รายงานฉบับสมบูรณ์ Final Report ตุลาคม 2557 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

สารบัญ หน้า บทที่ 1 สรุปผลการด าเนินงานโครงการ 1-1 บทที่ 2 ความก้าวหน้าการจัดท าฐานข้อมูล 2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ 2.1.1 การส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกไทย 2-1 2.1.2 ข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกสากล 2-19 2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ 2.2.1 ข้อมูลการตลาด 2-20 - สถิติน าเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกไทย (ตารางและกราฟ) - รายชื่อผู้น าเข้าส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของไทย ปี 2556 - จัดกลุ่ม Harmonize code เทียบกับ ISIC (4 Digit) 2.2.2 ข้อมูลราคา 2-25 2.2.3 ข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก 2-25 2.2.4 มาตรการสนับสนุนของภาครัฐ / กฎระเบียบ 2-56 2.2.5 ข้อมูลกรอบการเจรจา FTA ของไทย ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก 2-57 2.2.6 ข้อมูลอุตสาหกรรมพลาสติกในอาเซียน 2-57 2.2.7 ฐานข้อมูลอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ 2-73 2.2.8 ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการทดสอบ 2-85 - ฐานข้อมูลมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์พลาสติก - ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการทดสอบรับรองมาตรฐาน - ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญด้านพลาสติก 2.2.9 ข้อมูลรายชื่องานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก 2-87 2.2.10 พิกัดภาษีขาเข้าของผลิตภัณฑ์พลาสติก 2-88 บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ 3.1 PIU’s E-News รายสัปดาห์ 3-1 3.2 รายงานสถานการณ์ราคาปิโตรเคมีรายสัปดาห์ 3-3 3.3 บทความรายเดือน Plastics Intelligence Monthly 3-5 3.4 รายงานวิจัยเชิงลึกที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก 3-7

สารบัญ -1

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 4 การเผยแพร่/การประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ 4.1 จัดสัมมนาเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ 4-1 4.2 การพื้นที่โฆษณาและประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้กับผู้ประกอบการ 4-2 4.3 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่าน Social Networks 4-4 4.4 กระดานสนทนา PIU’s Webboard 4-5 4.5 PIU’s Blog 4-6 4.6 E-Learning กระบวนการผลิต คุณสมบัติเม็ดพลาสติก 4-8 4.7 จ านวนสมาชิกเว็บไซต์และผู้ใช้งาน 4-9 บทที่ 5 การเตือนภัย/การคาดการณ์ 5.1 ระบบเตือนภัยอุตสาหกรรม 5-1 5.2 รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรม 5-10 บทที่ 6 การประเมินความพึงพอใจของการใช้บริการ 6.1 ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสรุปผลการใช้บริการ 6-1 และความสามารถในการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน 6.2 แลก Links กับ IU อื่นๆ และผู้ประกอบการ 6-9

สารบัญ -2

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 1 สรุปผลการด าเนินงานโครงการ

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก มีระยะเวลาในการด าเนินโครงการ ทั้งหมด 9 เดือน ซึ่งเริ่มด าเนินการตั้งแต่เดือนมกราคม 2557 ไปจนถึงถึงเดือนตุลาคม 2557 โดยมีวัตถุประสงค์ ในการจัดท าโครงการเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการอุตสาหกรรมพลาสติกให้มีแหล่งข้อมูลข่าวสาร บทวิเคราะห์ สถานการณ์อุตสาหกรรม ข้อมูลสถิติการค้า ปริมาณการน าเข้าส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของไทย และเพื่อน า ข้อมูลเหล่านี้ไปช่วยในการวิเคราะห์ต่อยอดในการด าเนินธุรกิจ หรือการใช้พื้นที่บนเว็บไซต์ในการ ประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการ รวมถึงช่วยให้ภาครัฐได้มีแหล่งข้อมูลและทราบถึงลักษณะอุตสาหกรรม การค้าขายของผู้ประกอบการไทย ทางที่ปรึกษาจึงได้มีการจัดท าแผนการด าเนินงานโครงการ เพื่อเป็นแนวทาง ในการด าเนินโครงการให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ในการท าจัดท ารายงานครั้งนี้เป็นรายงานฉบับสมบูรณ์ ซึ่งที่ปรึกษาได้รวบรวมและสรุปผลการ ด าเนินงานตามหัวข้อต่างๆในตลอดระยะเวลาการด าเนินงานทั้ง 9 เดือน ดังนี้

บทที่ 1 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ -1

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตารางที่ 1-1 สรุปผลการด าเนินงาน (Work Plan) โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ระยะเวลา (เดือน) กิจกรรม รวม/หน่วย หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1. การวางแผนการดาเนินงาน 1.1 ศึกษาข้อมูล วางแผน เตรียมการด าเนินงาน

2.การจัดท าฐานข้อมูล 2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ 2.1.1ส ารวจผู้ประกอบการพลาสติกไทย ส ารวจอย่างน้อย 3,000 ราย

o จ านวนผู้ประกอบการแบ่งตามขนาด SML o สัดส่วนของผู้ถือหุ้น (ไทย % ต่างชาติ %) o สถานที่ตั้ง/จังหวัด แบ่งเป็นนิคมอุตสาหกรรม จังหวัด ภาค o ประเภทผลิตภัณฑ์ (ส ารวจทั้งหมด 3850 รายชื่อ o กระบวนการผลิต ส ารวจได้ 3,076 ราย) o ข้อมูลก าลังการผลิต o ปริมาณการผลิต o จ านวนแรงงาน 2.1..2 ส ารวจผู้ประกอบการพลาสติกชีวภาพไทย (ส ารวจได้ 47 ราย) 2.1.3 ข้อมูลผู้ประกอบพลาสติกสากล 5 บริษัท บริษัทชั้นน าของโลก 1 1 3 5 บริษัท (จัดท าแล้ว) 2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ 2.2.1 ข้อมูลการตลาด - สถิติน าเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกไทย (ตารางและกราฟ) 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 เดือน เดือนละ 1 ครั้ง 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 เดือน (จัดท าแล้ว)

บทที่ 2 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ -2

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตารางที่ 1-1 สรุปผลการด าเนินงาน (Work Plan) โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ระยะเวลา (เดือน) กิจกรรม รวม/หน่วย หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 - รายชื่อผู้น าเข้าส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของไทย ปี 2556 รายงานความคืบหน้า (จัดท าแล้ว) - จัดกลุ่ม Harmonize code เทียบกับ ISIC (4 Digit) รายงานความคืบหน้า (ISIC รหัส 2520 เป็น 2220) - สถิติน าเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของประเทศที่ส าคัญ 1 ครั้ง รวบรวมข้อมูลต่อเนื่องถึงข้อมูลล่าสุด (ตารางและกราฟ) รายเดือน (จัดท าแล้ว) 2.2.2 ข้อมูลราคา - ราคาเม็ดพลาสติกในประเทศ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 เดือน เดือนละ 1 ครั้ง 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 เดือน (จัดท าแล้ว ข้อมูลล่าสุด กันยายน 2557) - ราคาเม็ดพลาสติกต่างประเทศ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 เดือน เดือนละ 1 ครั้ง 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 เดือน (จัดท าแล้ว ข้อมูลล่าสุด กันยายน 2557) 2.2.3 ข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก - ข่าวสารพลาสติกด้านเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 20 20 20 20 20 20 20 20 20 180 ข่าว อย่างน้อยเดือนละ 20 ข่าว 23 27 20 28 30 30 46 44 37 285 ข่าว (จัดท าแล้ว) - ข่าวเศรษฐกิจสถานการณ์อุตสาหกรรม 20 20 20 20 20 20 20 20 20 180 ข่าว อย่างน้อยเดือนละ 20 ข่าว 32 37 29 33 40 45 59 48 46 369 ข่าว (จัดท าแล้ว) - ข่าวกฎหมาย นโยบาย กฎระเบียบต่างๆ 20 20 20 20 20 20 20 20 20 180 ข่าว อย่างน้อยเดือนละ 20 ข่าว 23 20 20 20 25 25 27 44 28 232 ข่าว (จัดท าแล้ว) 2.2.4 มาตรการสนับสนุนของภาครัฐ / กฎระเบียบ - นโยบายยุทธศาสตร์ แผนการด าเนินงานที่เกี่ยวข้อง Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว) - มาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTB) Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว) - ข้อมูลส่งเสริมการลงทุน Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว) 2.2.5 ข้อมูลกรอบการเจรจา FTA ของไทย ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว)

บทที่ 2 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ -3

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตารางที่ 1-1 สรุปผลการด าเนินงาน (Work Plan) โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ระยะเวลา (เดือน) กิจกรรม รวม/หน่วย หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 2.2.6 ข้อมูลอุตสาหกรรมพลาสติกในอาเซียน - ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของแต่ละประเทศในอาเซียน 10 ประเทศ Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว) - ข้อมูลอุตสาหกรรมพลาสติกในอาเซียน 10 ประเทศ Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว) - ข้อมูลการค้าพลาสติกในอาเซียน 10 ประเทศ (จัดท าแล้ว ข้อมูลล่าสุดกรกฎาคม 2557) - ข่าวสารต่างๆ ที่น่าสนใจและข่าวเศรษฐกิจในอาเซียน 40 40 40 40 40 40 40 40 40 360 ข่าว อย่างน้อยเดือนละ 40 ข่าว 43 41 40 40 40 40 40 40 40 364 ข่าว (จัดท าแล้ว) 2.2.7 ฐานข้อมูลอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ - ข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกชีวภาพของไทย Update ให้ทันสมัย (ส ารวจได้ 47 ราย) - ข่าวสารด้านพลาสติกชีวภาพ 20 20 20 20 20 20 20 20 20 180 ข่าว อย่างน้อยเดือนละ 20 ข่าว 24 21 20 20 21 21 22 20 20 189 ข่าว (จัดท าแล้ว) - Bioplastics E-News 2 2 2 2 2 2 2 2 2 18 ฉบับ เดือนละ 2 ฉบับ 2 2 2 2 2 2 2 2 2 18 ฉบับ (จัดท าแล้ว) 2.2.8 ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการทดสอบ - ฐานข้อมูลมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์พลาสติก 1 ฐาน Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว) - ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการทดสอบรับรองมาตรฐาน 1 ฐาน Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว) - ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญด้านพลาสติก 1 ฐาน Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว) 2.2.9 ข้อมูลรายชื่องานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก 5 เรื่อง ชื่องานวิจัย ผู้วิจัย หน่วยงาน (จัดท าแล้ว) 2 1 1 2 6 เรื่อง (จัดท าแล้ว) 2.2.10 พิกัดภาษีขาเข้าของผลิตภัณฑ์พลาสติก Update ให้ทันสมัย (จัดท าแล้ว) 3.รายงานสถานการณ์ 3.1 PIU’s E-News รายสัปดาห์ 4 4 4 4 4 4 4 4 4 36 ฉบับ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 4 4 4 4 4 4 4 4 4 36 ฉบับ (จัดท าแล้ว)

บทที่ 2 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ -4

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตารางที่ 1-1 สรุปผลการด าเนินงาน (Work Plan) โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ระยะเวลา (เดือน) กิจกรรม รวม/หน่วย หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 3.2 รายงานสถานการณ์ราคาปิโตรเคมีรายสัปดาห์ 4 4 4 4 4 4 4 4 4 36 ฉบับ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 4 4 4 4 4 4 4 4 4 36 ฉบับ (จัดท าแล้ว) 3.3 บทความรายเดือน Plastics Intelligence Monthly 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 ฉบับ เดือนละ 1 ครั้ง 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 ฉบับ (จัดท าแล้ว) 3.4 รายงานวิจัยเชิงลึกที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก 1 ฉบับ 1 ฉบับ (จัดท าแล้ว) 4.การเผยแพร่/การประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ 4.1 จัดสัมมนาเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ 1 ครั้ง จัดเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2557 หัวข้อ “สถานการณ์และแนวโน้มอุตสาหกรรม พลาสติกไทย” 4.2 พื้นที่โฆษณาและประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้กับผู้ประกอบการ 10 ราย เพิ่มเติมอย่างน้อย 10 ราย 2 1 1 1 2 2 1 1 1 12 ราย (จัดท าแล้ว) 4.3 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่าน Social Networks 60 60 60 60 60 60 60 60 60 540 เรื่อง อย่างน้อยเดือนละ 60 เรื่อง 60 60 60 60 60 60 60 60 60 540 เรื่อง (จัดท าแล้ว) 4.4 กระดานสนทนา PIU’s Webboard 5 กระทู้ อย่างน้อย 5 กระทู้ถาม/ตอบ (ครบ) 4.5 PIU’s Blog 2 2 2 2 2 2 2 2 2 18 เรื่อง เดือนละ 2 เรื่อง 2 2 2 2 2 2 2 2 2 18 เรื่อง (จัดท าแล้ว) 4.6 E-Learning กระบวนการผลิต คุณสมบัติเม็ดพลาสติก 10 เรื่อง 7 1 1 1 10 เรื่อง (จัดท าแล้ว) 5.การเตือนภัย/การคาดการณ์ 5.1 ระบบเตือนภัยอุตสาหกรรม 1 ระบบ พัฒนาระบบเตือนภัย (จัดท าแล้ว) 5.2 รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรม 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 ฉบับ เดือนละ 1 ฉบับ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 ฉบับ (จัดท าแล้ว) 6. การประเมินความพึงพอใจของการใช้บริการ

บทที่ 2 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ -5

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตารางที่ 1-1 สรุปผลการด าเนินงาน (Work Plan) โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ระยะเวลา (เดือน) กิจกรรม รวม/หน่วย หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 6.1 ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสรุปผลการใช้บริการและความสามารถในการ 2 ครั้ง (จัดท าแล้ว) ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน 6.2 แลก Links กับIU อื่นๆ และผู้ประกอบการ 10 ราย (จัดท าแล้ว) 7. การจัดส่งรายงานและการเผยแพร่ (รูปเล่มและ PDF E-book) 7.1 รายงานการศึกษาขั้นต้น 10 ชุด 7.2 รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 10 ชุด 7.3 รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 10 ชุด 7.4 รายงานฉบับสมบูรณ์ 50 ชุด o สรุปผลการด าเนิน 50 ชุด o บทสรุปผู้บริหาร 50 ชุด o ซีดีบันทึก 50 ชุด

หมายเหตุ: 00000 ด าเนินการแล้ว 00000 แผนการด าเนินงาน

บทที่ 2 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ -6

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล

2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ 2.1.1 การส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกและผู้ประกอบการพลาสติกชีวภาพของไทย การส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกของประเทศไทยภายใต้โครงการศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก อุตสาหกรรมพลาสติกในปี 2557 ได้ท าการส ารวจเพื่อรวบรวมข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกในปี 2556 ที่ผ่านมา โดยมีวัตถุประสงค์ของการส ารวจข้อมูลดังนี้ - เพื่อทราบถึงสถานภาพของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทย ณ ปี 2556 ว่า ผู้ประกอบการยังคงด าเนินกิจการตามปกติ มีการปิดกิจการหรือมีการเปลี่ยนแปลงกิจการ หรือไม่ - เพื่อรวบรวมข้อมูลสถิติของผู้ประกอบการพลาสติกแต่ละรายเพื่อน ามาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ภาพรวมของอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทย - เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์และช่วยสร้างเครือข่ายระหว่างส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม สถาบันพลาสติกและผู้ประกอบการพลาสติกให้ดียิ่งขึ้น - เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการรู้จักเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit มากยิ่งขึ้น โดยรายชื่อผู้ประกอบการพลาสติกที่ใช้ท าการส ารวจข้อมูลในโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูล เชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติกในปี 2557 มีรายละเอียดที่มาของข้อมูลรายชื่อผู้ประกอบการดังนี้ ตารางที่ 2-1 แหล่งข้อมูลผู้ประกอบการที่ใช้ท าการส ารวจในโครงการปี 2557 แหล่งที่มา จ านวน (ราย)

1.รายชื่อผู้ประกอบการจากเว็บไซต์ 3,002 Plastic Intelligence Unit 2.รายชื่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมพลาสติกที่ ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการใหม่จากกรม โรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมใน 224 ระหว่างเดือนพฤษภาคม 2556 ถึงเดือนมีนาคม 2557 4. รายชื่อผู้ประกอบการที่ยังไม่สามารถติดต่อได้จาก 624 การส ารวจในปี 2556 รวม 3,846

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -1

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 2-1 ภาพรวมข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกที่ใช้ด าเนินการส ารวจข้อมูล

ท าการ าร จทั ิ น 3,850 รา

ฐานข้อมูล ดิม จดท บี น ม ิด อ ม ด้ 3,002 รา 224 รา 624 รา รา ่อ ู้ปร กอบการจาก รา ่อ ู้ปร กอบการ ( ม ด 53) รา ่อ ู้ปร กอบที่ ั ม ามาร ฐานข้อมูล น บ ที่ ด้รับอ า ้ปร กอบกิจการ ิด อ ่อขอ าร จข้อมูล ด้ นการ Plastic Intelligence Unit ม จากกรม ร าน ร า ด อน าร จ นป ที่ านมา มิ นา น 2556 ด อน ภา ม 2557

2.1.1.1 กระบวนการส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติก การส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกเริ่มต้นจากการรวบรวมรายชื่อผู้ประกอบการจาก แหล่งต่างๆ ซึ่งมีการท าควบคู่ไปกับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านเวปไซต์ Plastic Intelligence Unit เพื่อให้ผู้ประกอบการทราบล่วงหน้าก่อนท าการส ารวจ และได้เริ่มท าการส ารวจข้อมูลในช่วง เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกรกฎาคม 2557 โดยมีรูปแบบวิธีการส ารวจดังนี้ - การส ารวจข้อมูลทางโทรศัพท์ - การส ารวจข้อมูลทางโทรสาร - การส ารวจข้อมูลทาง Email - การส ารวจข้อมูลผ่านแบบสองถามเว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit ตารางที่ 2-2 ประเภทข้อมูลที่จัดเก็บ ประเภทข้อมูล หัวข้อที่จัดเก็บ 1. ข้อมูลทั่วไป - ชื่อกิจการ - เว็บไซต์ - ที่อยู่และที่ตั้งโรงงาน - ปีที่ก่อตั้ง - เบอร์โทรศัพท์ - ทุนจดทะเบียน - ชื่อผู้ติดต่อ - โครงสร้างผู้ถือหุ้น 2. ข้อมูลการผลิต - ก าลังการผลิต - แม่พิมพ์ที่ใช้ - ปริมาณการผลิต - ประเภทของเม็ดพลาสติกที่ใช้ - จ านวนแรงงาน 3. ข้อมูลการจ าหน่าย - ยอดขายสุทธิ - การจัดจ าหน่ายและการส่งออก 4. ข้อมูลผลิตภัณฑ์ - ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต - กระบวนการผลิตที่ใช้ หรือผลิตภัณฑ์ที่จัดจ าหน่าย

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -2

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 2-2 แบบสอบถามที่ใช้ในการส ารวจข้อมูล

ตารางที่ 2-3 แผนการด าเนินการส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการในปี 2557 Item / month 1 2 3 4 5 6 7 8 9 รา าน นการด า นิน าน ร บร มรา ่อ ู้ปร กอบการ จัดท า บบ อบ าม ปร า ัม ัน ด า นินการ ล้ ้ ู้ปร กอบการ ด้ทราบล น้า าร จข้อมูล รา าน ล าร จข้อมูล ู้ปร กอบการ นอ า กรรมที่ กี่ ข้อ จัด ก บข้อมูล บการ ินขอ ู้ปร กอบการ ร จ อบ าม ูก ้อ ร้อม ี ข้อมูล ข้าร บบ รา าน ร ป ลการ าร จข้อมูล ู้ ลิ ลิ ภั ลา ิก ล ู้ปร กอบการ ลา ิก ี ภา

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -3

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 2.1.1.2 ผลการส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติก (ข้อมูลปี 2556) การส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกเป็นการส ารวจด้วยวิธีการใช้การตอบ แบบสอบถามซึ่งเป็นการตอบข้อมูลตามความสมัครใจ ผู้ตอบหรือผู้ประกอบการสามารถเลือกตอบ แบบสอบถามในบางหัวข้อหรือเลือกไม่ตอบในบางหัวข้อของแบบสอบถามก็ได้ ดังนั้นข้อมูลในแต่ละ หัวข้อค าถามอาจมีจ านวนผู้ประกอบการที่ตอบแบบสอบถามแตกต่างกันออกไป ซึ่งข้อมูลแต่ละ หัวข้อจะมีการระบุจ านวนผู้ประกอบการที่ตอบค าถามไว้เพื่อเหตุผลทางสถิติ ซึ่งผลการส ารวจข้อมูล สามารถสรุปได้ดังนี้ รูปที่ 2-3 ภาพรวมการส ารวจผู้ประกอบการ ู้ปร กอบการจากฐานข้อมูล PIU ล ู้ปร กอบการที่จดท บี น ม ร า ป ร ม รา ู้ ลิ ลิ ภั ลา ิก าร จข้อมูล รา . –

ิด อ ม ด้ 47 รา รา ู้ปร กอบการอ ่น รา ปลี่ นกิจการ ปร ภท ู้ปร กอบการ จ าน น รา ผู้ประกอบการรีไซเคิล 198 ป ดกิจการ ผู้ประกอบชิ้นส่วน 141 รา ตัวแทนจ าหน่ายผลิตภัณฑ์พลาสติก 131 าร จ ด้ ผู้ผลิตเม็ดคอมพาวด์และมาสเตอร์แบทช์ 62 ตัวแทนจ าหน่ายเม็ดพลาสติกและสารเติมแต่ง 37 รา ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ไ เบอร์กลาส 27 ตัวแทนจ าหน่ายเครื่องจักร 19 ผู้ผลิตแม่พิมพ์ 19 ผู้ผลิตเครื่องจักร 14

หมายเหตุ: 1) ข้อมูลการส ารวจผู้ประกอบการพลาสติก ณ เดือนสิงหาคม 2557 2) ข้อมูลที่ส ารวจได้นับรวมผู้ประกอบการที่ผลิตผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ ณ ปัจจุบันและเคยทาการผลิตในอดีต 3) ที่มา เว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit http://plastic.oie.go.th

จากการส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกจากรายชื่อทั้งหมด 3,850 ราย ดังรูปที่ 2-3 สามารถท าการส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมพลาสติกได้รวมทั้งหมด 3,216 ราย คิด เป็นร้อยละ 83.5 และมีรายชื่อผู้ประกอบการที่ไม่สามารถท าการติดต่อเพื่อขอส ารวจข้อมูลได้เป็น จ านวน 634 ราย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 16.5 ซึ่งในจ านวนของผู้ประกอบการที่ส ารวจได้ยังพบว่ามีผู้ประกอบการที่ยังด าเนินกิจการอยู่ ทั้งสิ้น 3,076 ราย ผู้ประกอบกิจการที่ปิดกิจการไปแล้ว 83 ราย และผู้ประกอบกิจการที่เปลี่ยนไป ประกอบกิจการประเภทอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก 57 ราย

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -4

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ ในจ านวนผู้ประกอบการที่ส ารวจได้ ทั้งหมด 3,076 ราย จากข้อมูลจากแบบสอบถาม พบว่ามีผู้ประกอบการจ านวน 47 รายที่ประกอบกิจการผลิตสินค้าจากพลาสติกชีวภาพหรือเป็น ตัวแทนจ าหน่ายผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ โดยแบ่งเป็นผู้ผลิตสินค้าหรือเคยทดลองท าการผลิต สินค้าจากพลาสติกชีวภาพ 44 ราย และตัวแทนจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากพลาสติกชีวภาพและ สารเติมแต่งชีวภาพ 3 ราย จากข้อมูลผู้ประกอบการที่ได้จากการส ารวจสามารถแบ่งประเภทของผู้ประกอบการตาม สักษณะของการประกอบกิจการได้ดังนี้ ตารางที่ 2-4 จ านวนผู้ประกอบการแบ่งตามประเภท ล าดับ ประเภท จ านวน สัดส่วน (ร้อยละ) 1 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก 2,428 ราย 78.93 2 ผู้ประกอบการรีไซเคิล 198 ราย 6.44 3 ผู้ประกอบชิ้นส่วน (Fabricator) 141 ราย 4.58 4 ตัวแทนจ าหน่ายผลิตภัณฑ์พลาสติก 131 ราย 4.26 5 ผู้ผลิตเม็ดคอมพาวด์และมาสเตอร์แบทช์ 62 ราย 2.02 6 ตัวแทนจ าหน่ายเม็ดพลาสติกและสารเติมแต่ง 37 ราย 1.20 7 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ไ เบอร์กลาส 27 ราย 0.88 8 ตัวแทนจ าหน่ายเครื่องจักร 19 ราย 0.62 9 ผู้ผลิตแม่พิมพ์ 19 ราย 0.62 10 ผู้ผลิตเครื่องจักร 14 ราย 0.46

รูปที่ 2-4 โครงสร้างอุตสาหกรรมพลาสติกไทย Polymer Additive Supplier Machine Compounder Mould & Die Trader / Agent • Agriculture & Fishery • Apparel & Accessory Converter • Automotive • Construction • Electrical & Electronic Semi-Finished Product • Footwear • Furniture End-User • Houseware • Machinery

Finished Product Finished • Medical Consumer • Packaging • Stationery & Office goods • Toy & Sport

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -5

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 2.1.1.3 ขนาดกิจการของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก ตามค าจ ากัดความเรื่องขนาดของวิสาหกิจจากส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม (สสว.) หากวัดจากข้อมูลการจ้างงานของผู้ประกอบการที่ได้จากการส ารวจข้อมูล ดังรูปที่ 2-5 พบว่าส่วนใหญ่ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกของประเทศไทย จัดเป็นผู้ผลิตที่มีขนาดธุรกิจจัดอยู่ในเล็กและ ขนาดขนาดกลาง(SMEs) มากที่สุด รวมกันคิดเป็นสัดส่วนถึงกว่าร้อยละ 85 รูปที่ 2-5 ขนาดกิจการของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก Business Size

labor Business Size ัด น ู้ ลิ ลิ ภั ลา ิก X ≤ Small จ า นก ามจ าน นการจ้า าน SMEs Large < X ≤ Medium 14% > 200 Large SMEs 85% Small 55% ก าร้อ ล ขอ ู้ปร กอบการ Medium ลา ิก ท ป น SMEs 31%

หมายเหตุ: 1) แบ่งตามค าจากัดความเรื่องขนาดของวิสาหกิจของส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) 2) จากจ านวนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ให้ข้อมูลการจ้างงาน 1,875 บริษัท 3) ข้อมูลการส ารวจผู้ประกอบการพลาสติก ณ เดือนสิงหาคม 2557

2.1.1.4 ภาพรวมของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกปี 2556 จากการศึกษาข้อมูลที่ปรึกษาคาดการณ์ว่าในปี 2556 มีจ านวนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ ประกอบกิจการในประเทศไทยกระจายอยู่ทั่วประเทศไม่น้อยกว่า 3,000 ราย และคาดว่ามีการจ้างงาน รวมในอุตสาหกรรมไม่ต่ ากว่า 3.8 แสนราย ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคกลาง และภาคตะวันออก และกว่าร้อยละ 80 ของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกเป็นผู้ประกอบการขนาด SME มี การใช้เม็ดพลาสติกในประเทศรวมทั้งสิ้น 4.7 ล้านตัน และจากรายงานของส านักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมพบว่าดัชนีผลผลิตของอุตสาหกรรมพลาสติกไทยในปี 2556 มีการขยายตัวร้อยละ 1.9 โดย อุตสาหกรรมพลาสติกมีมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกตามพิกัดศุลกากร 3916-3926 เท่ากับ 109,040 ล้านบาท โดยมูลค่าการน าเข้าผลิตภัณฑ์พลาสติกเท่ากับ 113,422 ล้านบาท

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -6

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 2-6 สถานะของอุตสาหกรรมพลาสติกไทยปี 2556 OIE’s Plastics Industry MPI Increased 1.9% from last year

Plastics Products Export 109,040 million Baht (3,549 million US$)

Plastics Products Import Thai Plastics Resin 113,422 million Baht(3,695 million US$) Conversion Industry Status Polymer Consumptions 4.7 million ton/year

More than 380,000 people employed More than 3,000 Converters 80% is SMEs Mostly in Bangkok and its vicinity

หมายเหตุ: มูลค่านาเข้า -ส่งออกนับเฉพาะสินค้าพลาสติกรหัสฮาโมไนซ์ 3916-3926

ตารางที่ 2-5 ภาพรวมของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกปี 2556 ที่ได้จากการส ารวจข้อมูล ล าดับ รายการ จ านวน จ านวนข้อมูล (ราย) 1 จ านวนแรงงานในสายการผลิต (คน) 234,688 2,379 2 จ านวนแรงงานส่วนอื่นๆ (คน) 56,061 2,233 3 ก าลังการผลิต (ตัน/ปี) 4,482,570 2,372 4 ปริมาณการผลิต (ตัน/ปี) 4,192,680 2,372 5 ยอดขายรวม (ล้านบาท) 226,230 1,021 6 ยอดขายเฉลี่ยต่อ 1 บริษัท (ล้านบาท) 221 1,021 7 อัตราการใช้ก าลังการผลิต (%) 93.53 2,372 8 เงินทุนจดทะเบียนเฉลี่ยต่อ 1 บริษัท (ล้านบาท) 68 2,328 9 ปริมาณเม็ดพลาสติกที่ใช้ทั้งหมด (ตัน/เดือน) 344,130 2,368 หมายเหตุ: 1) ข้อมูลจากการส ารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ตอบแบบสอบถาม จ านวน 2,428 ราย ณ เดือน สิงหาคม 2557 2) ที่มา เว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit http://plastic.oie.go.th

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -7

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 2.1.1.5 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกตามภูมิภาค จากการส ารวจข้อมูลผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกโดยจ าแนกตามภูมิภาคสามารถสรุปได้ดังตารางที่ 2-6 และรูปที่ 2-7 จากข้อมูลพบว่า ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกส่วนใหญ่มีที่ตั้งกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่ภาค กลางถึง 2,049 รายคิดเป็นกว่าร้อยละ 84 ของจ านวนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกทั้งหมด รองลงมาได้แก่ พื้นที่ภาคตะวันออกมีจ านวนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกตั้งอยู่ในพื้นที่ 226 ราย คิดเป็นร้อยละ 9 และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีจ านวนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกตั้งอยู่ในพื้นที่ 63 ราย คิดเป็นร้อยละ 3 ในส่วน ของจ านวนแรงงานในอุตสาหกรรมพลาสติก ข้อมูลจากการส ารวจเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับจ านวน ผู้ประกอบการ โดยภาคกลางมีการจ้างงานมากที่สุดถึงกว่า 2.2 แสนคนคิดเป็นอัตราส่วนร้อยละ 77.55 รองลงมาได้แก่ภาคตะวันออกคิดเป็นร้อยละ 17 และ ซึ่งมีการจ้างงาน 48,614 คน และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีการจ้างงานในอุตสาหกรรมพลาสติก 6,617 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3 ตามล าดับ ส าหรับภูมิภาคที่มีปริมาณการใช้เม็ดพลาสติกต่อเดือนมากที่สุดได้แก่ภาคกลางเช่นกัน ซึ่งมีปริมาณการใช้ เม็ดพลาสติกรวมกันกว่าร้อยละ 83 หรือประมาณ 2.8 แสนตันต่อเดือน รองลงมาคือภาคตะวันออกที่มี ปริมาณการใช้เม็ดพลาสติกประมาณ 42,000 ตันต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ 12 และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือที่มีปริมาณการใช้เม็ดพลาสติกต่อเดือนเท่ากับ 7,786 ตันคิดเป็นร้อยละ 2.3 ของ ปริมาณการใช้เม็ดพลาสติกในแต่ละเดือนของทั้งประเทศ ตารางที่ 2-6 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกตามภูมิภาค จ านวน ปริมาณการใช้ ภาค ผู้ประกอบการ % จ านวน % เม็ดพลาสติก % (ราย) แรงงาน (คน) (ตัน/เดือน) กลาง 2,049 84.39 225,483 77.55 286,340 83.21 ตะวันออก 226 9.31 48,614 16.72 42,258 12.28 ตะวันออกเฉียงเหนือ 63 2.59 6,617 2.28 7,786 2.26 ภาคตะวันตก 20 0.82 1,749 0.60 1,735 0.50 ภาคเหนือ 28 1.15 6,072 2.09 1,445 0.42 ภาคใต้ 42 1.73 2,214 0.76 4,566 1.33 รวม 2,428 100 290,749 100 344,130 100 หมายเหตุ: 1) ข้อมูลจากการส ารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ตอบแบบสอบถาม จ านวน 2,428 ราย ณ เดือน สิงหาคม 2557 2) ภาคตะวันตก: 1.กาญจนบุรี 2.ตาก 3.ประจวบคีรีขันธ์ 4.เพชรบุรี 5.ราชบุรี ภาคตะวันออก: 1.จันทบุรี 2.ฉะเชิงเทรา 3.ชลบุรี 4.ตราด 5.ปราจีนบุรี 6.ระยอง 7.สระแก้ว ภาคใต้: 1.กระบี่ 2.ชุมพร 3.ตรัง 4.นครศรีธรรมราช 5.นราธิวาส 6.ปัตตานี 7.พังงา 8.พัทลุง 9.ภูเก็ต 10.ยะลา 11.ระนอง 12.สงขลา 13.สตูล 14.สุราษฎร์ธานี ภาคเหนือ: 1.เชียงราย 2.เชียงใหม่ 3.น่าน 4.พะเยา 5.แพร่ 6.แม่ฮ่องสอน 7. ล าปาง 8.ล าพูน 9.อุตรดิตถ์ ภาคกลาง: 1.กรุงเทพมหานคร 2.ก าแพงเพชร 3.ชัยนาท 4.นครนายก 5.นครปฐม 6.นครสวรรค์ 7.นนทบุรี 8.ปทุมธานี 9.พระนครศรีอยุธยา 10.พิจิตร 11.พิษณุโลก 12.เพชรบูรณ์ 13.ลพบุรี 14.สมุทรปราการ 15.สมุทรสงคราม 16.สมุทรสาคร 17.สระบุรี 18.สิงห์บุรี 19.สุโขทัย 20.สุพรรณบุรี 21.อ่างทอง 22.อุทัยธานี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: 1.กาฬสินธุ์ 2.ขอนแก่น 3.ชัยภูมิ 4.นครพนม 5.นครราชสีมา 6.บุรีรัมย์ 7.มหาสารคาม 8.มุกดาหาร 9.ยโสธร 10.ร้อยเอ็ด 11.เลย 12.ศรีสะเกษ 13.สกลนคร 14.สุรินทร์ 15.หนองคาย 16.หนองบัวล าภู 17.อ านาจเจริญ 18.อุดรธานี 19.อุบลราชธานี 20.บึงกาฬ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -8

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 2-7 ที่ตั้งของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกของประเทศไทย

หมายเหตุ: 1) ข้อมูลจากการส ารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ตอบแบบสอบถาม จ านวน 2,428 ราย ณ เดือน สิงหาคม 2557 2) ที่มา เว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit http://plastic.oie.go.th

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -9

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 2.1.1.6 ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมพลาสติกจ าแนกตามนิคมอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมพลาสติกพลาสติกที่มีกิจการตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ ในประเทศไทย จากข้อมูลการส ารวจผู้ประกอบการ ดังตารางที่ 2-7 สามารถสรุปได้ว่า นิคมอุตสาหกรรมบางปูมีผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมพลาสติกตั้งโรงงานอยู่มาที่สุดที่ 23 ราย รองลงมาได้แก่นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค จังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่มีผู้ประกอบการ ตั้งโรงงานอยู่เป็นจ านวน 20 ราย รองลงมาได้แก่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนครจังหวัดชลบุรี และนิคมอุตสาหกกรมอีสเทิร์นซีบอร์ดจังหวัดระยองที่มีผู้ประกอบการตั้งอยู่ 13 และ 12 ราย ตามล าดับ ตารางที่ 2-7 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกตามภูมิภาค ล าดับ นิคมอุตสาหกรรม จังหวัด จ านวน 1 นิคมอุตสาหกรรมบางปู สมุทรปราการ 23 2 นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค พระนครศรีอยุธยา 20 3 นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ชลบุรี 13 4 นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด ระยอง 12 5 นิคมอุตสาหกรรมเวลโกร์ว ฉะเชิงเทรา 10 6 นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ พระนครศรีอยุธยา 10 7 นิคมอุตสาหกรรมนวนคร ปทุมธานี 10 8 นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 8 9 นิคมอุตสาหกรรมบางพลี สมุทรปราการ 7 10 นิคมอุตสาหกรรมบางชัน กรุงเทพมหานคร 5 11 นิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร สมุทรสาคร 5 12 นิคมอุตสาหกรรมอมตะอมตะนคร ระยอง 5 13 สวนอุตสาหกรรมบางกะดี ปทุมธานี 5 14 นิคมอุตสาหกรรมสุรนารี นครราชสีมา 4 15 นิคมอุตสาหกรรมปิ่นทอง ชลบุรี 3 16 นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ล าพูน 3 17 นิคมอุตสาหกรรมเทพารักษ์ สมุทรปราการ 2 18 นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ชลบุรี 2 19 นิคมอุตสาหกรรมบึงโคล่ กรุงเทพมหานคร 2 20 สวนอุตสาหกรรมหนองบอน ชลบุรี 1 21 เขตอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี ปราจีนบุรี 1 22 นิคมอุตสาหกรรม 304 ปราจีนบุรี 1 23 นิคมอุตสาหกรรมเหมราช ชลบุรี 1 24 นิคมอุตสาหกรรมหนองแค สระบุรี 1 25 สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ชลบุรี 1 รวม 155

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -10

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 2.1.1.7 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ จากการส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการอุตสาหกรรมพลาสติก สามารถสรุปและจ าแนกประเภทของ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกในภาพรวมตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ได้13 กลุ่มดังนี้ 1. Agriculture & Fishery กลุ่มผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการเกษตรและประมง 2. Apparels, Bags & Accessories กลุ่มผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เครื่องประดับและกระเป๋า 3. Automotive กลุ่มผลิตภัณฑ์ยานยนต์ 4. Construction กลุ่มผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง 5. Electrical & Electronics (E&E) กลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไ ้าและอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ 6. Footwears กลุ่มผลิตภัณฑ์รองเท้า 7. Furniture กลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน 8. Housewares กลุ่มผลิตภัณฑ์ของใช้ในครัวเรือน 9. Machinery กลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องจักร 10. Medical กลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ 11. Packaging กลุ่มผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ 12. Stationery & Office Supplies กลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องเขียนและอุปกรณ์ส านักงาน 13. Toys & Sport กลุ่มผลิตภัณฑ์ของเล่นและอุปกรณ์กีฬา

ข้อมูลจากการส ารวจผู้ประกอบการตามรูปที่ 2-8 จะเห็นได้ว่า กว่าร้อยละ 80 ของผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกท าการผลิตสินค้าอยู่ในกลุ่มผลิตภัณฑ์หลักๆ 5 กลุ่มได้แก่ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกใน กลุ่มบรรจุภัณฑ์ที่มีจ านวนผู้ประกอบการคิดเป็นสัดส่วนร้อยละกว่า 45 รองลงมาได้แก่ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ พลาสติกในกลุ่มของใช้ในครัวเรือนและผู้ประกอบการในกลุ่มเครื่องใช้ไ ้าอิเลคทรอนิกส์ ที่มีจ านวน ผู้ประกอบการคิดเป็นสัดส่วนเท่าๆ กันที่ประมาณร้อยละ 10 ถัดมาได้แก่ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่ม ชิ้นส่วนยานยนต์และผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มอุปกรณ์ก่อสร้างที่มีจ านวนผู้ประกอบการคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 9 และ 8 ตามล าดับ ข้อมูลแรงงานจากการส ารวจผู้ประกอบการตามรูปที่ 2-9 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่จ าแนกตาม กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีการจ้างงานจ านวนมากที่สุด ได้แก่ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มบรรจุภัณฑ์ ผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มชิ้นส่วนยานยนต์ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไ ้า อิเลคทรอนิกส์มีการจ้างงานรวมกันกว่า 2.5 แสนคน ส าหรับจ านวนการจ้างงานเฉลี่ยต่อบริษัท จากข้อมูล การส ารวจพบว่าผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกกลุ่ม เครื่องใช้ไ ้าอิเลคทรอนิกส์และผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มอุปกรณ์การแพทย์ มีจ านวนแรงงาน เฉลี่ยต่อบริษัทมากกว่า 200 ราย

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -11

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 2-8 จ านวนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ จ าน น ู้ ลิ ลิ ภั ลา ิก ัด น ู้ ลิ ลิ ภั ลา ิก จ า นก ามกล ม ลิ ภั จ า นก ามกล ม ลิ ภั

Apparels, Bags & Accessories Stationery & PACKAGING Medical 1.2% Office Supplies 0.5% HOUSEWARES Machinery Footwears 2.2% 1.2% 2.2% Furniture ELECTRICAL & ELECTRONICS 2.2% Agriculture & AUTOMOTIVE 80% Fishery Toys & Sport 3.1% CONSTRUCTION 4.0% TOYS & SPORT Construction AGRICULTURE & FISHERY 8.4% Packaging FURNITURE 44.6% Automotive FOOTWEARS 9.7% STATIONERY & OFFICE SUPPLIES Electrical & Electronics 10.1% MACHINERY Housewares 10.8% APPARELS, BAGS & ACCESSORIES MEDICAL ู้ปร กอบการ รา 0 500 1,000 1,500 , รา

หมายเหตุ: 1) ข้อมูลจากการส ารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ตอบแบบสอบถาม จ านวน 2,428 ราย ณ เดือน สิงหาคม 2557 2) มีการนับซ้ าของข้อมูลบางรายการเนื่องจากผู้ประกอบการบางรายมีการผลิตสินค้ามากกว่า 1 กลุ่มผลิตภัณฑ์

รูปที่ 2-9 การจ้างงานจ าแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ จ าน น ร าน จ าน น ร าน ลี่ บริ ัท จ า นก ามกล ม ลิ ภั จ า นก ามกล ม ลิ ภั

PACKAGING PACKAGING AUTOMOTIVE AUTOMOTIVE ELECTRICAL & ELECTRONICS น น ELECTRICAL & ELECTRONICS ลี่ > น/บริ ัท HOUSEWARES HOUSEWARES CONSTRUCTION CONSTRUCTION AGRICULTURE & FISHERY AGRICULTURE & FISHERY TOYS & SPORT TOYS & SPORT STATIONERY & OFFICE SUPPLIES STATIONERY & OFFICE SUPPLIES FOOTWEARS FOOTWEARS MACHINERY MACHINERY FURNITURE FURNITURE MEDICAL MEDICAL APPARELS, BAGS & ACCESSORIES APPARELS, BAGS & ACCESSORIES

0 20 40 60 80 100 120 140 น 0 50 100 150 200 250 300 น หมายเหตุ: 1) จากจ านวนตัวอย่างที่ให้ข้อมูลแรงงาน 2,379 บริษัท, ข้อมูลการสารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก ณ เดือนสิงหาคม 2557 2) มีการนับซ้ าของข้อมูลบางรายการเนื่องจากผู้ประกอบการบางรายมีการผลิตสินค้ามากกว่า 1 กลุ่มผลิตภัณฑ์ 3) ข้อมูลแรงงานรวมของบริษัททั้งหมด ซึ่งอาจรวมส่วนการผลิตอื่นๆ นอกเหนือจากส่วนการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -12

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 2-10 ปริมาณการผลิตจ าแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ ปริมา การ ลิ ัด นปริมา การ ลิ จ า นก ามกล ม ลิ ภั จ า นก ามกล ม ลิ ภั

Medical Furniture Toys & Sport Stationery & Office 0.5% PACKAGING 0.9% 1.8% Supplies Apparels, Bags & 1.4% AUTOMOTIVE Accessories Machinery 1.3% CONSTRUCTION 0.3% Footwears 1.8% Agriculture & 80% Fishery ELECTRICAL & ELECTRONICS 4.1% HOUSEWARES Housewares 8.1% AGRICULTURE & FISHERY

FOOTWEARS Electrical & Packaging Electronics 46.7% TOYS & SPORT 9.3% STATIONERY & OFFICE SUPPLIES Construction MACHINERY 11.0%

FURNITURE Automotive 12.8% MEDICAL APPARELS, BAGS & ACCESSORIES ปริมา การ ลิ ร ม KTA 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 , KTA

หมายเหตุ: 1) จากจ านวนตัวอย่างที่ให้ข้อมูลปริมาณการผลิต 2,372 บริษัท, ข้อมูลการส ารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก ณ เดือนสิงหาคม 2557 2) มีการนับซ้ าของข้อมูลบางรายการเนื่องจากผู้ประกอบการบางรายมีการผลิตสินค้ามากกว่า 1 กลุ่มผลิตภัณฑ์

จากการส ารวจข้อมูลปริมาณการผลิตของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกตามรูปที่ 2-10 สามารถสรุป ได้ว่า ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกประเภทตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณการผลิตมากที่สุดคือ ผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มบรรจุภัณฑ์ รองลงมาได้แก่ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มยานยนต์ ผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มกลุ่มอุตสาหกรรมก่อสร้าง และผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไ ้อิเลคทรอนิกส์ตามล าดับ ซึ่งทั้ง 4 กลุ่มอุตสาหกรรมที่กล่าวมามีปริมาณการผลิตรวมกันคิด เป็นสัดส่วนกว่าร้อยละ 80 ของปริมาณการผลิตรวมทั้งหมดที่ส ารวจได้ประมาณ 4.2 ล้านตัน

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -13

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตารางที่ 2-8 สรุปข้อมูลผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกตามกระบวนการผลิต จ านวนผู้ประกอบการ แรงงานรวม จ านวนข้อมูล ก าลังการผลิต จ านวนข้อมูล ปริมาณการผลิต จ านวนข้อมูล ปริมาณเม็ดพลาสติกที่ใช้ จ านวนข้อมูล ล าดับ กลุ่มผลิตภัณฑ์ (ราย) (คน) (ราย) (ตัน/ปี) (ราย) (ตัน/ปี) (ราย) (ตัน/เดือน) (ราย) 1 Packaging 1,267 130,275 1,246 2,589,331 1,240 2,428,728 1,240 198,630 1,236 2 Housewares 306 31,505 303 459,045 303 422,333 303 34,780 303 3 E&E 287 58,186 277 520,116 280 485,231 280 40,438 279 4 Automotive 275 65,549 266 717,789 269 664,282 269 54,580 268 5 Construction 239 28,570 235 595,061 235 569,183 235 47,221 235 6 Toys & Sport 113 9,488 111 98,156 112 93,821 112 7,531 112 7 Agriculture 88 10,379 84 229,565 86 213,558 86 17,375 86 8 Footwears 63 5,635 63 99,721 62 94,792 62 7,808 63 9 Furniture 63 3,796 62 55,929 62 46,146 62 3,844 62 10 Stationery 62 8,239 61 80,036 62 74,300 62 6,033 62 11 Apparels 33 1,619 33 13,902 32 13,452 32 1,126 32 12 Machinery 33 4,386 31 68,148 31 65,314 31 5,442 31 13 Medical 13 2,748 13 26,020 13 25,492 13 1,925 13 หมายเหตุ: 1) ข้อมูลจากการส ารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ตอบแบบสอบถาม จ านวน 2,428 ราย ณ เดือน สิงหาคม 2557 2) ข้อมูลแรงงานรวมของบริษัททั้งหมด ซึ่งอาจรวมส่วนการผลิตอื่นๆ นอกเหนือจากส่วนการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก 3) ข้อมูลของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกบางรายอาจถูกนับข้อมูลรวมอยู่ในข้อมูลกลุ่มผลิตภัณฑ์ต่างๆ มากกว่า 1 รายการ เนื่องจากผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกรายดังกล่าวมีการผลิตสินค้ามากกว่า 1 ชนิด และสินค้าที่ผลิตได้ ถูกน าไปใช้ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างกันไป ซึ่งข้อมูลจะถูกนับซ้ าตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ของสินค้าชนิดดังกล่าวด้วย เช่นผู้ประกอบการ A ผลิตสินค้าหรือชิ้นส่วนพลาสติกเพื่อป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรมยานยนต์และ อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไ ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไปพร้อมๆ กันท าให้ข้อมูลของผู้ประกอบการ A จะถูกนับรวมอยู่ทั้งในอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไ ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ด้วย ดังนั้นข้อมูลภาพรวม จากการส ารวจในส่วนนี้จึงไม่สามารถน าไปเทียบกับผลรวมของข้อมูลได้ เนื่องจากเกิดการนับซ้ า

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -14

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 2.1.1.8 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกตามการบวนการผลิต จากการส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการอุตสาหกรรมพลาสติก สามารถสรุปและจ าแนกประเภทของ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกในภาพรวมตามกระบวนการผลิตที่ใช้ได้11 กลุ่มดังนี้ 1. Blow Moulding การเป่ากลวง 2. Calendaring การรีดเป็นแผ่น 3. Compression การฉีดอัด 4. Filament การผลิตเส้นใย 5. Film Processing การเป่า ิล์ม 6. Foaming การผลิตโ ม 7. Injection Moulding การฉีดเข้าแม่พิมพ์ 8. Profile Extrusion การรีดพลาสติก 9. Reinforce การเสริมแรงพลาสติก 10. Roto Moulding การหมุนเหวี่ยง 11. Thermoforming การขึ้นรูปแบบสูญญากาศ

ข้อมูลจากการส ารวจผู้ประกอบการตามรูปที่ 2-11 จะเห็นว่า กว่าร้อยละ 80 ของผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกใช้กระบวนการผลิตสินค้าหลักๆ 5 ประเภทได้แก่ กระบวนการฉีดเข้าแม่พิมพ์ (Injection Moulding) ที่คิดเป็นสัดส่วนร้อนละ 36 รองลงมาคือกระบวนการเป่า ิล์ม (Film Processing) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 22 ถัดมาได้แก่กระบวนการการรีด (Profile Extrusion) คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 11 รวมทั้งกระบวนการเป่ากลวง (Blow Moulding) และกระบวนการท าเส้นใย (Filament) ที่คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10 และ 6 ตามล าดับ ข้อมูลแรงงานจากการส ารวจผู้ประกอบการตามรูปที่ 2-12 พบว่าผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ จ าแนกตามกระบวนการผลิตที่มีการใช้แรงงานในการผลิตจ านวนมากที่สุด 3 อันดับแรกได้แก่ ผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้กระบวนการฉีดเข้าแม่พิมพ์ (Injection Moulding) กระบวนการเป่า ิล์ม (Film Processing) และ กระบวนการเป่ากลวง (Blow Moulding) ซึ่งผู้ประกอบการที่ใช้กระบวนการผลิตทั้ง 3 ประเภทมีการจ้างงานรวมกันกว่า 2.5 แสนคน ส าหรับจ านวนแรงงานเฉลี่ยต่อบริษัท จากข้อมูลการ ส ารวจพบว่ากลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้กระบวนการผลิตแบบฉีดเข้าแม่พิมพ์ (Injection Moulding) ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้กระบวนการผลิตแบบการท าเส้นใย (Filament) ผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้กระบวนการผลิตแบบการรีดเป็นแผ่น (Calendaring) และผู้ผลิตที่ใช้การผลิต ประเภทโ ม (Foaming) มีการจ้างงานเฉลี่ยต่อบริษัทมากกว่า 150 คน

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -15

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 2-11 จ านวนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกตามกระบวนการผลิต จ าน น ู้ ลิ ลิ ภั ลา ิก ัด น ู้ ลิ ลิ ภั ลา ิก จ า นก ามกร บ นการ ลิ จ า นก ามกร บ นการ ลิ

Compression Moulding INJECTION MOULDING Reinforce Plastics 1.0% Roto Moulding 0.4% 2.2% FILM PROCESSING Foaming Calendering PROFILE EXTRUSION 80% 3.4% 3.6% Thermoforming BLOW MOULDING 4.3% Filament, Yarn & FILAMENT, YARN & TEXTILE Textile 6.0% THERMOFORMING Injection Moulding 35.7% Blow Moulding CALENDERING 10.6%

FOAMING Profile Extrusion ROTO MOULDING 10.7% Film Processing COMPRESSION MOULDING 22.0% REINFORCE PLASTICS ู้ปร กอบการ รา 0 500 1,000 1,500 , รา

หมายเหตุ: 1) ข้อมูลจากการส ารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ตอบแบบสอบถาม จ านวน 2,428 ราย ณ เดือน สิงหาคม 2557 2) มีการนับซ้ าของข้อมูลบางรายการเนื่องจากผู้ประกอบการบางรายมีการใช้กระบวนการผลิตมากกว่า 1 ประเภท รูปที่ 2-12 การจ้างงานจ าแนกตามกระบวนการผลิต จ าน น ร าน จ าน น ร าน ลี่ บริ ัท จ า นก ามกร บ นการ ลิ จ า นก ามกร บ นการ ลิ

INJECTION MOULDING INJECTION MOULDING FILM PROCESSING น น FILM PROCESSING BLOW MOULDING BLOW MOULDING

PROFILE EXTRUSION PROFILE EXTRUSION

FILAMENT, YARN & TEXTILE FILAMENT, YARN & TEXTILE CALENDERING CALENDERING ลี่ > น/บริ ัท FOAMING FOAMING

THERMOFORMING THERMOFORMING

ROTO MOULDING ROTO MOULDING

COMPRESSION MOULDING COMPRESSION MOULDING

REINFORCE PLASTICS REINFORCE PLASTICS น 0 20 40 60 80 100 120 140 160 น 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 หมายเหตุ: 1) จากจ านวนตัวอย่างที่ให้ข้อมูลแรงงาน 2,379 บริษัท, ข้อมูลการสารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก ณ เดือนสิงหาคม 2557 2) มีการนับซ้ าของข้อมูลบางรายการเนื่องจากผู้ประกอบการบางรายมีการใช้กระบวนการผลิตมากกว่า 1 ประเภท 3) ข้อมูลแรงงานรวมของบริษัททั้งหมด ซึ่งอาจรวมส่วนการผลิตอื่นๆ นอกเหนือจากส่วนการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -16

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 2-13 ปริมาณการผลิตจ าแนกตามกระบวนการผลิต ปริมา การ ลิ ัด นปริมา การ ลิ จ า นก ามกร บ นการ ลิ จ า นก ามกร บ นการ ลิ

Reinforce Plastics Foaming 0.4% 2.7% FILM PROCESSING Compression Roto Moulding Moulding 1.7% Thermoforming INJECTION MOULDING 0.3% 4.0%

PROFILE EXTRUSION Calendering 6.5% BLOW MOULDING 80%

FILAMENT, YARN & TEXTILE Filament, Yarn & Film Processing Textile CALENDERING 31.2% 7.5% Blow Moulding THERMOFORMING 7.5%

FOAMING Injection Moulding Profile 25.2% Extrusion ROTO MOULDING 13.1%

REINFORCE PLASTICS COMPRESSION MOULDING ปริมา การ ลิ ร ม KTA 0 200 400 600 800 1,000 1,200 1,400 , KTA

หมายเหตุ: 1) จากจ านวนตัวอย่างที่ให้ข้อมูลปริมาณการผลิต 2,372 บริษัท, ข้อมูลการส ารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก ณ เดือนสิงหาคม 2557 2) มีการนับซ้ าของข้อมูลบางรายการเนื่องจากผู้ประกอบการบางรายมีการผลิตสินค้ามากกว่า 1 กลุ่มผลิตภัณฑ์

จากการส ารวจข้อมูลปริมาณการผลิตของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกตามรูปที่ 2-13 สามารถสรุป ได้ว่า ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกประเภทตามกระบวนการผลิตที่มีปริมาณการผลิตมากที่สุดคือ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้กระบวนการผลิตประเภทการเป่า ิล์ม (Film Processing) ซึ่งมีปริมาณการ ผลิตคิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 31 รองลงมาได้ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้กระบวนการผลิตฉีดเข้า แม่พิมพ์ (Injection Moulding) ที่มีปริมาณการผลิตคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25 ของปรมาณการผลิต ทั้งหมด และผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสที่ใช้กระบวนการผลิตประเภทรีดพลาสติก (Profile Extrusion) มี ปริมาณการผลิตคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 13 ของปรมาณการผลิตผลิตรวมทั้งหมดที่ส ารวจได้ประมาณ 4.2 ล้านตัน

