52005212: สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คําสําคัญ: ฟาทะลายโจร / หมานคร / จากภาพยนตรสูนวนิยาย / จากนวนิยายสูภาพยนตร ศิววิช หงษจินดาเกศ: จากนวนิยายสูภาพยนตร จากภาพยนตรสูนวนิยาย: กรณีศึกษา ภาพยนตรเรื่อง "หมานคร" และ "ฟาทะลายโจร". อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ: รศ.ดร.กฤษณา หงษอุเทน. 151 หนา.

ภาพยนตรเรื่อง “ฟาทะลายโจร” (Tears of the Black Tiger) (พ.ศ.2543) และ “หมา นคร” (Citizen Dog) (พ.ศ.2547) เปนภาพยนตรที่สรางขึ้นในชวงหลังยุควิกฤตทางเศรษฐกิจป พ.ศ. 2540 และมีรูปแบบ เนื้อหา การนําเสนอที่ชัดเจนและแปลกไปกวาภาพยนตรเรื่องอื่นในยุคกอนและ ภาพยนตรรวมยุคเดียวกัน ไมเพียงเทานั้นหอ ที่นาสนใจคือภาพยนตรเรื่องสมุดกล “หมานคร” สรางมาจากบท สำนกั าง ประพันธ ในขณะที่ “ฟาทะลายโจร” ถูกเขียนเปนบทภาพยนตรมาตั้งแตตน และในเวลาตอมาไดถูก นําไปเขียนเปนนวนิยาย โดยนักประพันธผูเขียนนวนิยายเรื่องหมานคร ภาพยนตรทั้งสองเรื่องนี้เปนผลงานที่สรางจากผูกํากับคนเดียวกัน คือ วิศิษฏ ศาสนเที่ยง และผูแตงนวนิยายทั้งสองเรื่องนี้ก็มาจากบุคคลเดียวกันเชนกัน คือ ศิริพรรณ เตชจินดาวงศ ภาพยนตร ทั้งสองเรื่องนี้มีความคลายคลึงกันในหลายแงมุม ทั้งการใชเทคนิคการปรับแตงสีสันใหฉูดฉาดจัดจาน เกินจริงในแบบฉากละครหรือลิเก หรือการสะทอนภาพความประทับใจจากภาพยนตรไทยหลายเรื่อง ในอดีต ในดานเนื้อหา “หมานคร” เปนภาพยนตรที่มีเนื้อหาในเชิงวิพากษวิจารณสังคมปจจุบันใน ลักษณะสอเสียดและขบขัน แต “ฟาทะลายโจร” สะทอนความประทับใจในรูปแบบการสราง ภาพยนตรไทยในอดีตของผูกํากับ ซึ่งความประทับใจนี้สงผานไปถึงผูประพันธนวนิยายเรื่องนี้ดวย เชนกัน ความโดดเดนในการออกแบบภาพ ฉาก การแสดง การนําเสนอเนื้อหาในประเด็นที่แตกตางกัน ของสังคมไทยในอดีตและปจจุบัน รวมทั้งรูปแบบการสรางภาพยนตรที่เปนเอกลักษณของผูกํากับของ ภาพยนตรทั้งสองเรื่องนี้ นําไปสูความสนใจในการศึกษาความเชื่อมโยงระหวางภาพยนตรและนว นิยายทั้งสองเรื่องนี้ ดวยเหตุนี้ขาพเจาจึงเลือกศึกษาวิเคราะหการแปลงบทนวนิยายไปสูภาพยนตรจาก เรื่อง “หมานคร” และจากบทภาพยนตรไปสูนวนิยายใน “ฟาทะลายโจร” เพื่อชี้ใหเห็นประเด็นสําคัญ ของความแตกตางระหวางสื่อภาพยนตรและนวนิยาย รวมถึงอิทธิพลของผูกํากับภาพยนตรและผู แตงนวนิยายวาสงผลอยางไรบางตอการสรางสรรคผลงาน

ภาควิชาทฤษฎีศิลป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือชื่อนักศึกษา ...... ปการศึกษา 2556 ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ......

