Syzygium Siamense ; D
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
ก คํานํา ทรัพยากรปาอนุรักษของประเทศไทยจัดวามีความหลากหลายทางชีวภาพสูงทั้งด$านพืช สัตว รวมถึงเห็ดราตางๆ แตในป-จุบันฐานข$ มูลความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษหลายแหงยัง ขาดอยูอีกมาก กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช จึงได$จัดทําโครงการสํารวจความหลากหลาย ทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ โดยให$หนวยงานที่ตั้งอยูตามภูมิภาคตางๆออกสํารวจในพื้นที่ปาอนุรักษ สวนที่รับผิดชอบ ซึ่งสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 7 ได$ดําเนินการสํารวจความหลากหลายในพื้นที่เขต รักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด โดยมีระยะเวลาในการดําเนินการ 1 ป9 ตั้งแตเดือนตุลาคม 2553 ถึง เดือนกันยายน 2554 เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด ในป-จจุบันยังเป>นผืนปาที่มีความอุดมสมบูรณ มีความ หลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต ตั้งแตแบคทีเรีย เห็ดรา แมลง พืชพรรณ สัตวปา อยูรวมกันเป>น สังคมได$ ยางกลมกลืน ดังนั้นจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ที่ต$ งทําการศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทาง ชีวภาพไว$ เพื่อรวบรวมเป>นฐานข$อมูลในการดําเนินการในกิจกรรมที่เกี่ยวข$องกับความหลากหลายทาง ชีวภาพ รวมถึงนําไปพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรปาไม$,ห$ั่งยืนสืบไป การศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ คือ การศึกษาการมีความผิดแผกแตกตาง ระหวางสิ่งมีชีวิตจากทุกแหลง สามารถจําแนกได$ 3 ระดับ คือ ระดับพันธุกรรม ระดับชนิดพันธุ และระดับ นิเวศ โดยการศึกษาโครงการความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด ในครั้ง นี้เปนการศึกษาความหลากหลายในระดับชนิดพันธุ ได$+ก ความหลากหลายของพืช แมลง และเห็ดรา ข สารบัญ หนา คํานํา ก สารบัญ ข ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา 1 การศึกษาความหลากหลายของพรรณไม วิธีการศึกษา 4 ผลการศึกษา 4 สรุปและวิจารณ+&ลการศึกษา 25 การศึกษาความหลากหลายของแมลง วิธีการศึกษา 2. ผลการศึกษา 27 สรุปและวิจารณ+&ลการศึกษา 07 การศึกษาความหลากหลายของเห็ด วิธีการศึกษา 08 ผลการศึกษา 08 สรุปและวิจารณ+&ลการศึกษา 42 สรุปผลการศึกษาในภาพรวม 40 ป7 หา อุปสรรค และขอเสนอแนะ 44 กิตติกรรมประกาศ 45 เอกสารอางอิง 4. 1 ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัดเปนพื้นที่อนุรักษที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ เช%น พืช แมลง เห็ดรา และสัตวปานานาชนิด ประวัติความเปนมา เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด เริ่มตนจากการเปนเขตหามล% สัตวปาเทือกเขาบรรทัดจังหวัดตรัง สํานักงานตั้งอยูที่บ*านกะช%อง หมูที่ 1 ตําบลช%อง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง ต%อมาประกาศจัดตั้งเปนเขต รักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด ตามพระราชกฤษฎีกาพิเศษ หน*าที่ 1 ลงวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 1318 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล%มที่ 91 ตอนที่ 181 ลงวันที่ 7 กันยายน 1318 ครอบคลุมพื้นที่ บางส%นของ 7 จังหวัด ได*&ก% จังหวัดพัทลุง จังหวัดตรัง จังหวัดสตูล และจังหวัดสงขลา พื้นที่รับผิดชอบ ประมาณ 803,000 ไร% แต%ในป= พ.