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -17

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตารางที่ 2-9 สรุปข้อมูลผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจ าแนกตามกระบวนการผลิต จ านวนผู้ประกอบการ แรงงานรวม จ านวนข้อมูล ก าลังการผลิต จ านวนข้อมูล ปริมาณการผลิต จ านวนข้อมูล ปริมาณเม็ดพลาสติกที่ใช้ จ านวนข้อมูล ล าดับ กลุ่มผลิตภัณฑ์ (ราย) (คน) (ราย) (ตัน/ปี) (ราย) (ตัน/ปี) (ราย) (ตัน/เดือน) (ราย) 1 Injection Moulding 1,022 148,488 1,007 1,381,051 1,007 1,259,377 1,007 103,740 1,005 2 Film Processing 630 62,079 619 1,667,472 618 1,559,258 618 126,928 617 3 Profile Extrusion 306 32,503 304 685,727 301 654,121 301 54,583 300 4 Blow Moulding 304 36,845 301 402,973 298 376,784 298 30,985 297 5 Filament 172 25,619 170 419,236 171 373,106 171 30,784 171 6 Thermoforming 122 12,128 119 208,466 117 198,016 117 16,452 117 7 Calendering 104 17,275 102 341,436 103 325,734 103 27,226 103 8 Foaming 98 14,365 96 142,856 97 134,683 97 10,708 96 9 Foaming 98 14,365 96 142,856 97 134,683 97 10,708 96 10 Roto Moulding 62 7,784 61 96,915 61 85,669 61 7,105 61 11 Compression 30 2,401 30 18,744 30 16,762 30 1,354 30 12 Reinforce Plastics 12 1,576 12 20,952 12 20,466 12 1,705 12 13 Reinforce Plastics 12 1,576 12 20,952 12 20,466 12 1,705 12 หมายเหตุ: 1) ข้อมูลจากการส ารวจผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ตอบแบบสอบถาม จ านวน 2,428 ราย ณ เดือน สิงหาคม 2557 2) ข้อมูลแรงงานรวมของบริษัททั้งหมด ซึ่งอาจรวมส่วนการผลิตอื่นๆ นอกเหนือจากส่วนการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก 3) ข้อมูลของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกบางรายอาจถูกนับรวมอยู่ในข้อมูลกระบวนการผลิตต่างๆ มากกว่า 1 รายการ เนื่องจากผู้ผลิตภัณฑ์พลาสติกรายดังกล่าวมีการการใช้กระบวนการผลิตมากกว่า 1ประเภท เช่น ผู้ประกอบการ A ผลิตสินค้าหรือชิ้นส่วนพลาสติกด้วยกระบวนการ Injection Moulding และกระบวนการ Thermoforming ท าให้ข้อมูลของผู้ประกอบการ A จะถูกนับรวมอยู่ทั้งในข้อมูลกระบวนการ Injection Moulding และ Thermoforming ด้วย ดังนั้นข้อมูลภาพรวมจากการส ารวจในส่วนนี้จึงไม่สามารถน าไปเทียบกับผลรวมของข้อมูลในแต่ละกระบวนการผลิตได้ เนื่องจากเกิดการนับซ้ า

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -18

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

2.1.2 ข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกสากล ในการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้ท าการรวบรวม ข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกสากลทั้งสิ้น 5 บริษัท ดังนี้ - บริษัท Amcor เป็นบริษัทชั้นน าด้าน flexible packaging สัญชาติออสเตรเลีย - บริษัท Bischof + KLEIN บริษัทชั้นน าด้าน flexible packaging ส านักงานใหญ่อยู่ที่เยอรมัน - บริษัท BPI เป็นบริษัทชั้นน าด้าน film packaging และรีไซเคิล ส านักงานใหญ่อยู่ที่อังกฤษ - บริษัท CRYOVAC เป็นบริษัทด้าน food packaging สัญชาติอเมริกัน - บริษัท WIPAK บริษัทชั้นน าด้าน Packaging ประเทศ ินแลนด์

ซึ่งได้รวมข้อมูลบริษัทให้อยู่ในรูปแบบไ ล์เอกสาร PDF เพื่อให้ผู้ใช้งานเว็บไซต์สามารถดาวน์โหลด ไว้ใช้อ้างอิงได้ ซึ่งข้อมูลของแต่ละบริษัทจะประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานของบริษัท เช่น เครื่องหมายการค้า ประเภทสินค้าที่ท าการผลิต กระบวนการผลิต และข้อมูลอื่นๆ ที่น่าสนใจ

รูปที่ 2-14 หน้าเว็บไซต์ผู้ประกอบการพลาสติกสากล

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -19

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

2.2 ข้อมูลท ิ ภูมิ 2.2.1 ข้อมูลการตลาด - สถิติน าเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของไทย ได้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากกรมศุลกากรผ่าน ทางระบบฐานข้อมูลของส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมทุก เป็นรายเดือนตลอดช่วงการจัดท าโครงการ และได้น าเสนอข้อมูลสถิติบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ทั้งในรูปแบบตารางและรูปแบบกรา เป็นจ านวนทั้งสิ้น 13 เดือน ดังนี้ ตารางที่ 2-10 สถิติน าเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกไทย ประเภทข้อมูล เดือน วันที่จัดท า

สิงหาคม 2556 30 กันยายน 2556 กันยายน 2556 4 พฤศจิกายน 2556 ตุลาคม 2556 6 ธันวาคม 2555 พฤศจิกายน 2556 3 มกราคม 2557 ธันวาคม 2556 3 กุมภาพันธ์ 2557 มกราคม 2557 28 กุมภาพันธ์ 2557 สถิติน าเข้า/ส่งออก กุมภาพันธ์ 2557 31 มีนาคม 2557 มีนาคม 2557 30 เมษายน 2555 เมษายน 2557 3 มิถุนายน 2557 พฤษภาคม 2557 4 กรกฎาคม 2557 มิถุนายน 2557 5 สิงหาคม 2557 กรกฎาคม 2557 5 กันยายน 2557 สิงหาคม 2557 6 ตุลาคม 2557

- สถิติน าเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของประเทศที่ส าคัญ รหัสพิกัด (3916-3926) เป็นการ จัดเก็บรวบรวมข้อมูลการน าเข้าส่งออกของประเทศที่ส าคัญจากเว็บไซต์ Global Trade Atlas เป็นราย เดือนตลอดช่วงการจัดท าโครงการ และได้น าเสนอข้อมูลสถิติบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ทั้งในรูปแบบตารางและรูปแบบกรา เป็นจ านวนทั้งสิ้น 1-3 ประเทศ ดังนี้ ตารางที่ 2-11 สถิติน าเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของประเทศที่ส าคัญ ประเภทข้อมูล ประเทศ ข้อมูลที่จัดท า จ านวน วันที่จัดท า (เดือน) อินโดนีเซีย กรกฎาคม 2556 - พฤษภาคม 11 มกราคม – ตุลาคม สถิติน าเข้า/ ิลิปปินส์ 2557มิถุนายน 2556 - พฤษภาคม 12 2557 ส่งออก เยอรมัน 2557มิถุนายน 2556 - มิถุนายน 2557 13 มาเลเซีย มิถุนายน 2556 - มิถุนายน 2557 13

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -20

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ประเภทข้อมูล ประเทศ ข้อมูลที่จัดท า จ านวน วันที่จัดท า (เดือน) สิงคโปร์ สิงหาคม 2556 - กรกฎาคม 12 ไต้หวัน 2557กรกฎาคม 2556 - กรกฎาคม 13 สหราช 2557มิถุนายน 2556 - กรกฎาคม 14 อาณาจักรออสเตรเลีย 2557สิงหาคม 2556 - สิงหาคม 2557 13 จีน สิงหาคม 2556 - สิงหาคม 2557 13 ญี่ปุ่น สิงหาคม 2556 - สิงหาคม 2557 13 สหรัฐอเมริกา สิงหาคม 2556 - สิงหาคม 2557 13 ไทย สิงหาคม 2556 - สิงหาคม 2557 13 เกาหลีใต้ กันยายน 2556 - สิงหาคม 2557 12

รูปที่ 2-15 สถิติน าเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติก

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -21

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

- การจัดกลุ่ม Harmonize Code เทียบกับ ISIC (4 Digit) จากการศึกษาและเปรียบเทียบข้อมูลพบว่ารหัส ISIC ของสินค้าพลาสติก คือ 2520 ประกอบด้วย รหัส Harmonize Code ตั้งแต่ 3916-3926 ซึ่งใช้กันแพร่หลายในสากลอยู่แล้ว แต่ล่าสุดทาง ISIC ได้มีการปรับปรุงรหัสเป็นเวอร์ชั่นที่ 4 (rev.4) ซึ่งท าให้สินค้าพลาสติกซึ่งจากเดิมถูกจัดไว้อยู่ในรหัส ISIC 2520 เปลี่ยนมาเป็นรหัส ISIC 2220 แทน ซึ่งที่ปรึกษาได้มีการจัดกลุ่ม Harmonize Code เทียบกับ รหัส ISIC ไว้ในเมนูข้อมูลน าเข้าส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกในหน้าต่างๆ ของเว็บไซต์ และ ปรับแก้จากรหัส ISIC 2520 เป็นรหัส ISIC 2220 เรียบร้อยแล้ว รูปที่ 2-16 สถิติการน าเข้าส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของไทย โดยเลือกแบบ ISIC code

- รายชื่อผู้น าเข้าส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของไทยปี 2556 การรวบรวมรายชื่อผู้น าเข้าและส่งออก ในหมวดสินค้าพลาสติกตามรหัส Harmonize Code ตั้งแต่ 3916-3926 ได้จัดท าเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ได้รวบรวมข้อมูลไว้ตามรหัสพิกัด Harmonize Code 11 หลักดังรูปที่ 2-7

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -22

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

รูปที่ 2-17 รายชื่อผู้น าเข้าส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของไทย

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -23

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

2.2.2 ข้อมูลราคา - ราคาเม็ดพลาสติกในประเทศ ได้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลราคารายเดือน จากแหล่งข้อมูลทั้งภาครัฐ และเอกชน โดยตลอดช่วงการจัดท าโครงการ ได้น าเสนอข้อมูลราคาเม็ดพลาสติกในประเทศและ ต่างประเทศประเทศบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ทั้งในรูปแบบตารางและรูปแบบกรา เป็น จ านวนทั้งสิ้น 13 เดือน ดังนี้ ตารางที่ 2-12 ราคาเม็ดพลาสติกในประเทศ ประเภทข้อมูล เดือน วันที่จัดท า

กันยายน 2556 4 ตุลาคม 2556 ตุลาคม 2556 4 พฤศจิกายน 2556 พฤศจิกายน 2556 6 ธันวาคม 2555 ธันวาคม 2556 3 มกราคม 2557 มกราคม 2557 7 กุมภาพันธ์ 2557 ราคาเม็ดพลาสติก กุมภาพันธ์ 2557 7 มีนาคม 2557 ในประเทศ / มีนาคม 2557 4 เมษายน 2557 ต่างประเทศ เมษายน 2557 9 พฤษภาคม 2557 พฤษภาคม 2557 5 มิถุนายน 2557 มิถุนายน 2557 8 กรกฎาคม 2557 กรกฎาคม 2557 13 สิงหาคม 2557 สิงหาคม 2557 8 กันยายน 2557 กันยายน 2557 10 ตุลาคม 2557

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -24

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

รูปที่ 2-18 ราคาเม็ดพลาสติก

2.2.3 ข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก - ข่าวสารพลาสติกด้านเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ข่าวสารพลาสติกด้านเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมที่น าเสนอบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้น าเสนอทั้งสิ้น เป็นจ านวน 285 เรื่อง ดังนี้ ตารางที่ 2-13 หัวข้อข่าวสารพลาสติกด้านเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว เดือนที่ 1 1 21 ม.ค. 57 TenCate มีแนวโน้มจะเติบโตในธุรกิจการบินและอวกาศของจีน 2 29 ม.ค. 57 Recycling Stream สามารถจัดการเศษพลาสติกได้ถึงร้อยละ 10 3 29 ม.ค. 57 แผนรีไซเคิลยางรถยนต์เก่ามาผลิตเป็นวัสดุที่มีประโยชน์ 4 31 ม.ค. 57 ร่มที่สามารถรีไซเคิลได้ 5 31 ม.ค. 57 อิตาลี ตลาดไอซีที-การแพทย์ 6 3 ก.พ. 57 นักบินเมืองจิงโจ้ใช้ขยะพลาสติกท าเป็นเชื้อเพลิงเครื่องบิน 7 4 ก.พ. 57 เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ จะเป็นที่น่าจับตามองในงาน NPE 2015

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -25

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 8 5 ก.พ. 57 บริษัทโพลิเมอร์ในเกาหลีใต้ขยายการผลิตรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ 9 5 ก.พ. 57 โพลีเมอร์ซักผ้า 10 6 ก.พ. 57 พลาสติกรุกตลาดท่อ ใช้ทดแทนวัสดุประเภทอื่น 11 7 ก.พ. 57 Phthalates ปลอดภัยส าหรับการใช้ในของเล่นทุกประเภท 12 10 ก.พ. 57 Tetra Pak เผยเคล็ดลับในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 13 10 ก.พ. 57 Precision Plastics เปลี่ยนชื่อเป็น Profile Xtrusions เพื่อปรับภาพลักษณ์ทางธุรกิจ 14 11 ก.พ. 57 ไ ไหม้โรงงานไ เบอร์กลาสในรัฐ Indiana 15 12 ก.พ. 57 ราคาวัตถุดิบ PS เพิ่มขึ้น 6 เซนต์เนื่องจากความต้องการที่เพิ่มขึ้น 16 12 ก.พ. 57 อุปกรณ์ตกแต่งอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นพลาสติกใกล้เป็นจริง 17 13 ก.พ. 57 Axion ก้าวขึ้นสู่ผู้ผลิตระดับโลกกับ Axpoly เกรดรีไซเคิล 18 13 ก.พ. 57 สมาคมผู้ค้าปลีกอังกฤษสนับสนุนการเปลี่ยนระบบเป็น PRN และ PERN 19 17 ก.พ. 57 ิล์มชนิดใหม่แทนการใช้ อยล์ 20 17 ก.พ. 57 Polystyrene มียอดขายสูงขึ้นครั้งแรก นับตั้งแต่ปี 2011 21 18 ก.พ. 57 หน้าจอสัมผัสในยานยนต์ที่ผลิตจากพลาสติก 22 18 ก.พ. 57 Akron Engineers ได้รับทุนเพื่อพัฒนาและวิจัยเซนเซอร์รุ่นใหม่ 23 19 ก.พ. 57 แพทริคพลาสติกร่วมทุนกับ บรอแกน แมนูแ คเจอริ่ง เดือนที่ 2 1 20 ก.พ. 57 Evonik ขยายโรงงานผลิตโ มโรเฮเซลล์ 2 20 ก.พ. 57 บริษัทนอร์มาประเทศเยอรมนีเข้าซื้อกิจการทั้งหมดของเฉินจินพลาสติกในมาเลเซีย 3 21 ก.พ. 57 เก้าอี้บอลลูนคาร์บอนไ เบอร์ 4 21 ก.พ. 57 การปล่อยสารเคมีที่เป็นพิษในปี 2011-2012 ลดลง 5 24 ก.พ. 57 ตลาด ิล์มและแผ่นพลาสติกจะขยายตัวร้อยละ 4.4 ภายในปี 2013 ถึง 2018 6 24 ก.พ. 57 น้ ามันเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติกในทะเล 7 25 ก.พ. 57 ผู้บริโภคในสหราชอาณาจักรไม่พึงพอใจในบรรจุภัณฑ์ 8 25 ก.พ. 57 Sabic ช่วยให้สมาร์ทโ นมีน้ าหนักเบาลง 9 26 ก.พ. 57 ยุโรปวิจัยสารหน่วงการติดไ อนุภาคนาโน 10 26 ก.พ. 57 บริษัทขึ้นรูปพลาสติก Poly-Tech เปิดตัวโรงงานใหม่ 11 27 ก.พ. 57 PTIC เปิดอบรม รีใน Telford 12 27 ก.พ. 57 Elkhart Plastics เข้าซื้อ El Monte Plastics 13 28 ก.พ. 57 Mitsubishi Electric พัฒนาเทคโนโลยีส าหรับผลิตพลาสติกเสริมคาร์บอนไ เบอร์ 14 28 ก.พ. 57 BPF สนับสนุนงานแสดงสินค้าพลาสติกในเม็กซิโก

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -26

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 15 4 มี.ค. 57 เปิดประมูลสินทรัพย์ในโรงงานรีไซเคิลที่โตรอนโต 16 5 มี.ค. 57 Metflex พัฒนายางประสิทธิภาพสูง ส าหรับใช้งานใต้ทะเล 17 5 มี.ค. 57 Recoup ส่งเสริมการรีไซเคิลขวดนมพลาสติกที่ท าจาก HDPE 18 6 มี.ค. 57 TenCate ใช้วัสดุคอมโพสิตผลิต Supercar 19 6 มี.ค. 57 Wrap และ Valpak ศึกษาตลาดบรรจุภัณฑ์พลาสติกและโลหะปี 2014 20 10 มี.ค. 57 วัสดุคอมโพสิตคาร์บอนไ เบอร์และไ เบอร์กลาส 21 11 มี.ค. 57 Sixer นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ใหม่ของโค้ก 22 11 มี.ค. 57 เทอร์โมพลาสติกอัลลอยด์ 23 12 มี.ค. 57 PolyFill PP ส าหรับผลิตเป็นด้ามจับ 24 13 มี.ค. 57 ฝาปิดขวดที่กลายมาเป็นตัวต่อของเล่น 25 18 มี.ค. 57 ยุโรปสนับสนุนโครงการวิจัยเพื่อการพัฒนากระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิตรุ่นใหม่ 26 19 มี.ค. 57 ถุงพลาสติกทนความร้อนส าหรับการปรุงอาหาร ผลิตจากไนลอน 27 20 มี.ค. 57 PolyGraph โครงการช่วยพัฒนาเทคนิคการผลิตโพลิเมอร์เสริมแรงด้วยคาร์บอน เดือนที่ 3 1 21 มี.ค. 57 เท้าเทียมคุณภาพสูง เพิ่มความแข็งแรงและความทนทาน 2 26 มี.ค. 57 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความยืดหยุ่นด้วยท่อนาโนคาร์บอน 3 27 มี.ค. 57 โคคาโคล่าปรับลดน้ าหนักขวดบรรจุ 4 27 มี.ค. 57 HL Plastics เพิ่มไลน์การผลิตเพื่อรองรับความต้องการในสหราชอาณาจักร 5 28 มี.ค. 57 OKO Odyssey ขวดบรรจุน้ าดื่มสารพัดประโยชน์ 6 31 มี.ค. 57 ในอนาคตบรรจุภัณฑ์ส าหรับน้ าดื่มในแอ ริกาจะเติบโตลดลง 7 31 มี.ค. 57 Teknor Apex เปิดตัว TPEs ในชื่อ Sarlink แทนการใช้ TPVs 8 1 เม.ย. 57 Aqua-Lok Mini ฝาปิดทรงสูง ส าหรับขวดเครื่องดื่มพลาสติกขนาดเล็ก 9 2 เม.ย. 57 Freshware บรรจุภัณฑ์ถนอมอาหารคุณภาพสูงจากบริษัท LINPAC 10 3 เม.ย. 57 Eastman Chemical เพิ่มก าลังการผลิตสารตั้งต้นเพื่อผลิต Plasticizer 11 4 เม.ย. 57 เครื่อง Blow Molding รุ่นใหม่ส าหรับผลิตขวด PET 12 8 เม.ย. 57 Borealis พัฒนาเม็ดส าหรับผลิตฝาขวดน้ านักเบา 13 9 เม.ย. 57 PolyOne เปิดตัว Geon VBX 3577 ช่วยลดต้นทุนการผลิต 14 9 เม.ย. 57 Bayer ขายสิทธิบัตรท่อคาร์บอนนาโนและแกร ีน ให้กับ FutureCarbon 15 10 เม.ย. 57 เทคโนโลยีใหม่ส าหรับการเย็บแผลหลังผ่าตัดด้วยพลาสติก ิล์มแบบสเปรย์พ่น 16 11 เม.ย. 57 ชุดนักเตะรีไซเคิล 17 11 เม.ย. 57 Johns Manville เปิดตัววัสดุท าจากใยแก้วผสม PP

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -27

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 18 11 เม.ย. 57 เขียงจากพลาสติกรีไซเคิล 19 21 เม.ย. 57 เปลี่ยนน้ าโซดาธรรมดาให้เป็นน้ าหวานอัดลมด้วยฝาขวดชนิดพิเศษ 20 21 เม.ย. 57 ิล์ม PET หน่วงการติดไ ต้นทุนแค่ 10 เปอร์เซ็นต์ของ ิล์ม PI เดือนที่ 4 1 22 เม.ย. 57 Lanxess เปิดตัวโรงงานผลิตเม็ดในบราซิลรองรับตลาดยานยนต์ 2 22 เม.ย. 57 Nampak ชนะรางวัล Sir Peter Parker 3 23 เม.ย. 57 Petainer ผลิตขวด PET รูปแบบใหม่ 4 23 เม.ย. 57 ตลาด Nylon เผชิญกับสภาวะตลาดที่ท้าทาย 5 23 เม.ย. 57 EPA ห้ามขายภาชนะที่มีสาร Nano Silver 6 25 เม.ย. 57 ผู้บริโภคชาวอังกฤษชอบขวดซอสมะเขือเทศท าจากพลาสติกมากกว่าขวดแก้ว 7 29 เม.ย. 57 3D Printing ช่วยลดต้นทุนการผลิตงานต้นแบบได้ 8 6 พ.ค. 57 โครงการวิจัยกรา ีนอาจยกระดับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้ก้าวหน้าไปอีกขั้น 9 6 พ.ค. 57 Magna ตั้งเป้าผลิต Class-A วัสดุเส้นใยคาร์บอนคอมโพสิต 10 8 พ.ค. 57 ปฏิกิริยาเชื่อมโยงโครงข่ายโพลิเมอร์แบบใหม่กระตุ้นให้วัสดุซ่อมแซมตัวเองได้เร็วขึ้น 11 8 พ.ค. 57 Cathay เ ิดตัว Polyamides ที่ผลิตจากวัสดุทดแทนส าหรับงานสิ่งทอและวิศวกรรม 12 9 พ.ค. 57 Weidenhammer ขยายการผลิตในชิลีและรัสเซีย 13 9 พ.ค. 57 “พีชชี่ เบเบี้” อาหารเสริมเด็ก เ ้นคุณค่าพืชผักไทยใส่ถุงเปิดดูด 14 12 พ.ค. 57 บรรจุภัณฑ์ไข่ Egg-xciting ถูกน ากลับมาใช้ใหม่เป็นของเล่นส าหรับเด็ก 15 14 พ.ค. 57 Bayer อาจท าการขายธุรกิจพลาสติกของตัวเอง 16 14 พ.ค. 57 สารหน่วงการติดไ ส าหรับพลาสติกที่สัมผัสกับอาหารโดยตรง 17 15 พ.ค. 57 Ems-Grivory ก้าวเต็มสูบเพื่อการผลิต Polyamide Fibres 18 15 พ.ค. 57 Netstal ขยายฐานการบริการในจีน 19 16 พ.ค. 57 Katarzynki ในโปแลนด์ จะเปิดตัวโรงงานผลิตชิ้นส่วนเ อร์นิเจอร์ 20 16 พ.ค. 57 HRS เปิดโรงงานเพิ่มในอเมริกา 21 19 พ.ค. 57 New York ลงมติห้ามใช้ Microbeads 22 19 พ.ค. 57 คาซัคสถานก าลังสร้างโรงงานผลิต PP แห่งใหม่ 23 20 พ.ค. 57 Software ช่วยจัดการระบบบรรจุภัณฑ์ 24 20 พ.ค. 57 แนวโน้มการใช้ Polycarbonate ตกแต่งภายในรถยนต์เพิ่มขึ้น 25 20 พ.ค. 57 BMW และ SGL จะท าการเพิ่มก าลังการผลิตคาร์บอนไ เบอร์อีกสามเท่า 26 21 พ.ค. 57 High-Barrier Lidding Film แบบใหม่ที่สามารถ Seal บนถาด Mono APET ได้เลย 27 21 พ.ค. 57 การพิมพ์รหัสใต้ฝา เทคโนโลยีใหม่จาก Chadwicks

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -28

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 28 21 พ.ค. 57 กล่องบรรจุสินค้าที่สามารถเปลี่ยนเป็นชั้นโชว์สินค้าเพิ่มความสะดวก เดือนที่ 5 1 26 พ.ค. 57 Copolymer POM Grades ตั้งเป้าไว้ใช้กับเกียร์รับโหลดสูง 2 26 พ.ค. 57 Procap สร้างแรงบันดาลใจและสร้างความประทับใจที่งาน Interpack 2014 3 26 พ.ค. 57 สถาบันยานยนต์เล็งเพิ่มเครื่องมือตรวจสอบ 4 27 พ.ค. 57 สายยาง PVC แบบใหม่ส าหรับใช้กับระบบสุญญากาศจาก NewAge Industry 5 27 พ.ค. 57 Plastic Forum 2014 พลาสติกไทยกับอุตสาหกรรมเพื่ออนาคต 6 27 พ.ค. 57 BASF เพิ่มก าลังการผลิต Non-phthalate Plasticiser เป็นสองเท่า 7 27 พ.ค. 57 VinylPlus ชี้ว่า PVC ก าลังจะเป็นพลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น 8 28 พ.ค. 57 Airpop ชื่อใหม่ของ EPS 9 28 พ.ค. 57 อเมริกาต้องการให้ธุรกิจรถยนต์กลับมาเติบโตอย่างมั่นคง 10 28 พ.ค. 57 Halma ท าการซื้อบริษัทผลิตอุปกรณ์การแพทย์ของสวิส 11 29 พ.ค. 57 Injectronics เพิ่มพื้นที่ปลอดฝุ่น 2 เท่า 12 29 พ.ค. 57 การเปลี่ยนฉลากโภชนาการเพื่อเพิ่มความเข้าใจ 13 2 มิ.ย. 57 Pipeline Plastics จะสร้างโรงงานผลิตท่อ HDPE แห่งที่ 3 ภายใน 3 ปี 14 3 มิ.ย. 57 Erema เปิดตัว Intarema K system ในงาน Interpack 2014 15 3 มิ.ย. 57 Schur Flexibles ของ Austria ท าการเข้าซื้อบริษัทบรรจุภัณฑ์ Danapack 16 4 มิ.ย. 57 ผลิตภัณฑ์ Glass Fibre แบบใหม่ส าหรับบรรจุภัณฑ์อาหาร 17 4 มิ.ย. 57 ผลการศึกษาชี้ ท่อ PVC อายุยาวนานกว่า 100 ปี 18 5 มิ.ย. 57 Arkema เปิดตัวพลาสติกเหลวส าหรับผสมคอมโพสิต 19 5 มิ.ย. 57 ยอดขายและการผลิตเม็ดพลาสติกในเยอรมนีในปี 2013 ดีขึ้น 20 11 มิ.ย. 57 Schur เข้าซื้อบริษัทผลิตบรรจุภัณฑ์เพิ่มอีกหนึ่งแห่ง 21 11 มิ.ย. 57 DuPont Packaging Awards รางวัลส าหรับนวัตกรรมด้านบรรจุภัณฑ์ 22 12 มิ.ย. 57 สิทธิบัตรใหม่ส าหรับแผ่น ิล์ม Multilayer ป้องกันการแพร่ผ่านของออกซิเจน 23 13 มิ.ย. 57 รัฐสภาสกอตแลนด์เปิดโหวตส าหรับมาตรการภาษีถุงพลาสติก 24 16 มิ.ย. 57 California ก าลังจะเริ่มการยกเลิกวางจ าหน่ายสินค้าที่มีส่วนผสมของ Microbeads 25 16 มิ.ย. 57 ถ้วยโยเกิร์ตรูปทรงใหม่ พัฒนาจากพฤติกรรมของบริโภค 26 17 มิ.ย. 57 Princeton Moulding เปลี่ยน PS ใช้แล้วให้กลายเป็นกรอบรูปส าหรับการตกแต่ง 27 18 มิ.ย. 57 Plastic Omnium มีการขยายธุรกิจเพิ่มขึ้นในรัฐ Tennessee และ ในรัฐ Kansas 28 18 มิ.ย. 57 การวิจัยเพื่อพัฒนาทางเลือกราคาประหยัดส าหรับทดแทน Phthalate 29 18 มิ.ย. 57 Sipa ผลิตเตาอบประหยัดพลังงานส าหรับระบบ Blowmoding

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -29

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 30 19 มิ.ย. 57 กล่องบรรจุอาหารจาก PET รีไซเคิล ตอบสนองความหลากหลายในการจัดจ าหน่าย เดือนที่ 6 1 20 มิ.ย. 57 MKF-Ergis กระบวนการใหม่ส าหรับการรีไซเคิล PET 2 20 มิ.ย. 57 ผลักดันเทคนิคการพิมพ์ 3 มิติให้เป็นจริงส าหรับการพิมพ์ตัวถังรถยนต์ทั้งคัน 3 24 มิ.ย. 57 ล้อรถยนต์จากวัสดุ Carbon Fiber Composite ช่วยรถยนต์เร่งความเร็วได้เร็วขึ้น 4 24 มิ.ย. 57 การทดสอบถังบรรจุเชื้อเพลิงไฮโดรเจนจาก POM 5 25 มิ.ย. 57 รถไ ความเร็วสูงของอังกฤษหาวิธีแก้ปัญหาโดยใช้วัสดุคอมโพสิตตัวใหม่ 6 25 มิ.ย. 57 อีกไม่นานฉลากบอกวิธีรีไซเคิลจะอยู่รอบตัวคุณ 7 26 มิ.ย. 57 ิล์มถนอมอาหารแบบใหม่จาก Sealed Air ป้องกันการเกิดไอน้ าและหยดน้ า 7 26 มิ.ย. 57 อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นผู้ใช้หลักส าหรับ Thermo Plastic Elastomer 8 27 มิ.ย. 57 Dow และ Ampac ร่วมมือพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ส าหรับบรรจุภัณฑ์ 9 27 มิ.ย. 57 เทคนิค MAP ลดการใช้วัสดุในการผลิตขวดบรรจุเครื่องดื่มได้ 10 1 ก.ค. 57 บรรจุภัณฑ์เครื่องส าอาง Promensได้รับรางวัลบรรจุภัณฑ์ยอดเยี่ยม ปี 2014 11 1 ก.ค. 57 การรีไซเคิลถุงพลาสติกในอเมริกามีความคืบหน้ามากขึ้น 12 2 ก.ค. 57 มูลค่าตลาดบรรจุภัณฑ์กระดาษรีไซเคิลจะเติบโตถึง 139 พันล้านเหรียญในปี 2018 14 2 ก.ค. 57 Coca-Cola เริ่มการผลิตหลอด Preforms ในฝรั่งเศส 15 7 ก.ค. 57 ความต้องการใช้กระดาษบอร์ดเพิ่มขึ้น แต่ยังมีข้อจ ากัดในการผลิต 16 7 ก.ค. 57 Braskem จะเพิ่มก าลังการผลิต UHMWPE 17 8 ก.ค. 57 Mrs. Dash เพิ่มก าไรจากการลดน้ าหนักบรรจุภัณฑ์พลาสติก 25 เปอร์เซ็นต์ 18 8 ก.ค. 57 ิล์มถนอมอาหารป้องกันการเกิดไอน้ าและคงความสดของอาหารได้นานขึ้น 19 15 ก.ค. 57 สารเสริมความแข็งแรงระดับนาโนส าหรับการผลิตสาย Catheter 20 15 ก.ค. 57 สหรัฐกับกรณีการยกเว้นภาษีถุงพลาสติกให้กับ SME 21 16 ก.ค. 57 Solvay ผลิต PEEK ความแข็งแรงสูง เข้าสู่ตลาดส าหรับผลิตเป็นวัสดุโครงสร้าง 22 16 ก.ค. 57 Micro Mold สร้างห้อง Clean Room เพิ่มการผลิตอุปกรณ์การแพทย์ 23 17 ก.ค. 57 Composites Evolution เลือก Jacomp Oy เป็นตัวแทนจ าหน่ายใน Finland 24 17 ก.ค. 57 การออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบโค้ง ได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากกว่า 25 17 ก.ค. 57 Evonik เพิ่มก าลังการผลิต Nylon 12 ในเยอรมนี 26 17 ก.ค. 57 กระป๋องเครื่องดื่มทรงสูง ขนาด 8 ออนซ์ ส าหรับนักดื่มแนว On-The-Go 27 18 ก.ค. 57 Sabic อ้างว่าสามารถผลิตแผ่น ิล์มพลาสติก Polycarbonate น าไ ้าได้แล้ว 28 18 ก.ค. 57 ฝาขวดพลาสติกเอาชนะฝาขวดที่ท าจากโลหะ 29 18 ก.ค. 57 Dow ผลักดันมาตรการลดของเสีย ด้วยการใช้ถุงบรรจุของเหลวผลิตจาก PE 100%

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -30

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 30 18 ก.ค. 57 บรรจุภัณฑ์เครื่องส าอางส าหรับผู้ชายโดยเฉพาะ เดือนที่ 7 1 21 ก.ค. 57 ขวด PET ดูดซับออกซิเจน 2 21 ก.ค. 57 Evonik เพิ่มก าลังการผลิต เล็งขึ้นแท่นเป็นผู้น าตลาด Polyamide 12 3 22 ก.ค. 57 ประเทศออสเตรเลีย ปรับลุคเพิ่มความเก๋ให้กับถังขยะ 4 23 ก.ค. 57 Brownwater เริ่มผลิตแผงคลุมสินค้าบนเรือที่น าไปรีไซเคิลได้ 5 23 ก.ค. 57 เริ่มผลิตแล้ว สมาร์ทคาร์รุ่นใหม่จาก Daimler 6 23 ก.ค. 57 Citroen ใช้ Polyurethane ผลิตเป็นกันชนและชิ้นส่วนภายนอกรถยนต์ 7 28 ก.ค. 57 PolyOne ปิดโรงงาน 2 แห่งในบราซิล 8 28 ก.ค. 57 Intertape Polymer เปิดตัวแผ่น ิล์มหด Polyolefin ตัวใหม่ 9 29 ก.ค. 57 เม็ดพลาสติกจาก DuPont ช่วยให้ลูกกอล์ RZN ของ Nike พุ่งได้ไกลขึ้น 10 30 ก.ค. 57 BASF เพิ่มการผลิตพลาสติกวิศวกรรมเป็นสองเท่าและมีก าลังการผลิตสูงสุดในเอเชีย 11 30 ก.ค. 57 จุลินทรีย์ที่ช่วยลดมลพิษจากพลาสติกในทะเล มีจริงหรือไม่ 12 30 ก.ค. 57 เทคโนโลยีเคลือบผิวแบบใหม่จาก MIT ช่วยให้บีบของเหลวหนืดได้ง่ายขึ้น 13 30 ก.ค. 57 เป้าหมายประหยัดพลังงาน 30 เปอร์เซ็นต์ ส าหรับปี 2030 ผ่าน EU Commission 14 31 ก.ค. 57 ผู้ผลิตท่อพีวีซีรายใหญ่ในอาร์เจนติน่าเพิ่มก าลังการผลิต 15 31 ก.ค. 57 EU ให้งบสนับสนุนโครงการพัฒนาวัสดุท าพื้นทางเดินเพิ่มความปลอดภัย SlipSafe 16 31 ก.ค. 57 Carbon Lite ร่วมมือกับ Amut เพิ่มความสามารถในการรีไซเคิลของอเมริกา 17 31 ก.ค. 57 ถาดบรรจุอุปกรณ์เวชภัณฑ์ที่ป้องกันความชื้น 18 31 ก.ค. 57 เอเชียยังคงเป็นยักษ์ใหญ่ตลาดเคมีภัณฑ์ แต่ปัญหาต้นทุนเพิ่มคือปัจจัยเสี่ยง 19 31 ก.ค. 57 บรรจุภัณฑ์ที่น าไปสู่วิวัฒนาการทางสังคม 20 1 ส.ค. 57 บอกเลย ไวน์ใส่ขวดแก้วก าลังจะ Out ไวน์ใส่ถุงก าลังจะ In 21 1 ส.ค. 57 ผู้ผลิตแม่พิมพ์พลาสติกในออสเตรีย ก าลังหาผู้ร่วมท าธุรกิจ ในอเมริกาเหนือ 22 4 ส.ค. 57 แนวโน้มการค้าระหว่างอังกฤษกับอินเดียเติบโตต่อเนื่อง 23 4 ส.ค. 57 ผู้ผลิตอุปกรณ์และชิ้นส่วนส าหรับรถยนต์สัญชาติจีนในอเมริกาขยายก าลังการผลิต 24 5 ส.ค. 57 Bayer ปิดโรงงานผลิตแผ่นพลาสติก Polycarbonate ในเยอรมนีและจีน 25 5 ส.ค. 57 สมาคมต่างๆ ในสหราชอาณาจักรเล็งเพิ่มเป้าการรีไซเคิลถาด CPET สีด า 26 5 ส.ค. 57 กล่องทัปเปอร์แวร์จะมีระบบออนไลน์ในปี 2020 จริงหรือไม่ 27 5 ส.ค. 57 LiquiForm เทคโนโลยีใหม่ส าหรับการผลิตขวดพร้อมบรรจุในขั้นตอนเดียว 28 5 ส.ค. 57 Washington DC จะประกาศห้ามใช้กล่องโ ม PS 29 5 ส.ค. 57 Styrolution จะเปิดโรงงานผลิตใหม่ในปี 2014

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -31

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 30 6 ส.ค. 57 Sidel ออกแบบขวดเบียร์พลาสติกที่มีดีไซน์เหมือนขวดแก้ว 31 6 ส.ค. 57 FDA ออกกฎระเบียบใหม่ที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ทางการแพทย์ 32 6 ส.ค. 57 วัสดุพอลิเมอร์ชนิดใหม่เปลี่ยนสีได้ภายในเสี้ยววินาที 33 6 ส.ค. 57 วัสดุ Polyetherketone ตัวใหม่ใช้ทดแทนโลหะได้ 34 6 ส.ค. 57 Nitrofreeze เปิดตัวเครื่องขัดผิวพลาสติกด้วยน้ าแข็งแห้ง 35 7 ส.ค. 57 Styrenic Specialty ตัวใหม่คุณสมบัติพัฒนาขึ้นกว่าเดิม 36 7 ส.ค. 57 Compounding Solution เปิดตัวสีย้อมเข้มข้นส าหรับใช้ทางการแพทย์ 37 7 ส.ค. 57 บางจากเล็งขยายลงทุน'ปิโตรเคมี' 38 8 ส.ค. 57 Solazyme และ AkzoNobel ขยายความร่วมมือพัฒนาด้านเคมีเชิงพื้นผิว 39 13 ส.ค. 57 PSB Industry เข้าซื้อบริษัทผู้เชี่ยวชาญการผลิตฝาปิดพลาสติก 40 15 ส.ค. 57 เป็นไปได้หรือไม่ที่บรรจุภัณฑ์แบบซอง จะสามารถน าไปรีไซเคิลได้ 100 เปอร์เซ็นต์ 41 15 ส.ค. 57 Wonka ชนะรางวัลซองบรรจุภัณฑ์ขนมที่สามารถปิดซีลได้หลังเปิดรับประทานแล้ว 42 15 ส.ค. 57 อุปกรณ์อ่านบาร์โค๊ทเรียลไทม์ ส าหรับวัดประสิทธิภาพไลน์การผลิต 43 18 ส.ค. 57 การห้ามใช้ถุงพลาสติกเป็นเหตุให้คนขโมยของเพิ่มขึ้น 44 18 ส.ค. 57 K-Cup ถ้วยใส่กาแ ที่ใช้เป็นแหล่งเชื้อเพลิงให้กับโรงงานผลิตซีเมนต์ 45 18 ส.ค. 57 กาวและโ มจากวัสดุ Polyurethane ส าหรับการผลิตรถยนต์น้ าหนักเบา 46 19 ส.ค. 57 บริษัทสิงคโปร์น าการพิมพ์ 3D มาใช้ในวงกว้าง เดือนที่ 8 1 20 ส.ค. 57 นักวิจัยจาก Shellfish พัฒนาวัสดุ Acrylic ที่สามารถซ่อมแซมตัวเองได้ 2 21 ส.ค. 57 พลาสติกกรอง CO2 ออกจากอากาศ 3 22 ส.ค. 57 Euromap ออกแบบฉลากเครื่องจักรประหยัดพลังงาน 4 22 ส.ค. 57 Dr Pepper สามารถลดการใช้เม็ดพลาสติกได้เกินกว่าเป้าหมายที่วางเอาไว้ 5 25 ส.ค. 57 โพลิเมอร์ องน้ าช่วยซ่อมแซมกระดูกหักได้ 6 25 ส.ค. 57 Sabic ปรับปรุง Cracker เพื่อรับ Shale Gas น าเข้าจาก US 7 25 ส.ค. 57 ใช้เพียงแค่ลมหายใจก็สามารถตรวจสอบการปลอมแปลงได้ 8 27 ส.ค. 57 ความต้องการใช้ท่อที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่ เติบโตอย่างรวดเร็ว 9 27 ส.ค. 57 4 แนวทางส าหรับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้โดดเด่น 10 27 ส.ค. 57 Promens ปิดโรงงาน Blow Molding 2 แห่งในเยอรมนี 11 28 ส.ค. 57 กระป๋องโลหะ ก็สามารถสร้างความยั่งยืนได้ 12 28 ส.ค. 57 GWP ออกแบบกล่องใส่อาหารบริจาคใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง 13 29 ส.ค. 57 Eastman และ Helian ร่วมมือพัฒนาการพิมพ์สามมิติ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -32

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 14 29 ส.ค. 57 ผู้ผลิต Cider ออกแบบขวดใหม่ ลดน้ าหนักขวดบรรจุลง 18 เปอร์เซ็นต์ 15 29 ส.ค. 57 บรรจุภัณฑ์ เป็นช่องทางหนึ่งที่ช่วยเตือนผู้บริโภคให้มีจิตส านึก 16 1 ก.ย. 57 Kimberly-Clark คิดขวดโลชั่นที่ผลิตออกซิเจนได้ 17 1 ก.ย. 57 เหตุระเบิดที่ไต้หวันกดดันอุปทานเม็ดพลาสติก 18 2 ก.ย. 57 Skinnygrape ไวน์บรรจุขวด PET แทนขวดแก้ว 19 2 ก.ย. 57 ฉลาก How2Recycle ให้เงินทุนกับผู้ใช้ 20 2 ก.ย. 57 RusVinyl ทดลองผลิต PVC 21 4 ก.ย. 57 รัฐบาลออสเตรเลียเรียกคืนสายไ เนื่องจากเคลือบฉนวนพลาสติกไม่ได้คุณภาพ 22 4 ก.ย. 57 บริษัท LyondellBasell ก าลังก่อสร้างโรงงานในฝั่ง Gulf Coast 23 5 ก.ย. 57 Sony ลุยท าตลาดพลาสติกรีไซเคิลที่ผลิตเองกับบริษัทนอกกลุ่มแล้ว 24 8 ก.ย. 57 Overstock ร่วมมือกับ Give Back Box ริเริ่มโครงการบริจาคเครื่องใช้ในบ้าน 25 8 ก.ย. 57 PolyOne ผลิตวัสดุตัวใหม่ป้องกันการปลอมแปลง 26 9 ก.ย. 57 ผลิตภัณฑ์ขี้ผึ้งทาผิวใช้การพิพม์ 3 มิติผลิตขวดบรรจุ 27 10 ก.ย. 57 Sipchem แต่งตั้งให้ Resinex เป็นผู้จัดจ าหน่าย EVA 28 10 ก.ย. 57 เทคโนโลยีการผลิต BOPA ด้วยการยืดแบบขั้นตอนเดียว 29 11 ก.ย. 57 ตกลงแล้วการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกอันตรายหรือไม่ 30 11 ก.ย. 57 Chevron Phillips Chemical ขายกิจการ Ryton PPS ให้กับ Solvay 31 12 ก.ย. 57 วัสดุคอมโพสิตชีวภาพตัวใหม่ มีค่าโมดูลัสเกิน 6 GPa 32 12 ก.ย. 57 ผู้ผลิตหัวปั๊มโ มในกวางโจวสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ส าหรับตลาดเฉพาะ 33 12 ก.ย. 57 Nu-Vu Conair ขยายโรงงานในอินเดีย 34 15 ก.ย. 57 Poligroup เปลี่ยนขยะพลาสติกให้กลายเป็นแผ่น ิล์มพลาสติกคุณภาพสูง 35 15 ก.ย. 57 Sylvin Technologies ให้ความส าคัญต่อกับการพัฒนาที่ยั่งยืน 36 16 ก.ย. 57 กลุ่มพลาสติกในยุโรปตั้งโครงการใหม่หนุนการรีไซเคิลพลาสติก 37 16 ก.ย. 57 BASF เน้นบทบาทผู้ผลิตเคมีภัณฑ์เพื่ออนาคตที่ยั่งยืน 38 17 ก.ย. 57 แอปพลิเคชันบนสมาร์ทโ นเพื่อป้องกันแบรนด์และการปลอมแปลงผลิตภัณฑ์ 39 17 ก.ย. 57 PETG ิล์มฉลากหดส าหรับเครื่องพิมพ์ดิจิตอล 40 18 ก.ย. 57 คนทั่วไปยังสับสนว่าการรีไซเคิลพลาสติกคืออะไร 41 18 ก.ย. 57 การตรวจสอบการใช้พลังงานสามารถประหยัดพลังงานให้คุณได้ 42 18 ก.ย. 57 เปิดเทศกาลนักดื่ม Busch Beer 43 19 ก.ย. 57 ให้ทุนส าหรับฉลาก How2Recycle 44 19 ก.ย. 57 Sita เข้าซื้อกิจการรีไซเคิลพลาสติกของ Houweling

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -33

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว เดือนที่ 9 1 22 ก.ย. 57 ยาสี ัน Crest เลิกใช้เม็ดไมโครบีด PE 2 22 ก.ย. 57 PolyOne บริจาคเครื่องกรองน้ าให้กับผู้ประสบภัยทั่วโลก 3 22 ก.ย. 57 Bayer ขายธุรกิจพลาสติก 4 23 ก.ย. 57 DuPont ลงทุน 100 ล้านเหรียญเพิ่มก าลังการผลิต Ethylene Copolymer 5 23 ก.ย. 57 เพิ่มการรีไซเคิลขวด PET เพื่อผลิตขวด PET รีไซเคิล 6 23 ก.ย. 57 นักลงทุนกระตุ้นให้ DuPont แยกกิจการพลาสติกและเคมีภัณฑ์ออกจากกัน 7 24 ก.ย. 57 สาร Phthalate อาจก่อให้เกิดโรคหืดหอบในเด็ก 8 24 ก.ย. 57 คลอดแล้ว มาตรฐานคุณสมบัติส าหรับ PP รีไซเคิล 9 25 ก.ย. 57 ผู้ผลิตเบียร์ Heineken ใน Mexico เปลี่ยนมาใช้พาเลตพลาสติกทดแทนการใช้ไม้ 10 25 ก.ย. 57 สายพาน Modular ส าหรับการล าเลียงขึ้นแบบ 90 องศา 11 25 ก.ย. 57 3 ขั้นตอนในการเลือกซอ แวร์ส าหรับการประเมิน LCA 12 26 ก.ย. 57 AkzoNoble และ Photanol ร่วมกันพัฒนาเคมีภัณฑ์ส าหรับอนาคต 13 29 ก.ย. 57 พบวัตถุที่ไม่สามารถระบุประเภทได้บริเวณชายหาดอังกฤษ 14 29 ก.ย. 57 Invista ลุยธุรกิจท่อ Nylon 15 29 ก.ย. 57 Zhongtai Chemical ยกเลิกการขยายก าลังการผลิต PVC 800,000 ตัน 16 30 ก.ย. 57 เทคโนโลยี DNA ส าหรับบรรจุภัณฑ์ 17 30 ก.ย. 57 5 พฤติกรรมเด่นของนักช็อปในปี 2014 18 1 ต.ค. 57 Ecover ฉลองครบรอบ 35 ปี ด้วยการเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่ 19 1 ต.ค. 57 ปริมาณการรีไซเคิล EPS ทีใช้ในการขนส่งบรรจุภัณฑ์เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง 20 2 ต.ค. 57 โรงงานผลิตแผ่นพลาสติก Primex เกิดเหตุเพลิงไหม้ ท าให้คนงานได้รับบาดเจ็บ 21 3 ต.ค. 57 Delta Plastics ช่วยเกษตรกรแก้ปัญหาการกักเก็บน้ าไว้ส าหรับเพาะปลูก 22 3 ต.ค. 57 รูปลักษณ์และผิวสัมผัสของบรรจุภัณฑ์ ก็ถือเป็นสิ่งดึงดูดความสนใจที่ส าคัญ 23 3 ต.ค. 57 ราคาเม็ด PE PVC ในตลาดอเมริกาเหนือปรับเพิ่มขึ้น ขณะที่ราคาเม็ด PS ปรับลดลง 24 6 ต.ค. 57 เม็ดพลาสติก PP รีไซเคิล ได้รับการอนุมัติให้ใช้สัมผัสอาหารได้แล้ว 25 6 ต.ค. 57 Essentra เล็งเพิ่ม Synergy ด้านการผลิตและขนส่ง 26 6 ต.ค. 57 ผู้ผลิตยางในจีนเริ่มด าเนินงานในโครงการผลิตยางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 27 6 ต.ค. 57 เปลี่ยนแกลบเป็นยางรถ 28 7 ต.ค. 57 ประเทศออสเตรเลียก าลังจะยกเลิกการใช้เม็ดไมโครบีท 29 8 ต.ค. 57 การรีไซเคิลขวด PET ที่หุ้มด้วยฉลาก ิล์มหด 30 8 ต.ค. 57 Califonia อาจออกกฎหมายห้ามใช้ถุงพลาสติก

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -34

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 31 9 ต.ค. 57 ขวดไวน์ประเภท 1 เสิร์ ดีไซน์ใหม่ ใช้งานง่าย 32 9 ต.ค. 57 สหรัฐส่งออกเครื่องจักรผลิตพลาสติกได้ถึง 299.3 ล้านเหรียญสหรัฐ 33 9 ต.ค. 57 Styrolution เปิดตัววัสดุ Styrenic ตัวใหม่ 34 10 ต.ค. 57 หลังคาสนามกีฬาแห่งชาติของบราซิลผลิตจาก Polycarbonate 35 10 ต.ค. 57 Genova Plastics ลงทุนเกือบ 5 ล้านเหรียญ สร้างโรงงานใหม่ที่ Kentucky 36 13 ต.ค. 57 ฝาปิด Diamond ส าหรับบรรจุภัณฑ์เครื่องส าอาง 37 13 ต.ค. 57 BPF จะจัดงานสัมมนาพลาสติกส าหรับยานยนต์

- ข่าวเศรษฐกิจและสถานการณ์อุตสาหกรรม ข่าวเศรษฐกิจและสถานการณ์อุตสาหกรรมที่น าเสนอบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้น าเสนอทั้งสิ้น เป็นจ านวน 369 เรื่อง ดังนี้ ตารางที่ 2-14 หัวข้อข่าวเศรษฐกิจและสถานการณ์อุตสาหกรรม ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว เดือนที่ 1 1 21 ม.ค. 57 โตโยต้าคาดยอดขายรถยนต์ปีนี้ลดลง13.6% 2 22 ม.ค. 57 พิษศก.ชะลอ 'ซิงเกอร์'รับเอ็นพีแอลขยับ 3 22 ม.ค. 57 การเมือง-ศก.ชะลอ ฉุดตลาดรถร่วง13% 4 28 ม.ค. 57 เศรษฐกิจซบ-การเมืองวุ่น เอสเอ็มอีอ่วม 5 28 ม.ค. 57 สอท.คาดจีดีพีโตแค่2%การเมืองกดดัน 6 29 ม.ค. 57 ห่วงการเมืองป่วนถึงไตรมาส2จีดีพีต่ ากว่า3% 7 29 ม.ค. 57 คาดน้ ามันดิบปีนี้อยู่ที่102-104ดอลลาร์ 8 30 ม.ค. 57 ผลกระทบจากศก.ที่เริ่มชะลอ 9 30 ม.ค. 57 ทีดีอาร์ไอชี้ศก.แย่-การเมืองซ้ า เตะฝุ่นเพิ่ม 10 30 ม.ค. 57 พาณิชย์คาดส่งออกไตรมาสแรกเป็นบวก 11 30 ม.ค. 57 อานิสงส์ชุมนุม 'เครื่องดื่ม-อาหาร' ยอดพุ่ง 12 3 ก.พ. 57 ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดส่งออกไตรมาสแรกโตร้อยละ 2 13 4 ก.พ. 57 เงินเ ้อเดือนม.ค.เพิ่ม1.93% 14 4 ก.พ. 57 เกาหลีใต้เผยยอดขายรถยนต์ทั่วโลกเดือนม.ค.อ่อนตัวลง 2.1% 15 6 ก.พ. 57 ติดกับการเมืองศก.ปีนี้ส่อโต2.4% 16 6 ก.พ. 57 ‘ดีเอชแอล’ทุ่มเงินลงทุน119ล. ผุดศูนย์กระจายสินค้าแห่งใหม่

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -35

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 17 7 ก.พ. 57 ระเบิด 'จ าน าข้าว' ขยายวงเกินคาด 18 7 ก.พ. 57 การเมืองพ่นพิษธุรกิจแย่ ไม่เกิน4เดือนล าบาก 19 7 ก.พ. 57 ห่วงการเมืองยืดเยื้อเกิน6เดือนศก.ต่ า2% 20 7 ก.พ. 57 ดัชนีเชื่อมั่นผู้บริโภคต่ าสุดในรอบ26เดือน 21 10 ก.พ. 57 ผลส ารวจธุรกิจไตรมาสแรกส่อวูบ 22 12 ก.พ. 57 โตโยต้า จ่อยุบฐานการผลิตในออสเตรเลีย ตามรอยมิตซูบิชิ 23 13 ก.พ. 57 ธนาคารโลกคาดศก.ไทยปี 57 ขยายตัวร้อยละ 4 24 13 ก.พ. 57 พิษจ าน าข้าวฉุดยอดเช่าซื้อจยย. 25 13 ก.พ. 57 คาดปีหน้า 'ฮาร์ดดิสก์โลก' เริ่ม ื้น 26 17 ก.พ. 57 ประเมินปัจจัยกระทบตลาดรถ ศก.การเมืองป่วน-สต็อกคลี่คลาย 27 18 ก.พ. 57 การเมืองยื้อ ธุรกิจสร้างบ้านมีโอกาสเดี้ยง 28 18 ก.พ. 57 จีนเผยตัวเลข FDI เดือนม.ค.พุ่งขึ้น 16.11% แตะ 1.076 หมื่นล้านดอลล์ 29 18 ก.พ. 57 ศก.ญี่ปุ่นไตรมาส 4 น่าผิดหวัง โตน้อยกว่าที่คาดก่อนหน้าปรับเพิ่มภาษีการขาย 30 19 ก.พ. 57 นักวิเคราะห์คาดเศรษฐกิจในสหราชอาณาจักรจะโตขึ้นร้อยละ 2.5 ในปี 2014 31 19 ก.พ. 57 สอท.เตือนรัฐรอบคอบสอบท่อน้ าเลี้ยง 32 19 ก.พ. 57 การเมืองวุ่น!อสังหา ค้าปลีกอีสานชะลอ เดือนที่ 2 1 20 ก.พ. 57 HSBC เผยดัชนี PMI ภาคการผลิตเบื้องต้นจีนเดือนก.พ.หดตัวต่ าสุดในรอบ 7 เดือน 2 21 ก.พ. 57 ปัญหาการเมืองฉุดดัชนีอุตสาหกรรมร่วงต่อเนื่อง 3 21 ก.พ. 57 ยอดขายรถเดือนม.ค.ต่ าสุดในรอบ25เดือน 4 21 ก.พ. 57 ดัชนีเชื่อมั่นเดือนม.ค.ร่วงอยู่ที่86.9 5 21 ก.พ. 57 แสนสิริโอดการเมืองแรง ยอดขายคอนโดร่วง 6 21 ก.พ. 57 ชุมนุมฉุดมูลค่าอสังหา ร่วง5.8แสนลบ. 7 24 ก.พ. 57 พีทีทีจีซีคาดอิบิด้าปีนี้โตไม่ถึง10% 8 24 ก.พ. 57 ส่งออกเริ่มรับอนิงสงส์ เงินบาทอ่อนค่า เ อร์นิเจอร์ปีนี้จ่อโต5% 9 24 ก.พ. 57 ราคาสินค้าวัสดุก่อสร้างในญี่ปุ่นพุ่ง สค.แนะผู้ประกอบการศึกษาตลาด 10 25 ก.พ. 57 ตลาดรถยนต์เดือนม.ค.ยอดขายลด45.5% 11 25 ก.พ. 57 บ.ผลิตรถยนต์ เผยยอดขายรถยนต์ ม.ค.ลดลงกว่าปีที่ผ่านมา 12 26 ก.พ. 57 พาณิชย์คงเป้าส่งออกปีนี้ที่5% 13 26 ก.พ. 57 พาณิชย์เผยส่งออกม.ค.ติดลบ1.98% 14 26 ก.พ. 57 'ปลัดพาณิชย์'เชื่อต่างชาติไม่วิตกการเมืองไทย