ง 52005212: MAJOR: ART THEORY KEY WORD: TEARS OF THE BLACK TIGER / CITIZEN DOG / FROM FILM TO NOVEL / FROM NOVEL TO FILM SIVICH HONGJINDAKES: FROM NOVEL TO FILM - FROM FILM TO NOVEL: LOOK IN "CITIZEN DOG" AND "TEARS OF THE BLACK TIGER". THESIS ADVISOR: ASSOC.PROF.KRISANA HOUNGUTAIN,Ph.D. 151 pp.

Tears of the Black Tiger (2000) and Citizen Dog (2004), Both films was created after the economic crisis in 1997. The films have style, content, presentation and stranger than the earlier film and in the same era. Of interest หis theอ movieสม "Citizenุดกล Dog" made up from novel, while "Tears สำนกั าง of the Black Tiger" was originally written as a . And later was brought in to write a novel. By the author who wrote the novel "Citizen Dog". Both films are created by the same director , and author of two novels, this story came from the same person, Siripun Taechachiadawong. In addition, both films are similar in many aspects. Both in terms of tuning techniques colors similars to Thai traditional dramatic performance. Or a visual impression of many Thai films in the past. In terms of content, "Citizen Dog" is a movie with the content of critical current society in a sneaky and comedy, but "Tears of the Black Tiger" refers to impress in old style of Thai movies from director. This impression, which is passed to the author of the novel as well. Prominent in visual design, production design, acting and presentation in different aspects of social in the past and present of both films. Including the creation of a unique film director . Led to an interest in studying the links between film and novel. For this reason I chose to study media conversion between novels to films from "Citizen Dog" and the screenplay into a novel from " Tears of the Black Tiger ", to point out the key points of difference between films and novels. Including the influence of film director and author of the novel as a result of how the creative process.

Department of Art Theory Graduate School, Silpakorn University Student's signature ...... Academic Year 2013 Thesis Advisor's signature ......

จ กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เพราะไดรับความอนุเคราะหจากหลายทาน ตอง ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.กฤษณา หงษอุเทน อาจารยที่ปรึกษาซึ่งกรุณาใหคําแนะนําที่เปน ประโยชนอยางยิ่ง รวมไปถึงการใหความชวยเหลือ เคี่ยวเข็ญ และตรวจแกไขใหวิทยานิพนธฉบับนี้มี ความสมบูรณมากที่สุด ขอขอบพระคุณอาจารยมาณพ อิศรเดช ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ คุณ วิศิษฏ ศาสนเที่ยง และ คุณศิริพรรณ เตชจินดาวงศ ผูกํากับภาพยนตรและผูแตงนวนิยายเรื่อง “ฟาทะลาย โจร” และ “หมานคร” สําหรับคําแนะนําและขอคิดเห็นที่เปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับวิทยานิพนธฉบับกั หอสมุดกลา นี้ ตลอดจนการใหความรวมมือดานขอมูลและการสัมภาษณเปนอยางดี สำน ง ขอขอบพระคุณอาจารยทุกทานในภาควิชาทฤษฏีศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรมและ ภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ใหความรู ความเมตตา และสั่งสอนประสบการณอันมีคายิ่ง ขอบพระคุณผูสรางภาพยนตรทุกเรื่อง เจาของหนังสือ วารสาร บทความ เอกสารทางวิชาการ เว็บไซต และวิทยานิพนธทุกเลม ที่เปนแหลงคนควา จนทําใหขอมูลในวิทยานิพนธฉบับนี้สมบูรณ ขอขอบพระคุณบิดา มารดา และพี่ชาย ที่เปนกําลังใจ และใหความชวยเหลือตลอดมา อาจารยหลายทานที่เคยอบรมสั่งสอนและแนะนําความรูอันมีคา และขอขอบคุณเพื่อนๆ พี่ๆ ที่ศึกษา รวมกันที่ภาควิชาทฤษฏีศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร สําหรับ ความชวยเหลือเปนอยางดีตลอดมาตั้งแตเริ่มศึกษาจนกระทั่งทําวิทยานิพนธ สุดทายนี้ขอขอบคุณภาพยนตรคุณภาพทุกเรื่องสําหรับแรงบันดาลใจที่ดีเสมอ