc. Prof. Dr. Saman Asawapoom Ubonrachathani Rajabhat University Assoc. Assoc. Prof. Dr. Boonchauy Sirikes Loei Rajabhat University Assoc. Prof. Dr. Weerawat Uthairat Eastern Asia University Asst. Prof. Dr. Pongsin Viseshsiri Chulalongkorn University Asst. Prof. Dr. Jinnawatara Pakotang Ubonrachathani Rajabhat University Asst. Prof. Dr. Chayakan Ruangsuwan Rajabhat Mahasarakham University Asst. Prof. Dr. Napadon Poonsawat Surindra Rajabhat University Asst. Prof. Dr. Charoenwit Sompongtam Burapha University Asst. Prof. Dr. Paradee Anannawee Burapha University Dr.Songsak Phusee-orn Mahasarakham University Dr.Teerawat Yiamsang Rajabhat Mahasarakham University Dr. Phanayuth Choeybal Udon Thani Rajabhat University Dr. Nikhom Chomphulong Mahasarakham Educational Service Area Office Dr. Manoon Siwarom North Eastern University Dr. Udomphan Petprasert Sisaket Rajabhat University 246 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาVolume 5มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Number 2 May ปีที่ –3 ฉบับที่August 3 กันยายน 2013 – ธันวาคม พ.ศ. 2554

Aims and Scopes The Journal of Administration and Development, Mahasarakham University is published quarterly and dedicated to the promotion and dissemination of academic results in the field of education, including research articles, thesis articles, book review articles, and review articles.

Ownership Faculty of Education, Mahasarakham University, Tambon Talat, Amphoe Mueang, Maha Sarakham 44000 Tel. 0-4374-3143-4 Fax. 0-4372-1764

Advisor Assoc. Prof. Dr. Prawit Erawan Dean of Faculty of Education, Mahasarakham University Assoc. Prof. Dr. Boonchom Srisa-ard, National Award in the Lecturer 2005

Editor-in-chief Prof. Dr. Suthum Thammatasananon

Associate Editors-in-chief Prof. Dr. Pacharawit Chansirisira Dr. Suwat Julsuwat

Editorial Board Prof. Dr. Pote Sapiachai, Prof. Dr. Kriengsak Chareonwongsak, Prof. Dr. Chaiyong Brahmawong, Prof. Dr. Teera Runcharoen, Prof. Dr. Gary Price, Prof. Dr. Marilyn Waring, Assoc. Prof. Dr. Nit Bungamongkon, Assoc. Prof. Dr. Nareerat Rakvichitkul, Asst. Prof. Dr. Karn Ruangmontree, Dr. Kowat Tesaputa, Dr. Amnart Chanawongse, Dr. Surachaet Noyrit, Assoc. Prof. Dr. Chalard Chantarasombat, and Dr. Paiboon Anurit

management division Miss Chitlada Arsatham Miss Jiraporn Wicharapote

The articles in The Journal of Administration and Development, Mahasarakham University are authors’ own opinions. The editorial board has not always agreed absolutely with.

80 ฿ Web site: www.edu.msu.ac.th Date of Publication: December 5, 2010 E-mail: [email protected]

247 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 3 Number 3 September – December 2011

248