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -36

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 15 27 ก.พ. 57 ซีพีเอ ตั้งเป้ายอดขาย5ปีโตเฉลี่ย10% 16 27 ก.พ. 57 'โออิชิกรุ๊ป'ตั้งเป้าครองแชมป์ทุกธุรกิจ 17 27 ก.พ. 57 เอกชนชี้การเมืองกระทบก าลังซื้อของผู้บริโภค 18 3 มี.ค. 57 ธปท.ชี้ัอัตราว่างงาน ม.ค.57 เพิ่มขึ้น 19 3 มี.ค. 57 สศอ.เตรียมปรับลดดัชนีอุตสาหกรรม 20 4 มี.ค. 57 ส.ผู้ค้าปลีกไทยคาดปี57 ธุรกิจค้าปลีกโต 6-7% 21 4 มี.ค. 57 7องค์กรเอกชนหนุนเจรจาไม่มีเงื่อนไข 22 4 มี.ค. 57 ส่งออกข้าวเดือน ม.ค.เพิ่ม19.9% 23 5 มี.ค. 57 คาดยอดขายรถมอเตอร์โชว์แตะ3.7-3.8หมื่นคัน 24 5 มี.ค. 57 โตโยต้าหวังยอดขายรถในยุโรปปีนี้เพิ่มขึ้น 25 6 มี.ค. 57 เงินเ ้อกุมภา พุ่ง 1.96% 26 11 มี.ค. 57 'เอ ดีไอ'2เดือนแรกลดแต่หลายชาติเพิ่มลงทุน 27 12 มี.ค. 57 บีโอไอเผยอุต 3กลุ่มหลัก ยังขยายการลงทุนช่วง2เดือน 28 13 มี.ค. 57 หนี้ครัวเรือนกระทบจีดีพีเหตุกู้ไปกิน-ใช้ 29 13 มี.ค. 57 ธุรกิจก่อสร้างอ่วมหลัง2ล้านล้านล่ม 30 14 มี.ค. 57 นักวิชาการเสนอรัฐบาลจัดล าดับลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน 31 14 มี.ค. 57 สศก.ชี้ดัชนีราคา-ผลผลิตเกษตรก.พ.วูบ 32 17 มี.ค. 57 มาสด้าชูไทย1ใน4ฐานผลิตโลก 33 18 มี.ค. 57 โตโยต้าหยุดผลิตรถในอินเดีย 34 18 มี.ค. 57 เมกะโปรเจครัฐล่ม ฉุดอุตสาหกรรมไอทีซึมยาว 35 18 มี.ค. 57 อสังหา พลิกแผนลุยเปิดโครงการใหม่ 36 20 มี.ค. 57 'Pizza Model' Model ความอยู่รอดอุตสาหกรรม SMEs ในยุควิกฤติ 37 20 มี.ค. 57 สศค. คาดส่งออกปีนี้ขยายตัว5% เดือนที่ 3 1 21 มี.ค. 57 หอการค้าเหนือ-อีสานลุ้นรบ.ใหม่สร้างรถไ รางคู่ 2 25 มี.ค. 57 'เหมราช'ตั้งเป้าขายที่ดินปีนี้1.6พันไร่ 3 25 มี.ค. 57 เตือนเหล็กเส้นต่ ามาตรฐาน ระบาดหนัก'ครองตลาด40%' 4 25 มี.ค. 57 ตั้งเป้ายอดผลิตรถยนต์ปีนี้ที่2.4ล้านคัน 5 27 มี.ค. 57 พาณิชย์คงเป้าส่งออกปีนี้โต5% 6 28 มี.ค. 57 นักเศรษฐศาสตร์มอง ศก.ไทยเริ่มอ่อนแอ คาดสิ้นปีถูกหั่นเครดิต 7 28 มี.ค. 57 สศค.ปรับลดคาดการณ์จีดีพีไทยเหลือร้อยละ 2.6

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -37

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 8 31 มี.ค. 57 สศค.จับตาปัญหาหนี้ครัวเรือนเพิ่มขึ้น 9 31 มี.ค. 57 อมตะมึนนักลงทุนต่างชาติชะลอซื้อที่ดิน 10 31 มี.ค. 57 เดมเลอร์ทุ่มลงทุนพันล้านยูโรในจีน 11 1 เม.ย. 57 'อมตะ'โอดพิษการเมือง ฉุดต่างชาติชะลอลงทุน 12 2 เม.ย. 57 ผู้ว่า ธปท. ยอมรับ "จีดีพี" ไตรมาส 1/57 อาจติดลบแต่ไม่น่ากังวล 13 4 เม.ย. 57 ศูนย์ข้อมูลอสังหา เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการQ1/57 ต่ าสุดรอบ 9ไตรมาส 14 4 เม.ย. 57 ยอดจองมอเตอร์โชว์7วัน1.7หมื่นคัน 15 4 เม.ย. 57 ชี้เลิกพรก.ต่างชาติกลับเที่ยวไทยแล้ว40% 16 4 เม.ย. 57 ความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือนก.พ.ต่ าสุดรอบ12ปี 17 8 เม.ย. 57 'อีโคคาร์'โอกาสตลาดเกิดใหม่ 18 8 เม.ย. 57 อากาศร้อนจัดยอดขายแอร์พุ่ง50% 19 8 เม.ย. 57 ธปท.ชี้บางธุรกิจเริ่มเปราะยอดขายวูบ 20 8 เม.ย. 57 ธนาคารโลกปรับลดจีดีพีไทยปี 57 เหลือ 3 % 21 8 เม.ย. 57 "เจซีอาร์" ลดมุมมองเศรษฐกิจไทยจากปัญหาการเมือง 22 9 เม.ย. 57 'ธีระชัย'ชี้'ศก.ดิ่ง'อาจส่งผลให้การเมืองยุติ 23 9 เม.ย. 57 ปตท.ยันหยุดซ่อมแหล่งบงกชไม่กระทบปชช. 24 9 เม.ย. 57 ส.อ.ท.หวั่นหลังสงกรานต์การเมืองแรงฉุดศก. 25 9 เม.ย. 57 ธุรกิจ'ปรับแผน'หนีการเมือง 26 10 เม.ย. 57 ธุรกิจอสังหา 'ซบ'ทั่วประเทศ 27 10 เม.ย. 57 ประธาน ส.อ.ท.คนใหม่ เดินหน้าแก้ขัดแย้งภายใน 28 11 เม.ย. 57 หยุดซ่อมบ ารุงก๊าซในอ่าวไทยไม่กระทบการใช้ไ ้า 29 17 เม.ย. 57 'ไอที'ปรับรับผลกระทบการเมือง เดือนที่ 4 1 24 เม.ย. 57 ห่วงไร้รัฐบาลฉุดเศรษฐกิจติดลบ 2 24 เม.ย. 57 หอการค้าคาด จีดีพีไทยโตร้อยละ 2.5 3 24 เม.ย. 57 เพิ่มไอเดียให้สินค้า ดันยอดขายธุรกิจ 4 25 เม.ย. 57 ปตท.จ่ายก๊าซแหล่งบงกชตามปกติแล้ว 5 25 เม.ย. 57 สสว.ชี้ผลส ารวจมี.ค.พิษการเมืองกระทบSMEsร้อยละ 76 6 41757 มองทิศตลาดจักรยานยนต์ ก าลังซื้อหด 7 28 เม.ย. 57 ปตท.เตรียมแผนขนส่งเอ็นจีวีใต้หลังหยุดซ่อม 8 28 เม.ย. 57 การเมืองยืดเยื้อฉุดส่งออกเหลือ3%

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -38

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 9 28 เม.ย. 57 เอกชนคาดส่งออกปีนี้พลาดเป้าหมายร้อยละ 5 10 29 เม.ย. 57 วิเคราะห์สภาวะแรงงานยุคเศรษฐกิจขาลง 11 29 เม.ย. 57 ยอดส่งออกรถเดือนมี.ค.เพิ่ม8.77% 12 29 เม.ย. 57 ส่งออกมี.ค.ติดลบ3.12% 13 6 พ.ค. 57 อุต รถยนต์'ลดโอที'ยอดผลิต-ขายร่วงหนัก 14 6 พ.ค. 57 เอกชนจับตาการเมืองหวั่นซ้ าเติมสภาพคล่อง 15 7 พ.ค. 57 หนุน SMEs ไทย สร้างรายได้สู่ครัวเรือน 16 8 พ.ค. 57 ทิศทางสินค้าเกษตร ปี 2557 17 8 พ.ค. 57 ภาคเอกชนหวั่นความรุนแรงหลังค าตัดสินของศาล รธน. 18 8 พ.ค. 57 ผลกระทบเหตุแผ่นดินไหวต่อเศรษฐกิจ จ.เชียงราย 19 8 พ.ค. 57 Google AdWords ช่วยขยายธุรกิจ SMEs 20 8 พ.ค. 57 แผ่นดินไหวกระเทือนธุรกิจเหนือ เบรกก าลังซื้อ 21 9 พ.ค. 57 นักลงทุนยังกังวลการเมืองไร้ทางออกฉุดเศรษฐกิจ 22 12 พ.ค. 57 ค่ายรถอัดแคมเปญแรงรับตลาดร่วงหนัก 23 12 พ.ค. 57 แนวโน้มตลาดสมาร์ทโ น-การจับจ่ายของผู้บริโภค 24 12 พ.ค. 57 มุมมอง"เศรษฐกิจ"กับ"การเมือง" 25 15 พ.ค. 57 ประเมินรายได้ตัวเอง อย่าคิดในแง่ดีสุดโต่ง 26 15 พ.ค. 57 ชี้ไร้รัฐบาล ประเทศ'อ่วม' 27 15 พ.ค. 57 พฤกษาคาดยอดขายปีนี้ทะลุเป้า4.5หมื่นลบ. 28 19 พ.ค. 57 พาณิชย์เผยเหตุความไม่สงบทางการเมือง ฉุดยอดจัดตั้งบริษัทใหม่เดือนเม.ย.ลด 29 19 พ.ค. 57 หนี้เสียบัตรเครดิตพุ่งสูงในรอบ 3 ปี 30 19 พ.ค. 57 นักวิจัยเตือนเศรษฐกิจไทยซึมยาว 31 20 พ.ค. 57 ทูตพาณิชย์มั่นใจส่งออกปีนี้โตได้5% 32 20 พ.ค. 57 "วิกรม" ชี้เสถียรภาพการเมืองกระทบการลงทุน 33 20 พ.ค. 57 สศช.ปรับลดเป้าศก.ทั้งปีโตเหลือ1.5-2.5% เดือนที่ 5 1 21 พ.ค. 57 สั่งทูตพาณิชย์เร่งแจง'กฎอัยการศึก'คู่ค้าต่างชาติ 2 21 พ.ค. 57 "นเรนทรา โมดี" ว่าที่นายก อินเดียเตรียมตั้งรัฐบาล 3 22 พ.ค. 57 พลังการจับจ่ายเอกชน ประเด็นของศก.ไตรมาส 1 4 41781 นิคมอุต อุดรเดินเครื่อง ต่างชาติเล็งตั้งฐานผลิต 5 23 พ.ค. 57 ดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรมต่ าสุดในรอบเกือบ 5 ปี

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -39

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 6 23 พ.ค. 57 เงินทองต้องรู้ : เศรษฐกิจติดลบ 7 23 พ.ค. 57 ไอดีซีชี้วิกฤตการเมืองฉุดยอดโตไอทีหดเหลือ 5.5% 8 23 พ.ค. 57 ตลาดหุ้นไทยร่วงกว่า 20 จุด 9 26 พ.ค. 57 หวังการเมือง-เกษตร ื้นยอดขายรถยนต์ 10 26 พ.ค. 57 ธุรกิจไม้อัดแท่งรับทรัพย์เป๋าตุง แห่เปิดโรงงาน 11 26 พ.ค. 57 เร่งเดินเครื่องกระตุ้นศก.คลังหวังจีดีพีปีนี้โตเกิน2% 12 27 พ.ค. 57 หวังเงินจ าน าข้าวช่วย ื้นศก.โต3% 13 28 พ.ค. 57 7 องค์กรหารือแนวทาง ื้นเศรษฐกิจ ก่อนเสนอ คสช.พิจารณา 14 28 พ.ค. 57 นักลงทุนญี่ปุ่นไม่กังวล คสช.บริหารประเทศ 15 29 พ.ค. 57 เอกชนขานรับทีมที่ปรึกษาเศรษฐกิจ คสช. 16 2 มิ.ย. 57 ปั้นทายาทนักอุตสาหกรรมรุ่นใหม่ 17 2 มิ.ย. 57 สรท.คงเป้าส่งออกโต3%การเมืองไม่กระทบ 18 2 มิ.ย. 57 คาดอสังหา คึกหลังการเมืองนิ่ง 19 2 มิ.ย. 57 เตรียมงบประมาณขาดทุน ปี 58 20 3 มิ.ย. 57 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเพิ่มสูงสุดในรอบ 4 เดือน 21 3 มิ.ย. 57 กกร.เสนอ 3 แนวทาง ื้น ูเศรษฐกิจ 22 4 มิ.ย. 57 สหพัฒน์มั่นใจครึ่งปีหลังเศรษฐกิจดีขึ้น 23 5 มิ.ย. 57 คสช.ไ เขียวแผนเร่งด่วน 4 โครงการ 24 5 มิ.ย. 57 คสช.จัดระบบให้เสร็จ ก่อนตั้งรัฐบาลชั่วคราว 25 5 มิ.ย. 57 ครัวเรือนไทยเสี่ยงผิดนัดช าระหนี้เพิ่มขึ้น 26 5 มิ.ย. 57 กสิกรไทยคาดปีนี้ไทยส่งออกยางพารา 3.7 ล้านตัน โต 7.7 % แต่มูลค่าหดตัว 6.5% 27 9 มิ.ย. 57 'SPCG'ผนึกกัล ์ รุกขยายธุรกิจพลังงานแสงอาทิตย์ 28 9 มิ.ย. 57 ค่ายรถญี่ปุ่นแชร์ข้อมูลเพิ่มขีดแข่งขัน 29 9 มิ.ย. 57 ธุรกิจ"ไมซ์" ื้นตัวเร็วหากการเมืองสดใสขึ้ัน 30 10 มิ.ย. 57 มิโนรุ อุซุอิ ดันภารกิจใหม่เอปสันสู่ตลาดนอกสังเวียนพรินติ้ง 31 11 มิ.ย. 57 ไทยเป็นศูนย์กลาง อาหารของโลกได้ ถ้า... 32 11 มิ.ย. 57 คสช.แถลงผลประชุมเร่งรัดการเบิกจ่ายงบปี?57 และการจัดท างบประมาณปี?58 33 16 มิ.ย. 57 7องค์กรคาดเศรษฐกิจปีนี้โต2% 34 16 มิ.ย. 57 พลังงานจ่อเสนอสร้างโรงไ ้าแม่เมาะต่อคสช. 35 17 มิ.ย. 57 คสช.เปิดโรดแมพเศรษฐกิจสัปดาห์หน้า 36 17 มิ.ย. 57 ทูตพาณิชย์พร้อมแจงคู่ค้าเชื่อแนวโน้มดี

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -40

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 37 17 มิ.ย. 57 4 เดือนแรกกับภาวะสินเชื่อ 38 17 มิ.ย. 57 กสิกร คงเป้าส่งออกปีนี้โต3-6% 39 18 มิ.ย. 57 พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง ยืนยันเดินหน้าลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน 40 18 มิ.ย. 57 ก.คมนาคมเสนอเดินหน้าแผนลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน เดือนที่ 6 1 24 มิ.ย. 57 พาณิชย์เร่งเตรียมข้อมูลแก้ปัญหาค้ามนุษย์ 2 24 มิ.ย. 57 TUFผิดหวังสหรัฐปรับสถานะไทยค้ามนุษย์ 3 24 มิ.ย. 57 'พฤกษา'ลุยลงทุน60โครงการรับอสังหา ื้น 4 25 มิ.ย. 57 'สอท'เชื่อสหรัฐ-อียูไม่คว่ าบาตรไทย 5 25 มิ.ย. 57 'เกริกไกร'เชื่อสหรัฐ-อียูไม่ตัดการค้า 6 26 มิ.ย. 57 กังวลวิกฤตอิรักกระทบราคาน้ ามันดิบปรับตัวสูงขึ้น 7 26 มิ.ย. 57 สธให้แนวทางการตรวจสุขภาพแรงงานข้ามชาติ 8 26 มิ.ย. 57 ธุรกิจหนุน'ปฏิรูปประเทศ' 9 26 มิ.ย. 57 ทูตจีนยาหอมคสชท างาน1เดือนการค้าไทย-จีน ื้น 10 27 มิ.ย. 57 เอกชนรายใหญ่ของไทย มั่นใจครึ่งปีหลังเศรษฐกิจ ื้น 11 27 มิ.ย. 57 ธุรกิจผลิตเสื้อกีฬาเติบโตต่อเนื่อง 12 27 มิ.ย. 57 คสชถกตัวแทนรัฐ-เอกชนเร่งล้างภาพค้ามนุษย์ 13 27 มิ.ย. 57 'ณรงค์ชัย'คาดจีดีพีปีนี้โตได้15% 14 27 มิ.ย. 57 พาณิชย์เผยส่งออกพคติดลบ214% 15 27 มิ.ย. 57 ธุรกิจโหมแคมเปญรับก าลังซื้อ ื้นตัว 16 30 มิ.ย. 57 คสชสางปัญหาแรงงานต่างด้าว 17 30 มิ.ย. 57 ภาคเกษตรยิ้ม-ค้าปลีก ื้นหนุนต่อยอดปรับโครงสร้าง-กระจายรายได้ 18 1 ก.ค. 57 ธปทเผยศกเดือนพคดีขึ้นหลังภาคการผลิต-การใช้จ่ายเอกชนมีสัญญาณขยายตัว 19 1 ก.ค. 57 หลายองค์กรเสนอแนวทางคสชจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติ 20 1 ก.ค. 57 สภาส่งออกสินค้าทางเรือ คาดส่งออกไทยเผชิญปัญหาในปีหน้า 21 1 ก.ค. 57 สัญญาณซื้อคอนโดมิย ื้น 22 1 ก.ค. 57 รถเล็กฉุดตลาดรวม'ทรุด'อัดแคมเปญปลุกก าลังซื้อ 23 2 ก.ค. 57 'ฮอนด้า'หั่นเป้าขาย15%ชี้ตลาดทรุดเกินคาด 24 2 ก.ค. 57 ยอดตั้งโรงงานใหม่พุ่งสูงสุดรอบ5เดือน 25 2 ก.ค. 57 พาณิชย์เผยเงินเ ้อมิยโต235%ชะลอตัว 26 2 ก.ค. 57 ถึงเวลาต้องกู้ภาพลักษณ์ ให้กับประเทศชาติอีกครั้ง

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -41

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 27 3 ก.ค. 57 คสชไ เขียวมาตรการ ื้นเศรษฐกิจ 28 3 ก.ค. 57 'นักธุรกิจอียู'ถกจุดยืนสัปดาห์นี้ 29 4 ก.ค. 57 ค่ายรถมั่นใจความเชื่อมั่นลูกค้า ื้นตัว 30 4 ก.ค. 57 ก ภพร้อมรับสถานการณ์ไ ้าภาคใต้ดับ 24 ชั่วโมง 31 4 ก.ค. 57 ผวาแรงงาน'ขาด'ธุรกิจป่วน 32 8 ก.ค. 57 สถาบันยานยนต์คาดยอดขายรถยนต์ปีนี้ลดลง5-10% 33 8 ก.ค. 57 เอกชนห่วง 5 กลุ่มอุตสาหกรรมขาดแคลนแรงงาน 34 9 ก.ค. 57 เตรียมเสนอ คสชวางแผนผลิตนักเรียนสายช่าง 35 9 ก.ค. 57 พิมพ์เขียวปั้นเอสเอ็มอีไทย แกร่ง 36 10 ก.ค. 57 คสชตั้งคกกร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ 37 10 ก.ค. 57 หนคสชย้ าหอการค้าต่างชาติอย่าทิ้งลงทุนไทย 38 15 ก.ค. 57 ยอดขายรถร่วง42%ค่ายรถอัดแคมเปญสู้ 39 15 ก.ค. 57 เงินทองต้องรู้ : กลับเข้าสู่เส้นทางปกติ 40 16 ก.ค. 57 การเมืองนิ่งดันอสังหา ื้นรอบ10เดือน 41 16 ก.ค. 57 พาณิชย์เร่งแจงสหรัฐเรื่องแรงงาน 42 16 ก.ค. 57 เศรษฐกิจสัญญาณดีชี้โตไม่ต่ า2% 43 16 ก.ค. 57 สภาหอการค้า เตรียมรับมือสหรัฐ ลดอันดับการค้ามนุษย์ 44 17 ก.ค. 57 อุต ปลาป่นไทยเป็นเหยื่อ'อียู'? 45 18 ก.ค. 57 กสิกรไทยปรับคาดการณ์จีดีพีปีนี้โต 23%จากเดิม 18% เดือนที่ 7 1 21 ก.ค. 57 นิสสันคาดยอดขายรถในปทเหลือ9แสนคัน 2 23 ก.ค. 57 ค่ายรถชี้มาตรการกระตุ้นศกดันตลาด ื้นตัวไตรมาส3 3 23 ก.ค. 57 ดัชนีเชื่อมั่นดีขึ้นในรอบ8เดือน 4 23 ก.ค. 57 'นิสสัน'มั่นใจฐานผลิตไทย ฮับอาเซียนขับเคลื่อนตลาดโลก 5 23 ก.ค. 57 คลังเผยหนี้สาธารณะต่อจีดีพี พค57 อยู่ที่ 4591% 6 23 ก.ค. 57 'เทสโก้โลตัส'ลุยส่งออก รับบริโภคสินค้าไทยพุ่ง 7 23 ก.ค. 57 ธุรกิจโอดก าลังซื้อรากหญ้าไม่ ื้น 8 24 ก.ค. 57 ปตทเผยแหล่งเจดีเอซ่อมบ ารุงเสร็จแล้ว 9 24 ก.ค. 57 คาดยอดส่งออกอัญมณีปีนี้โต7% 10 24 ก.ค. 57 คสชประชุมซูเปอร์บอร์ดรัฐวิสาหกิจ 11 24 ก.ค. 57 'ดัชนีความเชื่อมั่น'กระเตื้องแต่ยังอ่อนแอ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -42

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 12 24 ก.ค. 57 ดัชนีเชื่อมั่นอุต มิย ื้นเป็นเดือนที่2 13 24 ก.ค. 57 ยอดส่งออกรถยนต์เพิ่มขึ้น657% 14 28 ก.ค. 57 ปัดฝุ่นพัฒนา 'ขนส่งทางน้ า' ลดใช้พลังงาน-หนุนเพิ่มขีดแข่งขัน 15 28 ก.ค. 57 CPF มั่นใจก าไรปีนี้โตโดดเด่น 16 28 ก.ค. 57 'ปลัดกต'ถกหอการค้าต่างชาติแจงนโยบายคสช 17 28 ก.ค. 57 ยักษ์ไอทีเชื่อครึ่งปีหลัง ื้น สินค้าใหม่ทยอยเข้าตลาด 18 28 ก.ค. 57 คาดปี58 อุต พีซีพ้นวิกฤติ 19 28 ก.ค. 57 กกรประชุมแนวทาง ื้นเศรษฐกิจ เสนอ คสช 20 28 ก.ค. 57 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธไทยพาณิชย์ เผยหนี้ครัวเรือนไทยขยายสูงสุดในภูมิภาค 21 28 ก.ค. 57 กพาณิชย์ คาดการณ์ตัวเลขส่งออก มิยปรับตัวดีขึ้น 22 28 ก.ค. 57 ลดเป้าผลิตจับทิศอุต ยานยนต์ปี57 23 28 ก.ค. 57 หวั่นบาทแข็งกระทบส่งออกไตรมาส4 24 28 ก.ค. 57 บีโอไอเชื่อมั่นการลงทุนครึ่งปีหลังดีขึ้น 25 28 ก.ค. 57 ภาคธุรกิจคาดเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลังดีขึ้น หลัง คสชประกาศใช้ รธนชั่วคราว 26 29 ก.ค. 57 ยอดจดทะเบียนตั้งบริษัทใหม่ครึ่งปีแรกวูบ 27 29 ก.ค. 57 เช่าซื้อประคองตัวร์เชื่อตลาดรถ ื้นปลายปี 28 29 ก.ค. 57 'ช่องว่างทักษะ' จุดบอดธุรกิจโลก 29 29 ก.ค. 57 คาดแนวโน้มอสังหาริมทรัพย์ ื้นปีหน้า 30 30 ก.ค. 57 ดัชนีคอร์รัปชั่นไทยครึ่งปีแรกดีขึ้น ประชาชนตื่นตัว 31 30 ก.ค. 57 SME เชื่อมั่นอนาคตธุรกิจจะดีขึ้น หลังการเมืองนิ่ง : TMB Analytics 32 30 ก.ค. 57 คสชเตรียมอนุมัติโครงการเมกะโปรเจกต์ เ สแรก 33 30 ก.ค. 57 นวัตกรรมน าธุรกิจไทยสู่เวทีโลก 34 30 ก.ค. 57 การเมืองคลี่คลายดัชนีคาดการณ์ธุรกิจดีขึ้น 35 30 ก.ค. 57 'ค้าปลีก'ชงคสชปลุกก าลังซื้อ ห่วงหนี้ครัวเรือนฉุดบริโภค 36 31 ก.ค. 57 พาณิชย์จัดมหกรรมกระตุ้นศกคาดเงินสะพัด2พันล 37 31 ก.ค. 57 พาณิชย์ประเมินส่งออกครึ่งปีหลัง ื้นตัว 38 31 ก.ค. 57 โตโยต้าปรับประมาณการรถทรุด309% 39 31 ก.ค. 57 'พอเพียง' จะพาพ้นภัย 40 1 ส.ค. 57 สภาส่งออกสินค้าทางเรือปรับยอดส่งออกปี 57 เหลือร้อยละ 16 41 1 ส.ค. 57 มหอการค้าหั่นจีดีพีปีนี้เหลือ 22% 42 1 ส.ค. 57 ดึงผู้น าเข้าอาหารทะเลออสซี่ชมแหล่งผลิตประมงไทย

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -43

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 43 1 ส.ค. 57 'เอสซีจี'ปรับยอดขายหมื่นลครึ่งปีแรกรายได้ดีเกินคาด 44 4 ส.ค. 57 ตลาดรถยนต์ ปรับสมดุลคืน"หลักล้าน"ปี 58 45 4 ส.ค. 57 ตลาดรถครึ่งปีแรกร่วง40% ฉุดภาษีต่ าเป้า3หมื่นล้าน 46 5 ส.ค. 57 เศรษฐกิจภาคเหนือไตรมาส2ปรับตัวดีขึ้น 47 6 ส.ค. 57 ธอสเชื่ออสังหา ครึ่งปีหลัง ื้น 48 7 ส.ค. 57 'เบเกอรี่-อาหาร'ครึ่งปีแรกโตต่ าเป้า 49 7 ส.ค. 57 ยอดลงทุนตั้งโรงงาน7เดือน21แสนล้าน 50 7 ส.ค. 57 ลุ้นค าสั่งซื้อไตรมาส3 หนุนส่งออกครึ่งปีหลังโต 51 8 ส.ค. 57 หวั่นนายจ้างลอยแพแรงงานเอาต์ซอร์ซ 52 8 ส.ค. 57 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคกคอยู่ที่782 53 8 ส.ค. 57 ยอดสินเชื่อบ้านโต6% เร่งระบายสต็อกบ้าน'เก่า-ใหม่' 54 14 ส.ค. 57 ยกระดับแรงงาน'โลจิสติกส์' 55 14 ส.ค. 57 ธุรกิจจีนแห่เข้าไทย 56 18 ส.ค. 57 กลุ่มอสังหา ก าไรครึ่งปีพุ่ง24%กว่า1.38หมื่นล้าน 57 18 ส.ค. 57 ดัชนีเชื่อมั่นผู้บริโภค ก.ค.57 เพิ่ม แต่ประชาชนยังระวังการจับจ่าย 58 19 ส.ค. 57 สศช.ปรับลดการขยายตัว ศก.ทั้งปี เหลือ 1.5-2 59 19 ส.ค. 57 ไทย-เทศรุมตอมขุมทรัพย์ขยะ เดือนที่ 8 1 20 ส.ค. 57 ส.อ.ท.คาดยอดส่งออกรถยนต์ก.ค.ชะลอตัว 2 21 ส.ค. 57 IRPCเตรียมรื้อแผนร่วมทุนPTTGC 3 21 ส.ค. 57 คาดการณ์เศรษฐกิจ กับความพยายามให้เป็นจริง 4 22 ส.ค. 57 ภาคธุรกิจเชื่อ'ประยุทธ์' น าประเทศฝ่าวิกฤติ 5 22 ส.ค. 57 โตโยต้าเผยยอดขายรถเดือนก.ค.ร่วง29.2% 6 25 ส.ค. 57 เอกชนหวัง รบ.ใหม่ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ชี้ “ประยุทธ์” เหมาะสมต าแหน่งนายก 7 25 ส.ค. 57 ส.อ.ท.หวังรัฐบาลกระตุ้นศก.ดึงแรงซื้อปชช. 8 26 ส.ค. 57 สศช.เผยไตรมาส 2 จ้างงานลดลง-ว่างงานเพิ่มขึ้น 9 27 ส.ค. 57 รง.แหยงวิกฤติน้ าตอ.หวั่นซ้ ารอยปี48 10 27 ส.ค. 57 ผาแดง มุ่งสู่อุต สีเขียว 11 28 ส.ค. 57 โลตัสอัดแคมเปญลดใช้ถุงพลาสติก20ล้านใบ 12 28 ส.ค. 57 พาณิชย์คงเป้าส่งออกปีนี้โต3.5% 13 28 ส.ค. 57 ตัวเลขส่งออกไทยเดือนก.ค.ติดลบ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -44

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 14 2 ก.ย. 57 'เอ็มจี'เร่งสร้างความเชื่อมั่น-ประกันราคามือสอง 15 2 ก.ย. 57 หนุนเจรจาก๊าซกัมพูชาดันอุต ปิโตรเคมีเ ส3 16 2 ก.ย. 57 เอกชน ันธง'ส่งออก'ต่า 1% 17 2 ก.ย. 57 เงินเ ้อส.ค.ต่ าสุดในรอบ6เดือน 18 2 ก.ย. 57 'ทีโอเอ'แจงตลาดสี ื้นตามอสังหา 19 3 ก.ย. 57 ภาระกิจที่ท้าทายของทีมเศรษฐกิจ ครม.ประยุทธ์ 1 20 4 ก.ย. 57 ดัชนีความเชื่อมั่นเอสเอ็มอี ก.ค.เพิ่มขึ้น 21 4 ก.ย. 57 ก้าวสู่ธุรกิจออนไลน์ ทางรอดเอสเอ็มอีไทย 22 4 ก.ย. 57 ศก.ไทยรอดทางเทคนิค แต่ยังมีงานต้องท าอีกมาก 23 5 ก.ย. 57 ปตท.ร่วมองค์กรท้องถิ่นระยองแก้ขยะล้นเมือง 24 5 ก.ย. 57 พาณิชย์เล็งหั่นเป้าส่งออก-มั่นใจ'ฉัตรชัย' 25 5 ก.ย. 57 ขีดแข่งขันไทยขยับที่31โลก ชี้ศก.แข็งแกร่งแม้การเมืองวุ่น 26 8 ก.ย. 57 เอกชนหวั่นน้ าท่วมกระทบผลิตรถส่งออก 27 9 ก.ย. 57 'ค้าปลีก-อสังหา 'แข่งดุไฮซีซัน 28 9 ก.ย. 57 สภาหอ ชี้ความเชื่อมั่นนักลงทุนดีขึ้น 29 10 ก.ย. 57 เปิด..ขีดความสามารถไทย สู่สายตานักลงทุนโลก 30 10 ก.ย. 57 พาณิชย์รับเป้าส่งออกอาจหลุด3.5% 31 11 ก.ย. 57 'เก๋งเล็ก'ร่วงหนักฉุดตลาดรวม ค่ายรถอัดแคมเปญดันยอด 32 11 ก.ย. 57 อุต เ อร์นิเจอร์ ื้นคาดปีนี้ขยายตัว5% 33 12 ก.ย. 57 ทิศทางอสังหา ดีขึ้นหลังมีรัฐบาลใหม่ 34 15 ก.ย. 57 อดีตผู้ว่า ธปท.หวังรัฐบาลเน้นธรรมาภิบาลขับเคลื่อนประเทศ 35 15 ก.ย. 57 โจทย์เศรษฐกิจท้าทาย รัฐบาลประยุทธ์ 36 15 ก.ย. 57 นักศึกษาหวั่นตกงาน 37 16 ก.ย. 57 รมว.พาณิชย์ตั้งเป้าส่งออกปี58โต4% 38 16 ก.ย. 57 รมต.เศรษฐกิจเข้าท างานวันแรก-แก้ปัญหาเร่งด่วน 39 17 ก.ย. 57 'อินชอนเกมส์'ช่วยศก.เกาหลีใต้โค้งท้ายคึกคัก-หนุนส่งออกไทย 40 17 ก.ย. 57 'เวเนซุเอลา'ขาดแคลนเต้านมเทียม 41 17 ก.ย. 57 พาณิชย์เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคส.ค.57สูงสุดรอบเกือบ10ปี 42 18 ก.ย. 57 ส.อ.ท.หั่นเป้าผลิตรถยนต์-ศก.ชะลอ 43 18 ก.ย. 57 ดัชนีอุต ร่วงในรอบ4เดือน 44 18 ก.ย. 57 'บิ๊กธุรกิจ'แนะลุยอาเซียน ยึดคุณภาพ-เข้าถึงผู้บริโภค

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -45

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 45 18 ก.ย. 57 ก ผ.ลุยโรงไ ้านิวเคลียร์-ถ่านหิน 46 19 ก.ย. 57 กนอ.เตรียมเฝ้าระวังอุทกภัยพื้นที่เสี่ยง 47 19 ก.ย. 57 ธ.ซีไอเอ็มบี ชี้รัฐบาลประยุทธ์มุ่งปฎิรูปเศรษฐกิจ 48 19 ก.ย. 57 ค้าปลีก ื้นตัว...แต่ไม่ทั่วถึง เดือนที่ 9 1 22 ก.ย. 57 3 ปัจจัยเสริมสร้างขีดความสามารถการแข่งขันไทย 2 22 ก.ย. 57 ส่งออกรถยนต์8เดือนตลาดหลักพุ่ง 3 22 ก.ย. 57 ชี้ชิ้นส่วนยานยนต์จีนเสี่ยงสินค้าปลอมระบาด 4 22 ก.ย. 57 โบรกหั่นเป้ากลุ่มยานยนต์คาดยอดผลิตปีนี้2ล้านคัน 5 22 ก.ย. 57 รถบรรทุกเชื่อปี58ตลาด ื้น 6 22 ก.ย. 57 BJCคาดเริ่มขายสินค้าผ่านอีคอมเมิร์ซปลายปีนี้ 7 23 ก.ย. 57 ยอดขายรถร่วงอีก เดือนสิงหา ขายได้ 68,835 คัน ลดลง 31.4% 8 23 ก.ย. 57 'จักรมณฑ์'มั่นใจตลาดรถยนต์ปี58 ื้นตัว 9 23 ก.ย. 57 ผ่าแนวคิด'ลักขณา'บริหาร'คน'ส าคัญสุด 10 23 ก.ย. 57 ไทยเบ ตั้ง'วอร์ทีม'รุกตลาดต่างประเทศ 11 23 ก.ย. 57 ค่าย'รถสองล้อ'ปรับแผน หนีตลาดอิ่มตัวสู่'บิ๊กไบค์' 12 24 ก.ย. 57 'ปุ้มปุ้ย'โตสวนเศรษฐกิจ-คาดปีนี้ขยายตัว15% 13 25 ก.ย. 57 "ศุภชัย พานิชภักดิ์" คาดปี 58 เศรษฐกิจไทยโตถึงร้อยละ 5 14 25 ก.ย. 57 ดึงเอกชนร่วมประชุมทูตพาณิชย์ต.ค.นี้ 15 29 ก.ย. 57 ศก.โลกไม่ ื้นฉุดส่งออกส.ค.ติดลบสูงสุดรอบ32เดือน 16 29 ก.ย. 57 กลุ่ม'คอนซูมเมอร์'มั่นใจ'ก าลังซื้อ'ไตรมาส4 ื้น 17 29 ก.ย. 57 "ศุภชัย พานิชภักดิ์" กับการบริหารภาคเศรษฐกิจของไทย 18 29 ก.ย. 57 โปรตอนเผยโฉมรถเล็กคันแรกที่ผลิตเอง 19 29 ก.ย. 57 'พิชัย'หวังรัฐบาลกระตุ้นเศรษฐกิจเป็นรูปธรรม 20 29 ก.ย. 57 'อารีพงศ์'หนุนภาคใต้สร้างโรงไ ้าใหม่ 21 30 ก.ย. 57 โค้งท้ายตลาดรถป้ายแดงสู้ยิบตา 22 30 ก.ย. 57 แอร์'มิตซูบิชิ'พัฒนาสินค้ายกระดับตลาดบน 23 1 ต.ค. 57 ดัชนีอุต เดือนส.ค.ยังหดตัว แต่ทิศทางดีขึ้น 24 3 ต.ค. 57 กสิกร คาดยอดผลิตรถปี58ยืนเหนือ2ล้านคัน 25 3 ต.ค. 57 รมว.พาณิชย์มั่นใจส่งออกปีนี้ไม่ติดลบ 26 3 ต.ค. 57 ภาวะเศรษฐกิจอีสานเดือนส.ค.ปรับตัวดีขึ้น

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -46

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 27 3 ต.ค. 57 พาณิชย์ประเมินเงินเ ้อทั้งปี2.14% 28 3 ต.ค. 57 เผยดัชนีเชื่อมั่นผู้บริโภคก.ย.อยู่ที่79.2 29 3 ต.ค. 57 'ทีทีเอ'รุกธุรกิจอาหารในจีน 30 3 ต.ค. 57 พฤกษาคาดปี58เปิด60-70โครงการใหม่ 31 3 ต.ค. 57 เครื่องยนต์ขับเคลื่อนศก. ส่งออก 8 เดือนน่าเป็นห่วง 32 6 ต.ค. 57 เวิลด์แบงค์คาด ศก.ไทยปีนี้โต 1.5% ส่วนปี 58 โต 3.5% 33 6 ต.ค. 57 ศก.ท่องเที่ยวภาคการผลิตลดฉุดตลาดรถบรรทุกร่วง 34 7 ต.ค. 57 บ๊วยสุดในอาเซียน! ธ.โลก หั่นจีดีพีไทยขยายตัวต่ าสุด - โลกจับตานโยบาย รบ.ใกล้ชิด 35 7 ต.ค. 57 ชี้กระตุ้นเศรษฐกิจท้ายปี ส.อ.ท.ไม่มีผลปลุกตลาด 36 8 ต.ค. 57 เศรษฐกิจสหรัฐ ื้นตัว แต่ยุโรปซบเซา 37 8 ต.ค. 57 กกร.คาดจีดีพีปีนี้โต1.5% 38 9 ต.ค. 57 ถ้าจะแข่งขันให้ได้...ประเทศต้องเริ่มที่ 'คน' 39 9 ต.ค. 57 นักธุรกิจมองเศรษฐกิจไทยดีขึ้น 40 10 ต.ค. 57 จีนแซงสหรัฐ ขึ้นแท่นมหาอ านาจเศรษฐกิจเบอร์หนึ่งของโลก 41 10 ต.ค. 57 'พรนริศ'ชี้ปี58เป็นปีทองของอสังหา 42 10 ต.ค. 57 มาสด้าพร้อมเดินหน้าอีโคคาร์เครื่องดีเซล 43 13 ต.ค. 57 ลุยสร้างท่าเรือ'ปากบารา' 44 13 ต.ค. 57 นายก ชี้โครงการทวายไทยท าได้เพียงสนับสนุน 45 13 ต.ค. 57 ผู้น าจีนเชื่อมั่น ศก.ปีนี้ยังรักษาระดับโตร้อยละ 7.5 มุ่งนโยบายเปิด 46 13 ต.ค. 57 หอการค้าตราดวางแผนลงทุนปลูกปาล์มในกัมพูชา ส่งเสริมพลังงานทดแทน

- ข่าวกฎหมาย นโยบาย มาตรการทางการค้า และกฎระเบียบ ข่าวกฎหมาย นโยบาย มาตรการทางการค้า และกฎระเบียบที่น าเสนอบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้น าเสนอทั้งสิ้นเป็นจ านวน 232 เรื่อง ดังนี้ ตารางที่ 2-15 หัวข้อข่าวกฎหมาย นโยบาย มาตรการทางการค้า และกฎระเบียบ ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว เดือนที่ 1 1 21 ม.ค. 57 สป.ชงรัฐบาลใหม่แก้หนี้ครัวเรือน 2 23 ม.ค. 57 7องค์กรธุรกิจยุติบทบาทการเมืองไม่สนใจ 3 23 ม.ค. 57 หอการค้า ชี้พรก.ฉุกเฉินกระทบลงทุนระยะยาว

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -47

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 4 24 ม.ค. 57 'ชัชชาติ'เผยยอดเก็บภาษีขนส่งลด40% 5 28 ม.ค. 57 บีโอไอลุ้นกกต.อนุมัติตั้งบอร์ด 6 29 ม.ค. 57 ดีลอยด์ไม่หวั่นปัญหาการเมืองยันลงทุนต่อ 7 30 ม.ค. 57 กรอ.เผยยอดอุบัติเหตุโรงงานปี'56พุ่ง 8 31 ม.ค. 57 การเมืองป่วน ลดสั่งซื้อชิ้นส่วนรถยนต์70% 9 3 ก.พ. 57 พาณิชย์เผย ธ.ค.56 ยอดตั้งบริษัทใหม่วูบ เลิกกิจการ4.5พันราย 10 4 ก.พ. 57 ตั้งรง.ใหม่ร่วง2เดือนติด พิษชัตดาวน์กรุง 11 4 ก.พ. 57 กองทุนภัยพิบัติยันไม่ยุบ 12 4 ก.พ. 57 การเมืองพ่นพิษธุรกิจส่อเบี้ยวหนี้ กกร.ถกแนวทางช่วยเหลือ 13 6 ก.พ. 57 สทร.แนะเอกชนเลิกหวังพึ่งภาครัฐ เร่งปรับตัวฝ่าวิกฤติการเมือง 14 7 ก.พ. 57 จี้เลิกพรก.ฉุกเฉินด่วน! ต้นทุนขนส่งพุ่ง 15 10 ก.พ. 57 แอลพีจีขนส่งยังไม่ปรับขึ้นรอ ครม.ใหม่ชี้ขาด 16 11 ก.พ. 57 กรอ.รับชัตดาวน์แบงก์ค็อกฉุดลงทุน 17 11 ก.พ. 57 ธุรกิจเอสเอ็มอีสภาพคล่องฝืด 18 12 ก.พ. 57 ทิ้งรถคันแรกแสนราย คลังเตรียมรูดม่าน 19 12 ก.พ. 57 ครม.ต่ออายุลดภาษีดีเซลไปอีก1เดือน 20 17 ก.พ. 57 ผู้ส่งออกห่วงต่างชาติขาดความเชื่อมั่น ผวารัฐลากยาวพรก.ฉุกเฉิน 21 17 ก.พ. 57 “กนอ.”เร่งเดินหน้าก่อสร้างเขื่อน ป้องกันน้ าท่วมนิคมอุตสาหกรรม 22 17 ก.พ. 57 สอท.ชี้รัฐบาลรักษาการ เสียโอกาสดึงทุนนอกเข้ามาในไทย 23 18 ก.พ. 57 ทีดีอาร์ไออัดนโยบายคลังไม่ช่วยลดเหลื่อมล้ า เดือนที่ 2 1 3 มี.ค. 57 เบนซ์ร่วมมือหอการค้าเยอรมัน-ไทยพัฒนาบุคลากร 2 3 มี.ค. 57 เขตการค้าเสรีอาเซียน-อินเดีย (ASEAN-India Free Trade Area) 3 4 มี.ค. 57 สภาท่องเที่ยววอนรัฐเลิกพรก.ฉุกเฉิน 4 4 มี.ค. 57 7องค์กรเอกชนหนุนเจรจายุติขัดแย้ง 5 6 มี.ค. 57 ลุ้นสหรัฐปลดไทยหลุดบัญชีด าละเมิดลิขสิทธิ์ 6 6 มี.ค. 57 นักเศรษฐศาสตร์ชี้ ไทยมีความเสี่ยงถูกลดความน่าเชื่อถือ 7 7 มี.ค. 57 'บีโอไอ'ยันยังไม่พบสัญญาถอนลงทุน 8 10 มี.ค. 57 ไทยจับมือญี่ปุ่นดันส่งออกอาหารไทย 9 10 มี.ค. 57 "บีโอไอ"เผยปัญหาการเมืองตั้งบอร์ดใหม่ไม่ได้ ส่งผลหนุนลงทุนค้างท่อ5แสนล้าน 10 11 มี.ค. 57 เอสเอ็มอีหวังเสริมสภาพคล่องสินเชื่อดบ.พิเศษ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -48

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 11 11 มี.ค. 57 ยอดขอ'บีโอไอ'2เดือนแรกชะลอจับตาการเมือง 12 12 มี.ค. 57 พลังงานยันกองทุนน้ ามันรับมือราคาดีเซลได้ 13 12 มี.ค. 57 'พาณิชย์'ยันเดินหน้าเอ ทีเอตามกรอบ 14 12 มี.ค. 57 กสิกรไทยเร่งช่วยเหลือธุรกิจเอสเอ็มอี 15 12 มี.ค. 57 ส.อ.ท.วอนกปปส.เลิกชุมนุม 16 12 มี.ค. 57 ครม.ขยายเวลาลดภาษีดีเซลอีก1เดือน 17 13 มี.ค. 57 กองทุนน้ ามันติดลบพุ่ง7.4พันล้าน 18 13 มี.ค. 57 สั่งถก'แบงก์'อุ้มอสังหา 19 17 มี.ค. 57 ภาคเอกชนสนับสนุนยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน 20 17 มี.ค. 57 เลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินดึงเงินนอก เดือนที่ 3 1 1 เม.ย. 57 “คลัง-คมนาคม”หาเงินลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม 2 1 เม.ย. 57 คลังเตรียมมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ 3 2 เม.ย. 57 'ประมนต์'เสนอ5แนวทางแก้ทุจริตในไทย 4 2 เม.ย. 57 นายก แจงเลิกพรก.ฉุกเฉินเรียกความเชื่อมั่นศก. 5 2 เม.ย. 57 มั่นใจยกเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินท่องเที่ยว ื้น 6 4 เม.ย. 57 ภาคธุรกิจแนะรัฐบาลเร่งสร้างความเชื่อมั่นหลังยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน 7 4 เม.ย. 57 คณะกรรมการสหภาพยุโรปผลักดันให้ลดการใช้ถุงพลาสติกครั้งใหญ่ 8 4 เม.ย. 57 ปัญหาส่วนต่างก๊าซหุงต้มภาคครัวเรือน-ขนส่ง 9 4 เม.ย. 57 ติด 'จีพีเอส-เพิ่มโทษ' ทิ้งขยะอุต 10 4 เม.ย. 57 ตั้งบอร์ดบีโอไอชุดใหม่ ขับเคลื่อนลงทุนภาคเอกชน 11 4 เม.ย. 57 'บีโอไอ'ยืนเป้าหมายดึงลงทุน9แสนล้าน 12 8 เม.ย. 57 คาดแนวโน้มค่าไ ้าเอ ทีงวดใหม่ขยับขึ้น 13 8 เม.ย. 57 ส.อ.ท.รับวืดเป้าแผน 11ลดต้นทุนขนส่ง2% 14 9 เม.ย. 57 ครม.ขยายเวลาคงภาษีดีเซลอีก1เดือน 15 25 เม.ย. 57 สถานภาพแรงงานไทย ตกต่ าสุดในรอบ 6 ปี 16 25 เม.ย. 57 “หอการค้าไทย” ชี้แรงงานต้องการเพิ่มค่าแรงเป็นวันละ 388 บาท 17 25 เม.ย. 57 เผยรายชื่อบอร์ดบีโอไอชุดใหม่ เร่งพิจารณาเกือบ400โครงการ 18 25 เม.ย. 57 กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศแนะลงทุนภูฏาน 19 29 เม.ย. 57 ไตรมาสแรกปี 57 แรงงานไทยเดินทางไปท างานตปท.ลดลง 22% 20 29 เม.ย. 57 ขมน้ าตาล หวานบอระเพ็ด : แรงงานไทย

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -49

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว เดือนที่ 4 1 18 พ.ค. 57 ทีดีอาร์ไออัดนโยบายคลังไม่ช่วยลดเหลื่อมล้ า 2 2 พ.ค. 57 เตรียมเสนอนโยบายแรงงานต่อรัฐบาลชุดใหม่ 3 2 พ.ค. 57 เงินทองต้องรู้ : แรงงาน-แรงเงิน 4 6 พ.ค. 57 ออมสินออกมาตรการช่วยลูกค้าเอสเอ็มอี 5 6 พ.ค. 57 เอสซีจี จี้บอร์ดBOIหวั่นต่างชาติถอนทุน 6 7 พ.ค. 57 คณะกรรมการสภาเทศบาลเมืองชิคาโกมีมติอนุมัติการยกเลิกการใช้ถุงพลาสติก 7 7 พ.ค. 57 กรมโรงงาน เตรียมบรรจุเครื่องใช้ไ ้าใช้แล้วเพิ่มในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย 8 7 พ.ค. 57 อุต ระดมแผนรับมือไ ้าดับภาคใต้ 9 12 พ.ค. 57 "บีโอไอ" เดินหน้าอนุมัติโครงการลงทุน 10 12 พ.ค. 57 คาดSMEเตรียมปิดกิจการกว่า1แสนราย 11 12 พ.ค. 57 สนข.เตรียมเสนอรัฐอนุมัติงบกลางลงทุนระบบราง 12 12 พ.ค. 57 "สนพ." ยืนยันขึ้นราคาแอลพีจีภาคครัวเรือน 13 21 พ.ค. 57 BOIหนุนจับคู่กลุ่มธุรกิจญี่ปุ่น 14 21 พ.ค. 57 พาณิชย์ชี้ช่องทางเอกชนไทย ผลิตเส้นใยธรรมชาติขายจีน 15 21 พ.ค. 57 สสว.ดึง5แบงก์อุ้มเอสเอ็มอี 16 21 พ.ค. 57 ปธ.หอการค้าไทยประเมินกฎอัยการศึกกระทบระยะสั้น 17 21 พ.ค. 57 ภาคธุรกิจเชื่อกฎอัยการศึกสร้างความเชื่อมั่น 18 21 พ.ค. 57 สหรัฐ ไม่แซงชั่นไทยหลังประกาศกฎอัยการศึก 19 21 พ.ค. 57 ไร้รัฐบาลกระทบแผนไ ้าภูมิภาค 20 25 พ.ค. 57 พลังงานเตรียมหารือกกต.ขึ้นแอลพีจีขนส่ง เดือนที่ 5 1 22 พ.ค. 57 คลังหารือสมาคมธนาคารไทยช่วยเอสเอ็มอีช่วง ศก. ชะลอตัว 2 22 พ.ค. 57 เอกชนชี้ไม่ควรใช้กฎอัยการศึกเกิน 3-4 เดือน หวั่นกระทบเศรษฐกิจ 3 22 พ.ค. 57 ชงบอร์ดกนอ.ทบทวนตั้งบริษัทลูกลงทุนนอก 4 3 มิ.ย. 57 ก.พลังงานสั่งชะลอปรับราคาแอลพีจี 5 3 มิ.ย. 57 ก.อุต ปลดล็อค รง.4 และเร่งตั้งบอร์ดบีโอไอ 6 4 มิ.ย. 57 เปิด 7 แผนด่วนอัดฉีดเศรษฐกิจของคสช. 7 4 มิ.ย. 57 มูดี้ส์ยืนยันอันดับความน่าเชื่อถือและแนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือของไทย 8 5 มิ.ย. 57 ข้อเสนอกลุ่มจับตาปฏิรูปพลังงานไทย 9 9 มิ.ย. 57 คสช.แต่งตั้งบอร์ดบีโอไอ'ประยุทธ์'นั่งประธาน

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -50

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 10 9 มิ.ย. 57 ก.อุตสาหกรรมเตรียมงบ 250 ล้านบาท ปล่อยกู้ช่วยเหลือผู้ประกอบการSME 11 9 มิ.ย. 57 7 องค์กรเอกชนเตรียมเสนอแผน ื้นเศรษฐกิจ 12 10 มิ.ย. 57 คสช.ตั้งกก.บริหารนโยบายพลังงาน 13 10 มิ.ย. 57 สมาคมต้านโลกร้อนร้อง คสช. บี้ ก.อุต สั่งปิดไออาร์พีซี 14 10 มิ.ย. 57 3 กรม หารือ คสช.ปฏิรูปโครงสร้างภาษี 15 11 มิ.ย. 57 นักธุรกิจอีสานเชื่อประกาศกฎอัยการศึกท าให้ประเทศดีขึ้น 16 11 มิ.ย. 57 FDI วุ่นบอร์ดบีโอไอสิ้นสภาพ 17 11 มิ.ย. 57 ค้านไทยเข้าร่วมหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เอเชีย-แปซิ ิค 18 16 มิ.ย. 57 แรงงานเด็ก กับปัญหาสังคม 19 17 มิ.ย. 57 สรรพากรเสนอคสช. คงแวต7% อีก1ปี ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล20% 20 17 มิ.ย. 57 ประกันยันจ่ายสินไหมช่วงเคอร์ ิว 21 17 มิ.ย. 57 บสย.ของบ 3.2 พันล้าน ช่วย"เอสเอ็มอี-โอทอป" 22 18 มิ.ย. 57 FDA ประกาศอย่างเป็นทางการว่าจะมีการใช้การพิมพ์ 3 มิติ 23 19 มิ.ย. 57 ลุ้น'โรดแม็พศก.'คีย์ปั๊มจีดีพี 24 19 มิ.ย. 57 คสช. สั่งตรึงแอลพีจีภาคครัวเรือน –คงVAT 7%อีก 1 ปี 25 19 มิ.ย. 57 คสช.หารือกระทรวงการคลังสรุปแผนยุทธศาสตร์ เดือนที่ 6 1 23 มิ.ย. 57 จับตา 90 วัน สหรัฐ คว่ าบาตรการค้าไทยหรือไม่ 2 23 มิ.ย. 57 ปลัดแรงงานประชุมร่วมบริษัทจัดหาแรงงานข้ามชาติ 3 23 มิ.ย. 57 หวังปีหน้าอันดับค้ามนุษย์ไทยดีขึ้น 4 25 มิ.ย. 57 คาดอียูคว่ าบาตรไทยส่งออกร่วง10% 5 26 มิ.ย. 57 สค.เปิดแผนผนึกเอกชน-ทูตพาณิชย์มือโปร เจาะตลาด “จีน”รายมณฑล 6 26 มิ.ย. 57 เอกชนขนทีมบินเจรจาสหรัฐ ถอด'กุ้ง-ทูน่า'พ้นบัญชีค้ามนุษย์ 7 26 มิ.ย. 57 'ณรงค์ชัย'แจงนักธุรกิจออสเตรเลีย 8 30 มิ.ย. 57 สถาบันการศึกษาปรับหลักสูตรทวิภาคีรองรับตลอดแรงงาน 9 30 มิ.ย. 57 กรมพัฒนาธุรกิจการค้าเตรียมแก้ปัญหาการถือหุ้นแทนคนต่างชาติ 10 1 ก.ค. 57 ส.อ.ท.จี้รัฐเร่งถกเอ ทีเอไทย-อียู 11 2 ก.ค. 57 บอร์ด กนอ. ไ เขียวเว้นค่าบริการขออนุญาตใช้ที่ดินในนิคม 12 2 ก.ค. 57 สรรพากรเตรียมรื้อโครงสร้างภาษี ลดความเหลื่อมล้ า 13 3 ก.ค. 57 หอการค้าแนะบีโอไอโละโบรกเกอร์น าเข้าต่างด้าว 14 7 ก.ค. 57 เวก้า น าทัพSMEsไทยบุกเมืองจีน ปักธงเมืองเฉิงตู ด้วยงานแสดงสินค้าสุดอลังการ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -51

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 15 8 ก.ค. 57 องค์กรภาคธุรกิจชงคสช.7มาตรการปฏิรูปศก. 16 8 ก.ค. 57 คสช.ประกาศยกเลิกเคอร์ ิวเพิ่มอีก 20 จังหวัด 17 9 ก.ค. 57 กางแผนแก้ปม'ค้ามนุษย์'อุต ประมงลุ้นสหรัฐชี้ชะตา 18 9 ก.ค. 57 แจงแรงงานเขมรกระทบสั้นจี้คสช.สยบข่าวลือ 19 10 ก.ค. 57 เล็งเสนอคสช.แผนผลิตแรงงาน'ป้อนอุต ' 20 15 ก.ค. 57 นักวิชาการหนุนจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติ-ป้องกันจนท.เรียกรับผลประโยชน์ 21 15 ก.ค. 57 แนะคสช.จัดระเบียบแรงงานต่างด้าวใหม่ 22 17 ก.ค. 57 ตั้งคณะอนุ พิจารณาโครงการลงทุน200-750ล้าน 23 17 ก.ค. 57 บีโอไอไ เขียวลงทุน18โครงการกว่า1.2แสนล. 24 18 ก.ค. 57 ย้ าจัดระเบียบแรงงานต่างด้าวยิ่งซ้ าเติมศก. 25 18 ก.ค. 57 เปิด 28 โครงการถูกตรวจสอบ /บีโอไออนุมัติ18 โครงการ เงินลงทุน 1.2 แสนล้าน เดือนที่ 7 1 21 ก.ค. 57 สรรพากรเร่งเก็บภาษีหลังหลุดเป้า 2 23 ก.ค. 57 "ธีระชัย" ค้าน ก.อุต ของบหมื่นล้านสร้างเตาเผากากอุตสาหกรรม 4 ภาค 3 23 ก.ค. 57 บีโอไอคงเป้าหมายลงทุนปีนี้ที่7แสนล.-เชื่อครึ่งปีหลังการลงทุนปรับตัวดี 4 23 ก.ค. 57 วันแรกขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติจ.ชายทะเลคึกคัก 5 23 ก.ค. 57 ธปท.หนุนร่าง พ.ร.บ.หลักประกันธุรกิจ 6 23 ก.ค. 57 หน.คสช.สั่งบีโอไอตรวจสอบโครงการลงทุน1-2ปี 7 23 ก.ค. 57 กลุ่มปฏิรูปพลังงานชงขึ้นดีเซล1-3บาท 8 24 ก.ค. 57 ร่วมด้วยช่วยให้เอสเอ็มอีกู้ 9 24 ก.ค. 57 เผย RCEP เปิดเสรีมากกว่าเอ ทีเอ 10 24 ก.ค. 57 18ก.ค.'ประยุทธ์'นั่งบอร์ดBOI 11 24 ก.ค. 57 ไล่บี้2กระทรวงหาข้อสรุป เลิกใช้แร่ใยหินใน5สินค้า 12 24 ก.ค. 57 พลังงานชงเอ ไอทีรายปี ส่งกพช.พิจารณาก.ค.57 13 24 ก.ค. 57 คาดบีโอไออนุมัติโครงการ 7 แสนล้าน ก.ย.นี้ 14 29 ก.ค. 57 ไทยหนุนเกาหลีใต้ท าเอ ทีเอ 15 30 ก.ค. 57 ชี้ลงทุนเออีซีไทยเข้าข่ายเสียประโยชน์ 16 30 ก.ค. 57 คสช.ขยายเวลาปรับลดภาษีสรรพสามิตดีเซลอีก 1 เดือน สิ้นสุด 31 ส.ค.57 17 30 ก.ค. 57 คสช. อนุมัติแผนลงทุนรถไ รางคู่ วงเงินกว่า 127,000 ล้านบาท 18 1 ส.ค. 57 'ประจิน'เคาะ8แผนแก้ปัญหามาบตาพุด 19 6 ส.ค. 57 จีนสนแปรรูปสินค้าเกษตร ผนึกไทยร่วมมือทางธุรกิจ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -52