ศ. 1310 ได*ประกาศเพิกถอนพื้นที่บางส%วนในท*องที่จังหวัดสตูล ออกใหนิคมสรางตนเองภาคใต*+ังหวัดสตูล เพื่อจัดใหราษฎรทํากิน ป พ.ศ. 1317 ได*เกิดอุทกภัยภาคใต* อย%างร*ายแรง ทําให*ที่ตั้งสํานักงานเขตฯ ได*รับความเสียหาย ประกอบกับหน%วยงานต%างๆ ในสังกัดกรม ปาไม*5นสมัยนั้น ได*+ัดตั้งขึ้นซ้ําซอนในพื้นที่เดียวกัน ทําให*เกิดการเข*าใจผิดประชาชนผูมาติดต%อราชการ ไม%สามารถแยกแยะหน%วยงานแต%ละเขตรับผิดชอบแต%ละหน%วยงานได* จึงได*ย*ายที่ทําการเขตรักษาพันธุ สัตวปาเขาบรรทัดไปอยูที่หน%วยพิทักษปาบ*านนาวง หมูที่ 1 ตําบลบ*านนา อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง เพราะเปนสถานที่เหมาะสม คล%งตัวในการปฏิบัติงานและติดต%อประสานงานกับหน%วยราชการอื่นๆ ได* สะดวก และ ในป= พ.ศ. 1318 ได*ประกาศเพิกถอนพื้นที่บางส%วนออกเพื่อสร*างและขยายถนนเพชร เกษม ทางหลวงหมายเลข 7 DพัทลุงEตรังF เหลือพื้นที่ประมาณ 791,871.81 ไร% ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเล%มที่ 101 ตอนที่ 98 ลงวันที่ 1 สิงหาคม 1318 และป= พ.ศ. 1330 ก็ได*ประกาศเพิกถอน พื้นที่บางส%วนของเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัดออกอีก เพื่อมอบพื้นที่ให*กองทัพภาคที่ 7 จัดตั้งกรม อาสาสมัครทหารพรานที่ 7137 เปนสถานที่ฝJกการรบเปนพิเศษของกองทัพขึ้น ปKจจุบันคงเหลือพื้นที่ รับผิดชอบอยูประมาณ 791,877 ไร% หรือ 1166.96 ตารางกิโลเมตร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล%ที่ 107 ตอนที่ 178 ลงวันที่ 31 ธันวาคม 1330 ที่ตั้ง เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด ตั้งอยูระหว%างเส*นรุงที่ 7 องศา 10 ลิปดา ถึง 7 องศา 33 ลิปดา เหนือ และเส*นแวงที่ 99 o.73O ถึง 100 o.03 O ตะวันออก สํานักงานตั้งอยูที่บ*านนาวง หมูที่ 1 ตําบลบ*านนา กิ่งอําเภอครีนครินทร จังหวัดพัทลุง ตั้งอยูชิดทางหลวงหมายเลข 7 Dด*านซ*ายมือถนน เพชรเกษมF ช%วงพัทลุงEตรัง ห%างจากตัวจังหวัดพัทลุงประมาณ 17 กิโลเมตร และจังหวัดตรัง ประมาณ 33 กิโลเมตร ห%างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 961 กิโลเมตร มี 11 อําเภอ 7 จังหวัด ดังนี้ 1. จังหวัดพัทลุง เนื้อที่ประมาณ 163,613 ไร% หรือประมาณ 713 ตารางกิโลเมตร D13 หมูบ*าน 8 ตําบล 7 อําเภอF E กิ่งอําเภอศรีนครินทร DอําเภอเมืองเดิมF หมูที่ 1,1,7,3,7 ตําบลบ*านนา หมูที่ 3,6 ตําบลนําสินธุ E อําเภอกงหรา หมูที่ 1,3,8,9,11 ตําบลคลองเฉลิม หมูที่ 1,1,7,7 หมูที่ 3,7 1 ตําบลคลองทรายขาว และหมูที่ 3,7 ตําบลกงหรา E อําเภอตะโหมด หมูที่ 1,7,6,9,11 ตําบลตะโหมด หมู 7 ตําบลคลองใหญ R อําเภอปาบอน หมูที่ 7 ตําบลทุงนารี หมูที่ 1,6 ตําบลหนองธง 1. จังหวัดตรัง เนื้อที่ประมาณ 139,373 ไร% หรือประมาณ 713 ตารางกิโลเมตร D18 หมูบาน 3 ตําบล 3 อําเภอF E อําเภอนาโยง หมูที่ 1,3,7,3,7 ตําบลช%ง E อําเภอย% นตาขาว