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 20 6 ส.ค. 57 คลังเตรียมออกกม.ลูกพรบ.ร่วมทุนดันลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน 21 7 ส.ค. 57 กรมโรงงานผุดโครงการอุต เชิงนิเวศ 22 7 ส.ค. 57 ทุ่ม70ล้านพัฒนาท่าเรือเชื่อมระบบขนส่ง 23 8 ส.ค. 57 JBICพบรองหัวหน้าคสช.เผยสนใจมีส่วนร่วมพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 24 14 ส.ค. 57 อุต จับมือส.อ.ท.ตั้งทีมขับเคลื่อนเศรษฐกิจ 25 18 ส.ค. 57 คสช.สร้างความเชื่อมั่นนักลงทุนต่างชาติ 26 20 ส.ค. 57 ถกบอร์ดบีโอไอก าหนดยุทธศาสตร์การลงทุน 27 20 ส.ค. 57 'พีอีเอ'ชี้นักลงทุนเมินโซลาร์ าร์ม เดือนที่ 8 1 22 ส.ค. 57 กระทรวงอุตสาหกรรม ชงคสช.ปลดล็อกใบอนุญาตรง.4 2 22 ส.ค. 57 ยุทธศาสตร์ใหม่บีโอไอ'โครงการดี'ได้สิทธิประโยชน์3 เด้ง 3 22 ส.ค. 57 2 ปีค่าแรงขั้นต่ า 300 บ. สิ่งที่เกิดขึ้น-สิ่งที่ต้องท าต่อ 4 25 ส.ค. 57 กสอ.ทุ่ม900ล้าน ื้น'เอสเอ็มอี'4กลุ่ม 5 25 ส.ค. 57 เกษตร สบช่องตีตลาดรัสเซีย หลังระงับน าเข้าสินค้าจากอเมริกาและอียู 6 26 ส.ค. 57 คณะผู้แทนการค้ารัสเซียเยือนไทยออเดอร์สินค้าปศุสัตว์ อาหารเพิ่ม 7 28 ส.ค. 57 นักธุรกิจไทย-ยุโรป เข้าพบหัวหน้าคสช. 8 28 ส.ค. 57 ดันไทยศูนย์กลาง'เมล็ดพันธุ์'อาเซียน 9 2 ก.ย. 57 ลั่น3เดือนก าจัดสินค้าไร้มาตรฐาน 10 2 ก.ย. 57 ภาคธุรกิจจี้รัฐเร่งกระตุ้นเศรษฐกิจ 11 4 ก.ย. 57 จี้ญี่ปุ่นเพิ่มลงทุนลุ่มน้ าโขง 12 4 ก.ย. 57 ลดก๊าซภาคอุต 0.74บาทต่อกิโล 13 4 ก.ย. 57 คาดยอดขอส่งเสริมการลงทุนไม่ต่ ากว่า7แสนล. 14 4 ก.ย. 57 เล็งต่อยอด4เลนตาก-แม่สอด 15 5 ก.ย. 57 คาดนักเดินทางกลุ่มไมซ์มาไทยกว่า8.8แสนคน 16 6 ก.ย. 57 นายประกัน'บสย.' เจ๋งจริง! คิดไกล ส่งเสริมผลักดันพัฒนาศักยภาพSMEs 17 6 ก.ย. 57 หน่วยงานรัฐขานรับสนับสนุนSMEs 18 8 ก.ย. 57 California ก าลังจะประกาศห้ามการใช้ถุงพลาสติกทั่วทั้งรัฐ 19 8 ก.ย. 57 ย้ าปรับมาตรฐานน้ ามัน-รถยนต์ปี2563 20 8 ก.ย. 57 ญี่ปุ่นหนุนเอสเอ็มอีไทย 21 9 ก.ย. 57 ยอดตั้งโรงงาน8เดือนแรกลดลง8% 22 9 ก.ย. 57 จัดท ามาตรฐานวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวรับประชาคมอาเซียน

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -53

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 23 10 ก.ย. 57 พาณิชย์ชี้สินค้าไทยติดบ่วงแรงงานเด็ก 24 10 ก.ย. 57 จับตาครม.'ตู่' เข้นมาตรการ งัดดบ.ต่ าฉุดศก. 25 10 ก.ย. 57 บอร์ดBOIไ เขียว ปล่อยอีโคคาร์2ฉลุย 26 10 ก.ย. 57 กรอ.เปิดโรดแมป6ด้านดันศก. 27 11 ก.ย. 57 ก ผ.เตือนถอดถ่านหินพ้นพีดีพีส่งผลต่อค่าไ ้า 28 12 ก.ย. 57 ญี่ปุ่นรุกพัฒนาร่วม'เอสเอ็มอี' 29 12 ก.ย. 57 สรรพากรเก็บภาษีต่ ากว่าเป้าหมาย 30 12 ก.ย. 57 กรมสรรพากรออกมาตรการแก้ปัญหาออกใบภาษีปลอม 31 12 ก.ย. 57 ถกมาตรฐานน้ ามันยูโร 4 รับ AEC 32 12 ก.ย. 57 โอดมาตรการ 'เอดี'เอาไม่อยู่ 33 12 ก.ย. 57 ' ิลิปปินส์'ไ เขียว7รง.ไก่ปรุงสุกไทย 34 12 ก.ย. 57 กรมการค้า ยืนยันราคาขนส่งสินค้าคงเดิม 35 15 ก.ย. 57 รมว.คลังกล่อมเอเชีย-ยุโรปร่วมลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน 36 15 ก.ย. 57 วิเคราะห์แนวทางปฎิรูปภาษีลดความเหลื่อมล้ า 37 15 ก.ย. 57 ปรับโครงสร้างราคาเชื้อเพลิงกระทบค่าครองชีพ 38 16 ก.ย. 57 "จักรมณฑ์"วาง3ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนอุตสาหกรรม 39 16 ก.ย. 57 บสย.แต่งตั้งคณะกรรมการชุดใหม่ ขับเคลื่อนค้ าประกันสินเชื่อให้ SMEs 40 17 ก.ย. 57 หอการค้าแนะปฏิรูปภาษีสรรพสามิต 41 19 ก.ย. 57 “ณรงค์ชัย”สั่งขึ้นราคาแอลพีจี-เอ็นจีวีต้นเดือนต.ค.นี้ 42 19 ก.ย. 57 กนง.มีมติเอกฉันท์คงดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 2.0 ต่อปี 43 19 ก.ย. 57 'ณรงค์ชัย'เดินหน้าปรับขึ้นLPG-NGVภาคขนส่ง 44 19 ก.ย. 57 บางจาก แนะควรทยอยปรับโครงสร้างดีเซล เดือนที่ 9 1 23 ก.ย. 57 รัฐหักดิบเลิกตรึงราคาดีเซลก่อนปีใหม่ 2 23 ก.ย. 57 มาเลเซียและอียิปต์เปิดใช้ภาษีป้องกันการทุ่มราคาในตลาด PET 3 23 ก.ย. 57 รมช.การค้า ญี่ปุ่นพบ'หม่อมอุ๋ย'ขอไทยลดภาษีน าเข้ารถยนต์ 4 24 ก.ย. 57 ครม.ตั้ง"อรรชกา ศรีบุญเรือง"เป็นปลัด ก.อุต 5 24 ก.ย. 57 พาณิชย์ถกผู้ประกอบการดันไทย'ฮับสินค้าอินทรีย์' 6 25 ก.ย. 57 บีโอไอออกประกาศใหม่เปิดช่อง'เอสเอ็มอี' 7 25 ก.ย. 57 รัฐเดินหน้า'รับเบอร์ซิตี้'รับการพัฒนาครบวงจร 8 26 ก.ย. 57 จี้เอกชนปรับตัวเลิกหวังพึ่งสิทธิ'จีเอสพี'

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -54

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 9 26 ก.ย. 57 เร่งดัน'แพคเกจ'กระตุ้นศก.รอบใหม่ 10 26 ก.ย. 57 'หม่อมอุ๋ย'เผยนายก ประกาศมาตรการกระตุ้นศก.สัปดาห์หน้า-ไม่ใช่ประชานิยม 11 29 ก.ย. 57 สสว.พัฒนาศูนย์ข้อมูลSMEsเสริมแกร่งผู้ประกอบการ 12 1 ต.ค. 57 "ศรีสุวรรณ" ร้องศาลปกครอง ขอระยองเป็นเขตควบคุมมลพิษทั้งจังหวัด 13 1 ต.ค. 57 กบง.ไ เขียวขึ้นราคา LPG-NGV 14 3 ต.ค. 57 ปตท.ตรึงแอลพีจีขนส่งหวั่นกระทบผู้บริโภค 15 6 ต.ค. 57 เอกชนชี้ไทยเข้าสู่วิกฤติแรงงาน 16 6 ต.ค. 57 มั่นใจยอดตั้งโรงงานใหม่สิ้นปีทะลุ3แสนล. 17 6 ต.ค. 57 สั่งปรับยุทธศาสตร์บีโอไอหนุนลงทุนศก.ดิจิทัล 18 6 ต.ค. 57 'ณรงค์ชัย'ย้ าขึ้นราคาแอลพีจีเดือนนี้62สต./กก. 19 7 ต.ค. 57 โตโยต้าขอรัฐออกนโยบายกระตุ้นตลาดรถยนต์ 20 7 ต.ค. 57 ดึงเจ้าสัวธุรกิจ'เรือธง'พัฒนา ดัน'เอสเอ็มอี'เจาะตลาดโลก 21 8 ต.ค. 57 ครม.ไ เขียว12กูรูเสริมแกร่งบอร์ดเอสเอ็มอี 22 8 ต.ค. 57 รัฐเร่งกฎหมาย4ฉบับก่อนสิ้นปี 23 8 ต.ค. 57 สผ.'ปลดล็อก'อีไอเอล่าช้า 24 9 ต.ค. 57 คลังพร้อมจ่ายงบไทยเข้มแข็ง1.5หมื่นล้าน ชง ครม. อังคารหน้า 25 9 ต.ค. 57 นายก บินเยือนเมียนมาร์ เตรียมลงนามเอ็มโอยู 3 ฉบับ 26 10 ต.ค. 57 ไทย-เมียนมาร์ เดินหน้าโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย 27 10 ต.ค. 57 ค่ายรถสปีดลงทุน "อีโคคาร์เ ส2" บีโอไอไ เขียวเขย่าเม็ดเงินลงทุนอีก 4.7หมื่นล้าน 28 13 ต.ค. 57 ภาคขนส่งและท่องเที่ยวกังวลขึ้นราคาดีเซล

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -55

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

2.2.4 มาตรการสนับสนุนของภาครัฐ / กฎระเบียบ - ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติกได้มีการ รวบรวมข้อมูลรายชื่อผู้ประกอบการพลาสติกรายใหม่ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI จัดเก็บข้อมูล ภายใต้หัวข้อ “ผู้ประกอบการพลาสติกที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ” รูปที่ 2-19 รายชื่อผู้ประกอบการพลาสติกที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -56

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

2.2.5 ข้อมูลกรอบการเจรจา FTA ของไทยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติกยังไม่มีข้อมูล เจรจา FTA ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติกเพิ่มเติม

2.2.6 ข้อมูลอุตสาหกรรมพลาสติกในอาเซียน - ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของแต่ละประเทศในอาเซียน ได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ทันสมัยมากขึ้น ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติกได้มีการเพิ่มข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของแต่ละประเทศในอาเซียนดังนี้ ล าดับ ข้อมูล 1 วิเคราะห์ PEST ของประเทศลาว 2 วิเคราะห์ PEST ของประเทศกัมพูชา 3 วิเคราะห์ PEST ของประเทศบรูไน 4 วิเคราะห์ PEST ของประเทศเวียดนาม 5 วิเคราะห์ PEST ของประเทศสิงคโปร์ 6 วิเคราะห์ PEST ของประเทศพม่า 7 SWOT ของประเทศพม่า 8 SWOT ของประเทศกัมพูชา 9 SWOT ของประเทศบรูไน 10 SWOT ของประเทศลาว 11 SWOT ของประเทศเวียดนาม 12 SWOT ของประเทศสิงคโปร์

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -57

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

รูปที่ 2-20 ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในอาเซียน

- ข้อมูลอุตสาหกรรมพลาสติกในอาเซียน ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้จัดท าข้อมูล การค้าและข้อมูลอุตสาหกรรมของประเทศต่างๆ ในอาเซียนเพิ่มเติมดังนี้ ตารางที่ 2-16 ข้อมูลอุตสาหกรรมพลาสติกในอาเซียน ล าดับ ข้อมูล 1 SWOT อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ของลาว 2 SWOT อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ของกัมพูชา 3 SWOT อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ของบรูไน 4 SWOT อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ของเวียดนาม 5 SWOT อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ของสิงคโปร์ 6 SWOT อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ของพม่า

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -58

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

รูปที่ 2-21 วิเคราะห์ข้อมูลอุตสาหกรรมของประเทศในอาเซียน

- ข้อมูลการค้าพลาสติกในอาเซียน (น าเข้า-ส่งออก) ข้อมูลภาพรวมการค้าผลิตภัณฑ์พลาสติกได้ถูกจัดท าในรูปแบบกรา โดยน าเสนอในหน้าแรกของ เว็บไซต์ AEC และน าเสนอเป็นข้อมูลรายประเทศในหน้าเว็บไซต์ของแต่ละประเทศ ตลอดช่วงการจัดท า โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้จัดท าข้อมูลการค้าของประเทศต่างๆ ในอาเซียนดังนี้ ตารางที่ 2-17 ข้อมูลการค้าพลาสติกในอาเซียน ประเทศ ข้อมูล Brunei มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557 Cambodia มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557 Laos มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557 มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557 Malaysia มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557 Myanmar มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557 Philippines มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557 Singapore มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557 Thailand มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557 Vietnam มกราคม 2557 – กรกฎาคม 2557

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -59

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

รูปที่ 2-22 สถิติการน าเข้าส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติกของอาเซียน รายเดือน

- ข่าวสารต่างๆ ที่น่าสนใจและข่าวเศรษฐกิจในอาเซียน ข่าวสารต่างๆ ที่น่าสนใจของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและข่าวเศรษฐกิจในอาเซียนที่น าเสนอบน เว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก อุตสาหกรรมพลาสติก ได้น าเสนอทั้งสิ้นเป็นจ านวน 364 เรื่อง ดังนี้ ตารางที่ 2-18 ข่าวสารต่างๆ ที่น่าสนใจและข่าวเศรษฐกิจในอาเซียน ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว เดือนที่ 1 1 21 ม.ค. 57 แรงงานพม่าผวาชัตดาวน์ ชะลอเข้าไทย 2 21 ม.ค. 57 'เมียนมาร์ อีเล เว่น'เปิดตัว'อี-เปเปอร์' 3 21 ม.ค. 57 โตโยต้าทบทวนแผนลงทุน2หมื่นล้าน-ลดก าลังผลิตในไทย กังวลวิกฤตการเมืองยืดเยื้อ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -60

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 4 23 ม.ค. 57 อุต ท่องเที่ยวอ่วม รัฐงัดพรก.ฉุกเฉินคุมม็อบ 5 24 ม.ค. 57 เช โรเลตชี้อินโด จ่อขึ้นที่1ตลาดอาเซียน 6 27 ม.ค. 57 บสย.ตรวจจับชีพจร'เอสเอ็มอี' 7 27 ม.ค. 57 'มาม่า'หวั่นเศรษฐกิจชะลอฉุดก าลังซื้อ 8 27 ม.ค. 57 ธนาคารโลกช่วยเมียนมาร์พัฒนาคุณภาพชีวิต 9 28 ม.ค. 57 อมตะหวั่นต่างชาติโยกลงทุนประเทศคู่แข่ง 10 28 ม.ค. 57 ทูตไทยแนะนักธุรกิจเร่งลงทุนในพม่า 11 29 ม.ค. 57 ก ผ.อินเตอร์ลุยเวียดนาม-พม่า-ลาว 12 29 ม.ค. 57 สศอ.คาดปีนี้จีดีพีภาคอุตสาหกรรมโต4% 13 30 ม.ค. 57 อุต อาหารลดเป้าส่งออกเหลือ9.7แสนล้าน 14 30 ม.ค. 57 การเมืองฉุดขีดแข่งขันเอสเอ็มอี'ร่วง' 15 31 ม.ค. 57 ทีดีอาร์ไอเตือนแรงงานรับมือผลกระทบปัญหาเศรษฐกิจ-วิกฤตการเมืองยืดเยื้อ 16 31 ม.ค. 57 มองตลาดค้าปลีกไทยปีม้า 17 31 ม.ค. 57 AEC Move วันที่ 26 - 29 มกราคม พ.ศ. 2557 18 31 ม.ค. 57 เทียบท่าอินโดนีเซีย 19 31 ม.ค. 57 การมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและเอกชนในอาเซียน 20 3 ก.พ. 57 นายก ลีเชื่อเอเชียสันติ ชี้เอเชียเผชิญการเปลี่ยนแปลงพลิก ้ายิ่งใหญ่ 21 3 ก.พ. 57 ลาวหนุนลงทุนเหมืองทองแดงลาว 22 3 ก.พ. 57 ธนาคารโลกทุ่ม 6 หมื่นล้านพัฒนาเมียนมาร์ 23 3 ก.พ. 57 อุปสรรคใหม่จากฝีมือเพื่อนอาเซียน 24 3 ก.พ. 57 'ย้ายฐานผลิต-เพิ่มศักยภาพ'สู่ความยั่งยืน 25 3 ก.พ. 57 พีดีเฮาส์หนีกรุง มุ่งภูธรดันยอดขาย2พันล. 26 3 ก.พ. 57 AEC Move วันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 27 7 ก.พ. 57 ก่อสร้างชะลอ งานรัฐ,เอกชนหด รับเหมาเบนเข็มรับงาน ตปท. 28 7 ก.พ. 57 'ไ ้า-อิเล็ก 'โยกค าสั่งซื้อ หวั่นการเมืองป่วน 29 7 ก.พ. 57 มอเตอร์เอ็กซ์โป 2014 เตรียมต้อนรับ AEC 30 10 ก.พ. 57 ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น 31 10 ก.พ. 57 'ซิตี้'คาดศก.ไทยปีนี้เติบโตได้ 3.1% -จับตาศก.ตลาดเกิดใหม่โตแซงตลาดพัฒนาแล้ว 32 10 ก.พ. 57 เศรษฐกิจอินโดเริ่มไม่คึกครื้นขยายแค่5.78% 33 10 ก.พ. 57 ผลผลิตข้าวต่อไร่ของไทยต่ ามาก 34 10 ก.พ. 57 พม่าส่งข้าวคุณภาพสูงไปญี่ปุ่นรอบ2อีก6พันตัน

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -61

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 35 11 ก.พ. 57 เวียดนามลุ้นส้มหล่นส่งออกข้าวแทนไทย 36 11 ก.พ. 57 ิลิปปินส์เผย FDI เพิ่มขึ้น 36.6% ในเดือนม.ค.-พ.ย. 2556 37 13 ก.พ. 57 ิลิปปินส์เรียกร้องสิทธิสตรี 38 13 ก.พ. 57 เยอรมนียกหนี้ให้เมียนมาร์กระชับความสัมพันธ์ 39 13 ก.พ. 57 ไทยออยล์พร้อมลงทุนอาเซียนรับเออีซี 40 17 ก.พ. 57 กนอ.ลุยเพิ่มพื้นที่นิคม รับเออีซี 41 17 ก.พ. 57 เกาะชวาเริ่มกลับสู่ปกติหลังเหตุภูเขาไ ระเบิด 42 17 ก.พ. 57 เมกะโปรเจกท์'ทวาย'ทุนไทย...รุกวิถีชาติพันธุ์ 43 17 ก.พ. 57 AEC Move วันที่ 9 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 เดือนที่ 2 1 18 ก.พ. 57 อินโด ขาดดุลน้อยไตรมาส 4 เหตุเร่งส่งออกสินแร่ก่อนโดนห้าม 2 19 ก.พ. 57 AEC Move วันที่ 16 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 3 19 ก.พ. 57 ลาวขุดรากขบวนการลอบตัดไม้ภาคกลาง ยึดเผาเลื่อยยนต์กว่า 400 เครื่อง 4 19 ก.พ. 57 เหมืองทองลาวปลดคนกว่า 400 หลังสายแร่แห้งขอดต้องเลิกผลิต 5 19 ก.พ. 57 นักท่องเที่ยวสิงคโปร์ใช้เงินมากสุดเป็นประวัติการณ์ แต่เพิ่มขึ้นน้อยสุดนับจากปี ′52 6 20 ก.พ. 57 ปัญหาหมอกควันไ ป่าอินโดนีเซียกระทบการบิน 7 21 ก.พ. 57 'ปชต.'กับความขัดแย้งทางการเมืองในอาเซียน 8 21 ก.พ. 57 นสพ.พนมเปญโพสต์ อ้างผู้ส่งออกเขมรซัดโครงการข้าวไทยท ากระทบ 9 24 ก.พ. 57 การยืนยันอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศไทย โดย Moody’s Investors Service 10 24 ก.พ. 57 ต่างชาติเลี่ยงเดินทางผวาพรก.ฉุกเฉิน จี้การเมืองไทยยุติก่อนพัง 11 25 ก.พ. 57 TMBเผยความเชื่อมั่น SME ต่าเป็นไตรมาสที่ 3 ติดต่อกันจากปัจจัยการเมือง 12 25 ก.พ. 57 แผ่นดินไหว SUMBAWA REGION อินโดนีเซีย 5.0 ริกเตอร์ 13 26 ก.พ. 57 ิลิปปินส์ประท้วงสหรัฐ 14 26 ก.พ. 57 สนามบินอัตตะปือของลาวไปเร็ว เปิดแดนลี้ลับตอนใต้สุดสู่การลงทุน 15 26 ก.พ. 57 สื่อนอกกังวลประท้วงไทยฉุดส่งออกร่วง 16 27 ก.พ. 57 เตือนสินค้าไทยขีดแข่งขันลด 17 3 มี.ค. 57 ยันไม่เคยส่งข้าวราคาต่ าทุ่มตลาดอิเหนา 18 3 มี.ค. 57 พม่าเจรจากับกลุ่มชาติพันธุ์หยุดยิงทั่วประเทศ 19 3 มี.ค. 57 AEC Move วันที่ 23 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 20 3 มี.ค. 57 บ.รถแห่เข้าเมียนมาร์ จีเอ็มส่ง'เช โรเลต'เข้าตลาดเมืองหม่องครบทุกรุ่น 21 3 มี.ค. 57 รัฐบาลเวียดนามเรียกซัมซุงช่วย ื้นอุต ต่อเรือ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -62

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 22 4 มี.ค. 57 พาณิชย์ปัดขายข้าวต่ ากว่าทุนสั่งทูตแจงอินโด 23 6 มี.ค. 57 อิเหนาชวนต่างชาติลงทุนหลังการเมืองไทยวุ่น 24 6 มี.ค. 57 สรท.คงเป้าส่งออกปีนี้โต5%เหตุตลาดหลัก ื้น 25 6 มี.ค. 57 ลาวสร้างเขื่อนไ ้าส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ห่างไกลทางภาคเหนือ 26 6 มี.ค. 57 บาทแข็งค่าน าทุกสกุลในเอเชีย 27 7 มี.ค. 57 กูรูการค้าญี่ปุ่นชูไทย-อินโด เป้าดึงเงินนอก 28 7 มี.ค. 57 การเมืองไทยป่วน!ญี่ปุ่นหนีลงทุนอินโด 29 7 มี.ค. 57 ชี้กัมพูชาเร่งขยายพื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง 30 11 มี.ค. 57 คอร์รัปชั่นไทยแซงหน้า ิลิปปินส์ 31 13 มี.ค. 57 AEC Move วันที่ 9 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2557 32 13 มี.ค. 57 การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนในอาเซียน 33 13 มี.ค. 57 ร้านกาแ รุ่งในมาเลย์ คอ ี่ช็อปแบรนด์อิสระเปิดทั่วประเทศสนองไล ์สไตล์ใหม่ 34 13 มี.ค. 57 อินเดียเร่งเชื่อมเศรษฐกิจเมียนมาร์ 35 17 มี.ค. 57 แผ่นดินไหว 4.8 ริกเตอร์ เกาะชวา อินโดนีเซีย 36 18 มี.ค. 57 304 อินดัสเตรียล ปาร์คเดินหน้าพัฒนาที่ดินอีกกว่า 2,500 ไร่ รองรับตลาด AEC 37 18 มี.ค. 57 พื้นที่ชนบทเมียนมาร์ยังมีปัญหายาเสพติด 38 20 มี.ค. 57 AEC Move วันที่ 16 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2557 39 20 มี.ค. 57 'มือถือ'ส่งออกอันดับ 1 เวียดนาม 40 20 มี.ค. 57 นิติธรรมสิงคโปร์เยี่ยมอันดับ 2 ในโลก สังคมสงบเพราะก.ม. 41 20 มี.ค. 57 เจรจาสันติภาพรัฐบาลเมียนมาร์และชนกลุ่มน้อยยังยืดเยื้อ เดือนที่ 3 1 24 มี.ค. 57 ชิ้นส่วนญี่ปุ่นยันไทยแข็งแกร่งในอาเซียน 2 25 มี.ค. 57 ปตท.หนุนแนวคิดจัดตั้งอาเซียน ฮับ 3 26 มี.ค. 57 AEC Move วันที่ 23 - 26 มีนาคม พ.ศ. 2557 4 27 มี.ค. 57 ผู้รับเหมาอินโด ป่วน หวั่นเปิดเออีซี บ.ก่อสร้างสิงคโปร์ มาเลเซีย ไทยฮุบงาน 5 27 มี.ค. 57 ปินส์ช่วยคนจนลดช่องว่างรายได้ 6 27 มี.ค. 57 เวียดนามเร่งหาเงิน ส่งออกผักผลไม้ แก้วมังกรขายทั่วโลก 7 27 มี.ค. 57 เออีซีหนุนตลาดแรงงานพุ่ง ชี้บุคลากร'ทีวีดิจิทัล'ดาวรุ่ง 8 31 มี.ค. 57 เออีซีคึก เช รอนผุดศูนย์รถใหญ่ครั้งแรกในเอเชีย 9 4 เม.ย. 57 AEC Move วันที่ 30 มีนาคม - 2 เมษายน พ.ศ. 2557 10 4 เม.ย. 57 ไปท่องเที่ยวอาเซียนกระตุ้นดีที่สุด

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -63

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 11 4 เม.ย. 57 แผนงานการรวมกลุ่มทางการเงินและการคลังของอาเซียน 12 4 เม.ย. 57 มือถือ2จีบุกอินโด ไฮเออร์- อกซ์คอน-ออปโป พาเหรดตั้งโรงงานผลิตสมาร์ทโ น 13 4 เม.ย. 57 ลาวสร้างเขื่อนผลิตไ ้าได้อีกตรึม 14 4 เม.ย. 57 ค่ายรถดังเมืองเบียร์ “โ ล์คสวาเกน” เล็งขอตั้งโรงงานผลิตแห่งแรกในไทย 15 10 เม.ย. 57 AEC Move วันที่ 6 - 9 เมษายน พ.ศ. 2557 16 10 เม.ย. 57 ดีแทคลุยงานเมียนมาร์ เทเลนอร์ดึงอิริคสันเข้าเมียนมาร์ช่วยสร้างเครือข่ายมือถือ 17 10 เม.ย. 57 สิงคโปร์เตรียมตัวเป็นอิน ราฮับเอเชีย พัฒนาหาเงินและรับเหมาโครงการยักษ์ 18 10 เม.ย. 57 เศรษฐกิจ ิลิปปินส์แรงสุดในอาเซียน ส่วนไทยตกไปบ๊วย 19 10 เม.ย. 57 ผลเลือกตั้ง ส.ส.อินโด อย่างไม่เป็นทางการ ฝ่านค้านน าร้อยละ 18.8 20 10 เม.ย. 57 เมียนมาร์เจรจาหยุดยิงกับกลุ่มชาติพันธุ์ 21 กลุ่ม 21 11 เม.ย. 57 ปตท.ลุยเปิดปั๊มน้ ามันอาเซียน200แห่งใน5ปี 22 11 เม.ย. 57 ปตท.ตั้งเป้ายอดขายน้ ามันในอาเซียนโต10-15% 23 11 เม.ย. 57 พิษการเมือง!อินโดนีเซียจ่อแซงหน้าไทย ครองบัลลังก์ตลาดรถยนต์เบอร์1อาเซียน 24 17 เม.ย. 57 ไอซีทีพม่าเนื้อหอม เอกชน-สมาคมหาช่องบุกตลาด 25 17 เม.ย. 57 เวียดนามบูม'ขับรถเที่ยว'ชี้เปิดตลาดสินค้าไทย 26 17 เม.ย. 57 เวียดนามจ่อส่งออกข้าว ิลิปปินส์8แสนตัน 27 17 เม.ย. 57 ลงทุน'เมียนมาร์'เตือนรอบคอบความเสี่ยงยังสูง 28 17 เม.ย. 57 เอกชนหวังค้าชายแดนช่วยพยุงศก. 29 17 เม.ย. 57 เอ็กโกมุ่งลงทุน ิลิปปินส์-อินโด 30 18 เม.ย. 57 AEC Move วันที่ 27 - 30 เมษายน พ.ศ. 2557 31 18 เม.ย. 57 ธุรกิจอินโด บุกอาเซียน แห่ยึดหัวหาดเมียนมาร์ 32 18 เม.ย. 57 เวียดนามเร่งลงทุน สนามบินเตินเซินเญิ้ต ถนนวงแหวนฮานอย 33 18 เม.ย. 57 อินโดนีเซียเป็นเจ้าประมงอาเซียนแน่ 34 18 เม.ย. 57 หนุนไทย Hub of Asean ผลิตชิ้นส่วนอุต 35 18 เม.ย. 57 พาณิชย์รุกหนักตลาดอาเซียนครึ่งปีหลัง 36 21 เม.ย. 57 'TAPA 2014'ไทยอวดศักยภาพผู้น าอาเซียน 37 21 เม.ย. 57 ครม.ไ เขียวยกระดับพัฒนาเศรษฐกิจสามฝ่าย 38 21 เม.ย. 57 นายก ประชุมอาเซียนที่เมียนมาร์ 39 21 เม.ย. 57 อร์จูนพาร์ทผนึกจีนผลิตรถยนต์ไ ้า 40 21 เม.ย. 57 ซาปุระ กรุ๊ป มาเลเซีย เดือนที่ 4

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -64

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 1 6 พ.ค. 57 เบทาโกรสร้างโรงแปรรูปไก่ น าตรา“ฮาลาล”รับศึกเออีซี 2 6 พ.ค. 57 แรงงานไทยไปต่างประเทศลดต่อเนื่อง จับตาเออีซีเปิดทางต่างด้าวแห่มาตรึม! 3 6 พ.ค. 57 นักลงทุนตลาดหลักทรัพย์7ประเทศสนใจการค้าเชียงราย 4 9 พ.ค. 57 รง.สิ่งทอเวียดนามรุ่งรับทีพีพี นักลงทุนใน-นอกเล็งขายU.S.A. 5 9 พ.ค. 57 ไ ้าอาเซียนน่าฝากอนาคตไว้กับถ่านหิน 6 9 พ.ค. 57 "จีน" เผชิญปัญหาข้อพิพาททะเลจีนใต้กับ 2 ประเทศ 7 9 พ.ค. 57 เดือด!เรือจีนพุ่งชนเรือเวียดนามเจ็บ6 8 9 พ.ค. 57 ก.พาณิชย์จัดงาน5เมืองใหญ่ เผยไทยพร้อมเข้าสู่ AEC 9 9 พ.ค. 57 เมียนมาร์' เสร็จสิ้นการจัดส ารวจส ามะโนประชากร 10 12 พ.ค. 57 'เจลลี่บันนี่'โหมตลาดอาเซียนดันยอด2.5พันล. 11 12 พ.ค. 57 รมต.ต่างประเทศ “อาเซียน” วอนไทยใช้ “สันติวิธี” แก้ไขปัญหาการเมือง 12 12 พ.ค. 57 ปิดประชุมสุดยอดอาเซียน ที่เมียนมาร์ 13 12 พ.ค. 57 กรณีพิพาททะเลจีนใต้ ประเด็นหลักประชุมสุดยอดผู้น าอาเซียน 14 12 พ.ค. 57 สหรัฐเตรียมเปิดบริการการค้าระหว่างประเทศที่พม่า 15 12 พ.ค. 57 ตลท. ลงนามร่วมมือตลาดหุ้นกัมพูชา หวังพัฒนาเป็นตลาดทุนที่แข็งแกร่ง 16 14 พ.ค. 57 AEC Move วันที่ 11 - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 17 14 พ.ค. 57 คนเมียนมาร์ฮิตร.พ.นอกประเทศอื่น เผย15ร.พ.รัฐขาดแคลนทั้งหมอและเครื่องมือ 18 14 พ.ค. 57 สิงคโปร์ออกกฎหมายลงโทษคนเผาป่าข้ามประเทศ 19 14 พ.ค. 57 ตั้งใจอีกนิดเพื่อเพื่อนอาเซียน 20 14 พ.ค. 57 มาเลเซีย เตรียมน าอาหารฮาลาลรุกจีน 21 14 พ.ค. 57 ศาล ิลิปปินส์สั่งรัฐบาลชี้แจงข้อตกลง 10 ปีทางทหารกับสหรัฐ 22 19 พ.ค. 57 จับตา 'ไป่ตู้' ชูบริการใหม่ เจาะเอสเอ็มอีไทย 23 19 พ.ค. 57 ไทยส่อชวดศูนย์กลางการผลิตกลุ่มอาเซียน เหตุขวางเลือกตั้งท าลายเครดิตปท. 24 19 พ.ค. 57 จีนระงับโครงการแลกเปลี่ยนกับเวียดนาม 25 19 พ.ค. 57 ทางการเวียดนาม สั่ง ปชช.ยุติประท้วงจีน 26 19 พ.ค. 57 ลาวไว้อาลัย3วันเครื่องบินตก4ผู้บริหารดับ 27 19 พ.ค. 57 เที่ยวบินมรณะทุ่งไหหิน ลาวสูญเสีย'ว่าที่ผู้น าประเทศ' 28 19 พ.ค. 57 ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานประเทศอินโดนีเซีย ปี 2555 29 19 พ.ค. 57 ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานประเทศกัมพูชา ปี 2555 30 20 พ.ค. 57 ทัวร์จีนยกเลิกเที่ยวเวียดนามหลังเหตุจลาจล 31 20 พ.ค. 57 “ยูซุ คัลล่า” ลงชิงต าแหน่งประธานาธิบดีอินโดนีเซีย

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -65

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 32 20 พ.ค. 57 กระแสความไม่พอใจจีนในเวียดนามยังมีอยู่ 33 20 พ.ค. 57 สะพานข้ามโขงเมืองปากแบงเสร็จต้นปีหน้า จีนสร้างให้ลาวใช้งานนาน 100 ปี 34 20 พ.ค. 57 AEC Move วันที่ 18 - 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 35 20 พ.ค. 57 ค้าชายแดนระนอง-เกาะสองทะลุพันล้าน 36 21 พ.ค. 57 รับมือเออีซีด้วยอุต สีเขียว 37 21 พ.ค. 57 แจ็คแอนด์จิลล์ฮุบอาเซียน เศรษฐี ิลิปปินส์ท าขนมขบเคี้ยวขายไทย-อินโด 38 21 พ.ค. 57 ค้าปลีกอินโด คึกรับเลือกตั้ง ยอดขายทะลุเป้าก.พ.ยันเม.ย. 39 21 พ.ค. 57 เอสเอ็มอีเมืองหม่องใกล้สาหัส ไซซ์เล็ก-เครดิตไม่มี-ต่างชาติบี้ 40 21 พ.ค. 57 ตัดสินใจไปลงทุนในเมียนมาร์ได้แล้ว เดือนที่ 5 1 22 พ.ค. 57 'ถิรไทย'ยึดอินโด -เวียดนามตั้งรง.เพิ่มเป้า 2 28 พ.ค. 57 สื่อนอกชี้วิกฤตการเมืองไทยไม่กระทบอาเซียน แถมบางชาติยังได้ประโยชน์ 3 28 พ.ค. 57 สิงคโปร์ไม่มีแผนคว่ าบาตรหลังรัฐประหาร ยันไม่แทรกแซง 4 28 พ.ค. 57 สุดทน!เรือเวียดนามถูกจีนพุ่งชนจม 5 29 พ.ค. 57 AEC Move วันที่ 25 - 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 6 29 พ.ค. 57 ความมั่นคงในอาเซียนถูกบ่อนท าลาย 7 29 พ.ค. 57 ิลิปปินส์อิ้นดัน'ซิงเกิลวีซ่า' เผยได้ประโยชน์ทั้ง 10 ประเทศ 8 29 พ.ค. 57 ลาวเตือนประชาชนให้หลีกเลี่ยงเดินทางมาไทยในช่วงนี้ 9 2 มิ.ย. 57 ศรีไทย ควักทุนเองลงทุนเวียด 10 2 มิ.ย. 57 วอลโว่รุกตลาดบัส-บรรทุกรับอาเซียนขยายตัว 11 2 มิ.ย. 57 โลกย้ายพลังอ านาจมายังเอเชียไทยจะอยู่ตรงไหน(2จบ) 12 2 มิ.ย. 57 'เวียดนาม'สุดทนจี้'จีน'ถอนแท่นขุด 13 2 มิ.ย. 57 ท่าเรือริมเมยป่วน เมียวดีน้ ามันขาด 14 3 มิ.ย. 57 พลาสติกไทยในอาเซียนยังพอสู้ไหว 15 3 มิ.ย. 57 AEC Move วันที่ 1 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2557 16 3 มิ.ย. 57 เวียดนามเยียวยาต่างชาติ รองนายก สั่งชดเชยธุรกิจที่เสียหายจากการประท้วงจีน 17 3 มิ.ย. 57 อาเซียนชูธงด้านอาหารมั่งคง-ปลอดภัย 18 3 มิ.ย. 57 ภาคธุรกิจมาเลย์รับมือแล้งหนัก แห่ซื้อถังเก็บน้ า 19 3 มิ.ย. 57 สหพันธ์ครูโอด 10 ปีภายใต้ซูซีโล บัมบัง รัฐบาลไม่พัฒนาการศึกษาเลย 20 10 มิ.ย. 57 AEC Move วันที่ 8 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2557 21 10 มิ.ย. 57 กรมโยธา ดัน102ผังเมืองคุมชายแดนรับเออีซี

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -66

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 22 10 มิ.ย. 57 จีนสร้างเร็วสะพานดอนโขงสี่พันดอนใกล้เสร็จ เปิดใช้ ต.ค.นี้ 23 10 มิ.ย. 57 บริษัทอสังหา มาเลย์ปรับตัวลดเสี่ยง องสบู่ 24 10 มิ.ย. 57 ไทยได้ประโยชน์จาก FTAอาเซียนทะลุ8หมื่นล้าน 25 10 มิ.ย. 57 คสช.สั่งเดินสาย อาเซียน ญี่ปุ่น จีน 26 11 มิ.ย. 57 พณ.เร่งหารือผลักดัน CLMV ยกเลิกภาษีให้แล้วเสร็จภายในปี58 27 11 มิ.ย. 57 มิลล์คอน ลุยธุรกิจวัสดุก่อสร้างพม่า 28 11 มิ.ย. 57 เวียงจันทน์ก าลังจะมีแอร์พอร์ตลิงค์ BRT ด่วนพิเศษแบบถนนนราธิวาส 29 11 มิ.ย. 57 เวียดนามรุกซื้อโคนมไทยรัฐหนุนกู้ดอกเบี้ยต่ า 30 16 มิ.ย. 57 ท่องเที่ยวไทยแย่ เพื่อนบ้านก็แย่ด้วย 31 16 มิ.ย. 57 สภาที่ปรึกษา SME อาเซียน (ASEAN SME Advisory Board) 32 16 มิ.ย. 57 มารู้จัก UBM เอเชีย ประเทศไทย ผู้จัดงานพลังงานทดแทนอาเซียน 33 16 มิ.ย. 57 สื่อเขมรตีข่าวไทยเนรเทศแรงงาน 34 16 มิ.ย. 57 “ฮุนเซน” เผยยอดแรงงานเขมรเดินทางกลับประเทศมากกว่า 250,000 คน 35 16 มิ.ย. 57 พม่าจะอนุญาตให้ธนาคารต่างชาติด าเนินกิจการได้ในเดือน ก.ย. นี้ 36 16 มิ.ย. 57 สหพัฒน์ทุ่ม2พันล้านลุยอาเซียน 37 16 มิ.ย. 57 เปิดเส้นทางบินเกาะสอง-มะริด-ทวาย-ย่างกุ้ง 38 17 มิ.ย. 57 AEC Move วันที่ 15 - 18 มิถุนายน พ.ศ. 2557 39 17 มิ.ย. 57 พม่า-จีน ให้ค ามั่นด าเนินการอย่างดีในข้อตกลงความร่วมมือด้านต่างๆ 40 18 มิ.ย. 57 กต.ย้ ากัมพูชา'คสช.'ไม่กวาดล้างต่างด้าว เดือนที่ 6 1 24 มิ.ย. 57 ลาวตกลงศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อนลงมือสร้างเขื่อนแห่งที่ 2 บนน้ าโขง 2 24 มิ.ย. 57 "ซูจี" เรียกร้องแก้ไขรัฐธรรมนูญ 3 24 มิ.ย. 57 AEC Move วันที่ 22 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2557 4 25 มิ.ย. 57 ส่งออกสิงคโปร์ผิดคาดโรงงานทยอยย้ายฐาน 5 25 มิ.ย. 57 ชูธงไทยเป็นศูนย์กลางเชื่อมAEC 6 26 มิ.ย. 57 เมียนมาร์มีสิทธิ์ลุ้นเป็นผู้น าส่งออกข้าว 7 26 มิ.ย. 57 ไทยจุดแข็งในอาเซียน'สมคิด'มั่นหลังปฏิรูป 8 26 มิ.ย. 57 AEC NEWS ALERT ประจ าวันที่ 29 มิถุนายน 2557 9 26 มิ.ย. 57 รถไ ้าลาว-เวียดนาม $5,000 ล้านสร้างปีหน้า อีก 3 ปีเปิดหวูดฉึกฉัก 10 27 มิ.ย. 57 สยามแก๊สขายก๊าซ ิลิปปินส์ 11 27 มิ.ย. 57 หวั่นปรับโครงสร้างอุต น้ าตาลไม่ทันเออีซี

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -67

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 12 27 มิ.ย. 57 ศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทยในอาเซียน (AEC Business Support Center) 13 27 มิ.ย. 57 เจาะลึกสัมมนาก่อนงานจริง BMAM Expo Asia 2014 14 27 มิ.ย. 57 หอการค้าไทยเสนอตั้งหน่วยงานเจรจาคู่ค้าแรงงานข้ามชาติ 15 27 มิ.ย. 57 กสอ.ชูธง3เมืองอุตสาหกรรมหลัก เสริมแกร่งผู้ประกอบการรับเออี 16 30 มิ.ย. 57 “คมนาคม”เล็งสร้างจุดพักรถบรรทุกเพิ่มเป็น 41 จุดทั่วประเทศรับเออีซี 17 30 มิ.ย. 57 จนท.เตรียมพร้อมเลือกตั้ง ปธน.อินโด พรุ่งนี้ 18 1 ก.ค. 57 เกาะติด"เลือกตั้งประธานาธิบดีอินโดนีเซีย"กับ "ณัฏฐา โกมลวาทิน" 19 1 ก.ค. 57 รถไ ้าลาว-เวียดนาม $5,000 ล้าน สร้างปีหน้า อีก 3 ปีเปิดหวูดฉึกฉัก 20 1 ก.ค. 57 ผลนับคะแนนอย่างไม่เป็นทางการ "โจโกวี่" ชนะเลือกตั้ง 21 1 ก.ค. 57 ทางรอดชาวนาไทย-เตรียมความพร้อมเข้าประชาคมอาเซียน 22 1 ก.ค. 57 ไต้ฝุ่นรามสูรถล่มกรุงมะนิลา ิลิปปินส์ 23 2 ก.ค. 57 AEC Move วันที่ 13 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 24 2 ก.ค. 57 ส่งออกมะพร้าวปินส์ร่วง FAO ไห่เยี่ยนปลายปีที่แล้วขึ้นฝั่งถล่มไร่มะพร้าวพังยับ 25 2 ก.ค. 57 เอเยนต์เมดสิงคโปร์ หั่นค่านายหน้าแหลก 26 2 ก.ค. 57 2 บริษัทชั้นน าญี่ปุ่นเล็งลงทุน $2,000 ล้าน พัฒนาเครือข่ายไร้สายในพม่า 27 3 ก.ค. 57 AEC Move วันที่ 20 - 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 28 3 ก.ค. 57 สภาอุต เร่งส่งเสริมการลงทุนตามแนวชายแดน 29 4 ก.ค. 57 อุต เครื่องนุ่งห่ม-รองเท้าลุยหาลู่ทางการค้าพม่า 30 4 ก.ค. 57 วิกฤติธุรกิจประมงใต้ ไม่มีปลาให้จับ-ขาดแรงงาน 31 4 ก.ค. 57 “โจโก วิโดโด”ว่าที่ ปธน.อินโดนีเซีย คนใหม่ 32 8 ก.ค. 57 คาดอินโด ประกาศผลเลือกตั้ง ปธน.อย่างเป็นทางการวันนี้ 33 8 ก.ค. 57 คสช.เคาะ6.2พันล.ร่วมทุนธ.โครงสร้างพื้นฐานเอเซีย 34 9 ก.ค. 57 เจ้าแขวงจ าปาสักคนใหม่เข้ารับต าแหน่ง สานต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษดอนโขง 35 9 ก.ค. 57 100ล้านแล้วจ้า มวลประชา ิลิปปินส์ 36 10 ก.ค. 57 แบงก์โลกชี้ปินส์เสือตัวที่ 5 อาคิโนฮีโร่ดันเศรษฐกิจเมืองตากาล็อกยั่งยืน 37 10 ก.ค. 57 ไล ์สไตล์มอลล์ใหญ่สุดในมาเลย์ 38 15 ก.ค. 57 อินโด หลังเลือกตั้ง เชื่อต่างชาติแห่ลงทุนลดความเสี่ยงในไทย 39 15 ก.ค. 57 ประธานาธิบดีคนใหม่อินโดนีเซีย 40 16 ก.ค. 57 'การเงิน-บัญชี' อาชีพอันดับหนึ่งเออีซี เดือนที่ 7 1 21 ก.ค. 57 สมาพันธ์อุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอาเซียน (ASEAN Automotive Federation)

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -68

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 2 23 ก.ค. 57 'ขายตรง'บูมรับเออีซีแตะแสนล้านใน2ปี 3 23 ก.ค. 57 ลาวแง้มเขื่อนกั้นน้ าโขง 2 เมืองปากลายพร้อมแล้ว 4 23 ก.ค. 57 ิลิปปินส์ต้องการทายาทชาวนา 5 29 ก.ค. 57 AEC Move วันที่ 27 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 6 29 ก.ค. 57 ไทยปรับขึ้นภาษีปีหน้าก็เพื่ออาเซียน 7 29 ก.ค. 57 แห่เปิดออ ิศเมียนมาร์ รัฐบาลเต็ง เส่ง อนุมัติต่างชาติลงทุน 720 โครงการ 8 29 ก.ค. 57 ยักษ์สแน็กปินส์ซื้อยักษ์สแน็กนิวซีแลนด์ 9 30 ก.ค. 57 เปิดมุมมองนักการทูตไทย เผยเรื่องราวใหม่ในมาเลเซีย 10 30 ก.ค. 57 กสอ. น าทัพธุรกิจ SMEs ไทย ส ารวจตลาดฮาลาลในมาเลเซีย 11 30 ก.ค. 57 ธนารัฐบาลอิเหนาเตรียมสร้างนิคม รอบนอกเกาะชวาบทเวียดนาม 12 5 ส.ค. 57 พาณิชย์เผยศก.อินโด ฉุดส่งออกไทย 13 5 ส.ค. 57 ถกแหล่งเงินเมกะโปรเจ็คเ สแรกเน้นเชื่อม'เออีซี' 14 6 ส.ค. 57 ตลาดสนง.เช่าโตรับเออีซี อัตราว่าง'ต่ าสุด'รอบ20ปี 15 6 ส.ค. 57 ปากเซกับหลายเมืองในภาคใต้ลาวจมน้ ามา 1 สัปดาห์ 16 6 ส.ค. 57 เมียนมาร์ส่งก๊าซให้จีนผ่านท่อปีแรก 1.87 พันล้าน ลบ.ม. 17 6 ส.ค. 57 เวียดนาม เปรู สานสัมพันธ์ทวิภาคีชื่นมื่น 18 6 ส.ค. 57 โฮจิมินห์จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเยาวชน 19 6 ส.ค. 57 อาชีพสปาไทยนับหนึ่งสู่อาเซียน 20 8 ส.ค. 57 ไทยเตรียมเสนออาเซียนเป็นแกนน าลดตึงเครียดในภูมิภาค 21 8 ส.ค. 57 ซูมิโตโม ท าเซอร์เวย์คัด SMEs เมืองหม่องรับเงินกู้ 22 8 ส.ค. 57 เอไอเอส 3G วัน-ทู-คอล! ออก "ซิมพม่า" และ "ซิมกัมพูชา" 23 8 ส.ค. 57 ท่าเรือแหลมฉบังจัดสัมมนาท่าเรืออาเซียน 24 8 ส.ค. 57 ไตรมาสแรกนักท่องเที่ยวเยือนอินโด เกินเป้า 25 8 ส.ค. 57 สายการบินเมียนมาร์ KBZ เริ่มให้บริการเหมาล าในเดือนนี้ Myanmar 26 13 ส.ค. 57 ปตท.เตรียมยื่นผลศึกษาปิโตรคอมเพล็กซ์ 27 13 ส.ค. 57 ทุนจีนยึดไทย'ฮับอาเซียน' 28 14 ส.ค. 57 AEC MOVE วันที่ 3 -6 สิงหาคม พ.ศ. 2557 29 14 ส.ค. 57 รถแบรนด์เยอรมนีโวยรัฐบาลสิงคโปร์ 30 14 ส.ค. 57 เมียนมาร์โชว์CSRสั่งเพิ่มพื้นที่สีเขียวนิคม'ติลาวา'เ ส 2 31 14 ส.ค. 57 อาเซียน + 3 เดินเต็มสูบกองทุนช่วยเหลือยามวิกฤติ 32 15 ส.ค. 57 AEC Move วันที่ 10 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2557

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -69

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 33 15 ส.ค. 57 เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนเกิดแน่ยุคนี้ 34 14 ส.ค. 57 ส านักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) 35 15 ส.ค. 57 เศรษฐกิจอินโด ร่วงหนัก ชี้ประธานาธิบดีใหม่'โจโกวี' เจอศึกหนัก 36 19 ส.ค. 57 ยุคมือถือเสรีเมียนมาร์-ราคาซิมลดฮวบ 37 20 ส.ค. 57 แคนาดาก าหนดพันธกิจบุกอาเซียน 38 20 ส.ค. 57 ทีมเยาวชนมาเลเซียชนะเลิศโต้วาทีเอเชีย 39 20 ส.ค. 57 เช็กสถานะและเครดิตของบริษัทกว่างซี ง่ายแค่ปลายนิ้วสัมผัส 40 20 ส.ค. 57 อสังหา สิงคโปร์ ลงทุนข้ามทวีป นิวยอร์ก-ซิดนีย์ เดือนที่ 8 1 21 ส.ค. 57 ซีเกททุ่มหมื่นล้านสร้างโรงงานใหม่มาเลเซีย 2 21 ส.ค. 57 ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ไทยด้อยกว่าคู่แข่งในอาเซียน 3 21 ส.ค. 57 'ยานยนต์'เร่งปรับรับมือเออีซี หวั่นคู่แข่งลอกโมเดลธุรกิจ 4 21 ส.ค. 57 ส.อ.ท.ตั้งคณะท างานผลักดันเศรษฐกิจชายแดนรองรับเปิดอาเซียน 5 22 ส.ค. 57 Haitian กลับมาเปิดโรงงานในเวียดนามอีกครั้งหลังจากเกิดการจลาจล 6 22 ส.ค. 57 ลาวเปิดใช้ทางหลวงสาย 11 เสร็จใหม่ๆ ด้วยความช่วยเหลือจากไทย 7 22 ส.ค. 57 ตอกเข็มสนามบินเบตงรับเขตศก.พิเศษ 8 22 ส.ค. 57 ร้านอาหารต่างชาติยึดไทยศูนย์กลางตลาดเออีซี 9 25 ส.ค. 57 เวียดนามเล็งเพิ่มมูลค่ากาแ ส่งออก เสริมคุณภาพท าก าไรสูง 10 25 ส.ค. 57 สหประชาชาติเตือนเหตุอาชญากรรมคุกคามความมั่นคงพม่า 11 25 ส.ค. 57 เจรจาหยุดยิงรัฐบาลพม่า-ชนกลุ่มน้อยคืบหน้า คาดลงนามข้อตกลงได้ ต.ค.นี้ 12 25 ส.ค. 57 จับตา'จีน'ก้าวสู่มหาอ านาจเศรษฐกิจ'เออีซี' 13 25 ส.ค. 57 AEC Move วันที่ 17 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2557 14 25 ส.ค. 57 มาเลย์หนุน ‘หยวน’ เงินโลก แบงก์ชาติเสือเหลืองระบุเงินโลกไม่ควรมีสกุลเดียว 15 25 ส.ค. 57 อิเหนาเตรียมเปิด ‘เครดิต บูโร’ ปราบโกง 16 25 ส.ค. 57 สภาเวียดนามปรับกฎหมายหนุนลงทุนคึก 17 25 ส.ค. 57 47 ปีอาเซียนที่ผ่านมา 18 26 ส.ค. 57 ปีนี้รัฐบาลจีนให้ทุนนักศึกษาลาวไปศึกษาต่อในจีนถึง 81 คน 19 26 ส.ค. 57 อลังการงานสร้าง โรงไ ้าลิกไนต์หงสาใกล้จริง เสร็จแล้วเกือบ 90% 20 27 ส.ค. 57 สยามคูโบต้าผุดศูนย์อะไหล่ ลุยขยายตลาดอาเซียน 21 27 ส.ค. 57 อินโดนีเซียผ่านกม.หนุนพลังงานความร้อนใต้ดิน 22 2 ก.ย. 57 'ช.การช่าง'หวังเออีซีดันโตก้าวกระโดด