หมูที่ 1,7,8 ตําบลนาชุมเห็ด หมูที่ 1,7,6 ตําบลโพรงจระเข* E อําเภอปะเหลียน หมูที่ 1,7,3,10,11 ตําบล ปะเหลียน หมูที่ 3,6 ตําบลลิพัง 3. จังหวัดสตูล เนื้อที่ประมาณ 110,000 ไร%หรือประมาณ 336 ตารางกิโลเมตร D8 หมูบ*าน 6 ตําบล 7 อําเภอF E อําเภอทุงหว*า หมูที่ 7,9 ตําบลทุงหว*า หมูที่ 3 ตําบลปาแก%บ%อหิน E อําเภอละงู หมูที่ 7,10 ตําบลน้ําผุด E กิ่งอําเภอมะนัง หมูที่ 3,6 ตําบลปาลมพัฒนา E อําเภอควน กาหลง หมูที่ 8 ตําบลควนกาหลง Dหมูที่ 3,6 ตําบลควนกาหลงหมูที่ 3 ตําบลทุงนุย อําเภอควนกาหลง เปนที่ที่จะดําเนินการผนวกเพิ่มเติมF 7. จังหวัดสงขลาเนื้อที่ประมาณ 36,976 ไร% หรือประมาณ 91 ตารางกิโลเมตร D3 หมูบ*าน 1 ตําบล 1 อําเภอF E อําเภอรัตภูมิ หมูที่ 8,9 ตําบลท% ชะมวง หมูที่ 3,6,9 ตําบลเขาพระ ลักษณะภูมิประเทศ เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด ตั้งอยูในเทือกเขาบรรทัดซึ่งเปนเทือกเขาที่วางตัวในแนว เหนือEใต* และแบ%งระหว%างภาคใต*ฝKTงตะวันออกและภาคใต*ฝKTงตะวันตก แบ%งเปนจังหวัดพัทลุง และ จังหวัดตรังเปนภูเขาสูงสลับซับซ*อน มีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง ระหว%าง 100 E 1,330 เมตรและความสูงชันอยูระหว%าง 13oE300 ภูเขาบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด นอกจากจะ เปนที่อยูอาศัยของสัตวปาจํานวนมาก และยังเปนแหล%งต*นน้ําทะเลสาบสงขลา ซึ่งอยูทางด*าน ทิศตะวันออกของเทือกเขานี้ ได*แก% คลองนาท%อม คลองหัวมร คลองท%ามะเดื่อ คลองปาบอน คลอง พรุพ*อ และคลองรัตภูมิ ซึ่งคลองเหล%านี้จะเปนที่รวมของลําน้ําเล็กอีกจํานวนหลายสายที่ไหลลงสู ทะเลสาบสงขลา ทางด*านตะวันตก นั้นก็เช%นเดียวกันยังมี ลําน้ําอีกหลายสาย ที่ต*นน้ําเกิดจากภูเขาใน เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด และไหลลงสูทะเลอันดามัน ได*แก% แม%น้ําตรัง แม%น้ําปะเหลียน คลอง ลิพังและคลองละงู สภาพภูมิอากาศ มี 1 ฤดู คือฤดูฝนและฤดูร*อน ช%วงที่อุณหภูมิต่ําสุดคือ เดือนพฤศจิกายนEมกราคม และช%วงที่ อุณหภูมิสูงสุด คือ เดือนมีนาคมEเมษายน ทรัพยากรทางชีวภาพโดยทั่วไป เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด มีสภาพปาที่แตกต%างกัน 1 ลักษณะ คือ ปาดิบชื้นและ ปาเขาหินปูน ซึ่งเปนปาที่ไม%ผลัดใบ ปาดงดิบชื้นเปนปาที่ขึ้นปกคลุมพื้นที่ส%วนใหญ%ของเขตรักษาพันธุ สัตวปา พบตั้งแต%บริเวณลําห*วยขึ้นไปจนถึงยอดเขา มีพรรณไม*ขนาดต%างๆ ขึ้นอยู%อย%างหนาแน%น เรือนยอดปกคลุมมากกว% 80U บริเวณพื้นที่ปาปกคลุมด*วยอินทรียวัตถุ ซึ่งเปนซากของใบไม*กิ่งไม*เปน จํานวนมาก ปาเขาหินปูนเปนปาที่ขึ้นอยูเฉพาะตามภูเขาที่เปนเขาหินปูนเท%านั้น ในเขตรักษาพันธุ 3 สัตวปาเขาบรรทัด พบว%าปาเขาหินปูนบริเวณหน%วยพิทักษปาโตนเตVะ และบริเวณถ้ําเจ็ดคตใกล*หน%วย พิทักษปาคีรีวง สภาพปาเปนปาแคระแกร็น ไม*ที่ขึ้นอยูมีขนาดเล็ก เนื่องจากมีชั้นหน*าดินน*อยมาก ชนิดพรรณไมบริเวณที่ขึ้นถึงนั้นเปนเนินเขาเตี้ยๆ มีชั้นหนาดินค%นขางหนาและติดอยูกับปาดิบชื้น กลุมสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม เช% คางคาวขอบหูขาว ค*างคาวขอบหูดํา ค*างคาวหัวดํา ค*างคาว หน*ายาว ค*างคาวหางโผล% กระรอกหางม*า กระรอกดิน