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -70

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 23 3 ก.ย. 57 ลาว-มณฑลกว่างซี จัดงานแสดงสินค้าสัปดาห์นี้ในเวียงจันทน์ 24 3 ก.ย. 57 แอร์ไลน์ชาติปินส์ก าไรพุ่ง ผ่าตัด ื้น ิลิปปินส์แอร์ไลน์ส 2 ปีส าเร็จ 25 3 ก.ย. 57 ปัญหารถเที่ยวไทย-มาเลย์ยังลักลั่นกันอยู่ 26 3 ก.ย. 57 แผนยุทธศาสตร์ท่องเที่ยวอาเซียน 2554-2558 (ASEAN Tourism Strategic Plan) 27 3 ก.ย. 57 “ชูธงประเทศไทยในประชาคมอาเซียน 2015” 28 3 ก.ย. 57 รง.ไทยการ์เมนต์ ปราจีน เทฐานการผลิตไปเวียดนาม เหตุสู้ค่าแรงไม่ไหว 29 4 ก.ย. 57 โครงการสนามบิน $7,800 ล้านของเวียดนาม คาดเริ่มลงเสาได้ปี 2559 30 4 ก.ย. 57 ผู้น าเยอรมนีให้ค ามั่นสนับสนุนเศรษฐกิจพม่าพร้อมจับตาเลือกตั้งปีหน้า 31 6 ก.ย. 57 กสอ.โชว์10ผลิตภัณฑ์คนไทยใช้นวัตกรรมพัฒนาสินค้าสู่ตลาดอาเซียน 32 8 ก.ย. 57 AEC Move วันที่ 31 สิงหาคม - 3 กันยายน พ.ศ. 2557 33 8 ก.ย. 57 อุต สิ่งทอ-เสื้อผ้าเวียดนามทะยาน รัฐแนะโรงงานซื้อฝ้ายตรงจากแอ ริกา 34 8 ก.ย. 57 มาเลย์เพิ่มมูลค่าปาล์ม สกัดไขมันผสมนมผง 35 9 ก.ย. 57 ังเวียดนามพูดถึงเมียนมาร์ครับ 36 15 ก.ย. 57 ผู้น าอินเดียเยือนเวียดนาม สานความร่วมมือ ตั้งเป้าการค้า $15,000 ล้าน 37 16 ก.ย. 57 ปตท.ผนึกยักษ์ซาอุ ลุยปิโตร เวียดนาม 38 16 ก.ย. 57 "ตวง"เสนอพัฒนาร้อยเอ็ดเป็นประตูสู่อินโดจีน 39 16 ก.ย. 57 พายุโซนร้อน " ง-วอง" ถล่ม ิลิปปินส์ 40 17 ก.ย. 57 ปตท.ดึงซาอุถือหุ้นปิโตร คอมเพล็กซ์เวียดนาม เดือนที่ 9 1 17 ก.ย. 57 ไทยชนะประมูลข้าว3แสนตันส่ง ิลิปปินส์ 2 17 ก.ย. 57 อสย.จ่อวืดขายยางสิงคโปร์แสนตัน 3 17 ก.ย. 57 ิลิปปินส์อพยพประชาชน 7,000 คน หนีภัยพายุ " งวอง" 4 17 ก.ย. 57 ทางหลวงสายเหนือตัดขาด ลาวเร่งเยียวยาความเสียหายจากไต้ฝุ่นคัลแมกี 5 17 ก.ย. 57 จีนครองอันดับ 1 ทุ่มเม็ดเงินลงทุนสูงสุดในลาว 7 ปีซ้อน 6 18 ก.ย. 57 พาณิชย์เชื่อไทยยังได้เปรียบจากเออีซี 7 18 ก.ย. 57 เวียดนามเร่งลงทุนในเมียนมาร์เอกชนเพิ่มการลทุนให้ทะลุ 45,000 ล้านบาท ปี 2558 8 22 ก.ย. 57 สะพานมิตรภาพไทย - พม่า แห่งที่ 2 9 22 ก.ย. 57 สหพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งทออาเซียน (AFTEX) 10 23 ก.ย. 57 สินค้าเกษตรอินทรีย์ขยายตัวรับกระแสคนรักสุขภาพ ตั้งเป้าไทยเป็นผู้น าในอาเซียน 11 24 ก.ย. 57 อินโด เจ๋งวิจัยกล้วยท ายา น าเปลือกมาผลิตเป็นยาแก้ความดันโลหิตสูงราคาแสนถูก 12 24 ก.ย. 57 อุต เอาต์ซอร์ซปินส์งานเข้า เจอคู่แข่งปัญญาประดิษฐ์

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -71

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 13 24 ก.ย. 57 เผยอาเซียนเจอเสี่ยง เส้นทางบินขยายเกิน จราจรทางอากาศติดขัด 14 24 ก.ย. 57 AEC Move วันที่ 21 - 24 กันยายน พ.ศ. 2557 15 26 ก.ย. 57 สถาบันอาหารตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางการค้าออนไลน์ใหญ่สุดในอาเซียน 16 26 ก.ย. 57 4ชาติเชื่อมสายส่งไ ้า 17 29 ก.ย. 57 รมต.พลังงานอาเซียนหนุนลาวขายไ ้าสิงคโปร์ผ่านไทย-มาเลย์ 18 30 ก.ย. 57 ลาวห้ามยาว ไม่ออกใบอนุญาตลงทุนท าสวนยาง-ยูคาลิปตัส เหมืองแร่ทุกชนิด 19 30 ก.ย. 57 ฝาก'บิ๊กตู่'กล่อมเพื่อนบ้านเพิ่มค้าชายแดน 20 2 ต.ค. 57 ทนกระแสไม่ไหว เวียดนามยกเลิกข้อเสนอห้ามขายเบียร์ริมทางเท้า 21 3 ต.ค. 57 มีแต่ข่าวดีๆ ลาวก าลังจะมีสนามบิน ในเขตสามเหลี่ยมทองค า 22 3 ต.ค. 57 สร้างแน่ๆ เขื่อน 1,400 MW กั้นน้ าโขงที่หลวงพระบาง ใหญ่กว่าเขื่อนไซยะบูลี 23 6 ต.ค. 57 AEC Move วันที่ 28 กันยายน - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 24 6 ต.ค. 57 เล็งเจรจาพื้นที่ทับซ้อน'ไทย-กัมพูชา 25 7 ต.ค. 57 มีแต่ข่าวดีๆ ลาวก าลังจะมีสนามบินในเขตสามเหลี่ยมทองค า 26 7 ต.ค. 57 สร้างแน่ๆ เขื่อน 1,400 MW กั้นน้ าโขงที่หลวงพระบาง ใหญ่กว่าเขื่อนไซยะบูลีอีก 27 7 ต.ค. 57 อินโด 'ดีทรอยต์แห่งเอเชีย' โตโยต้าประกาศหนุนอุตสาหกรรมรถยนต์อิเหนา 28 7 ต.ค. 57 'หมอเสริฐ'โชว์วิชันสู่ 'Inter Medial Hub' 29 7 ต.ค. 57 หม่องโชว์เขื่อนเปิดแล้ว32แห่งบ.จีนกินเรียบ 30 7 ต.ค. 57 มาเลเซียเริ่มระบบ FWCMS แล้ว 31 7 ต.ค. 57 เวียงจันทน์ก าลังจะมีโรงแรม 5 ดาวใหญ่ที่สุด-ศูนย์การค้าหรูที่สุดโดยนักลงทุนจีน 32 8 ต.ค. 57 'อีพีจี'ลงทุนเพิ่ม1.5พันล้านรุกอาเซียน 33 9 ต.ค. 57 สานความร่วมมือไทย-เมียนมาร์ 34 9 ต.ค. 57 AEC Move วันที่ 5 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2557 35 9 ต.ค. 57 สิงคโปร์สร้างบริษัทยักษ์ ผนึก 4 บริษัทยักษ์ใหญ่วางผังสร้างเมืองใหม่ในอาเซียน 36 9 ต.ค. 57 เงินทุนญี่ปุ่นเริ่มเทใส่เมียนมาร์ 22 บริษัทต่างชาติลุย ‘ติลาวา’ 37 9 ต.ค. 57 นักท่องเที่ยวจีนฮิตทัวร์ลาว 'ลาวแอร์ไลน์ส' ส้มหล่น 38 10 ต.ค. 57 เอกชนหวัง "ไทย-เมียนมาร์" กระชับสัมพันธ์การค้าแน่นแ ้น 39 13 ต.ค. 57 อีพีจีลุยลงทุนใน-นอก รองรับก าลังซื้อทะยาน 40 13 ต.ค. 57 คลังร่วมตั้งส านักงานวิจัยเศรษฐกิจ อาเซียน+3

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -72

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

2.2.7 ฐานข้อมูลอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพที่หลายฝ่ายเริ่มตระหนักถึง ความส าคัญของสิ่งแวดล้อมมากขึ้น โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติกจึงได้ มีการจัดท าฐานข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกชีวภาพของไทย และจัดหมวดหมู่ของข้อมูลต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นการสร้างฐานข้อมูลในพลาสติกชีวภาพบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit เพื่อ รวบรวมรายชื่อผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับพลาสติกชีวภาพ ข่าวสาร เทคโนโลยี บทความ เอกสารและ ข้อมูลที่น่าสนใจ เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถใช้เป็นแหล่งข้อมูลด้านพลาสติกชีวภาพอีกแหล่งหนึ่ง ซึ่งจะ ประกอบด้วยข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ตารางที่ 2-19 ฐานข้อมูลในพลาสติกชีวภาพบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit หัวข้อ เนื้อหา 1. ฐานข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกชีวภาพ - รายชื่อผู้ประกอบการพลาสติกชีวภาพ 2. ข่าวความเคลื่อนไหวในแวดวงพลาสติกชีวภาพ - ข่าวเทคโนโลยี ทั้งในประเทศและต่างประเทศ (ข่าวรายวัน) - ข่าวกระบวนการผลิต - ข่าววัตถุดิบ, เครื่องจักร 3. BioPlastics Knowledge - ความรู้ทั่วไปของพลาสติกชีวภาพ 4. Links - รวมเว็บไซต์พลาสติกชีวภาพที่น่าสนใจ

- ผลการส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการชีวภาพ จากผลส ารวจผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมพลาสติก ทั้งหมด 3,076 ราย พบว่ามีผู้ประกอบการ ประกอบการจ านวน 47 รายที่ประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ ซึ่งเพิ่มขึ้น 10 รายจากการส ารวจ ข้อมูลผู้ประกอบการในครั้งที่ผ่านมา โดยในจ านวนนี้มีผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพและเคยทดลองท า การผลิตผลิตภัณฑ์จากพลาสติกชีวภาพจ านวน 44 ราย เป็นตัวแทนจ าหน่ายเม็ดพลาสติกและสารเติม แต่งชีวภาพ 3 ราย ดังตารางที่ 2-19 ผู้ประกอบการพลาสติกชีวภาพส่วนใหญ่ แท้จริงแล้วคือผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกทั่วไปที่ได้ใช้เม็ดพลาสติกชีวภาพหรือใช้สารเติมแต่งชีวภาพมาเป็นวัตถุดิบในการผลิต สินค้าแทนเม็ดพลาสติกที่ผลิตจากปิโตรเลียม ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ประกอบการจะท าการผลิตผลิตภัณฑ์จาก พลาสติกชีวภาพควบคู่กันไปกับผลิตภัณฑ์พลาสติกทั่วไป ซึ่งจากการส ารวจข้อมูลพบว่าอุปสรรคส าคัญที่ ท าให้การผลิตสินค้าจากพลาสติกชีวภาพยังไม่แพร่หลายนั้นคือราคาวัตุดิบที่ยังคงสูงอยู่ ท าให้ต้นทุนการ ผลิตและราคาสินค้าที่ผลิตจากพลาสติกชีวภาพสูงตามไปด้วย ท าให้ในปัจจุบันการผลิตส่วนใหญ่ยังคงเป็น การผลิตสินค้าเพื่อส่งออกไปขายยังต่างประเทศ หรือผลิตจ านวนไม่มากเพื่อใช้จ าหน่ายในประเทศเพื่อใช้ ในการโปรโมท CSR ในด้านสิ่งแวดล้อม และการทดลองเดินเครื่องขึ้นรูปผลิตภัณฑ์จากเม็ดพลาสติก ชีวภาพชนิดต่างๆ เท่านั้น

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -73

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตารางที่ 2-20 รายชื่อผู้ประกอบการพลาสติกชีวภาพที่ได้จากการส ารวจ ล าดับ ผู้ประกอบการ ล าดับ ผู้ประกอบการ 1 บจก.เค.ที. พลาสติก อินดัสตรี 26 บจก.บางพลีอุตสาหกรรมถุงพลาสติก 2 บจก.เจ.เอส.แพ็คกิ้ง 27 บจก.บี ดี สตรอว์ 3 บจก.เตชะ แอ็นด์ ซัน 28 บจก.บีเอสพี อินเตอร์ ซัพพลายส์ 4 บจก.เ ิสท์แพ็ค 29 บจก.พระอาทิตย์ 5 บจก.เรืองวา แสตนดาร์ด อินดัสตรี้ 30 บจก.พรีแพค ประเทศไทย 6 บจก.เอ.เค. แพค และจักรกล 31 บจก.พาสทินา 7 บจก.เอเซีย พลัส แพค 32 บจก.พี.พี.แพคเกจจิ้ง 8 บจก.เอ็น วาย พี แพ็คเกจจิ้ง 33 บจก.พี.พี.แอนด์ เอส โพลีเทรด 9 บจก.เอวีเต้ซ์ 34 บจก.มาลาพลาส 10 บจก.เอส แอล พลาสติก อินดัสเตรียล 35 บจก.มิซูยา อินดัสเทรียล 11 บจก.เอส.บี.เอช. (ประเทศไทย) 36 บจก.ยูนิเวอร์แซล โพลีแบค 12 บจก.เอื้อไทยกิจ โพลีแบ็ค 37 บจก.วังแพค 13 บจก.แพค แอนด์ เซ 38 บจก.วิสและบุตร 14 บจก.แมกซ์ ลายเนอร์ ออโต้พาร์ท 39 บจก.สมบัติชายอุตสาหกรรมพลาสติก 15 บจก.แลนด์บลู (ประเทศไทย) 40 บจก.สยามแพค อินดัสตรี 16 บจก.แสงตะวันพลาสติก 41 บจก.อาร์ตแพค แอนด์ ดิสเพลย์ 17 บจก.แอ็ดวานซ์ แพคเกจจิ้ง 42 บจก.อีสเทิร์น โพลีแพค 18 บจก.แฮงคี้ แพงคี้ ทอยส์ (ประเทศไทย) 43 บจก.อุตสาหกรรมถุงพลาสติกไทย 19 บจก.โพลีเมอร์ อินโนพลาส 44 บจก.ฮูเวอร์อุตสาหกรรม (ประเทศไทย) 20 บจก.ไทยเวิลด์แวร์โพลีโพรดักส์ 45 บมจ.ทานตะวันอุตสาหกรรม 21 บจก.ไทยโ ม โคราช 46 บมจ.มัลติแบกซ์ 22 บจก.จูเคน (ประเทศไทย) 47 หจก.พี.ซี.ที.พลาสติก 23 บจก.ซี เอช อินดัสทรี่ 24 บจก.ที.เอส.ที พลาสแพค 25 บจก.ธาตุพนมกิตติสุขสันต์ พลาสติก

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -74

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

รูปที่ 2-23 หน้าเว็บไซต์พลาสติกชีวภาพ

รูปที่ 2-24 ฐานข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกชีวภาพ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -75

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

- ข่าวสารด้านพลาสติกชีวภาพ ข่าวพลาสติกชีวภาพที่น าเสนอบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ตลอดช่วงการจัดท า โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้น าเสนอทั้งสิ้นเป็นจ านวน 189 เรื่อง ดังนี้ ตารางที่ 2-21 หัวข้อข่าวสารพลาสติกชีวภาพ ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว เดือนที่ 1 1 21 ม.ค. 57 โครงการพลังงาน Euromap ใช้เครื่อง Extrusion Blow Moulding (EBM) 2 22 ม.ค. 57 ขวดน้ าดื่มจาก PET รีไซเคิล 3 23 ม.ค. 57 บริษัท Well ประเทศเนเธอแลนด์ ผลิตเหยือกน้ าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4 23 ม.ค. 57 การพัฒนาท่อส่งน้ าเข้าระบบชลประทานให้ย่อยสลายได้ 100 5 27 ม.ค. 57 ประเทศไทย จุดหมายแรกพลังงานทดแทนอาเซียน 6 28 ม.ค. 57 บางจาก น าร่องท าบัตรพนักงานจากไบโอพลาสติก ร่วมสร้างสังคมสีเขียว 7 28 ม.ค. 57 แดนปลาดิบเตรียมผลิตพลาสติกชีวภาพ ด้วยเทคโนโลยีการผลิตแบบใหม่ 8 30 ม.ค. 57 หมวกนิรภัยจากวัสดุทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 9 30 ม.ค. 57 ZEROFORM วัสดุเพื่อทดแทนพลาสติก 10 31 ม.ค. 57 ถุงขยะม้วนกลิ่นแอปเปิล-สตรอว์เบอร์รี่ 11 3 ก.พ. 57 นักวิทยาศาสตร์จากอเมริกาใช้วัตถุดิบธรรมชาติในการผลิตวัสดุใช้แทนพลาสติก 12 4 ก.พ. 57 รัฐสภายุโรปส่งเสริมการรีไซเคิลขยะพลาสติก 13 4 ก.พ. 57 พลาสติกชีวภาพทนความร้อน 14 5 ก.พ. 57 Huntsman เพิ่มก าลังการผลิต PEA Resins 15 6 ก.พ. 57 อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพคาดว่าจะเติบโตถึง 7 ร้อยล้านเหรียญสหรัฐในปี 2018 16 7 ก.พ. 57 AMSilk GmbH ทดสอบซิลิโคนที่เคลือบด้วยใยแมงมุม 17 10 ก.พ. 57 พลาสติกชีวภาพจากเลือด 18 11 ก.พ. 57 โพลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (PHA) ที่ย่อยสลายได้ 19 11 ก.พ. 57 ผลิตภัณฑ์สีเขียวบุกตลาดยุโรปตะวันออก 20 12 ก.พ. 57 พูดคุยก่อนการจัดนิทรรศการพลาสติกรีไซเคิลปี 2014 21 13 ก.พ. 57 บราซิลจะก้าวเป็นผู้ผลิตพลาสติกชีวภาพชั้นน าของโลกในปี 2022 22 17 ก.พ. 57 สารเติมแต่งที่ย่อยสลายได้มีความปลอดภัยต่อกระบวนการรีไซเคิล 23 18 ก.พ. 57 จีนผลิตพลาสติกชีวภาพจากน้ ามันพืชใช้แล้ว 24 19 ก.พ. 57 รองเท้าสกีจากพลาสติกชีวภาพ เดือนที่ 2

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -76

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 1 18 ก.พ. 57 จีนผลิตพลาสติกชีวภาพจากน้ ามันพืชใช้แล้ว 2 19 ก.พ. 57 รองเท้าสกีจากพลาสติกชีวภาพ 3 20 ก.พ. 57 CSMCRI รับรางวัลสิทธิบัตรยุโรปการผลิตพลาสติกชีวภาพจากกลีเซอรีน 4 21 ก.พ. 57 Soft-Case ส าหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ท ามาจากพลาสติกชีวภาพ 5 24 ก.พ. 57 กระเบื้องปูพื้นจากพลาสติกรีไซเคิล 6 25 ก.พ. 57 AVA สร้างโรงงาน Biochem ส าหรับการผลิต 5-HMF ที่ผลิตจากวัสดุชีวภาพ 7 3 มี.ค. 57 Danone ผลิตบรรจุภัณฑ์จาก Polylactic Acid 8 3 มี.ค. 57 สหราชอาณาจักรวิจัยผลิตพลาสติกชีวภาพจากชีวมวล 9 4 มี.ค. 57 MOTORS และรถยนต์พลาสติกชีวภาพ 10 5 มี.ค. 57 มูลค่าตลาดของพลาสติกชีวภาพในตลาดโลก 11 6 มี.ค. 57 คาร์บอนไ เบอร์จากชีวมวล 12 11 มี.ค. 57 Ford Motor กับวัสดุชีวภาพในรถรุ่นใหม่ 13 11 มี.ค. 57 ผู้ผลิตกาแ เล็งลด Footprint ส าหรับถ้วยกาแ ใช้ครั้งเดียว 14 12 มี.ค. 57 Novamont เข้าซื้อ Mater-Biopolymer 15 12 มี.ค. 57 เนเชอร์เวิร์คจับมือคาลิสต้าพัฒนาพลาสติกชีวภาพจากมีเทน 16 13 มี.ค. 57 ความต้องการใช้พลาสติกชีวภาพจะเพิ่มขึ้น 19 เปอร์เซ็นต์ต่อปี 17 13 มี.ค. 57 พลาสติกย่อยสลายได้ผลิตจากกากตะกอนในน้ าเสีย 18 14 มี.ค. 57 เปิดตัวยางมะตอยผสมผลิตจากยางรถยนต์เก่าและขยะพลาสติก 19 17 มี.ค. 57 มาเลเซียเป้าหมายต่อไปของพลาสติกชีวภาพ 20 17 มี.ค. 57 Bio-on และ Magna ลงนามข้อตกลงเพื่อการวิจัยและพัฒน 21 18 มี.ค. 57 GLYCOSBIO เล็งเปิดโรงงานเพื่อผลิตพลาสติกชีวภาพในมาเลเซีย เดือนที่ 3 1 1 เม.ย. 57 อัตราการรีไซเคิลของแคนาดาเพิ่มขึ้น10 เปอร์เซ็นต์ในปี 2012 2 1 เม.ย. 57 การผลิตพลาสติกชีวภาพ จากแก๊สที่ได้จากการหมักของเสียด้วยแบคทีเรีย 3 1 เม.ย. 57 ผู้บริโภคให้ความสนใจการรีไซเคิลพลาสติกมากกว่าการน าไป ังกลบ 4 2 เม.ย. 57 การวิจัยและพัฒนาการใช้พลาสติกชีวภาพในอุตสาหกรรมยานยนต์ 5 2 เม.ย. 57 มูลค่าของอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพจะสูงถึง 7.02 พันล้านเหรียญในปี 2018 6 2 เม.ย. 57 BASF-Purac ร่วมทุนผลิต Succinic Acid 7 3 เม.ย. 57 Cardia Bioplastics ได้รางวัลความเป็นเลิศในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์จาก IAIR 8 4 เม.ย. 57 บรรจุภัณฑ์ของกาวชนิดแรกที่มีส่วนผสมจากพืช 9 4 เม.ย. 57 SOLVAY กับการผลิต BIO EPOXY

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -77

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 10 4 เม.ย. 57 พลาสติกชีวภาพจากไคโตซานแต่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า 11 4 เม.ย. 57 เทคโนโลยียานยนต์สีเขียวดึงดูดการลงทุน 12 8 เม.ย. 57 การเลี้ยงสาหร่ายเพื่อการผลิตพลังงานและพลาสติกชีวภาพ 13 8 เม.ย. 57 การปรับปรุงคุณสมบัติของ PLA Biopolymers ด้วยยาง 14 8 เม.ย. 57 ถาดไข่จาก PET รีไซเคิล ลดการใช้กระดาษ 15 9 เม.ย. 57 Bisguaiacol-F (BGF) อนุพันธ์ตัวใหม่จากลิกนินทดแทน Bisphenol-A (BPA) 16 9 เม.ย. 57 ถุงพลาสติก Biohybrid เพื่อลดขยะในทะเลมัลดี ส์ 17 22 เม.ย. 57 รางวัลเศรษฐศาสตร์สีเขียว 18 22 เม.ย. 57 บรรจุภัณฑ์ผลิตจาก HPDE รีไซเคิลและเม็ดพลาสติกชีวภาพ 19 23 เม.ย. 57 Bio-carbonates จากน้ ามันถั่วเหลือง 20 23 เม.ย. 57 EuPC ต้านการใช้ถุงพลาสติกชีวภาพ เดือนที่ 4 1 7 พ.ค. 57 แผนที่โต้ตอบออนไลน์มีส่วนช่วยในการรีไซเคิล 2 7 พ.ค. 57 Shenzhen Esun Industrial จัดแสดง PLA PCL ในงาน Chinaplas 2014 3 7 พ.ค. 57 จีนตื่นตัวรุดเพิ่มก าลังผลิตพลาสติกที่ย่อยสลายเองได้ 4 8 พ.ค. 57 Metabolix เปิดตัว MVERA ิล์มพลาสติกชีวภาพโปร่งใส 5 9 พ.ค. 57 ExxonMobil ลงทุนใน Biopolymers 6 9 พ.ค. 57 Meredian เล็งใช้ Canola Oil ผลิตไบโอโพลิเมอร์ 7 12 พ.ค. 57 รายงานเผยตลาดบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้จะเติบโตเฉลี่ยที่ร้อยละ 18 8 12 พ.ค. 57 Erema รายงานว่าค าสั่งซื้อเทคโนโลยีรีไซเคิลเพิ่มขึ้น 30 เปอร์เซ็นต์ 9 14 พ.ค. 57 Tetra Pak ใช้เม็ด LDPE ชีวภาพผลิตกล่องทุกประเภทในบราซิล 10 14 พ.ค. 57 รัฐบาลอังกฤษริเริ่ม 8 โครงการพลังงานสีเขียว 11 15 พ.ค. 57 BioAmber ลงนามในสัญญา Take-or-Pay ฉบับแรกส าหรับจัดหา Succinic Acid 12 6 มี.ค. 57 พลาสติกชีวภาพจากสาหร่าย 13 7 มี.ค. 57 3 มหาวิทยาลัยร่วมจัดตั้งศูนย์การวิจัยพลาสติกชีวภาพ 14 7 มี.ค. 57 จีนและเทคโนโลยีผลิตพลาสติกชีวภาพจากยุโรป 15 10 มี.ค. 57 Lego ศึกษาการเปลี่ยนมาใช้พลาสติกชีวภาพ 16 10 มี.ค. 57 คากการณ์ว่าการผลิตพลาสติกชีวภาพทั่วโลกจะเพิ่มขึ้น 400 เปอร์เซ็นต์ในปี 2016 17 15 พ.ค. 57 BioAmber ลงนามในสัญญา Take-or-Pay ฉบับแรกส าหรับจัดหา Succinic Acid 18 15 พ.ค. 57 Ems-Grivory ก้าวเต็มสูบเพื่อการผลิต Polyamide Fibres 19 16 พ.ค. 57 ความร่วมมือพัฒนาโซลูชั่นส าหรับบรรจุภัณฑ์ไบโอส าหรับสินค้าเกษตรอินทรีย์

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -78

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 20 19 พ.ค. 57 บริษัท Verdezyne ผลิต DDDA ชีวภาพ จากยีสต์ เดือนที่ 5 1 26 พ.ค. 57 พีทีทีจีซีกล่อม'เนเจอร์เวิร์คส์'ตั้งรง.ในไทย 2 27 พ.ค. 57 ผักกาดหอมจากโรงงานชิพคอมพิวเตอร์ 3 29 พ.ค. 57 โครงการ KickStarter ของเล่นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4 29 พ.ค. 57 เตรียมตั้งโรงงานผลิตกรดดีดีดีเออินทรีย์ ท าไนลอนเชิงพาณิชย์แห่งแรกที่มาเลเซีย 5 2 มิ.ย. 57 DSM และโคคาโคล่า ได้รับรางวัลการพัฒนาทางชีวภาพที่ยั่งยืน ประจ าปี 2014 6 3 มิ.ย. 57 Terraloy PLA ของ Teknor Apex ชนะรางวัลนวัตกรรมไบโอพลาสติกของ SPI 7 4 มิ.ย. 57 Corcs น าเสนอทางออกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนส าหรับจุกคอร์ก 8 6 มิ.ย. 57 Metabolix พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต PHA Copolymer 9 6 มิ.ย. 57 FRX Polymers ขยายก าลังการผลิตสารหน่วงการติดไ ชีวภาพในเบลเยี่ยม 10 9 มิ.ย. 57 มุมมองธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนส าหรับตลาดบรรจุภัณฑ์พลาสติก 11 10 มิ.ย. 57 FKuR และ Corbion Purac ร่วมพัฒนา PLA ที่มีคุณสมบัติทนต่อความร้อน 12 10 มิ.ย. 57 Floreon พัฒนา PLA ให้มีความแข็งแรงมากขึ้น 13 12 มิ.ย. 57 BlenderPak ถุงผสมเครื่องดื่มแนวคิดใหม่ 14 12 มิ.ย. 57 Bioprinting จะมีมูลค่าครึ่งหนึ่งของตลาดการพิมพ์แบบสามมิติทั่วโลกภายในปี 2025 15 13 มิ.ย. 57 Bioserie พัฒนานวัตกรรมพลาสติกชีวภาพส าหรับผลิตของเล่นปลอดภัย 16 13 มิ.ย. 57 เทคโนโลยีใหม่ในการประเมินทางเลือกวัสดุทดแทน BPA 17 16 มิ.ย. 57 Cellulac ใช้โปรตีนจากหางนมผลิต Lactic Acid 18 17 มิ.ย. 57 Gevo ผลิตและขาย para-Xylene ชีวภาพให้กับ Toray 19 17 มิ.ย. 57 ยังคงต้องการเงินทุนสนับสนุน หากจะใช้ Lignin เป็นวัตถุดิบตั้งต้นภายในปี 2020 20 19 มิ.ย. 57 โครงการ BUGWORKERS ประสบความส าเร็จในการผลิต PHB 21 19 มิ.ย. 57 Avantium ลงทุนเพิ่ม 36 ล้านยูโร มุ่งสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ เดือนที่ 6 1 20 มิ.ย. 57 ผู้เชี่ยวชาญด้านบรรจุภัณฑ์ จาก Wipf AG เปิดตัววาล์วที่ย่อยสลายได้ 2 23 มิ.ย. 57 จากมะเขือเทศสู่พลาสติกชีวภาพส าหรับยานยนต์ 3 23 มิ.ย. 57 คาร์บอนไ เบอร์จากลิกนิน วัสดุคอมโพสิตขั้นสูงราคาไม่แพง 4 23 มิ.ย. 57 ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในการผลิตก็ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ 5 24 มิ.ย. 57 Cardia Bioplastics เปิดตัวถุงขจัดมูลสุนัขที่สามารถย่อยสลายได้ 6 25 มิ.ย. 57 NGO ด้านสิ่งแวดล้อมของบราซิล ยอมรับพลาสติก Oxo ชีวภาพ เป็นที่เรียบร้อย 7 26 มิ.ย. 57 Calysta สามารผลิต PLA จากก๊าซมีเทนได้ส าเร็จ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -79

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 8 27 มิ.ย. 57 ท าพิธีเปิด Matrica คอมเพล็กซ์ใหม่ส าหรับผลิตสารเคมีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 9 30 มิ.ย. 57 Polyol ทางเลือกผลิตจากถั่วเหลือง ทดแทน Polyurethane 10 30 มิ.ย. 57 Mondi เปิดตัววัสดุคอมโพสิตระหว่างพลาสติกและเซลลูโลส 11 30 มิ.ย. 57 PTT และ PU ชีวภาพ หนุนตลาด 1,3 Propanediol (PDO) 12 1 ก.ค. 57 Trellis Earth เข้าซื้อ Cereplast 13 3 ก.ค. 57 ถุงม่วง ถุงใส่ขยะส าหรับน าไปเปลี่ยนเป็นพลังงาน 14 7 ก.ค. 57 ค้านการยกเว้นการเก็บภาษีจากถุง Oxo-bio 15 8 ก.ค. 57 Clariant ผู้ผลิตเคมีภัณฑ์จากแหล่งชีวภาพ ผู้ผลักดันรายใหม่ส าหรับอุตสาหกรรมเคมี 16 10 ก.ค. 57 Green PVC จาก Mondoplastico 17 15 ก.ค. 57 Total เปิดตัวเม็ดพลาสติกชีวภาพส าหรับอุตสาหกรรม Rotomolding ในอเมริกา 18 16 ก.ค. 57 Meredian ผู้ผลิตพลาสติกชีวภาพนวัตกรรมใหม่ประกาศความส าเร็จในขั้นต้น 19 16 ก.ค. 57 MonoSol ขยายก าลังการผลิตแผ่น ิล์มพลาสติกละลายน้ าได้ใน Indiana 20 17 ก.ค. 57 การศึกษาใหม่คาดว่าไ เบอร์ธรรมชาติคอมโพสิตจะเติบโตอย่างต่อเนื่อง 21 18 ก.ค. 57 พลาสติกชีวภาพในจีนได้รับความสนใจแต่ยังคงประสบปัญหาอยู่ เดือนที่ 7 1 21 ก.ค. 57 ความก้าวหน้าของการพิมพ์ 3 มิติ ส าหรับจักรกลชีวภาพขนาดเล็ก 2 22 ก.ค. 57 Agrobiofilm พลาสติกที่ย่อยสลายได้เอง ที่เป็นมิตรต่อการเพาะปลูก 3 22 ก.ค. 57 SimGas ถังย่อยสลายของเสียชีวภาพ ผ่านเข้ารอบสุดท้ายชิงรางวัลจาก IDEA Award 4 24 ก.ค. 57 Mushroom Till ถาดบรรจุเห็ดลดการใช้พลาสติก 25 เปอร์เซ็นต์ 5 24 ก.ค. 57 กล่องบรรจุผลไม้ส่งออกจากชิลี สามารถย่อยสลายได้เอง 6 24 ก.ค. 57 SeaWorld ใช้เทคโนโลยี PlantBottle ของ Coca-Cola ผลิตบรรจุภัณฑ์ใหม่ 7 25 ก.ค. 57 AIMPLAS วิจัยเพื่อผลิตขวดนมที่สามารถย่อยสลายเองได้ 8 25 ก.ค. 57 BioAmber ท าสัญญาผลิตกรดซักซินิกชีวภาพ 210,000 ตันต่อปี 9 25 ก.ค. 57 Composites Evolution เปิดตัวสารเสริมความแข็งแรงจากวัสดุธรรมชาติ 10 28 ก.ค. 57 BYLOX สารเติมแต่งจากชีวภาพได้รับใบรับรองจาก USDA 11 29 ก.ค. 57 ตลาดพลาสติกย่อยสลายได้ในภูมิภาคยุโรป มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว 12 29 ก.ค. 57 Solegear Bioplastics ผู้ผลิตพลาสติกชีวภาพได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลแคนาดา 13 30 ก.ค. 57 สารต้านอนุมูลอิสระจากวัสดุชีวภาพตัวใหม่ช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น 14 1 ส.ค. 57 Evonik ผลิตน้ ามันหล่อลื่นประสิทธิภาพสูง สังเคราะห์จากน้ ามันพืช 15 1 ส.ค. 57 เทคโนโลยีผลิตวัสดุชีวภาพที่ย่อยสลายได้เองอย่างสมบูรณ์ 16 4 ส.ค. 57 นักวิจัยพัฒนาคาร์บอนไ เบอร์ชนิดใหม่จากพืช

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -80

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 17 4 ส.ค. 57 ความร่วมมือทางธุรกิจส าหรับโรงกลั่นชีวภาพโรงใหม่ในมาเลเซีย 18 7 ส.ค. 57 วัสดุ TPE ผสมยางธรรมชาติ ตัวใหม่ ท าให้ TPE มีน้ าหนักเพิ่มขึ้น 19 8 ส.ค. 57 ThermoWhey โครงการพัฒนาสารเคลือบปกป้องพื้นผิวผลิตจากวัสดุชีวภาพ 20 8 ส.ค. 57 เศษผัก สามารถเปลี่ยนเป็นพลาสติกชีวภาพได้ 21 13 ส.ค. 57 พลาสติกชีวภาพจากแป้งข้าวจ้าว 22 13 ส.ค. 57 ก.พลังงานสหรัฐประกาศให้ทุนสนับสนุนโครงการพัฒนาคาร์บอนไ เบอร์ชีวภาพ เดือนที่ 8 1 14 ส.ค. 57 Amcor สนับสนุนการใช้บรรจุภัณฑ์จากวัสดุชีวภาพ 2 14 ส.ค. 57 Genomatica พัฒนาสารตัวกลางผลิต Nylon ชีวภาพ เป็นโครงการที่ 3 3 14 ส.ค. 57 ผู้ผลิต PE ใน Mexico ประณามพลาสติก Oxo ที่สามารถย่อยสลายได้ 4 19 ส.ค. 57 วัสดุคอมโพสิตขนาดนาโน จากเปลือกถั่วพิสตาเชีย 5 20 ส.ค. 57 Dr.Woo เปลี่ยนสาหร่ายเป็นกรด Succinic 6 20 ส.ค. 57 พลาสติกชีวภาพ Nanoclay ส าหรับการใช้งานยานยนต์ 7 21 ส.ค. 57 Meredian โชว์การผลิตพลาสติกจากแหล่งชีวภาพ 100 เปอร์เซ็นต์ 8 21 ส.ค. 57 บรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพแนวคิดใหม่จาก Ecojun 9 22 ส.ค. 57 บริษัทก่อสร้างหันมาลงทุนเพิ่มเพื่อผลิตพลาสติกชีวภาพ 10 26 ส.ค. 57 เครื่องดูดฝุ่นจากหัวบีท 11 26 ส.ค. 57 การใช้ Lactic Acid จะเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในอนาคต 12 9 ก.ย. 57 EU ศึกษาสาหร่ายทะเลเพื่อผลิตเป็นพลาสติกชีวภาพ 13 9 ก.ย. 57 INRA และ AgroParisTech พัฒนาวิธีผลิต Bisphenol A ชีวภาพ 14 10 ก.ย. 57 Biosensor เพื่อตรวจวัดและปรับกระบวนการกลั่นชีวภาพของ Lignin ให้เหมาะสม 15 11 ก.ย. 57 Bayer MaterialScience วางแผนขยายการผลิตพลาสติกจาก CO2 16 15 ก.ย. 57 JELU เปิดตัว WPC วัสดุคอมโพสิตชีวภาพตัวใหม่ ที่ Fakuma 2014 17 16 ก.ย. 57 กลุ่มอุตสาหกรรมใน EU ลงทุน 3.7 พันล้านเพื่อสร้างฐานอุตสาหกรรมชีวภาพ 18 17 ก.ย. 57 Harbec เปิดตัวหุ้นส่วนในโครงการพลาสติกชีวภาพ 19 19 ก.ย. 57 ลิกนินจะเป็นวัตถุดิบตั้งต้นส าหรับการผลิตคาร์บอนไ แบอร์หลากหลายเกรด 20 19 ก.ย. 57 Cardia Bioplastics ตั้งโรงงานผลิตในประเทศบราซิล เดือนที่ 9 1 24 ก.ย. 57 EcoCortec แผ่น ิล์มพลาสติกชีวภาพช่วยแก้ปัญหาน้ าเสีย 2 26 ก.ย. 57 กล่องกระดาษลูก ูกเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น 3 26 ก.ย. 57 อะไรคือปัจจัยหลักที่ผลักดันการใช้บรรจุภัณฑ์จากพลาสติกชีวภาพ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -81

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ วันที่น าเสนอ หัวข้อข่าว 4 26 ก.ย. 57 Myriant จับมือ Azelis ท าตลาดขาย Bio-succinic Acid ในยุโรป 5 26 ก.ย. 57 นวัตกรรมพลาสติกชีวภาพที่สามารถต้านแบคทีเรียได้ 6 26 ก.ย. 57 PTTGCจับมือบ.น้ าตาลตั้งโครงการ Bio-hub ในไทย 7 30 ก.ย. 57 Coca-Cola ขยายการลงทุนเพื่อพัฒนา Paraxylene ชีวภาพ 8 30 ก.ย. 57 Ingeo ปรับภาพลักษณ์เชิงนิเวศใหม่ เป็นผู้ผลิตปล่อยมลพิษน้อย 9 1 ต.ค. 57 เรือแคนูน้ าหนักเบาผลิตด้วยวัสดุ Biotex Flax 10 1 ต.ค. 57 Biotex Flax วัสดุคอมโพสิทย่อยสลายได้ ส าหรับผลิตยานยนต์ 11 2 ต.ค. 57 รางวัลนวัตกรรมพลาสติกชีวภาพครั้งที่ 3 เปิดรับสมัครผู้เข้าแข่งขันแล้ว 12 2 ต.ค. 57 งาน European Bioplastics Conference ครั้งที่ 9 เปิดให้ลงทะเบียนแล้ว 13 7 ต.ค. 57 แผ่น ิล์มออแกนิกส์ย่อยสลายได้เองจาก Innovia 14 8 ต.ค. 57 ไบโอพลาสติกเห็นอนาคตชัด 15 9 ต.ค. 57 Reverdia ก าลังขอใบอนุญาตการผลิตส าหรับเทคโนโลยี Biosuccinium 16 9 ต.ค. 57 การกระตุ้นให้เกิดการใช้พลาสติกชีวภาพในตลาดบรรจุภัณฑ์ 17 10 ต.ค. 57 Symphony Environmental ยืนยันพลาสติก Oxo ไม่กระทบกระบวนการรีไซเคิล 18 10 ต.ค. 57 รายงานความยั่งยืนการใช้งานขวด PlantBottle ของ Coca-Cola 19 13 ต.ค. 57 การพัฒนาตัวดูดซับประสิทธิภาพสูงจากโพลิเมอร์ชีวภาพใกล้ประสบความส าเร็จ 20 13 ต.ค. 57 Biome Bioplastics เร่งพัฒนาการพิมพ์ 3 มิติ

- Bioplastics News รายงาน BioPlastics News รายปักษ์จัดท าขึ้นเพื่อเป็นอีกหนึงช่องทางที่ช่วยให้สมาชิกสามารถ ติดตามข่าวสารพลาสติกชีวภาพแบบเจาะลึกมากขึ้น โดยการสรุปและรวบรวมข่าวและความเคลื่อนไหว ด้านต่างๆ ในวงการพลาสติกชีวภาพทั้งในและต่างประเทศที่น่าสนใจ จัดท าเป็นเอกสารในรูปแบบไ ล์ PDF E-Book และ Flipping E-Book ซึ่งสมาชิกสามารถเข้าถึงได้สะดวกมากยิ่งขึ้น ในการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้มีการจัดท าและ เผยแพร่เอกสาร BioPlastics News บนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ทั้งสิ้นจ านวน 18 ฉบับ ดังนี้ ตารางที่ 2-22 BioPlastics News ล าดับ หัวข้อ เดือน กุมภาพันธ์ 2557 1 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 2 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2557 เดือนมีนาคม 2557

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -82

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ หัวข้อ 3 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 วันที่ 1 มีนาคม 2557 4 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 วันที่ 16 มีนาคม 2557 เดือนเมษายน 2557 5 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 วันที่ 1 เมษายน 2557 6 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 วันที่ 16 เมษายน 2557 เดือนพฤษภาคม 2557 7 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 วันที่ 1 พฤษภาคม 2557 8 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เดือนมิถุนายน 2557 9 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 วันที่ 1 มิถุนายน 2557 10 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 วันที่ 16 มิถุนายน 2557 เดือนกรกฎาคม 2557 11 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 13 วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 12 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 วันที่ 16 กรกฎาคม 2557 เดือนสิงหาคม 2557 13 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 วันที่ 1 สิงหาคม 2557 14 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 16 วันที่ 16 สิงหาคม 2557 เดือนกันยายน 2557 15 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 17 วันที่ 1 กันยายน 2557 16 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 18 วันที่ 16 กันยายน 2557 เดือนตุลาคม 2557 17 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 19 วันที่ 1 ตุลาคม 2557 18 BioPlastics News ปีที่ 4 ฉบับที่ 20 วันที่ 16 ตุลาคม 2557

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -83

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

รูปที่ 2-25 BioPlastics News ในรูปแบบ PDF Flipping Book

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -84

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

2.2.8 ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการทดสอบ เพื่อให้ฐานข้อมูลมีข้อมูลที่ทันสมัย ในการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก อุตสาหกรรมพลาสติกได้มีการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม ในส่วนของมาตรฐานผลิตภัณฑ์พลาสติก รวมถึง ฐานข้อมูลห้องปฎิบัติการและผู้เชี่ยวชาญด้านพลาสติก ดังนี้ - ข้อมูลมาตรฐานผลิตภัณฑ์พลาสติก ท าการรวบรวมข้อมูล มอก.ล่าสุดเพิ่มเข้าไปในฐานข้อมูลดังนี้ ล าดับ เลขที่ มอก. ผลิตภัณฑ์ 1 2568-2555 ถุงพลาสติกส าหรับบรรจุอาหาร : รูปตัวยู Plastic bags for food : u-shape 2 2569-2555 ถุงพลาสติกบรรจุอาหาร : แบบกดปิด Plastic bags for food : zip type 3 656-2556 วิธีวิเคราะห์พลาสติกที่สัมผัสอาหาร Analytical methods for food contact plastics 4 982-2556 ท่อพอลิเอทิลีนส าหรับน้ าดื่ม (เอกสารไม่ครบ) Polyethylene pipes for drinking water

รูปที่ 2-26 ข้อมูลมาตรฐานผลิตภัณฑ์พลาสติก (มอก.)

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -85

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

- ข้อมูลห้องปฎิบัติการทดสอบ ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้ท าการ ปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลให้ทันสมัยมากยิ่งขึ้น รูปที่ 2-27 ฐานข้อมูลห้องปฎิบัติการทดสอบ

- ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญด้านพลาสติก ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติกได้ท าการ ปรับปรุงข้อมูลผู้เชี่ยวชาญด้านพลาสติกทั้งจากจากหน่วยงานรัฐ และสถาบันการศึกษาต่างๆให้ทันสมัย มากยิ่งขึ้น

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -86

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

รูปที่ 2-28 รายชื่อผู้เชี่ยวชาญด้านพลาสติก

2.2.9 ข้อมูลรายชื่องานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก จัดท าข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติกในหน้าเว็บไซต์ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถ ค้นหางานวิจัยได้สะดวก แต่จะเป็นเพียงรายละเอียดงานวิจัยเบื้องต้น หากต้องการงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ต้องติดต่อขอรายละเอียดเพิ่มเติมตามหน่วยงานที่เป็นเจ้าของงานวิจัยหรือหน่วยงานที่เป็นผู้เผยแพร่ ตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติกได้ท าการรวมรวม รายชื่องานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติกที่น่าสนใจไว้ ดังนี้ ตารางที่ 2-23 รายชื่องานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก ล าดับ เรื่อง นักวิจัย หน่วยงาน 1 การลดจ านวนงานล่าช้าในโรงงานพลาสติก นางสาววิมลพรรณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วิทยานิพนธ์) คงสมบูรณ์ 2 การวิเคราะห์การทดแทนแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก นายธนศักดิ์ สุวรรบูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในอุตสาหกรรมยานยนต์ (วิทยานิพนธ์) 3 การลด องอากาศในกระบวนการผลิตบรรจุ นายภูมินทร์ แจ่มเชื้อ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภัณฑ์พลาสติก (วิทยานิพนธ์) 4 Application of bioplastics for food Nanou Peelmana Ghent University packaging 5 Fuel Production from LDPE Plastic Wiwin Sriningsih Gadjah Mada Waste University

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -87

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ เรื่อง นักวิจัย หน่วยงาน 6 Mechanical properties and durability of Rohan Muni University of Southern glass-fibre Bajracharya Queensland reinforced recycled mixed plastic waste composites

รูปที่ 2-29 ข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก

2.2.10 พิกัดภาษีขาเข้าของผลิตภัณฑ์พลาสติก ในปัจจุบันมีการท าข้อตกลงความร่วมมือทางการค้าต่างๆ ระหว่างประไทยร่วมกับประเทศอื่นๆ ซึ่ง ท าให้ภาษีขาเข้าของแต่ละประเทศที่ได้น าเข้าสินค้าจากประเทศไทย จะเป็น 0% แล้วก็ตาม แต่ทั้งนี้ยังมี อีกหลายประเทศที่เป็นคู้ค้ากับประเทศไทยแต่ยังไม่ได้ท าความร่วมมือทางการค้ากับประเทศไทย เว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit จึงได้รวบรวมแหล่งข้อมูลภาษีขาเข้าของแต่ละประเทศเพื่อให้ ผู้ประกอบการสามารถเป็นข้อมูลเพื่อเทียบเคียงกับสินค้าของตนเพื่อการส่งออก ตลอดช่วงการจัดท า โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้ท าการปรับปรุงข้อมูลและแก้ไข link ต่างๆ ให้ทันสมัยมากยิ่งขึ้น

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -88

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

รูปที่ 2-30 พิกัดภาษีขาเข้าของผลิตภัณฑ์พลาสติกแต่ละประเทศ

บทที่ 2 การจัดท าฐานข้อมูล -89

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์

3.1 PIU’s E-News รายสัปดาห์ ในตลอดระยะเวลาการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้มีการ รวบรวมข่าวสารต่างๆ ในเว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit ที่น่าสนใจและจัดท าเป็นจดหมายข่าวใน ชื่อ PIU’s E-News โดยส่งผ่านทาง Email ให้กับสมาชิก สัปดาห์ละ 1 ฉบับ รวมทั้งหมด 36 ฉบับ ดังนี้ ตารางที่ 3-1 PIU’s E-News ล าดับ วันที่จัดส่ง หัวข้อ E-News 1 22 กุมภาพันธ์ 2557 ตลาดฟิล์มและแผ่นพลาสติกจะขยายตัวร้อยละ 4.4 ภายในปี 2018 2 26 กุมภาพันธ์ 2557 Mitsubishi Electric พัฒนาพลาสติกเสริมคาร์บอนไฟเบอร์ 3 5 มีนาคม 2557 10 บริษัทผลิตพลาสติกที่น่าร่วมงานด้วยมากที่สุด 4 12 มีนาคม 2557 PolyFill PP ส าหรับผลิตเป็นด้ามจับ 5 21 มีนาคม 2557 มูลค่าอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพจะสูงถึง7.02พันล้านเหรียญในปี 2018 6 26 มีนาคม 2557 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความยืดหยุ่นด้วยท่อนาโนคาร์บอน 7 3 เมษายน 2557 Intertek เพิ่มศูนย์บริการทดสอบวัสดุคอมโพสิตในยุโรป 8 11 เมษายน 2557 Johns Manville เปิดตัววัสดุท าจากใยแก้วผสม PP 9 25 เมษายน 2557 ชาวอังกฤษชอบขวดซอสมะเขือเทศท าจากพลาสติกมากกว่าขวดแก้ว 10 29 เมษายน 2557 ลดการใช้พลาสติกด้วยเทคนิคการเป่าขวดแบบใหม่ 11 4 พฤษภาคม 2557 ผู้ผลิตกาแฟเล็งลด Footprint ส าหรับถ้วยกาแฟใช้ครั้งเดียว 12 12 พฤษภาคม 2557 บรรจุภัณฑ์ไข่ Egg-xciting ถูกน ากลับมาใช้ใหม่เป็นของเล่นส าหรับเด็ก 13 21 พฤษภาคม 2557 เมือง New York ลงมติห้ามใช้ Microbeads ในเครื่องส าอางค์ 14 27 พฤษภาคม 2557 PVC ก าลังจะเป็นพลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น 15 3 มิถุนายน 2557 ผลการศึกษาระบุว่าท่อ PVC มีอายุยาวนานกว่า 100 ปี 16 10 มิถุนายน 2557 ถ้วยโยเกิร์ตรูปทรงใหม่ ที่พัฒนาจากพฤติกรรมของบริโภค 17 16 มิถุนายน 2557 กล่องอาหารจาก PET รีไซเคิล ตอบสนองความหลากหลาย 18 25 มิถุนายน 2557 Sabic สามารถผลิตแผ่นฟิล์มพลาสติก Polycarbonate ที่น าไฟฟ้าได้แล้ว 19 30 มิถุนายน 2557 การทดสอบถังบรรจุเชื้อเพลิงไฮโดรเจนจาก POM 20 7 กรกฎาคม 2557 การลดของเสียด้วยการใช้ถุงบรรจุของเหลวผลิตจาก PE 100 เปอร์เซ็นต์ 21 16 กรกฎาคม 2557 Meredian ผู้ผลิตพลาสติกชีวภาพนวัตกรรมใหม่ประกาศความส าเร็จ 22 22 กรกฎาคม 2557 Brownwater เริ่มผลิตแผงคลุมสินค้าบนเรือที่น าไปรีไซเคิลได้ 23 1 สิงหาคม 2557 บรรจุภัณฑ์ที่น าไปสู่วิวัฒนาการทางสังคม

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -1

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ ล าดับ วันที่จัดส่ง หัวข้อ E-News 24 7 สิงหาคม 2557 วัสดุ Polyetherketone ตัวใหม่ใช้ทดแทนโลหะได้ 25 13 สิงหาคม 2557 พลาสติกชีวภาพจากแป้งข้าวจ้าว 26 22 สิงหาคม 2557 โพลิเมอร์ฟองน้ าช่วยซ่อมแซมกระดูกหักได้ 27 29 สิงหาคม 2557 บรรจุภัณฑ์ช่วยให้ผู้บริโภคมีจิตส านึกว่าไม่ควรเพิ่มปริมาณขยะจากอาหาร 28 4 กันยายน 2557 Bayer MaterialScience วางแผนขยายการผลิตพลาสติกจาก CO2 29 9 กันยายน 2557 PolyOne ผลิตวัสดุชนิดใหม่ที่ป้องกันการปลอมแปลงได้ 30 15 กันยายน 2557 Coca-Cola ขยายการลงทุนเพื่อพัฒนา Paraxylene ชีวภาพ 31 25 กันยายน 2557 ยาสีฟัน Crest เลิกใช้เม็ดไมโครบีด PE 32 29 กันยายน 2557 เรือแคนูน้ าหนักเบาผลิตด้วยวัสดุ Biotex Flax 33 1 ตุลาคม 2557 วัสดุคอมโพสิทย่อยสลายได้ ส าหรับผลิตยานยนต์ 34 6 ตุลาคม 2557 เม็ดพลาสติก PP รีไซเคิล ได้รับการอนุมัติให้ใช้สัมผัสอาหารได้แล้ว 35 10 ตุลาคม 2557 แก้วไวน์จากพลาสติกประเภท 1 เสิร์ฟ ดีไซน์ใหม่ ใช้งานง่าย 36 14 ตุลาคม 2557 BPF จะจัดงานสัมมนาพลาสติกส าหรับยานยนต์

รูปที่ 3-1 PIU’s E-News รายสัปดาห์

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -2

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 3.2 รายงานสถานการณ์ราคาปิโตรเคมีรายสัปดาห์ ในช่วงระหว่างการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้มีการจัดท า รายงานสถานการณ์ราคาปิโตรเคมีรายสัปดาห์เผยแพร่ให้กับสมาชิกเว็บไซต์สัปดาห์ละ 1 ฉบับ รวม ทั้งหมด 36 ฉบับ ดังนี้ ตารางที่ 3-2 รายงานสถานการณ์ราคาปิโตรเคมีรายสัปดาห์ ล าดับ วันที่จัดส่ง หัวข้อ E-News 1 27 ม.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 20-24 มกราคม 2557 2 3 ก.พ. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 27-31 มกราคม 2557 3 10 ก.พ. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 3-7 กุมภาพันธ์ 2557 4 17 ก.พ. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 10-14 กุมภาพันธ์ 2557 5 24 ก.พ. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 17-21 กุมภาพันธ์ 2557 6 3 มี.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 24-28 กุมภาพันธ์ 2557 7 10 มี.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 3-7 มีนาคม 2557 8 17 มี.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 10-14 มีนาคม 2557 9 24 มี.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 17-21 มีนาคม 2557 10 31 มี.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 24-28 มีนาคม 2557 11 8 เม.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 31 มีนาคม - 4 เมษายน 2557 12 14 เม.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 7-11 เมษายน 2557 13 21 เม.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 14-18 เมษายน 2557 14 28 เม.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 21-25 เมษายน 2557 15 5 พ.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 28-30 เมษายน 2557 16 12 พ.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 5-9 พฤษภาคม 2557 17 19 พ.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 12-16 พฤษภาคม 2557 18 26 พ.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 19-23 พฤษภาคม 2557 19 2 มิ.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 26-30 พฤษภาคม 2557 20 9 มิ.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 2-6 มิถุนายน 2557 21 16 มิ.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 9-13 มิถุนายน 2557 22 23 มิ.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 16-20 มิถุนายน 2557 23 30 มิ.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 23-27 มิถุนายน 2557 24 7 ก.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 1 - 4 กรกฎาคม 2557 25 14 ก.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 7-11 กรกฎาคม 2557 26 21 ก.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 14-18 กรกฎาคม 2557 27 28 ก.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 21-25 กรกฎาคม 2557

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -3

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ ล าดับ วันที่จัดส่ง หัวข้อ E-News 28 4 ส.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 28-31 กรกฎาคม 2557 29 11 ส.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 4- 8 สิงหาคม 2557 30 18 ส.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 11 - 15 สิงหาคม 2557 31 25 ส.ค. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 18 - 22 สิงหาคม 2557 32 1 ก.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 25 - 29 สิงหาคม 2557 33 8 ก.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 1 - 5 กันยายน 2557 34 15 ก.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 8 - 12 กันยายน 2557 35 22 ก.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 15 - 19 กันยายน 2557 36 29 ก.ย. 57 ความเคลื่อนไหวราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีระหว่าง 22-26 กันยายน 2557

รูปที่ 3-2 รายงานสถานการณ์ราคาปิโตรเคมีรายสัปดาห์

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -4

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 3.3 บทความรายเดือน Plastics Intelligence Monthly ในช่วงระหว่างการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้มีการจัดท า บทความรายเดือน Plastics Intelligence Monthly ที่น่าสนใจในหัวข้อต่างๆ จ านวน 10 ฉบับ ดังนี้ ตารางที่ 3-3 บทความรายเดือน Plastics Intelligence Monthly ล าดับ รายการ รายละเอียด 1 เดือนมกราคม พลาสติกชนิดต่างๆที่ใช้ในการผลิต การใช้พลาสติกเพื่อผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ อุปกรณ์การแพทย์ 2 เดือนกุมภาพันธ์ ข้อมูลดัชนีอุตสาหกรรมพลาติก ภาพรวมอุตสาหกรรมพลาสติก ปี 2556 สถิติน าเข้าส่งออกในปี 2556 3 เดือนมีนาคม ผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพื่อทดแทนการ ผลิตภัณฑ์ Connector (Cable Guide) น าเข้า 4 เดือนเมษายน ผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพื่อทดแทนการ ผลิตภัณฑ์ฝาปั๊ม (Dispenser pump) น าเข้า 5 เดือนพฤษภาคม เส้นใยพลาสติกเพื่อน าไปใช้ใน พลาสติกกับอุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมสิ่งทอ 6 เดือนมิถุนายน พลาสติกเพื่อการเกษตร เพื่อใช้ใน ฟิล์มการเกษตรคลุมดิน การคลุมดิน 7 เดือนกรกฎาคม การพัฒนาพลาสติกควบคุ่กับการ พลาสติกกับระบบรางและการขนส่งสาธารณะ ขนส่ง 8 เดือนสิงหาคม คอมพาวดน์และคอมโพสิต เพื่อเพิ่ม พลาสติกคอมพาวดน์และคอมโพสิต คุณสมบัติให้กับพลาสติก 9 เดือนกันยายน การน าไปใช้ควบคู่กันของทั้งพลาสติก ยางคอมพาวด์ และยาง 10 ผู้ประกอบการพลาสติกไทยปี 2556 สรุปผลการส ารวจข้อมูล ข้อมูลผู้ประกอบการพลาสติกไทย ผู้ประกอบการพลาสติกไทยปี 2556

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -5

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 3-3 Plastics Intelligence Monthly

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -6

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 3.4 รายงานวิจัยเชิงลึกที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก โดยรายงานวิจัยเชิงลึกที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก ได้เล็งเห็นถึงความส าคัญของอุตสาหกรรม ยานยนต์ ที่เป็นอุตสาหกรรมส าคัญในการผลักดันเศรษฐกิจไทย ทั้งนี้ด้วยนโยบายการต่างๆของประเทศที่ เอื้ออ านวยให้อุตสาหรรมนี้มีความก้าวหน้า ดังนั้นจึงได้มีการจัดท า “พลาสติกส าหรับอุตสาหกรรม รถยนต์” เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถมีความเข้าใจในอุตสาหกรรรม และชิ้นส่วนพลาสติก เพื่อให้เกิด ความรู้ และสามารถน าไปปรับใช้กับชิ้นงานของตน อีกทั้ง น่าจะเป็นส่วนส าคัญในการน าไปช่วยในการ วางนโยบายหรือแผน เพื่อยกระดับชิ้นงานพลาสติกของไทยในอุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต

ทั้งนี้รายงานฉบับนี้จะประกอบด้วย • อุตสาหกรรมรถยนต์ - อุตสาหกรรรถยนต์ในระดับสากล - อุตสาหกรรมรถยนต์ในอาเซียน - อุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย โครงสร้างอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย • ผู้ผลิตยานยนต์ • ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ - ทิศทางอุตสาหกรรมในอนาคต • เจาะลึกพลาสติกส าหรับยานยนต์ เน้นเฉพาะรถยนต์ แบ่งตามประเภทชิ้นส่วนรถนยนต์ - Engine part - Interior part - Interior functional part ศึกษาพลาสติกตามประเภทชิ้นส่วน ต าแหน่งในรถยนต์ กระบวนการผลิต และ ประเภทเม็ดพลาสติกที่ใช้ • ทิศทางการทดแทนด้วยชิ้นส่วนพลาสติกในอนาคต • แนวนโยบายและข้อเสนอแนะส าหรับชิ้นส่วนพลาสติกในรถยนต์

วิธีการศึกษา • รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ในด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ในระดับโลก อาเซียน และของไทย จาก สถาบันยานยนต์ สมาคมชิ้นส่วนยานยนต์ของไทย และจากเว็บไซต์ต่างๆ • ส ารวจข้อมูลจากผู้ประกอบการของไทย เพื่อให้ได้ข้อมูลพลาสติกในชิ้นส่วนต่างๆ และทราบความ คิดเห็น รวมถึงอุปสรรคด้านต่างๆในการพัฒนาพลาสติกส าหรับรถยนต์ในอนาคต

หน้าปกรายงาน “พลาสติกส าหรับรถยนต์”

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -7

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -8

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ สารบัญ

เรื่อง หน้า

ค าน า

บทที่ 1 อุตสาหกรรมรถยนต์ 1.1 อุตสาหกรรมรถยนต์ในระดับสากล อุตสาหกรรมรถยนต์ในอาเซียน อุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย ผู้ผลิตรถยนต์ ผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ บทที่ 2 พลาสติกส าหรับยานยนต์ ชิ้นส่วนภายนอกรถยนต์ (Exterior Parts) ชิ้นส่วนภายในรถยนต์ (Interior part) ชิ้นส่วนภายในห้องเครื่อง (Power-train Room parts (Engine parts)

บทที่ 3 ทิศทางอุตสาหกรรมรถยนต์ในอนาคต และการทดแทนด้วยชิ้นส่วนพลาสติก

บทที่ 4 แนวนโยบายและข้อเสนอแนะส าหรับชิ้นส่วนพลาสติกในรถยนต์

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -9

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ ค าน า

พลาสติกได้ถูกน าไปใช้งานในหลายๆ อุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นบรรจุภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ อุปกรณ์การแพทย์ และอื่นๆ ด้วยคุณสมบัติที่เหมาะสม สามารถลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพการ ใช้งานของสินค้าต่างๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นความสวยงาม หรือน้ าหนักที่เบากว่าโลหะ จึงท าให้พลาสติกถูกน ามาใช้ มาขึ้นเรื่อยๆในปัจจุบัน อีกทั้งทิศทางการพัฒนาในหลายๆอุตสาหกรรม ก็มีการวิจัยและพัฒนาเพื่อใช้วัตถุดิบ ต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น รวมถึงการค านึงถึงต้นทุนที่เหมาะสม จากด้วยเหตุผลข้างต้น จึงท าให้เกิดหนังสือ “พลาสติกส าหรับรถยนต์” เพื่อสร้างองค์ความรู้ของพลาสติก ที่ถูกน าไปใช้ในรถยนต์ โดยจะเน้นที่รถยนต์นั่ง ส าหรับบุคคล เพื่อให้ผู้อ่านมีความเข้าใจในอุตสาหกรรมรถยนต์ ทราบถึงชิ้นงานพลาสติกต่างๆ ในรถยนต์ 1 คน คุณสมบัติเฉพาะของเม็ดพลาสติกที่ถูกน าไปใช้ผลิตเป็นชิ้นส่วนรถยนต์ รวมถึงทิศทางการพัฒนาของ อุตสาหกรรมรถยนต์ในอนาคต ที่พลาสติกจะถูกน าไปทดแทนวัสดุอื่นๆในรถยนต์ และในท้ายที่สุดที่จะท าให้ เกิดแนวนโยบายส าหรับการพัฒนาชิ้นส่วนพลาสติกส าหรับรถยนต์ของไทย

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลใน หนังสือพลาสติกส าหรับรถยนต์ เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านทุกท่าน ทั้งผู้ประกอบการพลาสติกส าหรับรถยนต์ หรือผู้ประกอบการพลาสติกอื่นๆ รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป อย่างน้อยที่สุด ก็ให้เห็นถึงแนวทางในการพัฒนาสินค้าพลาสติกให้มีศักยภาพมากขึ้น สามารถแข่งขันได้ทั้งในตลาดอาเซียน และตลาดสากล

จัดท าโดย

 สถาบันพลาสติก  ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม  สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย

ตุลาคม 2557

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -10

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 1

อุตสาหกรรมรถยนต์

อุตสาหกรรมยานยนต์ในระดับสากล

ในปี พ.ศ.2556 ยานยนต์มากกว่า 87 ล้านคัน ซึ่งรวมทั้งรถยนต์นั่งและยานยนต์เพื่อการพาณิชย์ ได้ถูก ผลิตขึ้นทั่วโลก ผู้ผลิตที่ใหญ่ที่สุดอยู่ในเอเชียและโอเชียเนียคิดเป็นร้อยละ 52 รองลงมาเป็นอเมริกาและยุโรป คิดเป็นร้อยละ 24 และ 23 ซึ่งทั่วโลกมีการจ าหน่ายประมาณ 85 ล้านคัน โดยถูกจ าหน่ายในเอเชีย โอเชียเนีย และตะวันออกกลางมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 47 รองลงมาเป็น ทวีปอเมริกา ร้อยละ 29 ยุโรป ร้อยละ 21 ตลาด รถยนต์ในเอเชียและแอฟริกามีแนวโน้มการเติบโตเพิ่มขึ้นจากการเติบโตของเศรษฐกิจที่ดีขึ้น

ตารางด้านล่างนี้แสดงกลุ่มผู้ผลิตยานยนต์ขนาดใหญ่ที่สุดของโลก พร้อมกับยี่ห้อรถของแต่ละผู้ผลิต โดย OICA (Organisation Internationale des Constructeurs d’Automobiles)

ยี่ห้อ ประเทศต้นก าเนิด ความเป็นเจ้าของ ตลาด 1. Toyota Motor Corporation ( ญี่ปุ่น)

Daihatsu ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก ยกเว้นอเมริกาเหนือ Hino ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ เอเชียแปซิฟิก, แคนาดา, อเมริกาใต้ Lexus ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Scion ยี่ห้อของตนเอง สหรัฐอเมริกา Toyota ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 2. ( สหรัฐอเมริกา) Buick ยี่ห้อของตนเอง อเมริกาเหนือ, จีน Cadillac ยี่ห้อของตนเอง เกือบทั่วโลก Chevrolet ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Daewoo ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ เอเชีย, ยุโรป, อเมริกาใต้ GMC ยี่ห้อของตนเอง อเมริกาเหนือ, ตะวันออกกลาง Holden ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ เอเชียแปซิฟิก, ตะวันออกกลาง Hummer ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Pontiac ยี่ห้อของตนเอง อเมริกาเหนือ Opel ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ยุโรป, แอฟริกาใต้ Saab ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Saturn ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ อเมริกาเหนือ Vauxhall ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ สหราชอาณาจักร 3. Porsche Automobile Holding ( เยอรมนี)

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -11

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ยี่ห้อ ประเทศต้นก าเนิด ความเป็นเจ้าของ ตลาด Audi ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Bentley ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Bugatti ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Scania ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Seat ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ยุโรป, ลาตินอเมริกา, แอฟริกาใต้ Skoda ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก ยกเว้นอเมริกาเหนือ Volswagen ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Porsche ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 4. Ford Motor ( สหรัฐอเมริกา) Ford ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Lincoln ยี่ห้อของตนเอง อเมริกาเหนือ, ตะวันออกกลาง Mercury ยี่ห้อของตนเอง อเมริกาเหนือ, ตะวันออกกลาง Troller ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ อเมริกาใต้ Volvo ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก 5. Honda Motor ( ญี่ปุ่น) Acura ยี่ห้อของตนเอง อเมริกาเหนือ, จีน Honda ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 6. PSA Citroen ( ฝรั่งเศส) Citroen ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Peugeot ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก 7. Nissan Motor ( ญี่ปุ่น) อเมริกาเหนือ, ตะวันออกกลาง, Infiniti ยี่ห้อของตนเอง ไต้หวัน, เกาหลี Nissan ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 8. Fiat SPA ( อิตาลี) ทั่วโลก ยกเว้นสหรัฐอเมริกาและ Abarth ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ แคนาดา Alfa Romeo ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Ferrari ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก ทั่วโลก ยกเว้นสหรัฐอเมริกาและ Fiat ยี่ห้อของตนเอง แคนาดา Iveco ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก ยกเว้นอเมริกาเหนือ Lancia ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก ยกเว้นอเมริกาเหนือ Maserati ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Zastava ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ -

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -12

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ยี่ห้อ ประเทศต้นก าเนิด ความเป็นเจ้าของ ตลาด 9. SA ( ฝรั่งเศส) ยุโรป, ลาตินอเมริกา, เอเชีย, Dacia ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ แอฟริกา Renault ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Renault Samsung ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ เอเชีย, อเมริกาใต้ 10. Hyun day Motor ( เกาหลีใต้) Hyundai ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 11. Suzuki Motor ( ญี่ปุ่น) Maruti Suzuki ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ อินเดีย, ตะวันออกกลาง, อเมริกาใต้ Suzuki ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 12. LLC ( สหรัฐอเมริกา) Chrysler ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Dodge ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Jeep ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 13. Daimler AG ( เยอรมนี) Freightliner ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ อเมริกาเหนือ, แอฟริกาใต้ Maybach ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Mercedes Benz ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Mitsubishi ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก ยุโรปตะวันตก, เอเชียตะวันออก Smart ยี่ห้อของตนเอง เฉียงใต้, อเมริกาเหนือ, แอฟริกาใต้ 14. BMW AG ( เยอรมนี) BMW ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Mini ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Roll-Royce ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก 15. Mitsubishi Motor ( ญี่ปุ่น) Mitsubishi ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 16. Kia Motor ( เกาหลีใต้) Kia ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก 17. Masda Motor ( ญี่ปุ่น) Masda ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 18. AvtoVAZ ( รัสเซีย) ยี่ห้อของตนเอง รัสเซีย, ฟินแลนด์, สวีเดน VAZ ยี่ห้อของตนเอง รัสเซีย, ยุโรปตะวันตก 19. FAW Group Corporation ( จีน)

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -13

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ยี่ห้อ ประเทศต้นก าเนิด ความเป็นเจ้าของ ตลาด Besturn ยี่ห้อของตนเอง จีน Hongqi ยี่ห้อของตนเอง จีน Haima กิจการร่วมค้า จีน Huali ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ จีน Xiali ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ จีน 20. Tata Motor ( อินเดีย) Hispano ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ยุโรป Jaguar ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Land Rover ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Tata ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก Tata ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ เกาหลีใต้ 21. Fuji Heavy Industries ( ญี่ปุ่น) Subaru ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 22. Changan Automobile ( จีน) Changan ยี่ห้อของตนเอง จีน, แอฟริกาใต้ 23. Isuzu Motor ( ญี่ปุ่น) Isuzu ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 24. Beijing Automotive Industries Holding ( จีน) BAW ยี่ห้อของตนเอง จีน 25. Dongfeng Motor Corperation ( จีน) Dongfeng ยี่ห้อของตนเอง จีน 26. Chery Automobile ( จีน) จีน, แอฟริกาใต้, เอเชียตะวันออก Chery ยี่ห้อของตนเอง เฉียงใต้ 27. Shanghai Corperation) จีน) MG ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ สหราชอาณาจักร Roewe ยี่ห้อของตนเอง จีน Ssangyong ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Wuling กิจการร่วมค้า จีน 28. Brilliance China Automotive Holding ( จีน) Brilliance ยี่ห้อของตนเอง จีน Jinbei ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ จีน 29. GAZ ( รัสเซีย) GAZ ยี่ห้อของตนเอง รัสเซีย LDV ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ยุโรป

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -14

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ยี่ห้อ ประเทศต้นก าเนิด ความเป็นเจ้าของ ตลาด LiAZ ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ รัสเซีย 30. Volvo Group ( สวีเดน) Mack ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Renault ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Nissan Diesle ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ทั่วโลก Volvo ยี่ห้อของตนเอง ทั่วโลก 31. Harbin Harfei Automobile Industries Group ( จีน) Harfei ยี่ห้อของตนเอง จีน 32. Geely Automobile ( จีน) Geely ยี่ห้อของตนเอง จีน Maple ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ จีน 33. Anhui Jianghuai Automobile Co., Ltd ( จีน) JAC ยี่ห้อของตนเอง จีน 34. Mahindra and Mahindra ( อินเดีย) Mahindra ยี่ห้อของตนเอง อินเดีย 35. Paccar Inc ( สหรัฐอเมริกา) ทั่วโลก ยกเว้นสหรัฐอเมริกาและ DAF ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ แคนาดา Kenworth ยี่ห้อของตนเอง อเมริกาเหนือ Leyland ยี่ห้อที่เข้าถือหุ้นใหญ่ ยุโรป Peterbilt ยี่ห้อของตนเอง อเมริกาเหนือ 36. Great Wall Motor ( จีน) Great Wall ยี่ห้อของตนเอง จีน 37. Jiangxi Changhe ( จีน) Changhe ยี่ห้อของตนเอง จีน 38. BYD Auto ( จีน) BYD ยี่ห้อของตนเอง จีน 39. China National Heavy Duty Track Group ( จีน) CNHTC ยี่ห้อของตนเอง จีน 40. MGN AG ( เยอรมนี) MGN ยี่ห้อของตนเอง ทวีปยุโรป

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -15

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

การเชื่อมโยงของบริษัทต่างๆ ในอุตสาหกรรมรถยนต์

ที่มา: carmagazine.co.uk, 2553

บริษัทรถยนต์ระดับโลก จะมีการเชื่อมโยงกันผ่านบริษัทต่างๆ มีการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ และเครื่องยนต์ ที่ สามารถใช้กับบริษัทอื่นในเครือ หรือบริษัทอื่นที่ไม่ได้อยู่ในเครือเดียวกัน ดังจะเห็นได้ว่า บริษัทรถยนต์ต่างๆใน ระดับโลกนั่น มีเครือข่ายของการผลิตชิ้นส่วนให้กันเป็นอย่างดี

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -16

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ปริมาณการผลิตรถยนต์ของโลก ในช่วงปี พ.ศ.2543-2556

Units Production Growth (%) 100,000,000 0.30 90,000,000 0.25 80,000,000 0.20 70,000,000 0.15 60,000,000 0.10 50,000,000 0.05 40,000,000 0.00 30,000,000 20,000,000 -0.05 10,000,000 -0.10 - -0.15 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556

Passenger Commercial vehicle Production Growth (%)

ที่มา: Organisation Internationale des Constructeurs d’Automobiles (OICA), สิงหาคม 2557

จากจ านวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจส่งผลให้ปริมาณการผลิตรถยนต์ของ โลกมีแนวโน้มการเติบโตสูงขึ้นเรื่อยๆ แม้ว่าจะมีบางปีที่ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจท าให้ยอดการผลิต ลดลงไปบ้าง แต่ในปัจจุบันก็มียอดการผลิตสูงถึง 87 ล้านคัน ทั้งนี้เป็นรถยนต์นั่งส่วนบุคคลเป็นหลักถึงร้อย ละ 75 ประมาณ 65 ล้านคัน และเป็นรถยนต์เชิงพานิชย์ร้อยละ 25 ประมาณ 22 ล้านคัน ปริมาณการผลิตรถยนต์แยกตาม ภูมิภาค ปี พ.ศ. 2556

ที่มา: Organisation Internationale des Constructeurs d’Automobiles (OICA)

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -17

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

การผลิตส่วนใหญ่อยู่ในภูมิภาคเอเชีย โดยผู้ผลิตรายใหญ่ คือ จีน ญี่ปุ่น อินเดีย อาเซียน และประเทศอื่นๆ ภูมิภาคที่มีการผลิตมากรองลงมา คือยุโรป ผู้ผลิตรายใหญ่อยู่ในประเทศเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน และ อังกฤษ ส่วนภูมิภาคอเมริกาเหนือและกลางนั้น มีผู้ผลิตรายใหญ่ใน สหรัฐอเมริกาและแคนาดา เปรียบเทียบการผลิตในแต่ละภูมิภาค ระหว่างปี พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2556 อัตราการเติบโตเ ลี่ย Region 2546 2556 (Unit) (Unit) (2546-2556) WORLD 60,618,600 87,300,115 +4.14 % EUROPE 20,004,927 19,726,405 -0.16 % AMERICA 18,246,489 21,136,313 +1.65 % ASIA-OCEANIA 21,971,432 45,800,878 +8.50 % AFRICA 395,752 636,519 + 5.42 %

ที่มา: Organisation Internationale des Constructeurs d’Automobiles (OICA)

การผลิตรถยนต์ของโลกมีอัตราการเติบโตในช่วง 10 ที่ผ่านมา สูงถึงร้อยละ 4 โดยภูมิภาคที่มีการขยายตัว มากที่สุดคือ เอเชีย และ โอเชียเนีย ที่เติบโตถึงร้อยละ 8.5 ทั้งนี้เนื่องจากอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และประชากรของภูมิภาคนี้ เติบโตอย่างต่อเนื่อง เป็นประเทศก าลังพัฒนาที่เริ่มมีการใช้จ่ายเพื่อซื้อรถยนต์ ในการอ านวยความสะดวกมากขึ้น อีกทั้งในภูมิภาคเหล่านี้ มีต้นทุนด้านแรงงานยังต่ ากว่าภูมิภาคยุโรปและ อเมริกา

อุตสาหกรรมยานยนต์ในอาเซียน

ประเทศในภูมิภาคอาเซียนอันประกอบไปด้วย 10 ประเทศดังต่อไปนี้ ราชอาณาจักรไทย, สาธารณรัฐ อินโดนีเซีย, ประเทศมาเลเซีย, สาธารณรัฐสิงคโปร์, บรูไนดารุซาลาม, ราชอาณาจักรกัมพูชา, สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว, สาธารณรัฐฟิลิปปินส์, สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม, เมียนม่า ซึ่งมีแผนในการ รวมตัวกันทางด้านเศรษฐกิจภูมิภาค การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเพื่อเพิ่มอ านาจในการต่อรองและเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศ หรือตลาดสากล โดยมุ่งให้เกิดผลประโยชน์ร่วมและ พัฒนาประเทศในภูมิภาคไปพร้อมๆกัน

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -18

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ประเทศสมาชิกอาเซียน มีลักษณะของการผลิตยานยนต์ และตลาดในประเทศที่แตกต่างกันซึ่ง สามารถ จัดกลุ่มได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้

(1) กลุ่มประเทศที่เป็นฐานการผลิต ตลาดมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสขยายตัวได้แก่ อินโดนีเซีย ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และ เวียดนาม (2) กลุ่มประเทศที่ไม่ได้เป็นฐานการผลิต แต่มีโอกาสและเริ่มมีแนวโน้มการพัฒนาและขยายตัวได้แก่ กัมพูชา ลาว และเมียนมาร์ ส่วนบรูไนและสิงคโปร์ก็ไม่ได้เป็นฐานการผลิตเช่นกัน แต่แนวโน้มใน การขยายตัวอาจจะไม่มากนักเนื่องจากข้อจ ากัดในเรื่องพื้นที่และจ านวนประชากร

ในบทวิเคราะห์นี้เน้นเฉพาะประเทศที่มีอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์เป็นส าคัญได้แก่ ประเทศมาเลเซีย, ประเทศอินโดนีเซีย, ประเทศฟิลิปปินส์, ประเทศเวียดนาม และประเทศไทย

 ประเทศมาเลเซีย

ประเทศมาเลเซียเป็นประเทศเดียวในอาเซียนที่มีโครงการรถยนต์แห่งชาติ เนื่องจากปี พ.ศ. 2528 รัฐบาลต้องการให้อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นสัญลักษณ์การเปลี่ยนแปลงประเทศจาก เกษตรกรรมเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม รวมทั้งต้องการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนในประเทศอย่างจริงจัง โดยโครงการแรกเริ่มต้นในปี พ.ศ.2528 ผลิตรถยนต์ตรา “Proton” และต่อมาในปี พ.ศ.2537 จึงมีโครงการที่สอง ผลิตรถยนต์ขนาดเล็ก ตรา “Perodua” และเพื่อให้การเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์มีความยั่งยืน ในปัจจุบันภาครัฐ จึงมีนโยบายส่งเสริมการผลิตรถยนต์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ภายใต้โครงการ Green initiative program

ตั้งแต่รถยนต์ยี่ห้อ Proton ได้ถูกก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985) ซึ่งเป็นรถยนต์ สัญชาติมาเลเซียนั้น ในมุมมองของประเทศสมาชิกในอาเซียน ถือว่ามาเลเซียได้ประสบ ความส าเร็จในการพัฒนาขีดความสามารถด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งรวมถึง ความสามารถทั้งทางด้านการออกแบบ และการก าหนดรูปลักษณ์ที่มีลักษณะเฉพาะตัว ก่อให้เกิดการผลิตสินค้าแบบเต็มรูปแบบที่จะต้องมีการเชื่อมโยง ส่วนประกอบต่างๆ เข้าไว้ ด้วยกัน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2555 ประเทศมาเลเซียก็ถือว่าเป็นประเทศที่มีตลาดการค้ารถยนต์ นั่ง (Passenger Vehicle) ขนาดใหญ่ที่สุดในอาเซียน โดยมียอดการจ าหน่ายรถยนต์ประมาณ มากกว่า 600,000 คันต่อปี

ความส าเร็จในการพัฒนาขีดความสามารถอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศมาเลเซียนั้น ส่วน หนึ่งมาจากการสนับสนุนของนโยบายจากภาครัฐที่ช่วยส่งเสริมให้อุตสาหกรรมยานยนต์ใน ประเทศนั้นมีการพัฒนาขึ้นอย่างยั่งยืน

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -19

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

อุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศมาเลเซียได้เริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2503 ซึ่งก่อนทศวรรษดังกล่าว นั้น รถยนต์โดยส่วนใหญ่ที่ใช้ภายในประเทศมาจากการน าเข้ารถยนต์ส าเร็จรูป ในปี พ.ศ. 2506 รัฐบาลมาเลเซียเริ่มสนับสนุนและก่อตั้งอุตสาหกรรมยานยนต์ขึ้นมา โดยมีนโยบายในการ สนับสนุนการผลิตชิ้นส่วนและส่วนประกอบรถยนต์ขึ้นหลังจากนั้นเป็นต้นมาซึ่งเป็นระยะเวลา เดียวกันกับการเริ่มพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย เพื่อทดแทนการน าเข้ารถยนต์ และ ในปี พ.ศ. 2540 โรงงานประกอบรถยนต์ทั้ง 6 แห่งได้เริ่มต้นท าการผลิตรถยนต์ซึ่งเป็นการร่วม ทุนระหว่างบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ในยุโรป และหุ้นส่วนในพื้นที่ซึ่งเป็นตัวแทนจัดจ าหน่าย (Distributor) อยู่ก่อนแล้ว โดยบริษัท Swedish Motor Assemblies ได้ประกอบรถยนต์ให้แก่ Volvo บริษัท Asia Automobile Industries Sdn.Bhd ประกอบรถยนต์ให้แก่ Peugeot และ และ Tan Chong Motors ได้ประกอบรถยนต์ให้แก่ Nisson และ Datsun โดยน า รูปแบบ Completely Knocked-down (CKD) เพื่อป้อนเข้าสู่โรงงานประกอบรถยนต์

แม้ประเทศมาเลเซียจะเป็นประเทศที่มีขนาดตลาดไม่ใหญ่มากด้วยจ านวนประชากร 29 ล้าน คน แต่ด้วยก าลังซื้อที่สูงกว่า มีอัตรารายได้ต่อหัวที่ 10,945.89 เหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 339,322.53 บาท ท าให้ปัจจุบันมาเลเซียเป็นประเทศที่มีอัตราการถือครองรถยนต์อยู่ที่ 1 : 7

นโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ของมาเลเซีย (National Automotive Policy :NAP) เป็นส่วนส าคัญในการก าหนดทิศทาง และการพัฒนา เพื่อความอยู่รอดของอุตสาหร กรรมรถยนต์ในประเทศ ซึ่งมีการเริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) และปรับแก้ในปี พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) และ พ.ศ. 2555 )ค.ศ. 2012)

วัตถุประสงค์ของนโยบาย National Automotive Policy เพื่อให้เกิดคุณค่าทางเศรษฐกิจ อย่างยั่งยื่นและยาวนาน ส่งผลประโยชน์สูงสุดแก่ผู้บริโภคในประเทศและแข่งขันได้ในระดับ สากล โดยมีวัตถุประสงค์ส าคัญดังนี้

- สนับสนุนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ให้อยู่รอด และยั่งยืน - สนับสนุนให้มาเลเซียเป็นศูนย์กลางการผลิตรถยนต์ในภูมิภาค โดยเฉพาะกลุ่ม Niche Market - สนับสนุนเพื่อคงไวซึ่งระดับของเศรษฐกิจ (level of economics) ของสินค้าที่มี มูลค่าเพิ่มให้มีความยั่งยืน และพัฒนาขีดความสามารถการผลิตในประเทศ - สนับสนุนระดับการส่งออก (level of export) สินค้ายานยนต์ให้สูงขึ้น รวมถึง ชิ้นส่วนยานยนต์ให้แข่งขันได้ในตลาดสากล - สนับสนุนผู้ประกอบการที่เป็นภูมิบุตรีให้แข่งขันได้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ใน ประเทศ

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -20

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

- ปกป้องผลประโยชน์ของผู้บริโภคในส่วนของค่าเงิน ความปลอดภัย คุณค่าและ บริการ

 ประเทศอินโดนีเซีย

สภาพสังคมมีลักษณะครอบครัวใหญ่ จึงนิยมใช้รถยนต์นั่งที่สามารถบรรทุกสมาชิกครอบครัว ที่มีจ านวนมากได้ ท าให้รัฐส่งเสริมการผลิตรถยนต์นั่งอเนกประสงค์ (Multi-purpose vehicle –MPV) และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศมีความ แข็งแกร่ง ภาครัฐจึงส่งเสริมการผลิตรถยนต์นั่งขนาดเล็กที่มีราคาถูก

อุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศอินโดนีเซียมีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 1470 โดยในระยะ แรกเริ่มจากการน าเข้า-ส่งออกสินค้ายานยนต์ ซึ่งกิจกรรมทั้งที่เป็นการประกอบยานยนต์ และ น าเข้ารถยนต์ ค่อนข้างถูกจ ากัดและยังไม่มีการออกกฎระเบียบเพื่อสนับสนุนกิจกรรม ดังกล่าว อย่างไรก็ดีหลังปี พ.ศ. 2483 การประกอบยานยนต์ในอินโดนีเซียเริ่มมีมากขึ้น โดย เป็นการน าเข้าชิ้นส่วนครบชุดสมบรูณ์ (Completely Knocked-Down (CKD)) มาประกอบ ในประเทศส่วนใหญ่ จึงเป็นไปในลักษณะ รัฐบาลกับรัฐบาล (Government to Government (G to G))

ในปี พ.ศ. 2509 รัฐบาลภายใต้การน าของ มีนโยบายในการเพิ่มผู้ผลิตวัตถุดิบขั้น กลางของสินค้าทุกประเภทรวมถึงรถยนต์ รัฐบาลจึงอนุญาตให้มีการน าเข้าทั้งรถยนต์ ส าเร็จรูป (Completely Built-Up (CBU)) ชิ้นส่วนครบชุดสมบรูณ์ (Completely Knocked- Down (CKD)) ชิ้นส่วนกึ่งครบชุดสมบรูณ์ (Semi-Knocked-Down (SKD)) และแม้แต่รถยนต์ มือสอง การออกกฎดังกล่าวจึงถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาอุตสาหกรรมประกอบชิ้นส่วน ยานยนต์ของอินโดนีเซีย

และในปี พ.ศ 2549 ถือเป็นจุดเปลี่ยนส าคัญของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์อินโดนีเซีย โดยรัฐบาลได้ออกนโยบายปกป้องผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่เรียกว่า Deletion Program ซึ่ง เป็นการจ ากัดการน าเข้าชิ้นส่วน CKD เพื่อการประกอบรถยนต์เพื่อการพาณิชย์เท่านั้น วัตถุประสงค์หลักในการออกนโยบายดังกล่าวต้องการให้มีการกระตุ้นการโอนย้ายเทคโนโลยี ยานยนต์จากญี่ปุ่นไปสู่ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศ เพิ่มสัดส่วนการใช้ชิ้นส่วนใน ประเทศ และเพิ่มความสัมพันธ์ของผู้ประกอบรถยนต์ขนาดใหญ่กับผู้ผลิตชิ้นส่วนในประเทศ

การพัฒนาอย่างรวดเร็วของอุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซียเกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่ 1970 ซึ่งเป็นช่วง Oil Boom ในช่วงนี้อุตสาหกรรมยานยนต์ของอินโดนีเซีย เกิดความ หลากหลายในภาคการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์มากขึ้นจนสามารถท าให้เกิดเป็นการผลิตแบบ

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -21

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ประหยัดต่อขนาดได้ )Economy of Scale) อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ. 2526 รัฐบาลพยายามที่ จะลดจ านวนยี่ห้อ และรุ่นรถยนต์ในตลาด เพื่อท าให้เกิดสัดส่วนตลาดของรถยนต์แต่ละรุ่นที่ มากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อการประหยัดต่อขนาด การเพิ่มประสิทธิภาพ และลดต้นทุนการผลิต อย่างไรก็ดีมาตรการดังกล่าวไม่ประสบความส าเร็จเท่าที่ควร เนื่องจาก ผู้ผลิตชิ้นส่วนขนาด เล็กและขนาดกลางยังขาดเทคโนโลยี เงินทุน และทักษะแรงงาน และในทางกลับกันยังส่งผล ให้เกิดการลงทุนจากต่างชาติซึ่งเข้ามาแย่งตลาดกับผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ขนาดกลางและ ขนาดย่อม

ในปี พ.ศ. 2536 รัฐบาลออกนโยบาย Incentive Program ซึ่งเป็นมาตรการที่ไม่บังคับใช้ ชิ้นส่วนในประเทศ แต่เป็นมาตรการจูงในทางภาษีส าหรับผู้ประกอบรถยนต์ที่จะได้รับสิทธิ พิเศษทางภาษีเมื่อมีการใช้สัดส่วนการใช้ชิ้นส่วนในประเทศมากขึ้น โดยลดจากภาษีน าเข้าที่ อัตรา 40% เป็น 0% ทั้งนี้สัดส่วนการใช้ชิ้นส่วนในประเทศส าหรับรถยนต์นั่งเท่ากับ 40% และสัดส่วนการใช้ชิ้นส่วนในประเทศส าหรับรถยนต์เพื่อการพาณิชย์เท่ากับ 20%

ในปี พ.ศ. 2539 รัฐบาล Suharto ได้จัดตั้งบริษัท Timor Putra Nasional )TPN) เพื่อผลิต รถยนต์แห่งชาติ ซึ่งเป็นการร่วมลงทุนกับ KIA ของประเทศเกาหลีใต้ โดยโรงงานที่ผลิต รถยนต์นี้จะท าการผลิตที่ประเทศเกาหลีใต้ทั้งหมด และส่งออกมายังอินโดนีเซีย โดยจะได้รับ สิทธิพิเศษในการยกเว้นภาษีน าเข้าและภาษีขายส าหรับสินค้าฟุ่มเฟือย อย่างไรก็ดีนโยบาย ดังกล่าวถูกต่อต้านอย่างหนักจากญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และยุโรป และยังฝ่าฝืนกฏระเบียบ การค้าของ WTO

หลังเกิดวิกฤตการเงินในปี พ.ศ. 2541 อินโดนีเซียได้ขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงิน ระหว่างประเทศ (IMF) ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 อินโดนีเซียได้เข้าเป็นสมาชิกองค์กรการค้าโลก (WTO) ซึ่งมีผลให้อินโดนีเซียกลายเป็นตลาดเสรีอย่างรวดเร็ว มาตรการใช้ชิ้นส่วนในประเทศ รวมถึงมาตรการการปกป้องอุตสาหกรรมยานยนต์ได้ถูกยกเลิก และในช่วงเดือนมิถุนายน ปี พ.ศ. 2542 มีการปรับลดอัตราภาษีน าเข้าส าหรับ CBU และ CKD แต่ยังคงมีอัตราสูงอยู่ ทั้งนี้ นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมของอินโดนีเซียที่เกิดขึ้นหลังปี พ.ศ 2543 (ค.ศ.2000) ที่ออกมา นั้น เริ่มมีการเปิดเสรีมากขึ้น และเริ่มส่งเสริมอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ร่วมด้วย

นโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ของอินโดนีเซียนั้นมีเป้าหมายทั้งระยะสั้นและ ระยะยาวโดยในปี พ.ศ. 2555 ก าลังอยู่ในช่วงของการพัฒนาด้านการออกแบบ และวิศวกรรม ของกระบวนการผลิต และ เมื่อพิจารณาจาก Road Map ของการพัฒนาอุตสาหกรรมนั้น อินโดนีเซียก าลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนถ่ายฐานการผลิตยานยนต์จาก ประเภท MPV และ รถยนต์ เพื่อการพาณิชย์ขนาดเล็ก เป็นรถยนต์ประเภท MPV รถเพื่อการพาณิชย์ขนาดใหญ่ที่มีขนาด

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -22

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บรรทุกมากกว่า 24 ตัน รถยนต์นั่งประเภท SUV และรถยนต์นั่งประเภทซีดานขนาดเล็กในปี พ.ศ. 2558

ทั้งนี้ อินโดนีเซียยังมีโอกาสเติบโตในอุตสาหกรรมยานยนต์อีกมาก ด้วยจ านวนประชากรที่มี ขนาดมากกว่า 200 ล้านคน และปัจจุบันรายได้ต่อหัวประชากรของอินโดนีเซียประมาณ 2,500 เหรียญสหรัฐต่อปี หรือประมาณ 75,000 บาทต่อปี เท่านั้น และมีอัตราการครอบครอง รถยนต์ปี 2553 ที่ 38 คนต่อคัน ซึ่งน้อยกว่าอัตราการครอบครองเฉลี่ยของโลกอยู่มาก จึงถือ ว่ามีโอกาสในการเติบโต ดังนั้นสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซีย ได้มีการพยากรณ์ แนวโน้มการเติบโตของตลาดปี พ.ศ. 2558 )ค.ศ. 2020) และปี พ.ศ.2568 (ค.ศ.2025) โดย คาดการณ์ว่าอินโดนีเซียจะมีการผลิตรถยนต์ 1,610,000 คัน 2,593,000 คัน และ 4,170,000 คัน ตามล าดับโดยแบ่งเป็นการผลิตเพื่อขายในประเทศร้อยละ 76 และผลิตเพื่อส่งออก ร้อย ละ 24

 ประเทศฟิลิปปินส์

ด้วยสภาพภูมิประเทศที่เกิดภัยธรรมชาติอยู่บ่อยครั้ง อีกทั้งสภาวะเศรษฐกิจและการเมืองที่ไม่ มีเสถียรภาพ ท าให้ไม่มีการส่งเสริมการผลิตรถยนต์ประเภทใดประเภทหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ เป็นฐานการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์บางประเภท คือ เป็นฐานการผลิตระบบส่งก าลัง (Transmission) ประเภท Manual transmission ส าหรับปิกอัพ

ภาวะตลาดสินค้าชิ้นส่วนรถยนต์ประเทศฟิลิปปินส์ในส่วนการผลิตนั้น ประเทศฟิลิปปินส์มี ปริมาณการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ประมาณปีละ 4.5 ล้านเมตริกตัน คิดเป็นมูลค่ากว่า 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐ แต่ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ในประเทศ ประกอบกับชิ้นส่วนรถยนต์ ที่ผลิตได้ในประเทศมีราคาค่อนข้างสูง เมื่อเทียบกับสินค้ารถยนต์น าเข้า โดยชิ้นส่วนรถยนต์ที่ มีการผลิตมากได้แก่ ชิ้นส่วนส าหรับรถยนต์ญี่ปุ่น เช่น Toyota Honda Mazda Mitsubishi และยังมีชิ้นส่วนรถยนต์ส าหรับรถยนต์ค่ายอื่นๆ ได้แก่ ฮุนได ฟอร์ด ไครสเลอร์ เชฟโลเรต เป็นต้น ทั้งนี้อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ในฟิลิปปินส์ขายตัวเพิ่มขึ้นตามล าดับ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ตามโครงการ Motor Vehicle Development Program (MVDP) จึงท า ให้เกิดความต้องการน าเข้าเพิ่มขึ้น โดยจากสถิติการน าเข้าสินค้าชิ้นส่วนรถยนต์ของฟิลิปปินส์ มีมูลค่าเฉลี่ยปีละ 5,000 ล้านเหรียญสหรัฐ มีอัตราการขยายตัวประมาณร้อยละ 5 ต่อปี โดย มีการน าเข้ามากตามล าดับคือ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน ไทย มาเลเซีย โดยมีการน าเข้าทั้ง ชิ้นส่วนรถยนต์ใหม่ และชิ้นส่วนรถยนต์มือสองจากญี่ปุ่น และเกาหลีใต้

ประเทศฟิลิปปินส์ได้เริ่มใช้ Motor Vehicle Development Program มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศให้มี

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -23

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ประสิทธิภาพ อันประกอบไปด้วยอุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมสนับสนุน (Auto- supporting industries) ซึ่งรัฐบาลได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมดังกล่าวที่สามารถ ผลิตสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่ม และยังสามารถสร้างศักยภาพด้านเศรษฐกิจของประเทศได้อีกด้วย ดังจะเห็นได้จากผลการลงทุนในอุตสาหกรรมดังกล่าวที่มีถึง 100,000 ล้านเปโซ สามารถ สร้างงานได้ถึง 75,000 อัตรา รวมถึงมีการส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ในปี 2010 ถึง 3 พันล้าน เหรียญสหรัฐ อีกทั้งยังช่วยให้เกิดการพัฒนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีให้แก่พนักงานใน อุตสาหกรรมดังกล่าวด้วย

อุตสาหกรรมยานยนต์ของฟิลิปปินส์ เป็นการผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศ เนื่องจาก ปริมาณการผลิตยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดในประเทศ แม้ฟิลิปปินส์จะ ชักชวน และสนับสนุนการลงทุน แต่ยังไม่ได้รับการตอบรับจากนักลงทุนเท่าที่ควร เป็นเพราะ มาตรการที่ก าหนดมิได้มีความแตกต่างไปจากประเทศอื่น ประกอบกับนิสัยของคนฟิลิปปินส์ ที่มีความสามารถในการบริการมากกว่า เพราะบุคลากรมีวินัย และมีความรู้ภาษาอังกฤษดี ท าให้ความสนใจที่จะท างานในภาคการผลิต (โรงงาน) มีไม่มาก ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งให้ บริษัทฟอร์ดยุติการผลิตยานยนต์ในฟิลิปปินส์ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2555

 ประเทศเวียดนาม

ประชาชนยังมีรายได้ในระดับต่ า อีกทั้งกฎหมายควบคุมความเร็วในการขับขี่รถยนต์ท าให้ ประชาชนนิยมใช้รถจักรยานยนต์มากกว่ารถยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์จึงเน้นการผลิต รถจักรยานยนต์ขนาดเล็ก ราคาถูก

อุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศเวียดนามแม้จะอยู่ในช่วงเริ่มต้นพัฒนา แต่รัฐบาลได้ จัดล าดับความส าคัญในการพัฒนาอยู่เป็นอันดับต้นๆ

เมื่อปี พ.ศ. 2534 อุตสาหกรรมยานยนต์เวียดนามเริ่มต้นด้วยบริษัทต่างชาติสองบริษัทที่เข้า มาลงทุนโดยตรง (Foreign Direct Investment (FDI)) หรือ Mekong Corporation (VMC) เป็นบริษัทร่วมทุนระหว่าง Colombian Motors (Philippines) และ Nichmen Corp. (Japan) จนถึงปัจจุบันมีการขยายไปเป็นโรงงานประกอบรถยนต์ (Assembler) ถึง 17 โรงงาน และมีผู้ผลิตชิ้นส่วนอยู่ประมาณ 80 โรงงาน ส่วน Market Share ยังคงเป็นของ บริษัทต่างชาติที่เข้ามาลงทุนโดยตรงเพิ่มเติมอันได้แก่ Toyota Honda Daewoo Suzuki เป็นต้น ส่วนบริษัทในประเทศที่มีส่วนใน Market share อยู่ก็คือ Truong Hai ที่ 29%

การสนับสนุนส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ในเวียดนามจะใช้การลดภาษีน าเข้า ส าหรับ ผลิตภัณฑ์รถยนต์ที่เป็นลักษณะ Completely-built up (CBU) ที่มีอัตราลดลงจาก 90%

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -24

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

เป็น 60% ตามปริมาณความต้องการในประเทศ แต่จากนั้นก็ค่อยๆ มีการปรับขึ้นจนกระทั่ง ในปัจจุบันอยู่ที่ 83% อย่างไรก็ตามการผลิตยานยนต์ในประเทศก็ยังไม่สามารถผลิตได้ตามที่ วางแผนไว้ โดยมีการผลิตอยู่ที่ 5,000 – 7,000คันต่อปี อีกทั้งชิ้นส่วนยานยนต์ในปัจจุบันก็จะ เป็นการน าเข้ามาจากบริษัทแม่ หรือบริษัทต่างชาติสูงถึง 90%

 ประเทศไทย

ในอดีตเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชาชนต้องการพาหนะเพื่อขนส่งสินค้าเกษตรจึง ก าหนดให้รถปิกอัพเป็นผลิตภัณฑ์เป้าหมาย )Product champion) และในเวลาต่อมา แนวโน้มการใช้รถยนต์ของผู้บริโภคในประเทศเปลี่ยนแปลงไปสู่การใช้รถยนต์นั่งขนาดกลาง มากขึ้น ประกอบกับการตั้งเป้าหมายที่จะให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตรถยนต์ของภูมิภาค เอเชีย ซึ่งภาครัฐตระหนักว่า การส่งเสริมการผลิตรถปิกอัพอย่างเดียว อาจไม่สามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนเป็นสังคมเมืองขึ้น จึงก าหนดให้รถประหยัด พลังงานมาตรฐานสากล หรือที่เรียกกันสั้นๆว่า Eco car เป็นผลิตภัณฑ์เป้าหมายตัวที่สอง

จากแผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ.2555-2574 )ค.ศ.2013-2031) ได้ก าหนด รายละเอียดของแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมหลัก รวมทั้งแนวทางการพัฒนายานยนต์ใน แต่ละช่วงเวลาคือ ระยะสั้น )5 ปี) ระยะกลาง )10 ปี) และระยะยาว )20 ปี) ซึ่งเนื่องจาก อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์นั้นเป็นอุตสาหกรรมที่ไทยจัดได้ว่ามีบทบาทใน การเป็นผู้ผลิตตามเจ้าของตราสินค้าที่เป็นบริษัทข้ามชาติเข้ามาลงทุน จึงจ าเป็นต้องสร้าง แรงงานและโครงสร้างสนับสนุนให้มีความพร้อม เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศอย่าง ต่อเนื่องและขยายไปสู่การส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์และผลักดันให้ เกิดการใช้วัตถุดิบจากภายในประเทศมากกว่าการน าเข้าจากต่างประเทศ

ภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจไทยในประเทศไทย ในปี พ.ศ.2541 )ค.ศ.1998) ประเทศไทยมี ปริมาณการผลิตรถยนต์เติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ.2548 )ค.ศ.2005) เป็นปีแรกที่ ประเทศไทยผลิตรถยนต์ได้ 1 ล้านคัน จากนั้นอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยเติบโตเรื่อยมา จนกระทั่งในปี พ.ศ.2552 )ค.ศ.2009) ซึ่งมีปริมาณการผลิตลดลง อันเนื่องมาจากภาวะ เศรษฐกิจการเงินสหรัฐอเมริกา แต่ในปีต่อมา ปี พ.ศ.2554 )ค.ศ.2011) อุตสาหกรรมยาน ยนต์ไทยสามารถฟื้นตัวได้อีกครั้งหนึ่ง แต่ต้องประสบปัญหาอีกครั้ง เมื่อเกิดภัยธรรมชาติใน ประเทศญี่ปุ่น และมหาอุทกภัยในประเทศไทย ท าให้บริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์จ านวนมาก และผู้ผลิตรถยนต์บางรายไม่สามารถด าเนินการผลิตได้ตามปกติ ปริมาณการผลิตของ ประเทศไทยจึงลดลง จากปริมาณการผลิต 1.6 ล้านคันในปี พ.ศ.2553 )ค.ศ.2010) เป็น 1.45 ล้านคัน ในปี พ.ศ.2554 )ค.ศ. 2011) และเป็น 2.45 ล้านคัน ในปี พ.ศ. 2556 )ค.ศ.

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -25

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

2013) ซึ่งเพิ่มขึ้นเนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกที่รัฐบาลต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจใน ประเทศ

ส าหรับโครงสร้างการผลิต พบว่า ในช่วงปี พ.ศ.2543-2549 )ค.ศ.2000-2006) การผลิต รถยนต์ของไทยเป็นไปเพื่อตอบสนองความต้องการในประเทศมากกว่าส่งออก โดยมีสัดส่วน การผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศต่อการส่งออกร้อยละ 65:45 แต่หลังจากนั้น )ปี ค.ศ.2007 เป็นต้นมา) สัดส่วนการผลิตเพื่อการส่งออกมีสัดส่วนมากขึ้นเป็นร้อยละ 50:50 ซึ่งสะท้อนให้ เห็นว่าประเทศไทยเป็นฐานการผลิตรถยนต์ที่ส าคัญรายหนึ่งของโลก

อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความส าคัญในล าดับต้นของการพัฒนา ประเทศภาครัฐจึงให้ความส าคัญกับอุตสาหกรรมนี้มาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการก าหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ที่ประสานสอดคล้องระว่างหน่วยงานต่างๆ ในการผลักดัน Product champion ของไทยคือรถปิกอัพ 1 ตันและรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (Eco- Car) จนกระทั่งอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยเติบโตมาอย่างต่อเนื่อง และในแผนแม่บท อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย พ.ศ. 2555-2559 )ค.ศ. 2012-2016) ก าหนดทิศทางการพัฒนาที มุ่งสู่ Green vehicle ซึ่งสอดคล้องกับทิศทางของอุตสาหกรรมยานยนต์โลก แต่ใน ขณะเดียวกันก็ต้องเผชิญกับความท้าทายของประเทศเพื่อนบ้านที่พยายามยกระดับขีด ความสามารถในการแข่งขัน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ของตนขึ้นสู่การเป็นฐานการ ผลิตระดับโลก ดังนั้นในบริบทของไทยจะต้องเร่งพัฒนาปัจจัยต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่มี ศักยภาพสูงขึ้น ทั้งในด้านบุคลากร องค์ความรู้ และการวิจัยพัฒนา รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน ที่ส าคัญอันได้แก่การมีมาตรฐานที่รวมถึงศูนย์ทดสอบ และวิจัยพัฒนา และนโยบายการ ส่งเสริมความรู้ที่มุ่งสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ที่มีนวัตกรรมสูงขึ้น

ในปี พ.ศ. 2556 )ค.ศ.2013) ภูมิภาคอาเซียน ประเทศไทยยังคงเป็นผู้ผลิตและครอง ยอดขายเป็นอันดับ 1 ตามด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์ ตามล าดับ ดัง ภาพด้านล่าง

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -26

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ปริมาณการผลิตรถยนต์ในอาเซียน ปี พ.ศ. 2554-2556

Units 2,500,000 Thailand

2,000,000 Indonesia Malaysia 1,500,000 Vietnam 1,000,000 Philippines 500,000 0 2554 2555 2556 ตารางปริมาณการผลิตและยอดจ าหน่ายรถยนต์ในอาเซียน ปี พ.ศ. 2554-2556

Item 2554 2555 2556 อัตราการเติบโต (2554-2556)

Production - - - - BRUNEI Sale 14,555 18,634 18,642 13% Production - - - Cambodia Sale 3,500 3,900 N/A N/A

Production 837,948 1,065,557 1,208,211 20% Indonesia Sale 894,164 1,116,212 1,229,901 17%

Production - - - Laos Sale 740 950 N/A N/A Production 533,515 569,620 601,407 6% Malaysia Sale 600,123 627,753 655,793 5% Production - - - Myanmar Sale 1,930 2,230 N/A N/A Production 64,906 75,413 79,169 10% Philippine Sale 141,616 204,982 181,738 13% Production - - - Singapore Sale 39,570 37,247 34,111 -7% Production 1,457,795 2,453,717 2,457,057 30% Thailand Sale 794,081 1,436,335 1,330,672 29% Vietnam Production 100,465 80,453 93,630 -3% Sale 109,660 80,453 98,649 -5%

ที่มา : Asian Automotive Federation: AAF

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -27

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ภาพรวมอุตสาหกรรมรถยนต์ของอาเซียน

Thailand Vietnam - Population : 67 Million - Population : 87 Million - Production 2013: 2,457,057 Unit - Production 2013: 93,630 Unit - Sale 2013 : 1,330,672 Units - Sale 2013 : 98,649 Units -Product Champion: 1-ton Pick up & Eco-Car -Product Champion: Motorcycle

ASEAN 2013 - Population : 608.8 Million - GDP : 2,338.9 Billion (US$) - Car Production : 4,439,474 Units - Car Sale : 3,549,506 Units

Malaysia - Population : 28 Million - Production 2013: 601,407 Unit - Sale 2013 : 655,793 Units - Product Champion: Passenger Car

Philippines Indonesia - Population : 92 Million - Population : 240 Million - Production 2013: 79,169 Unit - Production 2013: 1,208,211 Unit - Sale 2013 : 181,738 Units - Sale 2013 : 1,229,901 Units - Product Champion: SUV and MPV, Big Truck ที่มา : Asean Automotive Federation :AAF

ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุดในอาเซียน มีปริมาณการผลิตสูงถึง 2.4 ล้านคัน คิดเป็นร้อยละ 55 ของการผลิตทั้งอาเซียนที่มีปริมาณการผลิต 4.4 ล้านคัน ทั้งนี้ประเทศไทยมีการใช้ในประเทศเพียง 1.3 ล้านคัน เท่านั้น คิดเป็นร้อยละ 37 ของการจ าหน่ายในอาเซียนที่มี 3.5 ล้านคัน อินโดนีเซียเป็นผู้ผลิตรายใหญ่เป็นอันดับ สองของอาเซียนมีปริมาณการผลิต 1.2 ล้านคัน คิดเป็นร้อยละ 27 ของการผลิตทั้งอาเซียน ส่วนมาเลเซียนั้นมี ปริมาณการผลิต 0.6 ล้านคัน คิดเป็นร้อยละ 14 ของการผลิตทั้งอาเซียน และฟิลิปปินส์ เวียดนาม มีการผลิต 0.7 และ 0.9 ล้านคัน ตามล าดับ

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -28

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

เปรียบเทียบการผลิตในแต่ประเทศในภูมิภาคเอเชีย ระหว่างปี พ.ศ. 2546 และ 2556

2546 2556 อัตรการเติบโตเ ลี่ย Country (unit) (unit) (2546-2556) Total (ASIA-OCEANIA) 21,971,432 45,800,878 +4.14 % CHINA 4,443,686 , , + JAPAN 10,286,318 , , - 3,177,870 , , INDIA 1,160,525 , , THAILAND 742,062 , , INDONESIA 322,044 , , IRAN 56,7019 , MALAYSIA 34,5000 , TAIWAN 386,686 , - AUSTRALIA 413,261 , - PAKISTAN 51,692 , PHILIPPINES 53,777 , - VIETNAM 21,492 ,

ที่มา: Organisation Internationale des Constructeurs d’Automobiles” (OICA)

ในช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา การผลิตรถยนต์ของภูมิภาคเอเชียถือว่ามีการเติบโตค่อนข้างสูง ประเทศจีนมีอัตรา การเติบโตของการผลิตแบบก้าวกระโดด เช่นเดียวกันกับอินเดียที่มีการผลิตรถยนต์สูงขึ้น รวมถึงประเทศใน อาเซียน ไม่ว่าจะเป็น ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม ก็มีอัตราการเติบโตของการผลิตรถยนต์สูงขึ้น เป็นอย่างมาก

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -29

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

การจัดล าดับตลาดรถยนต์ของโลก

ที่มา: Frost & Sullivan & AAF

หากน ายอดจ าหน่ายของแต่ละประเทศมาจัดล าดับ จะพบว่าตลาดที่ใหญ่เป็นอันดับ 1 คือประเทศจีน รองลงมา คือสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น บราซิล เยอรมัน อินเดีย และอาเซียนเป็นอันดับที่ 7 ในปี พ.ศ. 2554 และได้มีการ คาดการณ์ว่าตลาดในอาเซียนจะเติบโตมากขึ้น เลื่อนขึ้นเป็นอันดับที่ 6 ในปี พ.ศ. 2561

ความสัมพันธ์ของการผลิตยานยนต์และตลาดในประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน

ที่มา : Asean Automotive Federation :AAF

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -30

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ประเทศสมาชิกอาเซียนมีลักษณะของการผลิตยานยนต์ และตลาดในประเทศที่แตกต่างกัน ซึ่ง สามารถจัดกลุ่มได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ (1) กลุ่มประเทศที่เป็นฐานการผลิต ตลาดมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสขยายตัว ได้แก่ อินโดนีเซีย ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม (2) กลุ่มประเทศที่ไม่ได้เป็นฐานการผลิต แต่มีโอกาสและเริ่มมีแนวโน้มการพัฒนาและขยายตัว ได้แก่กัมพูชา ลาว และเมียนมาร์ ประเทศสิงคโปร์และบรูไน เป็นประเทศที่ไม่มีฐานการผลิตยานยนต์ ในประเทศ และมีตลาดในประเทศไม่มากนัก อัตราการเติบของการใช้รถยนต์ไม่สูง มีตลาดขนาดเล็กมากเพียง ร้อยละ 1 ของปริมาณจ าหน่ายรถยนต์รวมของอาเซียน

จ านวนประชากรต่อยอดขายในอาเซียน ปี พ.ศ. 2555

Population and Sales 1,351 Population Per Sales 956

Population Sales 497

314 251 206

106 92 67 30 50 51 45 70 1.33 1.22 0.66 0.21 0.10 23.67 19.31 1.56 13 32

Developed ASEAN Countries Developed ASEAN Countries Population (Million Person) Sales (Million Unit)

ที่มา: OICA (2013) / World Bank

หากเปรียบประชากรต่อยอดขาย จะพบว่าประเทศไทยนั้นในจ านวน 51 คน จึงจะมียอดซื้อรถยนต์ 1 คัน ประเทศที่มีอัตราการซื้อต่ าส าหรับผู้ผลิตรถยนต์ในอาเซียนคือเวียดนาม ต่อประชากร 956 คน ถึงจะมียอดซื้อ 1 คัน รองลงมาคือฟิลิปปินส์มียอดซื้อรถยนต์ 1 คัน ต่อประชากร 497 คน