กระเต็น พญากระรอกบินหูแดง หนูขนเสียน หนูหวาย หนูฟาน และหนูฟนขาว กลุมนก จํานวน 183 ชนิด มีนกจํานวนหลายวงศ ที่มีจํานวนชนิดสูง มากเกิน 10 ชนิด วงศกินแมลงมีจํานวน 16 ชนิด วงศนกปรอด 17 ชนิด วงศนกหัวขวานมี 18 ชนิด วงศนกจับแมลง 17 ชนิด วงศนกกินปลามี 11 ชนิดและวงศนกคัดคู 11 ชนิด กลุมสัตวสะเทินน้ํา สะเทินบก มีวงศกบต%างๆ จํานวน 16 ชนิด วงศอึ่งต%างๆ จํานวน 7 ชนิด กลุมสัตวเลื้อยคลาน กลุมเต%า กลุมตะพาบน้ํา มีจํานวน 3 วงศ 9 ชนิด กลุมตั๊กแก กิ้งก%าและจิ้งเหลน มี 7 วงศ 33 ชนิด กลุมงูมี 6 วงศ 18 ชนิด กลุมปลาน้ําจืด รวมทั้งสิ้น 19 ชนิด วงศที่มีจํานวนชนิดที่สูงที่สุด คือ วงศปลารากกล*วย มีจํานวน 6 ชนิด รองลงไปคือ วงศปลาแขยง และวงศปลาช%น ภาพที่ 1 แผนที่แสดงพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด 4 การศึกษาความหลากหลายของพรรณไม 1. วิธีการศึกษา การศึกษาความหลากหลายของพรรณไมในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตว"ป%าเขาบรรทัด ดําเนิน การศึกษาในระดับชนิดพันธุของพรรณไม ใชระยะเวลาในการดําเนินการเป,นเวลา 1 ป. /ตุลาคม 0112 3 กันยายน 01144 โดยมีวิธีการศึกษาดังต6ไปนี้ 1.1 เลือกพื้นที่ศึกษาที่จะใชในการสํารวจความหลากหลายของพรรณไมในบริเวณเขตรักษา พันธุสัตว"$%เขาบรรทัด 1.0 ออกสํารวจและเก็บตัวอย6งพรรณไม 1.2 บันทึกขอมูลภาคสนาม พรอมถ6ยภาพประกอบ ซึ่งชนิดพันธุที่มีขนาดเสนผ6านศูนย"กลาง เกิน 100 เซนติเมตร จะมีการบันทึกพิกัดตําแหน6งตนไม พรอมกับบันทึกชนิด ความโต และความสูง ของพรรณไมชนิดนั้น 1.4 คนควาเอกสารอางอิง เพื่อตรวจสอบรายชื่อพรรณไมที่มีการสํารวจพบ 1.1 สรุปขอมูลการสํารวจในหัวขอดังนี้ คือ ชื่อพื้นเมือง ชื่อวิทยาศาสตร" ชื่อวงศ" วิสัย สถานภาพ ประเภทป% ความสูงจากระดับน้ําทะเล พิกัด ขนาดเสนผ6นศูนยกลาง ขนาดความสูง 1.A รวบรวมภาพตัวอย6างพรรณไม พรอมจัดทําบัญชีรายชื่อพรรณไมที่สํารวจพบในพื้นที่เขต รักษาพันธุสัตว"$%เขาบรรทัด 2. ผลการศึกษา จากการศึกษาความหลากหลายของพรรณไมในเขตรักษาพันธุสัตว"ป%าเขาบรรทัด พบว6า มีพรรณไมในเขตรักษาพันธุสัตว"$%เขาบรรทัดทั้งหมด C7 วงศ" 1E2 สกุล 0AC ชนิด โดยมีการจําแนก พรรณไมออกเป,นกลุมไดทั้งหมด 4 กลุม คือ กลุมเฟGร"น จํานวน 10 ชนิด กลุมพืชเมล็ดเปลือย จํานวน 0 ชนิด กลุมพืชใบเลี้ยงเดี่ยว จํานวน 0E ชนิด และกลุมพืชใบเลี้ยงคู จํานวน 007 ชนิด /ขอมูลดัง ตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อพรรณไมที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตว"ป%าเขาบรรทัด จังหวัดพัทลุง4 และมี ภาพตัวอย6างพรรณไมที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตว"ป%าเขาบรรทัด /ขอมูลดังภาพชุดที่ 1 ตัวอย6าง พรรณไมที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตว"$%เขาบรรทัด4 5 A B C D E F G H I J K L M N O P ภาพชุดที่ 1 ตัวอยางพรรณไมที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด วงศ ZINGIBERACEAE (A-B) A. ปุดใหญ Etlingera littoralis , B. กระทือ Zingiber zerumbet , วงศ ANNONACEAE (C-0) C. กลวยคาง Orophea enterocarpa , 3. ชิงดอกเดียว Goniothalamus macrophyllus , E. บุหรง Dasymaschalon