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -31

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ส่วนประเทศที่ไม่มีการผลิตในอาเซียน เช่น ลาว กัมพูชา พม่า บรูไน และสิงคโปร์ นั่น จะมีเพียงลักษณะของ ตลาดรถยนต์ในประเทศเหล่านั้น ดังนั้นเพื่อให้เข้าใจถึงตลาดรถยนต์ในอาเซียนเพิ่มขึ้น จึงได้น าภาพรวมของ ตลาดรถยนต์ในประเทศลาว กัมพูชา และพม่า มาแสดงเพิ่มเติม

- ตลาดรถยนต์ในประเทศลาว

ปัจจุบัน ลาวได้ห้ามน าเข้ารถยนต์ และยานพาหนะมือ 2 ทุกชนิดตามค าสั่งของนายกรัฐมนนตรี ยัง ยกเลิกนโยบายลดหย่อนภาษีอากรให้แก่การน าเข้ารถประเภทไฮบริด รวมทั้งรถที่ใช้แก๊ส NGV และ LPG เป็นเชื้อเพลิง

ประชาชนคนลาวมีความจงรักภักดีในแบรนด์โตโยต้าเป็นอย่างยิ่ง ถึงกับมีค ากล่าวในธุรกิจรถยนต์ ส่วนหนึ่งของลาวว่า “ลาวเป็นเมือง ของโตโยต้า” เพราะโตโยต้าเป็นแบรนด์ที่ครองตลาดอันดับ 1 มาตลอด นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2518 )ค.ศ. 1975) ก่อนที่รัฐบาลจะ ประกาศผ่อนคลาย การจ ากัดโควตาน าเข้ารถยนต์เมื่อปี พ.ศ. 2547 กว่าร้อยละ 80 เป็นรถโตโยต้า นิยมซื้อสินค้าด้วยเงินสด แม้กระทั่งรถยนต์ เพราะไม่ต้องการเป็นหนี้ ดังนั้นจะเก็บเงินให้เพียงพอ ต่อราคารถยนต์แล้วจึงจะซื้อ ราคาขายรถยนต์ในลาว จะตั้งราคาเป็นเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนี้ คนลาวบริโภคข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อไทย โดยเฉพาะสื่อโทรทัศน์ ความเคลื่อนไหวที่ เกิดขึ้นในตลาดรถยนต์ไทย จะถูกน าเสนอผ่านทางโทรทัศน์ไทย จะเป็นที่รับรู้ของคนลาวทั้งหมด

นอกจากโตโยต้าแล้วยังมีการน าเข้ารถยนต์จากเกาหลีและจีน ซึ่งมีราคาจ าหน่ายต่ ากว่ารถยนต์จาก ค่ายญี่ปุ่น จึงท าให้เกิดการกระตุ้นตลาดรถยนต์ในลาวมีความน่าสนใจมากขึ้น สาเหตุที่ราคาถูก กว่าเพราะอัตราภาษีน าเข้ารถยนต์จากเกาหลีและจีนถูกกว่าแหล่งอื่นๆ ลาวมีการเก็บภาษีน าเข้า รถยนต์ในอัตราที่แตกต่างกัน โดยอัตราภาษีรถยนต์ที่น าเข้าจากจีนจะต่ าที่สุด รองลงมาคือเกาหลี ญี่ปุ่น ส่วนรถยนต์ที่น าเข้าจากยุโรป สหรัฐอเมริกาจะถูกเก็บในอัตราสูงที่สุด จากการที่ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ (GDP) ของลาวเติบโตสูงขึ้น จากผลพ่วงของจากการที่โครงการลงทุนต่างๆ ไม่ ว่าจะเขื่อนผลิตไฟฟ้า เหมืองแร่ อุตสาหกรรมเกษตร ก่อสร้าง หรือธุรกิจบริการ มีการขยายตัว เพิ่มขึ้น ท าให้คนในประเทศได้รับโอกาสในด้านเศรษฐกิจนี้ด้วย คนลาวหลายคนมีก าลังซื้อมากขึ้น ท าให้ตลาดรถยนต์ในลาวขยายตัวตามไปด้วย

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -32

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

- ตลาดรถยนต์ในประเทศกัมพูชา

กัมพูชา มีบริษัทที่ประกอบรถยนต์ 2 บริษัท บริษัทแรกคือ Heng Development จ ากัด ผลิต รถยนต์ไฟฟ้า แบรนด์ “Angkor Car” รุ่น EV 2013 โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงการ เหมืองแร่ อุตสาหกกรรม และพลังงานของประเทศกัมพูชา ซึ่งบริษัทนี้เป็นบริษัทที่มีธุรกิจมากมาย เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร อสังหาริมทรัพย์ การท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมรถยนต์ มีบริษัทใน เครือที่ผลิตและออกแบบรถยนต์ใช้พลังงานน้ ามันและไฟฟ้ามานานกว่า 10 ปี แต่ยังไม่สามารถ จ าหน่ายในเชิงพาณิชย์ เป็นเพียงรถต้นแบบเท่านั้น บริษัทนี้ตั้งอยู่ใน อ.ตาขะเมา จ.กันดาล ประเทศกัมพูชา ใช้เงินลงทุน 20 ล้านเหรียญสหรัฐ โรงงานแห่งนี้จะใช้วัตถุดิบและชิ้นส่วนอะไหล่ จากบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ในเชียงไฮ้ของจีน รถยนต์คันนี้ถูกออกแบบโดย Mr.Nhean Phaloek นัก นวัตกรรมชาวกัมพูชา มีอัตราความเร็วสูงสุดของรถอยู่ที่ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ราคาน่าจะต่ ากว่า 10,000 เหรียญสหรัฐ สามารถวิ่งได้ไกลกว่า 300 กิโลเมตร ด้วยความเร็วกว่า 100 กิโลเมตต่อ ชั่วโมง ต่อการชาร์จไฟหนึ่งครั้ง โดยใช้เวลาชาร์จไฟแต่ละครั้งเพียง 3 ชั่วโมงเท่านั้น มีระบบประตู แบบปีกนก และบริษัท แคมโก มอเตอร์ จ ากัด )CAMKO Motor Co.,Ltd) จากเกาหลีใต้ ประกอบรถยนต์ฮุน ได ส าหรับขายตลาดในประเทศ ตั้งอยู่บริเวณจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา ในเขตเศรษฐกิจ พิเศษเกาะกง )KOH KONG Special Economic Zone) จากการพัฒนาพื้นที่ของบริษัท ลี ยง พัด กรุ๊ป จ ากัด )L.Y.P. Group Co.,Ltd) ของ นายพัด สุภาภา หรือ ลี ยง พัด นักธุรกิจชาวกัมพูชา ปัจจุบันความต้องการรถยนต์ของกัมพูชาอยู่ที่ใหม่อยู่ที่ 2,000 คันต่อปี ขณะที่รถยนต์มือสองมี ความต้องการประมาณ 20,000 คันต่อปี โดยรถยนต์ส่วนใหญ่น าเข้ามาจากญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน สหรัฐอเมริกา เยอรมนี และอังกฤษ เนื่องจากกัมพูชาเป็นประเทศก าลังพัฒนา ซึ่งประชาชนยังมีฐานะการเงินไม่ดีนัก รัฐบาลจึงไม่ เข้มงวดเรื่องต่ออายุรถยนต์ใช้แล้วและปริมาณน าเข้า ใช้อัตราภาษีน าเข้าเดียวกันทั้งรถยนต์เก่า และใหม่ เพื่อจูงใจให้มีการน าเข้ารถใหม่ รถยนต์ที่เป็นที่นิยม คือ Lexus เนื่องสภาพถนนไม่ดี และ ประสบปัญหาน้ าท่วมเร็ว รูปแบบพฤติกรรมผู้บริโภครถยนต์ในกัมพูชา จะซื้อรถยนต์ด้วยเงินสด ไม่มีระบบไฟแนนซ์ ดังนั้น ราคาต้องเหมาะสมกับเงินที่มีอยู่ สภาพถนนที่ไม่ดี รถเก่าจึงเป็นที่นิยม แต่การตัดสินใจซื้อรถยนต์ ใช้แล้วจะดูจากยี่ห้อ เป็นที่นิยมมากกว่าพิจารณา เรื่องคุณภาพ หรือความปลอดภัย

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -33

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

- ตลาดรถยนต์ในประเทศเมียนมาร์

ราคารถยนต์ในพม่าอยู่ที่ประมาณ 1 ใน 5 ของราคารถยนต์ในอดีต เป็นผลจากมาตรการต่างๆจาก ภาครัฐ ที่พยายามที่จะท าให้ประชาชนสามารถซื้อรถยนต์ได้ในราคาถูกลง และอนุญาตให้น าเข้า รถยนต์อย่างเสรี แต่ต้องเป็นรถที่ผลิตอย่างน้อยที่สุดในปี พ.ศ. 2550 รวมถึงรถที่น ามาใช้เป็น แท็กซี่ด้วย ส่วนรถบัสโดยสาร ทางการอนุญาตให้น าเข้ารถที่ผลิตขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2539-2549 เพื่อทดแทน่ คันนเก่าแลกกับใบอนุญาต จากเดิมที่เมียนมาร์ เคยมีค าสั่งยกเลิกห้ามน าเข้ารถมือสองและห้ามจดทะเบียนทุกกรณี ใน ปัจจุบันได้อนุญาตให้น าเข้ารถมือสองและเปิดจุดลทะเบียนรถยนต์อย่างเสรี และยังอนุญาตให้ น าเข้าผ่านพื้นที่และเขตอิทธิพล ของชนกลุ่มน้อยกระเหรี่ยงได้

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -34

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย

ประเทศไทยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์มายาวนานกว่า 50 ปี จากอุตสาหกรรมที่ ผลิตเพื่อทดแทนการน าเข้าจากต่างประเทศ สู่การเป็นฐานการผลิตเพื่อการส่งออกไปประเทศต่างๆ ทั่วโลก จนกระทั่งประสบความส าเร็จในการก้าวสู่การเป็นฐานการผลิตของภูมิภาคอาเซียน ดังจะเห็นได้จากยอดการ ผลิตรถยนต์ในปี พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมาซึ่งประเทศไทยสามารถผลิตรถยนต์ได้ทั้งสิ้น 2.4 ล้านคัน นับเป็นสถิติ สูงสุดในรอบ 51 ปี และส่งผลให้ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตรถยนต์อันดับ 9 ของโลก

ปริมาณการผลิตรถยนต์ของโลก ปี พ.ศ. 2556

Million units 25 Commercial vehicles PassengerCars 20

15

10

5

0

UK

Iran

USA

India

Brazil

Spain

China

Japan

Russia

Czech

Turkey

Others

France

Mexico

S.Korea

Canada

Slovakia

Thailand

Germany

Argentina Indonesia ที่มา: Organisation Internationale des Constructeurs d’Automobiles” (OICA)

รถยนต์ที่ผลิตในประเทศไทยส่งออกไปขายทั่วโลกมีตลาดใหญ่ที่สุดคือ เอเชีย คิดเป็นสัดส่วน 32% ของการ ส่งออกทั้งหมด ตามมาด้วยตะวันออกกลาง 26% ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย 20% อเมริกาใต้ 12% ยุโรป 7% และ แอฟริกาใต้ 3%

ในส่วนของตลาดเอเซียซึ่งเป็นตลาดใหญ่ของไทยยังคงมีโอกาสที่สินค้ายานยนต์ และชิ้นส่วนจะเติบโตได้อีก มาก โดยเฉพาะในการเจาะตลาดกลุ่มอาเซียน อาทิ สปป.ลาว มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้าน ของไทย และก าลังมีการพัฒนา ด้านเศรษฐกิจ ประชาชนมีก าลังซื้อสูงขึ้น และมีความต้องการใช้รถยนต์มาก ขึ้นทั้งยังเป็นกลุ่มประเทศที่มีความร่วมมือกันทางเศรษฐกิจต่อกันท าให้อุปสรรคด้านการค้าต่ า เอื้อต่อการค้า ระหว่างประเทศด้วย

ในตลาดยุโรป สินค้ากลุ่มรถยนต์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องเช่นกัน โดยสินค้าที่ ค่อนข้างโดดเด่น ได้แก่ รถปิคอัพ และรถบรรทุก ซึ่งเป็นที่ต้องการในตลาดตุรกี และไทยมีส่วนแบ่งการตลาดใน

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -35

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ประเทศนี้อยู่ที่ 1.35% นอกจากนี้ ไทยยังมีการส่งออกรถยนต์ รถจักรยานยนต์ อุปกรณ์ และชิ้นส่วน รวมถึง ยางรถยนต์เข้าไปยังอังกฤษ นอร์เวย์ เอสโตเนีย สโลวีเนีย ฯลฯ อีกด้วย

ส าหรับตลาดในภูมิภาคแอฟริกา ไทยมีการส่งออกรถยนต์ไปจ าหน่ายในประเทศแอฟริกาใต้คิดเป็นมูลค่าราว 200 ล้านดอลลาร์ต่อปี และมีโอกาสที่จะขยายตัวได้มากขึ้นอีก เนื่องจากแอฟริกาใต้เป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจ ใหญ่ และมั่นคงเป็นศูนย์กลางการคมนาคม และการลงทุน ท าให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ว ประชาชนมี รายได้เพิ่มขึ้น ต้องการซื้อรถยนต์ส่วนบุคคลเพิ่มขึ้น เพราะถือเป็นเครื่องบ่งฐานะทางสังคมของผู้คน โดยเฉพาะ รถยนต์ประเภทขับเคลื่อนสี่ล้อ และรถกระบะ ท าให้มีความต้องการใช้ชิ้นส่วนยานยนต์ในการซ่อมบ ารุงเพิ่มขึ้น ตามไปด้วย

ด้านตลาดในโซนแปซิฟิกใต้ก็เป็นกลุ่มที่น่าจับตามองเช่นกัน ดังจะเห็นได้จากตลาดในเปรู เวเนซุเอลา เอกวาดอร์ โคลัมเบีย โบลิเวีย ซึ่งมีสภาพเศรษฐกิจที่เติบโตสูงขึ้นท าให้ประชาชนมีรายได้สูงขึ้น คนชั้นกลางที่ เพิ่มจ านวนขึ้น ทั้งยังมีการพัฒนาโครงการขั้นพื้นฐาน และเส้นทางคมนาคมเชื่อมต่อภายในประเทศ และ ภายในภูมิภาค ท าให้มีความต้องการใช้รถยนต์เพิ่มขึ้น ประกอบกับรถยนต์ และอุปกรณ์ต่างๆ จากไทยมี คุณภาพ และเริ่มติดตลาด ผู้บริโภคมีความพึงพอใจในคุณภาพ จึงท าให้ตลาดในกลุ่มประเทศเหล่านี้ขยายตัว ต่อเนื่อง นอกจากนี้รถยนต์ และชิ้นส่วนจากไทย ยังเป็นสินค้าน าเข้าที่มีมูลค่ามากเป็นอันดับ 1 ในชิลี ปานามา คอสตาริกา และเอลซัลวาดอร์ โดยมีราคาต่อหน่วยสูง และยังมีศักยภาพในการเพิ่มมูลค่าการส่งออกได้อีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งรถกระบะในชิลี ที่มีความต้องการมากในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ประกอบกับสินค้าไทยก็เป็น ที่รู้จัก และได้รับการยอมรับในแง่คุณภาพ อย่างไรก็ตามคู่แข่งส าคัญของไทยในตลาดชิลี ได้แก่ เม็กซิโก เกาหลี ใต้ ซึ่งมีความได้เปรียบไทย เนื่องจากมีต้นทุนการขนส่งสินค้าที่ต่ ากว่า และมีความตกลงการค้าเสรีกับชิลีที่มีผล บังคับใช้แล้ว

ส าหรับประเทศออสเตรเลียนั้น ถือเป็นอีกหนึ่งตลาดที่ส าคัญของไทย โดยปัจจุบันไทยมียอดส่งออกรถยนต์ และส่วนประกอบไปยังออสเตรเลียคิดเป็นมูลค่ากว่า 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และคาดว่าจะมีการเติบโต อย่างต่อเนื่องไม่ต่ ากว่า 5% ต่อปี แม้จะมีคู่แข่งส าคัญอย่างญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และเยอรมันก็ตาม

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -36

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตัวเลขยอดขายและยอดส่งออกของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2548-2556 จะเห็นได้ว่ามีสัดส่วนที่เพิ่มมาก ขึ้นในทุกๆปี

ปริมาณการจ าหน่ายและการส่งออกรถยนต์ของไทย ในปี พ.ศ. 2548-2556

Domestic Sale Export Million Units

1.3 1.1 0.8 0.6 0.8 0.7 0.7 0.7 0.5 1 1.1 0.8 0.9 0.6 0.7 0.4 0.5 0.5

2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556

ที่มา : Federation of Thai Industries (FTI)

จากความส าคัญของอุตสาหกรรมยานยนต์ ตลอดจนโอกาสการเติบโตและขยายตัวดังกล่าวประกอบกับการ เจริญเติบโตของอุตสาหกรรมของประเทศที่เป็นตลาดใหม่และเป็นประเทศคู่แข่งอย่างเช่น จีน อินเดีย อินโดนีเซีย เป็นต้น และความต้องการของตลาดทั่วโลกมีแนวโน้มให้ความส าคัญด้านสิ่งแวดล้อมมากขึ้น มี ความเข้มงวดและข้อก าหนดด้านมาตรฐาน เทคนิคและความปลอดภัยในตัวรถยนต์และชิ้นส่วนที่ใช้ในรถยนต์ ที่สูงขึ้น ล้วนส่งผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ ดังนั้น สภาวะแวดล้อมทางนโยบายที่จะเอื้ออ านวยต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาวะในการแข่งขันตามปัจจัยแวดล้อมดังกล่าวจึงเป็นปัจจัยพื้นฐานส าคัญต่อการพัฒนาและเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยอย่างยั่งยืน ดังนั้น การก าหนดทิศทางการพัฒนา อุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคตตามแผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ พ.ศ.2555-2559 นี้ จึงต้องค านึงถึง ปัจจัยส าคัญต่อสภาวะการแข่งขันใน 3 ด้าน ได้แก่

1. การเปลี่ยนแปลงสภาวะการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์ในระดับโลก และต าแหน่งของ อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยในระดับโลก 2. แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในอนาคต จากประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และพฤติกรรมผู้บริโภค 3. ผลจากความร่วมมือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะมีผลในปี พ.ศ.2558 และ แนวโน้มการ เติบโตและขยายตัวของประเทศคู่ค้าและคู่แข่ง เช่น อินโดนีเซีย เป็นต้น

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -37

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

 ผู้ผลิตยานยนต์ แบ่งออกเป็น

 รถยนต์

ภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2541 ประเทศไทยมีปริมาณการผลิต รถยนต์เติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ. 2548 เป็นปีแรกที่ประเทศไทยผลิตรถยนต์ได้ 1 ล้านคัน จากนั้น อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยเติบโตเรื่อยมาจนกระทั้งในปี พ.ศ. 2552 ซึ่งมี ปริมาณการผลิตลดลง อันเนื่องมาจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจการเงินสหรัฐอเมริกา แต่ในปี ถัดมา อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยสามารถฟื้นตัวได้อีกครั้ง แต่ต้องประสบกับปัญหาอีกครั้ง เมื่อเกิดมหาอุทกภัยในประเทศไทย ในปีพ.ศ. 2554 ท าให้บริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ จ านวนมาก และผู้ผลิตรถยนต์บางรายไม่สามารถด าเนินการผลิตได้ตามปกติปริมาณการ ผลิตของประเทศไทยจึงลดลง จากปริมาณการผลิต 1.6 ล้านคันในปี พ.ศ. 2553 เป็น 1.45 ล้านคันในปีพ.ศ. 2554 และในปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยสามารถผลิตรถยนต์ได้ 2.4 ล้าน คัน ก้าวขึ้นเป็นผู้ผลิตรถยนต์อันดับ 9 ของโลก

 รถจักรยานยนต์

การผลิตรถจักรยานยนต์ของประเทศไทยมีทิศทางการเติบโตเช่นเดียวกับการผลิต รถยนต์ กล่าวคือเติบโตอย่างต่อเนื่องภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจเป็นต้นมา โดยในปี พ.ศ. 2547 มีปริมาณการผลิตมากที่สุดจ านวน 2.9 ล้านคัน อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ. 2548 ปริมาณ การผลิตรถจักรยานยนต์ของไทยลดลงอย่างเห็นได้ชัด เนื่องจากช่วงเวลานี้ ประเทศที่เคย น าเข้ารถจักรยานยนต์จากประเทศไทย อาทิ เวียดนาม เริ่มมีโรงงานผลิตรถจักรยานยนต์ เป็นของตัวเอง จึงลดการน าเข้ารถจักรยานยนต์ส าเร็จรูป จากไทย แต่เปลี่ยนเป็นการน าเข้า ชิ้นส่วนจักรยานยนต์ครบชุดส าเร็จรูป แทน ท าให้ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548 เป็นต้นมา ปริมาณ การผลิตของไทยทรงตัวที่ปริมาณ 2.0 ล้านคัน โดยผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศ ซึ่งส่วน ใหญ่เป็นการซื้อเพื่อทดแทนรถคันเดิมที่หมดสภาพการใช้งานแล้ว

 ผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์

นอกจากประเทศไทยจะเป็นผู้ผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์รายส าคัญของโลกแล้ว ประเทศไทยยังเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์รายส าคัญอีกด้วย ซึ่งมีทิศทางการเติบโตสอดคล้อง กับการผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์ โดยในปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออก ชิ้นส่วนยานยนต์ถึง 4 แสนล้านบาท แบ่งเป็นการส่งออกชิ้นส่วนรถยนต์ร้อยละ 68 ชิ้นส่วน รถจักรยานยนต์ร้อยละ 6 และยางส าหรับยานยนต์ร้อยละ 26

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -38

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

เมื่อพิจารณาประเภทชิ้นส่วนรถยนต์ที่ส่งออก พบว่า ประเทศไทยส่งออกเครื่องยนต์และ ส่วนประกอบ (Engine & part) มีสัดส่วนมากที่สุดร้อยละ 36

ผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์รายใหญ่ 100 ราย ของโลก ที่ด าเนินการในประเทศไทย

ที่มา : Asian Automotive Federation: AAF

ผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์รายใหญ่ของโลก เห็นถึงความมีศักยภาพในการผลิตของไทย จึงเข้ามาด าเนินกิจการใน ประเทศไทย ซึ่งผู้ประกอบการเหล่านั้น มีทั้งกลุ่มบริษัทของญี่ปุ่น และอื่นๆ

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -39

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ห่วงโซ่มูลค่าของอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน

ที่มา: สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (2553)

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -40

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ผู้ผลิตรถยนต์ของไทย มีทั้งหมด 17 บริษัท ได้แก่

1. Honda Automobile (Thailand) Co., Ltd. 10. TOYOTA MOTOR THAILAND CO., LTD 2. ISUZU MOTOR THAILAND CO., LTD. 11. AUTOALLIANCE (THAILAND) CO.,LTD.

3. MITSUBISHI MOTOR (THAILAND) CO., LTD 12. BMW MANUFACTURING (THAILAND) CO.,LTD. 4. FUSO TRUCK (THAILAND) Co., LTD 13. GENERAL MOTORS (THAILAND) CO.,LTD. 5. SUZUKI MOTOR (THAILAND) CO., LTD. 14. SCANIA (THAILAND) CO.,LTD. 6. NISSAN MOTOR (THAILAND) CO., LTD. 15. (THAILAND) LIMITED 7. (THAILAND) CO.,.LTD 16. TATA MOTOR (THAILAND) CO., LTD 8. THAI-SWEDEN ASSEMBLY CO.,LTD 17. SAIC MOTOR – CP CO., LTD. 9. THONBURI AUTOMOTIVE ASSEMBY CO., LTD. ทีมา: สถาบันยานยนต์

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -41 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 2

พลาสติกส าหรับรถยนต์

อุตสาหกรรมพลาสติกเป็นอุตสาหกรรมต้นน้ าที่มีบทบาทส าคัญต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศในปัจจุบัน มี ส่วนช่วยสนับสนุนในหลายภาคอุตสาหกรรม เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ อุตสาหกรรมยาน ยนต์ก็เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมปลายทางที่เลือกใช้พลาสติกมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตชิ้นส่วนประกอบต่างๆ มาก ขึ้น ด้วยคุณสมบัติที่ดีเยี่ยมหลายประการ เช่น มีความแข็งแรงทนทาน น้ าหนักเบา ราคาไม่แพง ลดแรงเสียดทาน ได้ดี ออกแบบและขึ้นรูปได้ง่าย ผู้ผลิตจึงสนใจน าพลาสติกมาใช้ทดแทนโลหะหรือกระจก ท าให้รถยนต์มีน้ าหนัก เบาลง ลดการสิ้นเปลืองพลังงาน และช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการน าพลาสติกรีไซเคิล และพลาสติกชีวภาพมาผลิตเป็นวัตถุดิบและชิ้นส่วนรถยนต์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อตอบรับและปรับตัวให้เข้ากับ สถานการณ์โลกในปัจจุบัน ที่เล็งเห็นถึงความส าคัญด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยอุตสาหกรรมยานยนต์ของ ประเทศไทยเป็นอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการเติบโตสูงและมีการลงทุนจากผู้ผลิตต่างชาติที่ย้ายฐานการผลิตเข้า มา ท าให้ความสามารถในการผลิตและตลาดในประเทศมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง

มูลค่าอุตสาหกรรมแปรรูปพลาสติกของไทย ปี พ.ศ. 2556

Footwares 11,502 Million Baht (2.0%) 89 ktons (1.7%) Others Agriculture 4,697 Million Baht (0.8%) 12,105 Million Baht (2.1%) Filament (Non-textile) 34 Ktons (0.6%) 110 ktons (2.1%) 8,263 Million Baht (1.5%) Medicals 73 ktons (1.4%) 13,257 Million Baht (2.3%) 48 ktons (0.9%) Recreation Total Production of Conversion 18,436 Million Baht (3.3%) 93 ktons (1.8%) Value: 566,841 Million Baht (13,889 Million US$) Housewares 25,769 Million Baht (4.5%) Volume: 4,795 Ktons 198 ktons (3.7%)

Safety 29,099 Million Baht (5.2%) 82 ktons (1.6%) Construction 62,793 Million Baht (11.1%) EE & Packaging 641 ktons (12.1%) Autoparts 191,683 Million Baht (33.8%) 78,744 Million Baht (13.9%) Appliances 2,309 ktons (43.4%) 361 ktons (6.8%) 110,522 Million Baht (19.5%) 757 ktons (14.2%) Source: PTIT Data, Modified by PITH, 3 July 2014, *Exclude PET and Nylon fiber

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -42 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

อุตสาหกรรมพลาสติกนั่นเข้าไปเกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อมในเกือบทุกผลิตภัณฑ์ ในปี 2556 มูลค่าการแปร รูปอุตสาหกรรมพลาสติกของไทย มีมูลค่าประมาณ 5.6 แสนล้านบาท หรือประมาณ 13,889 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยสัดส่วนที่ถูกน าไปใช้มากที่สุดคืออุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์พลาสติก มีมูลค่าสูงถึง 1.9 แสนล้านบาท สูงถึงร้อย ละ 33 ของอุตสาหกรรมรวมที่พลาสติกเข้าไปเกี่ยวข้อง ในส่วนของอุตสาหกรรมรถยนต์นั้นถือว่าเป็นอันดับที่ 3 ของการใช้พลาสติกทั้งหมด มีมูลค่าสูงถึง 78,744 ล้านบาท ถือได้ว่าพลาสติกได้เข้าไปมีส่วนต่อการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ ผ่านชิ้นส่วนรถยนต์

ห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย

ที่มา: สถาบันยานยนต์

จากห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรรมยานยนต์จะเป็นว่าผู้ผลิตชิ้นส่วนนั่นมีความส าคัญและเชื่อมต่อไปยัง ผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน และมีผู้ประกอบการจ านวนมาก เป็นทั้งผู้ผลิต Tier 1 Tier 2 และ Tier3

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -43 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

จ านวนผู้ประกอบในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทย

ที่มา: สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย

ผู้ผลิตชิ้นส่วนพลาสติกนั่นสามารถเป็นทั้งผู้ผลิตได้ทั้ง Tier 1 Tier 2 และ Tier3 โดย ผู้ประกอบการ Tier 1 ส่วน ใหญ่เป็นผู้ประกอบการจากบริษัทต่างชาติหรือเป็นบริษัทต่างชาติที่มีการร่วมทุนกับบริษัทคนไทย แม้ว่าจะบริษัท คนไทยอย่างเดียวบ้าง แต่เป็นส่วนน้อยเมื่อเทียบกับกลุ่มแรก ส่วน Tier 2 และ Tier 3 จะเป็นบริษัทคนไทยที่มี ขนาดเล็กและขนาดกลางเป็นหลัก

ชิ้นส่วนพลาสติกส าหรับรถยนต์

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -44 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

จากการขยายการผลิตรถยนต์นั่งขนาดเล็กในช่วงปี พ.ศ. 2554-2555 จากการขานรับนโยบายรถยนต์คันแรก รวมถึงการลงทุนในรถยนต์พลังงานทดแทนใช้เทคโนโลยีไฮบริด (Hybrid) และอีโคคาร์ (Eco Car) เพิ่มขึ้น ดังนั้น ความต้องการใช้พลาสติกในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ต่างๆ จึงจะมีเพิ่มขึ้นตามไปด้วย

ด้วยคุณสมบัติที่โดดเด่นหลายประการท าให้พลาสติกถูกเลือกใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ทั้งนี้จะ ขึ้นอยู่กับ คุณสมบัติเฉพาะของชิ้นส่วนพลาสติกนั้นๆ ตามการใช้งานในแต่ละส่วน ในที่นี้สามารถแบ่งประเภท ชิ้นส่วนรถยนต์ได้เป็น ชิ้นส่วนพลาสติกที่ใช้ภายนอกรถยนต์ ภายใน และใช้ในห้องเครื่องยนต์

 ชิ้นส่วนพลาสติกที่ใช้ภายนอกรถยนต์ )Exterior Parts)

2 1 3

16

5 4

15 11 12

6 13

7 8

9 14

10

ชิ้นส่วนพลาสติกส าหรับที่ใช้ในการผลิตชิ้นส่วนภายนอกรถยนต์ นั่น ต้องมีความคงทนต่อสภาพอากาศสูง จากการเปลี่ยนแปลงของอากาศภายนอกรถยนต์ ตามสภาวะอากาศของภูมิภาคนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิ ต่ า ภายใต้อุณหภูมิที่ติดลบ ก็คงทนไม่แตกหัก แต่อาจจะต้องมีการเคลือบปกปิดผิว เช่น ชุบโครเมียม หรือ พ่นสีทับเพื่อความคงทน

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -45 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

จากรูปแสดง ต าแหน่งพลาสติกในส่วนของ Exterior Parts และ ชนิดของพลาสติกที่ใช้ในแต่ละส่วน ทั้งนี้ ได้น าเสนอเฉพาะ ชิ้นส่วนที่เห็นอย่างชัดเจนว่าเป็นพลาสติก และรถยนต์ในแต่ละรุ่น อาจจะมีองค์ประกอบ ของวัสดุที่แตกต่างกัน ตามข้อก าหนดของรุ่นรถยนต์ในแต่ละบริษัท

1 Pillar Ganish : PC , PP 9 Bumper : PP Composite

Antenna : SBR, 2 : PC, PC/ASA 10 Tire Holder Carbon Black Flush Mount Side Mirror 3 : PVC Compound 11 : PP Composite Molding Inner : PBT, Side Mirror 4 wiper Thermoplastic 12 : ABS, PC/ABS Housing Elastiomer : PP Composite, 5 Cowl Paner : PP Composite 13 Side Protector Thermoplastic Elastomer, 6 Front Grille : ABS, PC/ABS PVC Compound Side Under Headinglamp 14 : PP Composite, 7 : PBT, PBT/PET Spoiler Extention PC/Polyester

8 Lamp Housing : PP Composite 15 Door Handle : PA, PC/ABS/ PP Thermoplastic Elastomer 16 Window Film : PET Film

ประเภทของเม็ดพลาสติกที่ใช้ หลักๆ จะเป็น Polypropylene (PP), ABS, ที่มีคุณสมบัติคงทนในการ เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในช่วงกว้างได้เป็นอย่างดี

Bumper (PP)

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -46 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

 ชิ้นส่วนพลาสติกที่ใช้ภายในรถยนต์ )Interior part)

10

1 9 3 11

2 12 4

5

7 8

6

จากรูปแสดง ต าแหน่งพลาสติกในส่วนของ Interior Parts และ ชนิดของพลาสติกที่ใช้ในแต่ละส่วน

1 Door Inside : PVC Compound 7 Seat : PU, PVC Weather Strip Thermoplastic Elastomer : PBT, POM, PP, 8 Seat Belt Parts Thermoplastic Elastomer Power Window 2 : POM, PBT 9 Interior Light Housing : PP Composite Parts Interior Light Lens : PC Door Handle : PP Composite, 3 (inner) ABS, POM 10 Curtain Hook : POM

: PP, PC/ABS, 11 4 Loudspeaker Box : PP Composite Steering Wheel Thermoplastic Elastomer 12 Rearview Mirror : PP Composite Instrument 5 : PP Composite, Rearview Mirror Stay : PA Panel PP, PC/ABS, Thermoplastic Elastomer, PVOH Film, PMMA, ABS

6 Floor Mat : PVC Compound, PP, PE, PP Fiber

ชิ้นส่วนพลาสติกส าหรับที่ใช้ในการผลิตชิ้นส่วนภายในรถยนต์ ต้องมีคุณสมบัติคงทนต่อแสง (UV resistance) เพราะแสงจะผ่านเข้ามาทางกระจก ถึงภายในห้องโดยสาร ท าให้อุณหภูมิขึ้น วัสดุที่ใช้จึงต้องทนทานในสภาวะ อุณหภูมิ หากจอดรถยนต์ไว้กลางแสงแดดอุณหภูมิภายในห้องโดยสารจะสูงกว่าอุณหภูมิภายนอกตัวรถ เช่น

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -47 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

อุณหภูมิภายนอกอาจจะอยู่ที่ 40 องศาเซลเซียส แต่ภายในห้องโดยสารอาจจะสูงถึง 80 องศาเซลเซียสเลยก็ได้ หาก จอดทิ้งไว้เป็นเวลานาน แต่หากเมื่อเปิดประตูให้ลมผ่านเข้าไปในตัวรถ อุณหภูมิก็จะลดลงได้อย่างรวดเร็ว คุณสมบัติ อีกประการหนึ่งของชิ้นส่วนภายในรถยนต์นั่นคือ ชิ้นส่วนที่สัมผัสกับผู้โดยสารได้ เมื่อเกิดอุบัติเหตุ จะต้องแตกหักได้ ยาก หากแตกหักจะต้องไม่มีความคม ที่สามารถมาท าความบาดเจ็บให้กับผู้โดยสารได้

Cover Console (PP)

Door (PP)

Steering Wheel (PP, PC/ABS)

 Power-train Room parts (Engine parts) ชิ้นส่วนพลาสติกที่ใช้ในห้องเครื่องยนต์

1

4

2 3

5

จากรูปแสดง ต าแหน่งพลาสติกในส่วนของ Power-train Room Parts และ ชนิดของพลาสติกที่ใช้ในแต่ละส่วน

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -48 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

1 Air Conditioner : PP Compound Housing

2 Battery Tray : PP

3 Engine Cover : Nylon (PA)

4 Water Tank : PE, PP

5 Fuel Tank : PE, EVOH, PE

ชิ้นส่วนภายในห้องเครื่องยนต์นั่น ในรถยนต์แต่ละบริษัทรถยนต์จะมีโครงสร้างที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการออกแบบ เพื่อให้ใช้ตรงตามวัตถุประสงค์ของรถยนต์แต่ละรุ่น แต่โดยส่วนใหญ่แล้วรถยนต์ในบริษัทเดียวกันจะมีการออกแบบ ให้ชิ้นส่วนพลาสติกภายในห้องเครื่องใกล้เคียงกัน ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้กับรุ่นที่มีลักษณะใกล้เคียงกันได้

คุณสมบัติหลักของชิ้นส่วนพลาสติกภายในห้องเครื่องยนต์นั่นจะต้องทนต่ออุณหภูมิสูง เพราะเมื่อเครื่องยนต์ท างาน จะส่งผลให้อุณหภูมิภายในห้องเครื่องยนต์สูงขึ้น นอกจากนี้จะต้องมีความคงทนต่อการใช้ง่าย ไม่แตกหักได้ง่าย

ชนิดของพลาสติกที่ส าคัญ ส าหรับชิ้นส่วนรถยนต์ มีดังต่อไปนี้

ชนิดเม็ดพลาสติก คุณสมบัติ

1. 1. Polypropylene with filler (PP) มีลักษณะขาวขุ่น มีคุณสมบัติเด่นด้านการทนแรงกระแทกสูง โดย เฉพาะที่มีอุณหภูมิต่ า แต่ยังสามารถทรงรูปของชิ้นงานได้ดี

2. PC-ABS เป็นการรวมกันระหว่าง Polycarbonate )PC) และ Acrylonitrile butadiene styrene (ABS) มีคุณสมบัติที่ส าคัญของเม็ดพลาสติก 2 ชนิด คือ โปร่งใส แข็ง ทนต่อความร้อนสูง ทนแรงกระแทกได้เป็น อย่างดี

ทนทาน มีความมันวาว สามารถน าไปผลิตเป็นกระจก หรือฟิล์มเพื่อ ตกแต่งให้สวยงาม

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -49 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ชนิดเม็ดพลาสติก คุณสมบัติ

3. PA6, PA66 with filler PA6 มีลักษณะทางกายภาพเป็นวัตถุทึบแสง คุณสมบัติที่สาคัญคือ มี (PA:Polyamide) ความแข็ง เหนียว ไม่เสียรูปทรงง่าย เหมาะส าหรับงานรับแรงมากๆ ทนต่อการกัดกร่อน และการเสียดสี ถูกน าไปใช้กับงานประเภทเฟือง เช่น เฟืองในเครื่องคิดเลข เป็นต้น ล้อรถเข็น ลูกกลิ้ง

PA66 มีความยืดหยุ่นตัวสูง คงทนต่อการขัดถูกได้ดีมาก สามารถ ทนทานอุณหภูมิต่ าๆ ได้ดี มีความคงทนต่อต่างที่ดีเยี่ยม ถูกน าไปใช้ กับชิ้นส่วนอะไหล่รถยนต์ ใบพัดเรือหางยาว Cable Tie เป็นต้น

4. TPE ประกอบด้วยวัสดุที่มีคุณสมบัติของยางและพลาสติก ฉีดขึ้นรูปง่าย มี (Thermoplastic elastomers) คุณสมบัติยืดหยุ่นสูง

5. PPO (Noryl) Poly (p-phenylene oxide) ทนอุณหภูมิสูง แต่ยากต่อการขึ้นรูป

6. AES (Acrylonitrile Ethylene มีความต้านทานต่อสภาพอากาศที่ดี, ความต้านทานความร้อนสูง ทน Styrene) ต่อแรงกระแทกสูง สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานต่ า

7. ABS (Acrylonitrile butadiene สามารถทนต่อแรงกระแทก ความร้อน รวมทั้งสารเคมีได้ดี มีความ styrene) เหนียว และมันเงาสูงมีความทนต่อสภาวะบรรยากาศได้ดี ถูกน าไป ผลิตเป็นอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ชิ้นส่วนรถยนต์ ชิ้นส่วนจักรยาน อุปกรณ์เครื่องใช้ในบ้านและเครื่องครัว เครื่องใช้ส านักงาน ของเล่น เด็ก เป็นต้น

8. POM (Polyacetal) น้ าหนักเบาและเหนียว ส าหรับชิ้นส่วนที่ต้องการความแข็งแรงสูง เช่น เฟือง มีแรงเสียดทานต่ า และมีเสถียรภาพสูง ถูกน าไปผลิตเป็น ล้อ ขนาดเล็ก ลูกปืน เป็นต้น

9. PU (Polyurethane) น้ าหนักเบา นุ่ม สามารถน ามาผลิตเป็นหนังเทียม ที่คุณสมบัติ ใกล้เคียงกับหนังแท้ ถูกน าไปผลิตเป็น ที่หุ้มเบาะรถยนต์ หรือเบาะ รถยนต์ หมายเหตุ ทั้งนี้พลาสติกที่ใช้ส าหรับผลิตชิ้นส่วนรถยนต์นั้น มีการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีบางชนิดก าลังอยู่ในขั้นวิจัย และพัฒนาเพื่อผลิตในเชิงพาณิชย์ต่อไป

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -50 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ปริมาณการใช้พลาสติกต่อชิ้นส่วนรถยนต์ 1 คัน

Component Main type of plastics Weigh in av. Car (kg) Bumpers PS, ABS, PC/PBT 10 Seating PUR, PP, PVC, ABS, PA 13 Dashboard PP, ABS, SAM, PPE, PC 7 Fuel systems PP, ABS, SAM,PPE,PC 6 Body (incl. panels) PP, PPE, UP 6 Under-bonnet components PA, PP, PBT 9 Interior trim PP, ABS,PET, POM, PVC 20 Electrical components PP, PE, PBT, PA, PVC 7 Exterior trim ABS, PA, PBT, POM, ASA,PP 4 Lighting PC, PBT, ABS, PMMA, UP 5 Upholstery PVC, PUR, PP, PE 8 Liquid reservoirs PP, PE, PA 1 Total 105 ที่มา: RAPRA Technology และ The Association of Plastics Manufacturers in Europe

สัดส่วนของชนิดเม็ดพลาสติกในรถยนต์ 1 คัน

ที่มา: Dallas, TX (PRWEB) April 27, 2012

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -51 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

วัสดุที่ใช้ในการผลิตรถยนต์ในอุตสาหกรรมรถยนต์ของโลก (ตามปริมาณ)

หมายเหตุ Others รวม thermosets และ high-performance polymer AHSS = Aluminum, Advanced High-Strength Steel ที่มา Frost & Sullivan

จากการประเมินของ The Association of Plastics Manufacturers in Europe ในการใช้พลาสติกส าหรับ รถยนต์ 1 คันนั้น มีการใช้พลาสติกประมาณ 105 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 10 ของวัสดุที่ใช้ผลิตรถยนต์ ทั้งนี้เป็น การประเมินจากค่าเฉลี่ยของรถยนต์โดยทั่วไป ดังนั้นรถยนต์ในแต่ละรุ่น แต่ละบริษัท อาจจะมีการใช้พลาสติกมาก น้อยขึ้นอยู่กับการออกแบบดีไซน์ และเม็ดพลาสติกที่ถูกน ามาใช้มากที่สุดคือ Polypropylene (PP) แม้ว่าจะเป็น commodity plastic แต่ก็สามารถน ามาใช้ผลิตรถยนต์ได้ โดยการเพิ่มคุณสมบัติต่างๆ ด้วยการคอมพาวด์ เติม สารเติมแต่งชนิดต่างๆ เสริมคุณสมบัติเดิมให้มากขึ้น ท าให้สามารถผลิตได้ทั้งชิ้นส่วนพลาสติกภายในรถยนต์ เช่น dashboard, dashboard carriers, pillar cladding, door pockets, door panels, consoles and chairs ภายนอกรถยนต์ เช่น Bumpers, bumper spoilers, roof/trunk spoilers, lateral sidings, rocker panels, body panels, wheel arch liners และภายในห้องเครื่องยนต์ เช่น Battery tray รองลงมาเป็นการใช้พลาสติกที่ เรียกว่า Polyurethane (PU) ที่ถูกน าไปใช้เป็นเบาะรถยนต์ หนังเทียมหุ้มเบาะ หรือแม้กระทั้งหุ้มคอนโซล เพื่อให้ เกิดผิวสัมผัสที่ความนุ่ม ตัวอย่างชิ้นงาน เช่น seats, door skins, boot lining trays, parcel shelves,center consoles, dashboard trims, spare wheel trays, steering wheels, carpet backing and headliners นอกจากนี้ยังมีการใช้ Acrylonitrile butadiene styrene )ABS) ด้วยคุณสมบัติที่สามารถทนต่อแรงกระแทก

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -52 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ความร้อน รวมทั้งสารเคมีได้ดี มีความเหนียว และมันเงาสูงมีความทนต่อสภาวะบรรยากาศได้ดี จึงถูกน าไปผลิต เป็น interior grills, trims, headliners, center consoles, Exterior/interior mirror เป็นต้น

แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการใช้พลาสติกในรถยนต์ประมาณร้อยละ 10 แต่จากการคาดการณ์ในอนาคต รวมถึง แนวโน้มของการใช้รถยนต์ที่ประหยัดพลังงานในอนาคต จะช่วยเพิ่มการใช้พลาสติกในรถยนต์ให้มากขึ้น

การผลิตชิ้นส่วนพลาสติกในรถยนต์ของไทย

จากการท าการส ารวจผู้ประกอบการพลาสติกไทย ข้อมูลปี พ.ศ. 2556 พบว่า มีผู้ผลิตภัณฑ์พลาสติกใน อุตสาหกรรมรถยนต์ประมาณ 275 ราย ทั้งนี้ผู้ประกอบการที่ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์นั้น ส่วนใหญ่ใช้กระบวนการขึ้น รูปแบบฉีด )injection molding) จึงท าให้สามารถผลิตสินค้าได้หลายประเภท รวมถึงการใช้วัตถุดิบที่ผลิต เช่น เม็ดพลาสติกบางชนิด มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ได้หลายประเภท จึงท าให้ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกใน กลุ่มนี้ สามารถผลิตสินค้าที่ใช้กับอุตสาหกรรมรถยนต์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าก็ได้ และการส ารวจข้อมูลนี้เป็นการ ส ารวจผู้ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมรถยนต์ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นชิ้นส่วนหลัก หรือประกอบตกแต่ง ของ รถยนต์ทุกประเภท ทั้งรถยนต์นั่ง รถกระบะ รถจักรยานยนต์ เป็นต้น

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -53 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ผู้ผลิตภัณฑ์พลาสติกส าหรับอุตสาหกรรมรถยนต์ ปี พ.ศ. 2556

ที่มา: http://plastic.oie.go.th , ตุลาคม 2557 หมายเหตุ: 1) จากข้อมูลการสารวจผู้ประกอบการพลาสติกด้วยวิธีการตอบแบบสอบถามตามความสมัครใจ ณ เดือนสิงหาคม 2557 2) มีการนับซ้ าของข้อมูลบางรายการเนื่องจากผู้ประกอบการบางรายผลิตสินค้ามากกว่า 1 กลุ่มผลิตภัณฑ์และมีการใช้ กระบวนการผลิตมากกว่า 1 ประเภท ผู้ผลิตภัณฑ์พลาสติกในอุตสาหกรรมรถยนต์นั้นส่วนใหญ่จะอยู่ใกล้กับบริษัทผลิตรถยนต์ เพราะตามเงื่อนไขของการ จัดส่งสินค้าให้ตรงตามระยะเวลาที่บริษัทประกอบรถยนต์ก าหนดนั้น ท าให้ต้องมีที่ตั้งของโรงงานอยู่ในรัศมี 100- 150 กิโลเมตร โดยส่วนใหญ่ก็จะอยู่แถวกรุงเทพและปริมณฑล และภาคตะวันออก

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -54 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

เม็ดพลาสติกที่ใช้ในอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย ปี พ.ศ. 2556

ที่มา: จากการส ารวจของสถาบันพลาสติก, สิงหาคม 2557

จากการส ารวจของการใช้เม็ดพลาสติกส าหรับรถยนต์ของไทยนั้น มีปริมาณการใช้ 361,000 ตันในปี พ.ศ. 2556 โดยเม็ดพลาสติกที่มีการใช้มากที่สุดคือ Polypropylene (PP) ถึงร้อยละ 50 ของการให้เม็ดพลาสติกส าหรับ รถยนต์ รองลงมาเป็น Polyacetal (POM) และ Nylon (PA, Polyamide)

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -55 โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ห่วงโซ่อุปทานของชิ้นส่วนพลาสติกในรถยนต์

ที่มา: จากการส ารวจของสถาบันพลาสติก

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -56

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ห่วงโซ่ความต้องการของชิ้นส่วนพลาสติกในรถยนต์

ที่มา: จากการส ารวจของสถาบันพลาสติก

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -57

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตัวอย่างผู้ผลิตชิ้นส่วนพลาสติกส าหรับรถยนต์ของไทย

เป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์พลาสติกหลักๆ ที่ใช้ส าหรับรถยนต์ เนื่องจากมีผู้ประกอบการหลายรายในประเทศไทย จึง ข้อน าเสนอเป็นตัวอย่างของผู้ผลิตหลักเท่านั้น

o กลุ่มท า Bumper

บริษัท ที.กรุงไทยอุตสาหกรรม จ ากัด (มหาชน) T. KRUNGTHAI INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : ชิ้นส่วนพลาสติกรถยนต์ ที่อยู่ )Address) : 59 ม.6 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี สมุทรปราการ 10540 59 Moo 6, Rachathewa, Bangplee, Samutprakarn 10540, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : ดร.นฤพนธ์ พงษ์เจริญ Tel. 02-175-21187-8 Fax. 02-326-7990 Email : - Website : www.tkrungthai.com

บริษัท ฟอร์จูนพาร์ท อินดัสตรี้ จ ากัด (มหาชน) FORTUNE PARTS INDUSTRY PUBLIC COMPANY LIMITED

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : ฝากระโปรง , บังโคลน, ไฟหน้า-ท้าย หน้ากระจัง, กันชน ที่อยู่ )Address) : 11/22 หมู่ 20 ถ.นิมิตใหม่ ต.ล าลูกกา อ.ล าลูกกา ปทุมธานี 12150 11/22 Moo 20, Nimitrmai Rd., Lamlukka, Pathumthani 12150, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณสมพล ธนาด ารงศักดิ์ Tel. 02-993-4970-7 Fax. 02-993-4978-9 Email : [email protected] Website : https://www.fpiautoparts.com/

บริษัท ไทยซัมมิท โอโตพาร์ท อินดัสตรี จ ากัด THAI SUMMIT AUTOPARTS INDUSTRY CO., LTD.

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : ชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์การเกษตร ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า ที่อยู่ )Address) : 4/3 หมู่ 1 ถ.บางนา-ตราด กม. 16 ต.บางโฉลง อ.บางพลี สมุทรปราการ 10540 4/3 Moo 1, Bangna-Trad KM.16 Rd., Bangchalong, Bangplee, Samutprakan 10540, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ Tel. 02-325-8000, 325-8049-95 Fax. 02-325-8014 Email : [email protected] Website : www.thaisummit.co.th

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -58

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

o กลุ่ม Lamp & Lights

บริษัท กลอนกิจ อินเตอร์เทรด จ ากัด KLON KIJ INTERTRADE CO., LTD.

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : อุปกรณ์ชิ้นส่วนยานยนต์

ที่อยู่ )Address) : 283 นิคมอุตสาหกรรลาดกระบัง ถ.ฉลองกรุง แขวงล าปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 283 Ladkrabang Industrial Estate, Chalongkrung Rd., Lumplatew, Ladkrabang, Bangkok 10520, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณไพโรจน์ ศุภทีปมงคล Tel. 02-739-7001-3, 02-741-5028-30 Fax. 02-739-7005, 02-331-4190 Email : [email protected] Website : www.klonkij.com

บริษัท น ายงอุตสาหกรรมเคมี จ ากัด N.Y.C. INDUSTRY CO., LTD.

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ทันสมัย และการผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์ด้วยวัตถุดิบที่มี คุณภาพสูง เช่น เบเกอร์ไลท์ ที่อยู่ )Address) : 99 หมู่ 7 ซอยวัดศรีวารีน้อย ถ.บางนา-ตราด กม.18 ต.บางโฉลง อ.บางพลี สมุทรปราการ 10540

99 Moo 7, Soi Watsrivarinoi, Bangna-Trad KM.18 Rd., Bangchalong, Bangplee, Samutprakarn 10540, Thailand.

ติดต่อ )Contact Us) : คุณประวิทย์ อโณทัยยืนยง Tel. 02-337-1321-3 Fax. 02-337-1523 Email : [email protected] Website : www.nycthai.com

บริษัท ฟอร์จูนพาร์ท อินดัสตรี้ จ ากัด (มหาชน) FORTUNE PARTS INDUSTRY PUBLIC COMPANY LIMITED

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : ฝากระโปรง , บังโคลน, ไฟหน้า-ท้าย หน้ากระจัง, กันชน ที่อยู่ )Address) : 11/22 หมู่ 20 ถ.นิมิตใหม่ ต.ล าลูกกา อ.ล าลูกกา ปทุมธานี 12150 11/22 Moo 20, Nimitrmai Rd., Lamlukka, Pathumthani 12150, Thailand. คุณสมพล ธนาด ารงศักดิ์ Tel. 02-993-4970-7 Fax. 02-993-4978-9 ติดต่อ )Contact Us) : Email : [email protected] Website : https://www.fpiautoparts.com/ บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -59

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บริษัท วิเชียรไดนามิค อินดัสตรี จ ากัด WICHIEN DYNAMIC INDUSTRY CO., LTD.

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : ดวงไฟรถยนต์/แตรและอุปกรณ์ตกแต่งรถยนต์ ที่อยู่ )Address) : 34/1 ม. 10 ถ.ปทุมธานี-บางเลน ต.คูบางหลวง อ.ลาดหลุมแก้ว ปทุมธานี 12140 34/1 Moo10 Pathumthani-Banglane, Kubangluang, Ladlumkaew, Pathumthani 12140, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณปราโมทย์ พงษ์ทอง Tel. 02-598-1386,598-1342 Fax. 02-598-1344 Email : [email protected] Website : www.wdi.co.th

บริษัท แอมพาส อินดัสตรี จ ากัด AMPAS INDUSTRY CO., LTD.

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : ดวงไฟรถยนต์ กระจกมองหลัง ชิ้นส่วนมองหลัง ชิ้นส่วนพลาสติกสาหรับรถยนต์ ที่อยู่ )Address) : 355 หมู่ 4 นิคมอุตสาหกรรมบางปู ถ.สุขุมวิท ต.แพรกษา อ.เมือง สมุทรปราการ 10280 355 Moo 4, Bangpu Industrial Estate, Sukhumvit Rd., Praksa, Muang, Samutprakarn 10280, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณปรัชญา วัชรโยธิน Tel. 02-709-3868 Fax. 02-324-0949 Email : [email protected] Website : www.ampas.co.th

บริษัท ซี.เอ็ม.อุตสาหกรรม จ ากัด C.M. INDUSTRY CO., LTD.

รับฉีดพลาสติกอุตสาหกรรม , รับท าแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก และแม่พิมพ์ DIE CAST , รับ กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : Machining ชิ้นส่วนโลหะ ส าหรับรถยนต์และรถจักรยานยนต์ รับประกอบมิเตอร์ รถจักรยานยนต์ Side lamp chrome cover, Rear Bumper Garnish ที่อยู่ )Address) : 203 ม.8 ซ.สุขาภิบาล 6 ถ.ปู่เจ้าสมิงพราย ต.ส าโรงใต้ อ.พระประแดง สมุทรปราการ 20310130 Moo 8, Soi Sukhapibarn 6, Poochaosamingphi Rd., Sumrongtai, Prapradang, Samutprakarn 10130, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณสถิตย์พร สุขเกษม Tel. 02-383-0297 Fax. 02-383-0298 Email : [email protected] Website : www.cmindustry.co.th

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -60

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

o กลุ่ม Plastic fuel tanks

บริษัท อาปิโก ไฮเทค จ ากัด (มหาชน) AAPICO HITECH PUBLIC COMPANY LIMITED

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : อุปกรณ์จับยึดรถยนต์ แม่พิมพ์ ชิ้นส่วนยานยนต์ ถังน้ ามัน ที่อยู่ )Address) : 99 หมู่ 1 นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค ต.บ้านเลน อ.บางปะอิน พระนครศรีอยุธยา 13160 99 Moo 1, Hi-Tech Industrial Estate, Banlane, Bangpa-in, Ayuthaya 13160, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณสุณีย์ ลือชาทร Tel. 035-350-880 Fax. 035-350-881 Email : [email protected] Website : www.aapico.com

o กลุ่ม Accessories & Interior Pasts

บริษัท จุลพัฒน์พลาสติก จ ากัด CHULAPAT PLASTIC CO., LTD.

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : Hand Brake, Foot Brake ที่อยู่ )Address) : 109/120-121 ม.2 ถ.เทพารักษ์ กม.26 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง สมุทรปราการ 10540 109/120-121 Moo 2, Theparuk (Km.26) Rd., Bangsaothong, Samutprakarn 10540, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณจุลพัฒน์ พจน์โยธิน Tel. 02-708-0380-2 Fax. 02-338-1709 Email : [email protected] Website : www.chulapat.com/

บริษัท ซัมมิท สเตียริง วีล จ ากัด SUMMIT STEERING WHEEL CO., LTD

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : Steering Wheel, Horn Pad, Gear Knob, Aluminum Part, Armature Assy, Plastic Parts ที่อยู่ )Address) : 92 หมู่ 14 ซ.กิ่งทอง ถ.กิ่งแก้ว ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี สมุทรปราการ 10540 92 Moo 14, Soi kingthong, Kingkaew Rd., Rachatewa, Bangplee, Samutprakarn 10540, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณวิสูตร พรรณธรรม Tel. 02-178-2301-6 Fax. 02-738-9650 Email : [email protected] Website : www.ssw.in.th

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -61

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บริษัท โตโยด้า โกเซ (ประเทศไทย) จ ากัด TOYODA GOSEI (THAILAND) CO., LTD.

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : พวงมาลัย , พวงมาลัยถุงลมนิรภัย, สายเบรค, interior part ที่อยู่ )Address) : 700/489 ม.4 นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ต.บ้านเก่า อ.พานทอง ชลบุรี 20160 700/489 Moo 4, Amatanakorn Industrial Estate, Bankao, Parnthong, Chonburi 20160, Thailand. ติดต่อ )Contact Us) : คุณฐิติพงษ์ รุจเรขกุลวัฒน์ Tel. 038-454-089-94,038-213-261-3 Fax. 038-454-095 Email : [email protected] Website : http://www.toyoda-gosei.com/

บริษัท ไฮ-คิว พลาส จ ากัด Hi-Q Plas Co.,Ltd

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : Door and component ที่อยู่ )Address) : 501,1351 หมู่ 13 ซอยบิ๊กแลนด์ ถนนพหลโยธิน คลองหนึ่ง คลองหลวง ปทุมธานี ติดต่อ )Contact Us) : คุณชัยภัทร12120 ชูพงศ์ Tel. 02-9081148-9 Fax. 02-9082121 E-Mail : [email protected] Website : http://www.hi-qplas.com/

บริษัท เอคโค ออโต้พาร์ท (ไทยแลนด์) จ ากัด Echo Autoparts (Thailand) Co., Ltd.

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : Door Trim and Center Console Components, Interiors and Exteriors Trim Components ที่อยู่ )Address) : 13/1 หมู่ที่ 2 ถนนบางนา-ตราด กม.41 บางวัว บางปะกง ฉะเชิงเทรา 24180 ติดต่อ )Contact Us) : Tel. 038-530477, 038-538145, 038-539478-9 Fax. 038-538174 E-Mail : [email protected] Website : http://www.eat.co.th/

บริษัท คุมิ (ไทยแลนด์) จ ากัด Kumi (Thailand) Co., Ltd.

กลุ่มสินค้าหลัก )Product Group) : ชิ้นส่วนยานยนต์ คอนโซล ที่อยู่ )Address) : 113/5 หมู่ที่ 4 ต าบลบางพระครู นครหลวง พระนครศรีอยุธยา 13260 ติดต่อ )Contact Us) : Tel. 035-364365 Fax. 035-716789 E-Mail : [email protected] Website : http://www.kumi.co.jp/

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -62

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 3

ทิศทางการทดแทนด้วยชิ้นส่วนพลาสติกในอนาคต

ปัจจุบันปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมก าลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง เนื่องจากเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อ ประชากรทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สินค้ายานยนต์ที่เป็นปัจจัยประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้ง ในด้านการใช้พลังงานและการปล่อยมลพิษทางอากาศ ประกอบกับราคาน้ ามันจากเชื้อเพลิงที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเกิดอุปสงค์ส่วนเกิน )Excess demand) จากปริมาณรถยนต์ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ด้วยเหตุดังกล่าว จึงท าให้ผู้ผลิตยานยนต์เริ่มพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดย พัฒนาให้เป็นยานยนต์สะอาดและประหยัดพลังงาน รวมทั้งพัฒนายานยนต์ให้มีความปลอดภัยแก่ผู้ใช้งานมาก ขึ้น

ทิศทางอุตสาหกรรมในอนาคต

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -63

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

 ยานยนต์สะอาด )Clean vehicle) ผลการศึกษาเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยานยนต์ของสหภาพยุโรป โดย FIA พบว่า ด้วย ความพยายามในการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการลดมลพิษ จะช่วยให้ในปี พ.ศ.2563 มลพิษประเภท ต่างๆ ที่ถูกปล่อยจากยานยนต์จะมีแนวโน้มลดลง ยกเว้น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ยังคงมี แนวโน้มเพิ่มขึ้น จากภาพด้านล่างเป็นการแสดงข้อมูลประเทศในอาเซียนที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนได ออกไซด์ที่มากที่สุดได้แก่ประเทศสิงคโปร์ มีปริมาณมากถึง 32.16 ล้านตัน รองลงมาคือ บรูไน มาเลเซีย และไทย ตามล าดับ

ที่มา : U.S. Energy Information Agency

นอกจากนี้แล้วยังมีแนวโน้มในการเข้มงวดเรื่องมาตรฐานการจัดการซากรถยนต์ ซึ่งเน้นในเรื่องของ การควบคุมโลหะหนักอาทิ ปรอท แคดเมียม ตะกั่ว และ โครเมียม 6+ รวมถึงการลดการใช้ ทรัพยากรด้วยกระบวนการใช้ซ้ า น ากลับมาใช้ใหม่ และการดึงทรัพยากรคืน (Reuse, Recycle, Recovery)

การปล่อย CO2 เป็นสาเหตุก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจก (Green house effect) ส่งผลให้เกิด ปัญหาภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลง (Climate change) จึงท าให้หน่วยงาน 4 แห่ง ได้แก่ FIA Fundation, international Energy Agency (IEA), International Transport Forum (ITF) และ United Nations Environment Programme (UNEP) ร่วมมือกันจัดตั้งโครงการต้นแบบเพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพยานยนต์ให้ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลลดลง เพื่อท าให้การปล่อยก๊าซ

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -64

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

คาร์บอนไดออกไซด์ลดลง ภายใต้ชื่อ Global Fuel Economy initiative (GFEI) โดยมีเป้าหมาย คือ

- ในปี พ.ศ.2563 ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในรถยนต์ใหม่ในกลุ่มประเทศ OECD ลงร้อย ละ 30 เมื่อเปรียบเทียบจากปี พ.ศ.2548 (OECD หรือ Organization for Economic Co-operation and Development เป็นองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ การพัฒนาของประเทศกลุ่มยุโรป รวมทั้งประเทศที่พัฒนาแล้วอื่นๆ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนนาดา นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา และ ญี่ปุ่น) - ในปี พ.ศ.2573 ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในรถยนต์ใหม่ในทุกประเทศลงร้อยละ 50 เมื่อ เปรียบเทียบจากปี พ.ศ.2548 - ในปี พ.ศ.2593 ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในรถยนต์ทุกประเภทและในทุกประเทศลง ร้อยละ 50 เมื่อเปรียบเทียบจากปี พ.ศ.2548 ในปัจจุบัน ประเทศต่างๆ ด าเนินการเรื่องยานยนต์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยการก าหนด มาตรฐานการปล่อยมลพิษ ซี่งมาตรฐานที่ใช้กันอย่างแพร่หลายคือ มาตรฐานมลพิษยูโร (EURO) โดยปัจจุบัน มาตรฐานมลพิษยุโรที่มีความเข้มงวดมากที่สุดคือมาตรฐาน EURO5 ซึ่ง มีการบังคับใช้ในสหภาพยุโรปแล้ว

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -65

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

 ยานยนต์ประหยัดพลังงาน หรือใช้พลังงานทดแทน จากปัญหาราคาเชื้อเพลิงจากฟอสซิลที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท าให้ผู้ผลิตรถยนต์พัฒนา เทคโนโลยีของยานยนต์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อาทิ

- เลือกใช้วัสดุทดแทนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีน้ าหนักเบา ในขณะที่ยังคงความ แข็งแรงที่ไม่น้อยกว่าเดิม เช่น นาโนเทคโนโลยี - พัฒนารถยนต์และชิ้นส่วนให้มีขนาดเล็กลง ในขณะความปลอดภัยไม่น้อยกว่าเดิม ซึ่ง นอกจากจะท าให้ประหยัดวัสดุที่ใช้แล้ว ยังท าให้อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงลดลง โดย รถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (Eco car) ก็พัฒนาโดยใช้หลักการนี้เช่นกัน - เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์และระบบขับเคลื่อนท าให้อัตราการสิ้นเปลืองน้อยลง เช่น ระบบ Idling stop หรือ ระบบ Common rail ของเครื่องยนต์ดีเซล เป็นต้น นอกจากการพัฒนาประสิทธิภาพของยานยนต์แล้ว ผู้ผลิตรถยนต์ยังพัฒนารถยนต์ยังพัฒนารถยนต์ ที่ใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่มิใช่ฟอสซิลอีกด้วย ได้แก่ พลังงานจากเอทานอล ไบโอ ดีเซล พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ เช่น รถโฮบริด (Hybrid) รถยนต์ไฮบริดแบบเสียบปลั๊ก (Plug- in hybrid) และรถพลังงานไฟฟ้า (Electric vehicle) เป็นต้น

จากภาพด้านล่าง แสดงให้เห็นว่าในอนาคตการใช้รถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงไฟฟ้าและรถไฮบริดจะมี ปริมาณจ าหน่ายมากขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2563 เป็นต้นไปอย่างมีนัยส าคัญ ในขณะที่รถยนต์ที่ใช้ เชื้อเพลิงจากฟอสซิลแต่เพียงอย่างเดียวจะค่อยๆ ลดปริมาณลงจนมีสัดส่วนที่น้อยมาก

ภาพการคาดการณ์การจ าหน่ายรถยนต์ขนาดเล็ก (Light duty vehicle) โดยแบ่งตามประเภท เชื้อเพลิงที่ใช้ จนถึงปี พ.ศ.2593

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -66

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ที่มา : International Energy Association (IEA)

 ยานยนต์ที่มีมาตรฐานความปลอดภัย การศึกษาของ FIA ระบุว่า ในแต่ละปี ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนจ านวน 1.3 ล้านคน และบาดเจ็บกว่า 50 ล้านคน ซึ่งหากไม่มีการด าเนินการแก้ไขใดๆ ในปี พ.ศ. 2573 จ านวน ผู้เสียชีวิตจะเพิ่มขึ้นเป็น 2.4 ล้านคนต่อปี รวมทั้งองค์การอนามัยโลก (World Health Organization – WHO) ยังคาดการณ์ด้วยว่า ในปี พ.ศ.2573 ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน จะเป็นสาเหตุการเสียชีวิตล าดับที่ 5 และมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 3.6 ของจ านวนผู้เสียชีวิต ทั้งหมด ทั้งนี้ การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน มีสาเหตุจากทั้งผู้ใช้รถใช้ถนน และพาหนะที่ไม่ได้ มาตรฐานความปลอดภัย จึงท าให้ผู้ผลิตรถยนต์ตระหนักถึงความส าคัญของการผลิตรถยนต์ให้มี ความปลอดภัย

มาตรฐานความปลอดภัยของรถยนต์ที่เป็นสากลมาตรฐานหนึ่ง คือ มาตรฐานของ United Nation Economic Commission of Europe (UN ECE) ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

(1) มาตรฐานความปลอดภัยแบบป้องกัน (Active safety) เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ เช่น เบรก ไฟสัญญาณต่างๆ กระจกมองข้าง เป็นต้น (2) มาตรฐานความปลอดภัยแบบปกป้อง )Passive safety) เพื่อลดความรุนแรงในการ บาดเจ็บหลังจากเกิดอุบัติเหตุ เช่น มาตรฐานความแข็งแรงของจุดยึดเข็มขัดนิรภัย ความแข็งแรงของจุดยึดที่นั่ง ความแข็งแรงของพนักพิงศีรษะ รวมถึงความปลอดภัย เนื่องจากการชนด้านหน้า การชนด้านข้าง ถุงลมนิรภัย

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -67

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

นอกจากนี้ ยังมีการน าระบบขนส่งอัจฉริยะ (Intelligent Transportation System – ITS) มาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัยและลดการจราจรติดขัด โดยระบบขนส่งอัจฉริยะ จะใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร มาช่วยบริหารจัดการระบบคมนาคม การขนส่ง และจราจร เช่น ป้ายเตือนอุบัติเหตุก่อนถึงบริเวณที่เกิดจริง ช่วยให้ผู้ขับขี่สามารถหลีกเลี่ยงเส้นทาง ได้ล่วงหน้า ป้ายบอกจ ากัดความเร็วที่เปลี่ยนแปลงได้ เป็นต้น

มาตรฐานความปลอดภัยในชิ้นส่วนต่างๆ ของรถยนต์

ที่มา: David Word (2011) และแผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ ปี พ.ศ. 2555-2559

การผลิตรถยนต์ในอนาคต ขึ้นอยู่กับความต้องการใช้ นั่นคือประกอบด้วยหลายปัจจัย เช่นอัตราการเติบโตของ ประชากรโลก การขยายตัวของขนาดเศรษฐกิจ ที่จะท าให้ผู้บริโภคมีเงินใช้จ่ายเพียงพอ และสามารถน ามาซื้อ รถยนต์ใช้งานได้ อีกทั้งกลุ่มประเทศใหม่ที่เริ่มมีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้น เช่น อาเซียน แอฟริกา จะเริ่ม เข้ามามีบทบาทต่ออุตสาหกรรมรถยนต์เพิ่มมากขึ้น

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -68

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ทิศทางการพัฒนาชิ้นส่วนพลาสติกในรถยนต์

ทั้งนี้จากการรวบรวมข่าวสารพลาสติก ในเรื่องเทคโนโลยี การผลิต และการตลาด พบว่า ในรถยนต์นั้นมีการน า พลาสติกมาใช้งานในส่วนต่างๆ มากขึ้น ดังจะเห็นได้จากการพัฒนาของบริษัทรถยนต์ที่มีการเปิดตัวชิ้นส่วน พลาสติก ในรถยนต์แต่ละรุ่นของบริษัท และพลาสติกจะมีบทบาทส าคัญในรถยนต์มากขึ้น โดยเฉพาะการ ทดแทนวัสดุอื่น เช่น เหล็ก โลหะ หรือกระจก เพื่อลดน้ าหนักและลดการสิ้นเปลืองพลังงาน

ผลิตภัณฑ์ รายละเอียด

Citroen ใช้ Polyurethane ผลิตเป็นกันชนและชิ้นส่วน ภายนอกรถยนต์ ที่เรียกว่า Airbumps โดยมี BASF SE

เป็นผู้ผลิตวัสดุให้ ส าหรับรถยนต์รุ่นใหม่ ที่ชื่อ Citroen C4 Cactus

Carbon Fiber Composite ที่ใช้กับยางล้อทั้งเส้น โดย ปราศจากอลูมิเนียม ให้วิธีการเชื่อมต่อระหว่างน๊อตที่ล้อ

รถยนต์กับตัวรถยนต์ การใช้วัสดุคอมโพสิตจะท าให้รถยนต์ มีน้ าหนักเบาขึ้น ท าให้การเร่งความเร็วดีขึ้น

BMW i3 มีการใช้ Polycarbonate ตกแต่งในรถยนต์ สูงสุด เมื่อเทียบกับรถยนต์อื่นๆ มีการใช้เป็นฟิล์มเพื่อเป็น หน้าจอแสดงผล และมีแนวโน้มที่วัสดุตกแต่งภายใน รถยนต์จะเป็น Polycarbonate เพิ่มมากขึ้น เพราะ สามารถขึ้นรูปพร้อมกับวัสดุผิวสัมผัสมันวาวและด้านได้

และรถยนต์รุ่นนี้ยังมีการใช้พลาสติกรีไซเคิลโดยใช้เป็น พลาสติกเสริมแรงเส้นใยคาร์บอน ตัวรถ

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -69

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ผลิตภัณฑ์ รายละเอียด

KIA Motors เปิดตัวรถยนต์ไฟฟ้าที่มีพลาสติกชีวภาพเป็น ส่วนประกอบ เช่น แผงประตู พื้นหลังคา พรมปูพื้น ระบบ เสียง พื้นคอนโซล เป็นต้น โดยใช้พลาสติกชีวภาพร้อยละ 10 ของวัสดุตกแต่งทั้งหมด

Opel Astra OPC ได้มีการผลิตโครงสร้างเบาะนั่ง (Car seat shell) จากคอมโพสิตเทอร์โมพลาสติกเสริมแรงใย แก้ว TEPEX dynalite 102-RG600(2)/47% ชนิดพอลิเอ ไมด์6 (polyamide 6) ของบริษัท Bond-Laminate GmbH เป็นบริษัทในเครือ LANXESS โครงสร้างมีความ แข็งแรงต่อแรงกด ดูดซับพลังงานได้เมื่อเกิดการชน

บริษัท Dow Corning Corporation ผู้น าด้านยางซิลิโคน เปิดตัวยางซิลิโคน ชนิด high-consistency silicone rubber (HCR) รุ่นSilastic ® HCM 60-1225-GRAY มีคุณ สมบติทนต่ออุณหภูมิเย็นจัดและร้อนจัด เหมาะกับ CVJ boots, exhaust hangers, engine mounts, steering system boots และ ชิ้นส่วนที่ใช้ติดตั้ง NVH control

บริษัท Volkswagen ใช้หน้าต่างรถยนต์ไฮบริด รุ่น XL 1 plug-in ผลิตจาก Polycarbonate และใช้เทคโนโลยีการ เคลือบพลาสมาให้มีลักษณะเป็นเงาเหมือนกระจกจริง ทน ต่อการขีดข่วน

บริษัท Ford Motor Co. ท าโครงการรีไซเคิลชิ้นส่วน รถยนต์เพื่อผลิตกันชนและที่ครอบไฟ โดยการน ากันชน 62,000 ชิ้นและที่ครอบไฟ 26,000 ชิ้น กลับมาใช้ใหม่ ในช่วงปี พ.ศ. 2554-2555 เพื่อลดปริมาณการฝั่งกลบสู่ พื้นดิน ส่วนชิ้นใดไม่สามารถรีไซเคิลได้จะถูกก าจัดทิ้ง

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -70

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ผลิตภัณฑ์ รายละเอียด

บริษัท UPM ของฟินแลนด์ได้จับมือกับ Metropolia University of Applied Sciences ผลิตรถยนต์ชื่อ Biocar ใช้วัสดุคอมโพสิตชีวภาพเป็นส่วนประกอบและตกแต่ง

บริษัท Chery ผู้ผลิตรถยนต์จากจีน และ Dupont มีการ พัฒนาวัสดุร่วมกัน ส าหรับผลิตเป็น Chery Taxi มีการใช้ Polyamide และ Ethylene acrylic elastomer ผลิตเป็น ท่อที่ใช้กระจายอากาศ (air-intake manifold) ฝาครอบ ฝาสูบ (cylinder head cover) และท่อลม (air ducts) ซึ่ง ท าให้น้ าหนักรถยนต์ลดลงกว่าร้อยละ 30-40 เมื่อเทียบกับ การใช้โลหะ ส่งผลให้ประหยัดเชื้อเพลิงและลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

บริษัท Mercedes Benz ได้ใช้ Polyaminde410 ที่ผลิต จากเมล็ดละหุ่ง ของบริษัท DSM เป็นองค์ประกอบในคอม พาวด์เสริมแรงของฝาปิดเครื่องยนต์ รุ่น A-Class ที่ สามารถทนต่อความร้อน มีน้ าหนักเพียง 1.3 กิโลกรัม มี เส้นใยแก้วและอนุภาคแร่เป็นองค์ประกอบ มีลักษณะผิว ภายนอกสวยงาม

ที่มา: http://plastice.oie.go.th

บทบาทของพลาสติกในอุตสาหกรรมยานยนต์

นักออกแบบและผู้ผลิตรถยนต์ยังคงให้ความส าคัญต่อการพัฒนายานยนต์ที่มีน้ าหนักเบา แต่สามารถควบคุม ต้นทุนได้ พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพรถยนต์หรือคงสมรรถนะของการขับเคลื่อนได้ จึงท าให้เกิดการพัฒนา นวัตกรรมใหม่ๆ ไม่เพียงแต่พลาสติกเกรดพิเศษ (Specialty Plastics) เท่านั้น หากแต่พลาสติกที่ใช้งานทั่วไป (Commodity Plastics) ก็จะถูกน ามาใช้มากขึ้น โดยเฉพาการผลิตชิ้นส่วนตกแต่งภาย ระบบไฟ กระจก และ ชิ้นส่วนโครงสร้างรถยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้นอกจากการเลือกพลาสติกมาทดแทนโลหะเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน แล้วยังเป็นการช่วยลดคาร์บอน (Carbon Footprint) อีกด้วย เพราะในปัจจุบันการผลิตพลาสติกสามารถท า ให้มีสีสันและพื้นผิวเทียบเท่าโลหะ ไม่จ าเป็นต้องเคลือบซ้ า บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -71

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

แนวโน้มในการผลิตรถยนต์ในอนาคตคาดว่าจะมีการใช้พลาสติกมากถึง 200 กิโลกรัม ต่อรถยนต์ 1 คัน ซึ่งใน ปัจจุบันมีการใช้พลาสติกประมาณ 100 กิโลกรัมเท่านั้น

แนวโน้มการใช้พลาสติกเป็นวัสดุส าหรับชิ้นส่วนรถยนต์

1. พลาสติกคุณสมบัติเฉพาะ ทิศทางของรถยนต์ในอนาคต ที่ค านึงถึงความปลอดภัย ประหยัดพลังงาน จึงท าให้บริษัทที่ผลิตวัสดุมี การวิจัยและพัฒนาให้คุณสมบัติของเม็ดพลาสติกมีคุณสมบัติเฉพาะมากขึ้นมีการท าการวิจัยร่วมกับ ผู้ผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนเพื่อคิดค้นวัตถุดิบที่มีความแข็งแรงทนทาน มีการคอมโพสิตเพื่อเพิ่ม คุณสมบัติของเม็ดพลาสติกแต่ละชนิดเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถตอบโจทย์ของการเป็นรถยนต์ที่ ปลอดภัยต่อการขับขี่ ปกป้องและลดความรุนแรงที่จะท าให้เกิดการบาดเจ็บ หลังจากเกิดอุบัติเหตุ เช่น ความปลอดภัยจาการชนด้านหน้า ด้านข้าง ดังนั้นวัสดุที่เลือกใช้มาผลิตต้องเหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ของรถยนต์แต่ละคัน ส่วนรถยนต์ที่เน้นประหยัดพลังงานหรือการใช้พลังงานทดแทนนั้น ต้องการวัสดุที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม มีน้ าหนักเบา ในขณะที่ยังคงความแข็งแรง การพัฒนาให้ชิ้นส่วนพลาสติกมีขนาดเล็กลง แต่ความปลอดภัยเท่าเดิม ซึ่งจะส่งผลต่ออัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงลดลง 2. พลาสติกชีวภาพ จากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ที่ยังคงเป็นกระแสรักษ์โลกในปัจจุบัน จึงท าให้มีการผลิตวัสดุที่เป็นชีวภาพ เพื่อน ามาผลิตต่อเป็นชิ้นส่วนรถยนต์ ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมในเกษตรกรรม ที่ช่วยเพิ่มมูลค่าผลิตผล ทางการเกษตร และยังค านึงถึงการน าวัตถุดิบด้านปิโตรเลียมที่น ามาผลิตเป็นเม็ดพลาสติกนั้น ที่ อาจจะน้อยลงในอนาคต และการก าจัดเศษซากที่มีความยากล าบาก จึงท าให้เกิดเป็นชิ้นส่วนรถยนต์ที่ ท าจากพลาสติกชีวภาพมากขึ้น รวมถึงการพัฒนาให้สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ เมื่อถึงเวลา หมดอายุการใช้งาน 3. พลาสติกรีไซเคิล การใช้พลาสติกที่ถูกใช้งานแล้วกลับมาใช้ใหม่ ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นการใช้ ประโยชน์จากชิ้นงานนั้นมากที่สุด มีหลายบริษัทรถยนต์ริเริ่มโครงการรีไซเคิล เพื่อลดปริมาณการ ก าจัดเศษซากหรือฝั่งกลับในพื้นดิน

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -72

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 4

แนวนโยบายและข้อเสนอแนะส าหรับชิ้นส่วนพลาสติกในอนาคต

การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยต่อเนื่องมาตลอด 50 ปีที่ผ่านมา จนกระทั่งเป็นอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ของประเทศ ก่อให้เกิดรายได้ การจ้างงาน แต่ในสภาวะการแข่งขันในตลาดโลกและภูมิภาคที่เข้มข้น จึงต้อง พิจารณาทิศทางการพัฒนาในช่วงต่อไป ส่งจะเอื้อประโยชน์ต่อการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ปัจจัยส าคัญในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย 1. นโยบายของภาครัฐที่เหมาะสม การก าหนดนโยบายต้องมีทิศทางที่ชัดเจน มีความสอดคล้องระหว่างนโยบายของหน่วยงานต่างๆ การ เร่งสร้างความเชื่อมั่นในการลงทุนด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยธรรมชาติอย่างเป็นระบบ การสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ดีเพื่อเตรียมรองรับแนวโน้มเทคโนโลยียานยนต์ในอนาคตที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีขั้นสูง สนับสนุนและส่งเสริมการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันที่ ส าคัญในด้านบุคลากร การบริหารจัดการเพื่อให้เกิดผลิตภาพเพิ่มอย่างต่อเนื่อง การยกระดับ ความสามารถด้านมาตรฐานของประเทศ 2. การเตรียมการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยียานยนต์ที่เน้น สะอาด ประหยัด และปลอดภัยให้กับผู้ขับขี่ แลผู้ใช้ถนนมากขึ้น ต้องมีการสร้างองค์ความรู้ งานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่จะสนับสนุนการพัฒนา ขีดความสามารถ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิง การใช้พลังงานทดแทนและพลังงาน หมุนเวียน และที่ส าคัญคือการลดน้ าหนักรถยนต์และชิ้นส่วน การพัฒนาชิ้นส่วนยานยนต์ที่มีมาตรฐาน ความปลอดภัย การพัฒนากระบวนการผลิตที่สอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสร้าง ความสามารถในการแข่งขันทางด้านเทคโนโลยีแก่ผู้ผลิตชิ้นส่วนที่เป็นรากฐานส าคัญของอุตสาหกรรม ให้สามารถแข่งขันได้ การมีศูนย์ทดสอบและวิจัยพัฒนายานยนต์ที่สามารถรองรับการทดสอบตาม มาตรฐานสากล โดยเน้นการรับรองตามกรอบ ASEAN MRA เป็นอันดับแรก # MRA (Mutual Recognition Arrangements) เป็นการท าความตกลงยอมรับระหว่างประเทศใน เรื่องการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าในอาเซียน 3. การสร้างมูลค่าให้กับประเทศ อุตสาหกรรมยานยนต์สร้างความเติบโตให้กับเศรษฐกิจของประเทศ ท าให้เกิดความเชื่อมโยงในห่วงโซ่ อุปทาน (Supply chain) ตั้งแต่วัตถุดิบตั้งต้นของชิ้นส่วน เช่น อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า ปิโตร เคมี ผลิตภัณฑ์พลาสติก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ยาง และอุตสาหกรรมสนับสนุน เช่น อุตสาหกรรม แม่พิมพ์ ส าหรับใช้เป็นส่วนประกอบของการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ และมีผู้ประกอบการยานยนต์และ

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -73

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ชิ้นส่วนไม่น้อยกว่า 2,000 ราย การมีผู้ผลิตชิ้นส่วนที่แข็งแกร่งจะเป็นรากฐานความสามารถในการ แข่งขันที่ยั่งยืนของประเทศ ผู้ผลิตชิ้นส่วนต้องมีความสามารถบริหารจัดการต้นทุนการผลิตที่เพิ่ม สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ตั้งแต่สภาวะเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี 4. การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรเพื่อรองรับการขยายตัวและการพัฒนาของอุตสาหกรรมยานยนต์ ในอนาคต ปัจจัยที่ช่วยให้อุตสาหกรรมเติบโตได้ คือการมีแรงงานที่มีทักษะฝีมือ แต่ในปัจจุบันไทยก าลังเผชิญ ปัญหาขาดแคลนแรงงานเพิ่มมากขึ้น จึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมเข้าสู่ อุตสาหกรรม และยกระดับขีดความสามารถของบุคลากรให้เพิ่มมากขึ้น ไม่ใช่เฉพาะบุคลากรในระดับ ปฏิบัติการเท่านั้น แต่รวมถึงระดับช่างฝีมือ ผู้ช านาญการ เช่น วิศวกร นักวิจัย ตลอดจนผู้บริหารที่ต้อง มีความสามารถในการบริหารจัดการในระดับสากล

จากปัจจัยส าคัญที่ต้องควรจะปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศ หน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชน จึงได้ร่วมกันก าหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ในปี พ.ศ. 2564 ดังนี้ “ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตยายยนต์โลก พร้อมด้วยห่วงโซ่อุปทานที่สร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศ และ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” “Thailand is a global green automotive production base with strong domestic supply chains which create high value added for the country” เพื่อให้สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว ทางสถาบันยานยนต์จึงได้มีการก าหนดยุทธศาสตร์การด าเนินงาน 5 ประกอบ ประกอบด้วยความเป็นเลิศใน 3 ด้าน (Center of Excellence-COE) และสิ่งแวดล้อมที่ดีในการ ด าเนินธุรกิจ 2 ประการ (Good Business Environment-ENV) ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ความเป็นเลิศในด้านเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา (Research and Technology Development) มีเป้าประสงค์มุ่งสู่ความเป็นเลิศในด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและงานวิจัย เป็นแรงขับเคลื่อนในการยกระดับ ความสามารถการแข่งขันของอุตสาหกรรมยายยนต์ โดยการพัฒนาเทคโนโลยี ด้านต่างๆ เทคโนโลยีสะอาด ประหยัด ปลอดภัย เช่น การสนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือกและพลังงานหมุนเวียน )Alternative and renewable energy) การลดน้ าหนักของยานยนต์ (Light weight vehicles) การยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยต่อยานยนต์บนท้องถนน )Vehicel safety) และการเพิ่มความสามารถในการผลิตโดยใช้เทคโนโลยี ระดับสูง (Advance production technology)

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -74

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ความเป็นเลิศในด้านการพัฒนาบุคลากร (Human Resources Development) มีเป้าประสงค์ในการยกระดับความสามารถของบุคลากรในระดับแรงงานมีฝีมือ ระดับหัวหน้างาน ระดับวิศวกร ทดสอบและวิจัยพัฒนา ตลอดจนผู้บริหาร ให้มีความรู้ความเข้าใจ เพิ่มสูงขึ้น สามารถท างานได้อย่างมี ประสิทธิภาพและผลิตภาพเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาบุคลากรแบบครบวงจรในทุกระดับ โดยการด าเนินโครงการ พัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์อย่างยั่งยืน เน้นการพัฒนาระบบการฝึกอบรม การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาวิทยากร รวมถึงการผลักดันให้มีการจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมในสถานประกอบการเพื่อให้มีการขยายผล การพัฒนาบุคลากรในวงกว้าง และให้ความส าคัญกับความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในระดับต่างๆ เตรียม ความพร้อมของแรงงานที่จะเข้าสู่การท างานในภาคอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้ประกอบการ (Entrepreneur Strength Enhancement) มีเป้าประสงค์ในการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ผลิต ชิ้นส่วนรถยนต์ ให้สามารถก้าวเข้าสู่การเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนในห่วงโซ่อุปทานระดับโลก ที่เป็น Lean supply chain ทั้งระบบ รวมถึงมีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green manufacturing) พัฒนา ผู้ประกอบการเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน )Sustainable Manufacturing Development for Automotive Supply Chain) ตัวอย่างกิจกรรม เช่น การพัฒนาผลิตภาพด้วยเครื่องมือในการปรับปรุงที่มี ประสิทธิภาพ การพัฒนากระบวนการผลิตที่สะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเครือข่ายความ ร่วมมือ (Cluster Supply Chain Network) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างสภาวะแวดล้อมที่ดีด้วยปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) เพื่อรองรับ แผนยุทธศาสตร์ COE-1 COE-2 COE-3 เป้าประสงค์เพื่อจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการด าเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อย่างเพียงพอ ทั้งด้านการ วิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร และการพัฒนาผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ หากขาดโครงสร้างที่ส าคัญเหล่านี้ จะท าให้การด าเนินงานในยุทธศาสตร์อื่นๆ บรรลุเป้าหมายได้ยาก โครงสร้างพื้นฐานที่จ าเป็นได้แก่ ศูนย์ ทดสอบและวิจัยพัฒนายานยนต์ สถาบันพัฒนาบุคลากรยานยนต์ และศูนย์สารสนเทศยานยนต์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างสภาวะแวดล้อมที่ดีด้วยกฎระเบียบนโยบายภาครัฐ (Policy Integration) เป้าประสงค์เพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่ดีด้วยการปรับปรุงและก าหนดกฎระเบียบ นโยบายและมาตรการ สนับสนุนของภาครัฐให้เอื้ออ านวยต่อการบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย เพื่อเป็นฐาน การผลิตยานยนต์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของโลก มีการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูง และมีมาตรฐานสากล โดย จะต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมการก ากับนโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์แห่งชาติ )กยช.) เพื่อบรูณาการนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ให้สอดคล้องเป็นไปในทิศทาง

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -75

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

เดียวกัน สอดรับกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสภาวะการแข่งขันและเทคโนโลยี นวัตกรรมในอนาคต รวมทั้งมีการศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย สนับสนุนการพัฒนาในด้านต่างๆ รวมถึงส่งเสริมการสร้างตราสินค้าและ การสร้างตลาดใหม่ ส าหรับชิ้นส่วนอะไหล่ (REM) ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ทั้ง 5 ประการ ต้องด าเนินการอย่างเป็นระบบ ด้วยความร่วมมือของทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง โดยมีคณะกรรมการก ากับนโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์แห่งชาติ (กยช.) เป็นผู้ ก าหนดและประสานนโยบาย ผลักดันและสนับสนุนการด าเนินแผนงาน ให้บรรจุตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ โครงการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO-CAR) ที่ได้รับการส่งเสริมจากคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) บริษัท ฟอร์ด มอเตอร์ คัมปะนี )ประเทศไทย) จ ากัด ได้รับส่งเสริม ขยายกิจการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล ระยะที่ 2 )ECO-CAR 2) ก าลังผลิตปีละประมาณ 180,000 คัน และเครื่องยนต์ ก าลังผลิตปีละประมาณ 2,000 ชุด เงินลงทุนทั้งสิ้น 18,180 ล้าน บาท ตั้งอยู่ที่ นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด จังหวัดระยอง

บริษัท เจนเนอรัล มอเตอร์ส )ประเทศไทย) จ ากัด ได้รับส่งเสริมขยาย กิจการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล ระยะที่ 2 )ECO-CAR 2) ก าลังผลิตปีละประมาณ 158,000 คัน เงินลงทุนทั้งสิ้น 13,109 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่ นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด จังหวัด ระยอง

บริษัท นิสสัน มอเตอร์ )ประเทศไทย) จ ากัด ได้รับการส่งเสริมขยาย กิจการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล ระยะที่ 2 )ECO-CAR 2) และชิ้นส่วนยานพาหนะ ก าลังการผลิตปีละประมาณ 123,000 คัน และชิ้นส่วนยานพาหนะ ก าลังหารผลิตปีละประมาณ 2,000,000 ชิ้น เงินลงทุนทั้งสิ้น 6,860 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่เบาเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ

บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส )ประเทศไทย) จ ากัด ได้รับการส่งเสริมให้ เพิ่มก าลังการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล ระยะที่1 และระยะที่ 2 )ECO-CAR 1 & 2 ) โดยลงทุนประมาณ 7,700 ล้า นาทและจะมีก าลังการผลิตเพิ่มจาก 180,000 คันเป็น 222,000 คัน ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -76

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ )ประเทศไทย) จ ากัด ได้รับการส่งเสริมให้ เพิ่มก าลังการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากลระยะที่ 2 โดยจะลงทุนเพิ่ม 1,900 ล้านบาท และจะมีก าลังการผลิตเพิ่มจาก เดิม 100,000 คัน เป็น 160,000 คัน

การผลิตชิ้นส่วนส าหรับรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล )ECO-CAR) ได้รับสิทธิและประโยชน์ ดังนี้ - ยกเว้นอากรขาเข้าส าหรับเครื่องจักรทุกเขตตามระยะเวลาที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบ - ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลทุกเขตเป็นระยะเวลาไม่เกิน 8 ปี - ลดหย่อนอากรขาเข้าวัตถุดิบและชิ้นส่วนส าเร็จรูปไม่เกินร้อยละ 90 ตามความเหมาะสมของแต่ ละประเภท และตามระยะเวลาที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบ - สิทธิและประโยชน์อื่นให้ได้รับตามหลักเกณฑ์ ประกาศ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 1/2543 ลงวันที่ 1 สิงหาคม 2543 ซึ่งหากโครงการข้างต้นด าเนินกิจการ ก็จะมีการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่น ามาประกอบใช้ในรถยนต์แต่ละคัน ซึ่ง ส่วนใหญ่รถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากลนั้น มีหลายชิ้นส่วนที่ผลิตมาจากพลาสติก เพราะมีน้ าหนัก เบา แต่ยังคงความแข็งแรงได้ ดังนั้นจึงเห็นว่าหากได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐในการผลักดันโครงการ ดังกล่าว ก็จะท าให้เกิดการใช้พลาสติกเป็นวัสดุมากขึ้น แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับข้อก าหนดของแต่ละบริษัทรถยนต์ ว่าต้องการพลาสติกชนิดใด และการขึ้นรูปชิ้นงานแบบใด ให้เหมาะกับรถยนต์ในรุ่นนั้นๆ ซึ่งต้องใช้ ความสามารถของผู้ประกอบการเม็ดพลาสติกที่ผลิตในประเทศไทยและผู้ผลิตชิ้นส่วนพลาสติกส าหรับรถยนต์ ร่วมมือกันเพื่อต่อรองกับบริษัทรถยนต์เพื่อเป็นตัวแทนการผลิตชิ้นส่วนในประเทศไทย แนวนโยบายและกลไกของภาครัฐในการขับเคลื่อนชิ้นส่วนพลาสติกส าหรับรถยนต์ ชิ้นส่วนพลาสติกส าหรับรถยนต์นั้น มีหลากหลายประเภทในรถยนต์ 1 คัน มีคุณสมบัติเฉพาะในแต่ละชิ้นส่วน ดังนั้น จึงขอเสนอแนะส าหรับชิ้นส่วนพลาสติกที่จะสามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผู้ประกอบการสามารถน าไป วิเคราะห์ต่อการด าเนินธุรกิจ และภาครัฐสามารถผลักดันให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืนได้ จากการจัดท าโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติก ของสถาบันพลาสติก ปี พ.ศ. 2557 ได้มีการน าเสนอ Product Champion ในกลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ทั้ง 4 ผลิตภัณฑ์ รวมถึงถึงปัจจัยแห่งความส าเร็จใน แต่ละผลิตภัณฑ์ และกลไกที่จะช่วยขับเคลื่อน ผลักดันจากภาครัฐ

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -77

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ผลิตภัณฑ์: Bumper

ผลิตภัณฑ์ ตลาด %AAGR อ้างอิง http://blog bharatbook com/global-automotive- bumper-industry-to-be-worth-us- - -billion-till- billion / Global 4.6 USD in http://www marketresearch com/Lucintel- Bumper v /Global-Automotive-Bumper-Trend-Profit- / 10.24 Thailand 9,360 ล้านบาท จากการส ารวจสถาบันพลาสติก )2005-2013)

ผลิตภัณฑ์: Head Lamp, Rear Lamp

ผลิตภัณฑ์ ตลาด %AAGR อ้างอิง http://www studymode com/essays/Auto billion USD by Global 5.43 motive-Lighting-Market-Worth- - - (Auto lighting) Head Lamp Billion- html Rear Lamp 10.24 Thailand 4,320 ล้านบาท ที่มา : สถาบันพลาสติก )2005-2013)

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -78

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

Key Success Factor กลไกขับเคลื่อนภาครัฐ

- พัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงวิศวกรรม - ส่งเสริมโครงการด้านการวิจัยและพัฒนาเม็ดพลาสติก - ทดสอบและการรับรองชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ได้ เกรดพิเศษ และเทคโนโลยีการคอมพาวด์ - ให้ความรู้เรื่องเทคนิคการคอมพาวด์เม็ดพลาสติกชนิดใหม่ - เพิ่มระบบการจัดการ ภายในและความร่วมมือใน )Compounding Technology) มาแทนเม็ดชนิดเดิมที่มี รูปแบบระบบคลัสเตอร์ (ท าแม่พิมพ์ ผลิต พ่นสี) ราคาสูง เพื่อลดต้นทุน และได้เม็ดพลาสติกที่คุณภาพดีขึ้น - ส่งเสริมการพัฒนาด้านการตลาด ให้ประเทศไทยเป็น - มีเทคโนโลยีด้านเครื่องจักรระบบ Automation ที่ประหยัด แหล่ง Global sourcing พลังงานความเร็วสูง ความแม่นย าสูง - ยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการทดสอบในประเทศ - มีเทคโนโลยีแม่พิมพ์ที่เหมาะสมกับความต้องการ ให้สามารถทดสอบได้อย่างรวดเร็ว ตรงกับความ - จัดการระบบโลจิสติกส์เพื่อการขนส่งที่รวดเร็ว ต้องการของ OEM - เพิ่มช่องทางการตลาดให้ผู้ประกอบการ SMEs - เพิ่ม Productivity

ผลิตภัณฑ์: Battery

ผลิตภัณฑ์ ตลาด %AAGR อ้างอิง billion http://www tpa or th/publisher/pdfFileDownloadS/ Global 8 Battery USD in TN A_p - pdf Thailand 5,000 ล้านบาท 17.14 ไทยแลนด์อินดัสตรี้ กูรูดอทคอม

Key Success Factor กลไกขับเคลื่อนภาครัฐ

- ศึกษาเทคโนโลยีในอนาคตส าหรับรถไฮบริดและรถไฟฟ้า - ส่งเสริมการพัฒนาแบตเตอรี่ที่ใช้กับรถยนต์ หรือ - เข้าร่วมการพัฒนาฉนวนและโครงแบตเตอรี่ กับผู้ผลิตชั้นน า รถไฟฟ้า - พัฒนาวัสดุส าหรับฉนวนและโครงแบตเตอรี่

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -79

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ผลิตภัณฑ์: Auto Accessories

ผลิตภณั ฑ ์ ตลาด %AAGR อ้างอิง 4. Auto Global billion USD 4.6 จากการส ารวจสถาบันพลาสติก Accessories Thailand 4,000 ล้านบาท 30 ที่มา : สยามธุรกิจ

Key Success Factor กลไกขับเคลื่อนภาครัฐ

- พัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงวิศวกรรม - ส่งเสริมให้ผลิต แบบ REM ในชุดตกแต่งส าหรับ - ช่องทางการตลาดในประเทศเพิ่มขึ้น รถยนต์ขนาดเล็ก - ส่งเสริมการพัฒนาด้านการตลาด ให้ประเทศไทย เป็นแหล่ง Global sourcing - การทดสอบและการรับรองชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ - ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการเลือกใช้วัสดุหรือ เทคนิคการคอมพาวด์เม็ดพลาสติกให้เหมาะสมกับ สภาพการใช้งาน - ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสามารถผลิต small lot ได้ ด้วยการใช้ tooling ที่มีต้นทุนต่ า )รุ่น limited)

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -80

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บรรณานุกรม แผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์, สถาบันยานยนต์ กระทรวงอุตสาหกรรม , ธันวาคม 2556 โครงการศึกษาศักยภาพชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ที่เป็น Production Champion ของไทย เสนอ ส านักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, สถาบันวิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กันยายน 2556 รอบรู้เรื่องพลาสติก, สถาบันพลาสติก, 2556

บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ -81

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์

4.1 การจัดสัมมนาเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ ที่ปรึกษาได้จัดงานสัมมนาเพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ภายใต้ชื่อ “ปฏิบัติการพัฒนา อุตสาหกรรมพลาสติกไทย” ในระหว่างวันที่ 28 - 29 สิงหาคม 2557 ณ อาคารอิมแพ็คชาเลนเจอร์เมือง ทองธานี ห้องจูปิเตอร์ 9 ภายในหัวข้อ “สถานการณ์และแนวโน้มอุตสาหกรรมพลาสติกไทย” บรรยาย โดยคุณประไพ น าธวัช ผู้ช่วยผู้อ านวนการสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ซึ่งเนื้อหาของการบรรยาย นั้นกล่าวถึงสถาณการณ์และแนวโน้มของอุตสาหกรรมพลาสติกไทย โดยใช้ข้อมูลจากเว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit เช่นข้อมูลสถิติและข้อมูลผลการส ารวจผู้ประกอบการการมาประกอบการบรรยาย รูปที่ 4-1 งานสัมมนาปฏิบัติการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกไทย

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-1

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 4.2 พื้นที่โฆษณาและประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้กับผู้ประกอบการ ตลอดช่วงการจัดท าโครงการฯ ที่ปรึกษาได้รับการติดต่อประสานงานจากผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมพลาสติกเพื่อขอลงประชาสัมพันธ์ข้อมูลของบริษัทในเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit เป็นจ านวนทั้งสิ้น 12 ราย ดังนี้ ตารางที่ 4-1 รายชื่อผู้ประกอบการที่ขอลงประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ ล าดับ ผู้ประกอบการ ประเภทกิจการ 1 บจก.ซินโก เทคโนโลยี ผลิตเครื่องเป่าขวดพลาสติก เครื่องเป่าขวดเพ็ท 2 บจก.เบสท์เวิลด์ อินเตอร์เทรด ผลิตฟิล์มหด 3 บจก.อีพีอี แพคเกจจิ้ง (ประเทศไทย) ผลิตโฟมกันกระแทก และพลาสติกกันกระแทก 4 บจก.ฮอทตี้ โพลีเมอร์ (ประเทศไทย) ผลิต PVC Profile ส าหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ 5 บจก.พีโอเทค จ าหน่ายสารหล่อลื่นและระบบหล่อลื่นเครื่องจักร 6 บจก.พลาสติกโซลูชั่น ผู้น าเข้าและจ าหน่ายเครื่องจักรผลิตพลาสติก 7 บจก.ตากสินพลาสติก ผู้ผลิตชิ้นส่วนประกอบรถจักรยานยนต์และรถยนต์ 8 บจก.ฟาร์โก อินเตอร์เนชั่นแนล ผู้ผลิตเม็ดพลาสติกคอมพาวด์ 9 บจก.โพลีเคม เอ็กซ์เพิร์ต ตัวแทนจ าหน่ายเม็ดพลาสติกและสารเติมแต่ง 10 บจก.ไทยโพลีเคมิคอล ผู้ผลิตสารเติมแต่งส าหรับอุตสาหกรรมพลาสติก 11 หจก.ไทยหุ้มลวด ผู้ผลิตลวดหุ้มพลาสติก, เคเบิ้ลไทร์, ท่อหุ้มพลาสติก 12 บจก.ออมนิ พลัส ซิสเต็ม พลาสติคส์ ผู้ผลิตชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าและชินส่วนยานยนต์

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-2

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 4-2 ข้อมูลผู้ประกอบการบนเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-3

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 4.3 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่าน Social Networks นอกจากการเผยแพร่ข่าวสารและความเคลื่อนไหวต่างๆ ของอุตสาหกรรมพลาสติก ผ่านหน้า เว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit แล้ว เว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ยังท าการเผยแพร่ข่าวสาร ผ่านช่องทาง Social Network ที่ก าลังได้รับความนิยมในปัจจุบัน ทั้ง Facebook และ Twitter อีกด้วย ซึ่งจะเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ส าคัญที่จะช่วยสมาชิกและผู้ใช้งานทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารต่างๆ จากเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น โดยตลอดช่วงการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้มีการรายงานข่าวสารพลาสติก การประชาสัมพันธ์ หลักสูตรฝึกอบรม งานสัมมนาข่าวสารอื่นๆ ในอุตสาหกรรมพลาสติกที่น่าสนใจผ่าน Social Network ทั้ง สองช่องทางไปแล้วกว่า 600 หัวข้อ

4.3.1 Facebook ในช่วงตลอดระยะเวลาการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรม พลาสติก ได้มีผู้สนใจกด Like เพื่อเข้าร่วมเป็นสมาชิก Fanpage Facebook ของเว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit (facebook.com/PIUwebsite) เพิ่มขึ้น 90 ราย โดยมียอดรวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน ทั้งสิ้น 511 ราย มีสถิติยอดผู้เข้าชมข้อมูล (Reach) ในแต่ละหัวข้อข่าวสาร (Posts) โดยเฉลี่ยหัวข้อละ ประมาณ 40 ราย โดยมียอดสมาชิกเข้าชมหน้าเพจโดยตรงทั้งสิ้นสัปดาห์ละประมาณ 180 ราย รูปที่ 4-3 Plastics Intelligence Unit Facebook fanpage

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-4

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 4.3.2 Twitter ในช่วงตลอดระยะเวลาการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรม พลาสติก บัญชีผู้ใช้งาน Twitter ของเว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit (twitter.com/PIUwebsite หรือ @PIUwebsite) มียอดผู้ติดตามหรือ Followers เป็นจ านวน 100 ราย รูปที่ 4-4 Plastics Intelligence Unit Twitter Account

4.4 กระดานสนทนา PIU’s Webboard กระดานสนทนาจัดท าขึ้นเพื่อเป็นสื่อกลางแลกเปลี่ยนความคิดเห็นส าหรับสมาชิก และสมาชิกยัง สามารถใช้กระดานสนทนาเพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก ของตนเองผ่านทางกระดานสนทนา ซึ่งเว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit ได้เปิดพื้นที่ให้สมาชิก สามารถเข้าใช้งานกระดานสนทนาได้อย่างอิสระ โดยตลอดระยะเวลาการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติกมีสมาชิกเข้าใช้บริการกระดานสนทนาเพื่อการประชาสัมพันธ์ สินค้า ผลิตภัณฑ์ การบริการ การประกาศหาสินค้า ประชาสัมพันธ์งานสัมมนา และหลักสูตรการฝึกอบรม และกิจกรรมต่างๆ อยู่เป็นระยะ

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-5

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 4-5 PIU’s Webboard

4.5 PIU’s Blog การจัดท าบล็อคเพื่อเป็นอีกช่องทางหนึงในการน าเสนอเรื่องและหัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจและมี ประโยชน์กับสมาชิกและสมาชิกสามารถเข้ารวมแสดงความคิดเห็นในบล็อคได้อีกด้วย ซึ่งเว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit ได้จัดท า PIU’s Blog เดือนละ 2 ครั้ง ซึ่งในระยะเวลาการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้มีการจัดท าบล็อคที่มีหัวข้อต่างๆ ดังนี้ ตารางที่ 4-2 PIU’s Blog No. รายการ วันที่น าเสนอ 1 สถาบันพลาสติกเปิดตัว Facebook 29 มกราคม 2557 2 บางจากน าร่องสิ่งแวดล้อมสีเขียวด้วยบัตรพนักงานไบโอพลาสติก 6 กุมภาพันธ์ 2557 3 3D printing ท าหลอดลมเทียม 16 กุมภาพันธ์ 2557 4 ช่อง 3 แจกเสื้อแจ็กเก็ตรุ่นใหม่ ท าจาก PET รีไซเคิล 3 มีนาคม 2557 5 MiniSure 20 มีนาคม 2557 6 SCG Chemical กับนวัตกรรมพลาสติกเพื่อวงการแพทย์ 10 เมษายน 2557 7 Plastic saxophone 23 เมษายน 2557 8 สินค้าที่มีมูลค่าส่งออกสูงสุดของแต่ละประเทศ 7 พฤษภาคม 2557 9 Asia Petrochemical Industry Conference 2014 16 พฤษภาคม 2557

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-6

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ No. รายการ วันที่น าเสนอ 10 ผอ.สถาบันพลาสติก เข้าร่วมและเป็นวิทยากรภายในงาน APIC 20 พฤษภาคม 2557 2014 11 Pack world เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 13 มิถุนายน 2557 12 Thailand is leader of Automotive Industry in ASEAN 30 มิถุนายน 2557 13 การใช้บรรจุภัณฑ์ในการสร้างภาพลักษณ์ หรือ Branding 8 กรกฎาคม 2557 14 ความปลอดภัยของขวดน้ าดื่มพลาสติก 21 กรกฎาคม 2557 15 พลาสติกรีไซเคิล 7 สิงหาคม 2557 16 การค้าพลาสติก ผ่านด่านการค้าที่ส าคัญ 1 ตุลาคม 2557 17 การน าเข้าสินค้าของประเทศกัมพูชา 14 ตุลาคม 2557 18 การน าเข้าสินค้าของประเทศเมียนม่า 14 ตุลาคม 2557 รูปที่ 4-6 PIU’s Blog

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-7

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 4.6 Plastics Processing / E-Learning กระบวนการผลิต คุณสมบัติเม็ดพลาสติก ในช่วงระยะเวลาการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ได้ เพิ่มเติมข้อมูลคลิปวีดีโอในส่วนของกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกและวีดีโอความรู้ต่างๆ ใน กระบวนการขึ้นรูปพลาสติก รวมทั้งหมด 10 เรื่อง ซึ่งเป็นวิดีโอการสาธิตการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก และ การะบวนการผลิตต่างๆ ที่น่าสนใจดังนี้ ตารางที่ 4-3 E-Learning ล าดับ รายการ 1 How it’s made plastics injection mould? สาธิตการขึ้นรูปด้วยการฉีดท าอย่างไร 2 Profile Extrusion: PVC pipe สาธิตการผลิตท่อ PVC ด้วยการรีดขึ้นรูป 3 Wood Plastic Compound Extrusion สาธิตการผลิตพลาสติกคอมปาวด์ด้วยขี้เลื่อยที่ใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง 4 How It's Made Plastic Gasoline Containers พาไปดูการผลิตถังบรรจุน้ ามันด้วยวิธีการเปาฉีดขึ้นรูป 5 How It's Made Plastic Bags พาไปดูการเป่าฟิล์มพลาสติกและการตัดถุงพลาสติก 6 Thermoforming Process พาไปชมการขึ้นรูปถาดพลาสติกด้วยวิธีขึ้นรูปแบบสูญญากาศ 7 Plastic Processing Overview การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์พลาสติกด้วยวิธีการต่างๆ 8 Nonwovens! What Are They? กระบวนการผลิตผ้าพลาสติกแบบไม่ถักทอคืออะไร? 9 The Top 10 Personal 3D Printers แนะน า 10 อันดับสุดยอดเครื่องพิมพ์สามมิติส าหรับคุณ! 10 Rotational Molding Instructional Video สาธิตกระบวนการผลิตแบบ Rotational Molding แบบเข้าใจง่าย

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-8

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 4-7 วีดีโอ E-Learning

4.7 จ านวนสมาชิกเว็บไซต์และผู้ใช้งาน 4.7.1 จ านวนสมาชิกเว็บไซต์ การเก็บรวบรวมข้อมูลสมาชิกเว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit ได้ท ามาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่เริ่มเปิดใช้งานเว็บไซต์ในเดือนกันยายน 2551 เป็นต้นมา จากรูปที่ 4-8 จะเห็นได้ว่าจ านวน สมาชิกเว็บไซต์เพิ่มขึ้นตามล าดับ ปัจจุบันจากข้อมูล ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit มีจ านวนสมาชิกทั้งสิ้น 10,721 ราย จ านวนสมาชิกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้นอาจกล่าว ได้ว่ามีการตอบรับจากผู้สนใจในเนื้อหาและข้อมูลข่าวสารของเว็บไซต์เป็นอย่างดี ท าให้มีผู้สนใจสมัครเป็น สมาชิกอย่างต่อเนื่อง โดยตลอดระยะเวลาการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก อุตสาหกรรมพลาสติก ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนตุลาคม 2557 มีผู้สนใจสมัครเป็นสมาชิกเพิ่มขึ้น

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-9

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ จ านวน 1,741 ราย คิดเป็นร้อยละ 19 และเฉลี่ยในแต่ละเดือนจะมีสมาชิกเพิ่มขึ้นเดือนละประมาณ 140 ราย จากรูปที่ 4-9 ปัจจุบันเว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit เป็นที่รู้จักของบุคคลากรในอุตสาหกรรมพลาสติก และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องมากขึ้น ได้รับการยอมรับและได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกจากภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมหลายๆ ประเภท เช่นผู้ประกอบการปิโตรเคมีซึ่งเป็นผู้ผลิตเม็ดพลาสติกที่เป็น อุตสาหกรรมต้นน้ าในการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก ผู้ผลิตแม่พิมพ์ ตัวแทนจ าหน่ายเครื่องจักร ผู้ผลิตสินค้า ส าเร็จรูปที่เข้ามาหาซัพพลายเออร์ ผู้ประกอบการรีไซเคิล และผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก เว็บไซต์ Plastics Intelligence Unit ยังเป็นแหล่งข้อมูลอีกแหล่งหน่งให้กับ บุคคลากรภาครัฐ ภาคการศึกษา รวมทั้งภาค การเงินและการลงทุน รวมทั้งประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจอีกด้วย ดังรูปที่ 4-10

รูปที่ 4-8 จ านวนสมาชิกเว็บไซต์ ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2557

12,000 10,721 10,380 9,978 10,000 9,627 8,980 8,555 8,119 8,000 7,649 6,742 6,201 5,598 6,000 4,946 4,255 3,775 4,000 3,246 2,804 2,3342,615 1,746 2,000 1,496 1,007

0

Recycler & Molder Compounder General-user Others End-user Trader Supporting Industry Financial Academic & Institute Government Petroleum Petrochemical Converter Total

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-10

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 4-9 จ านวนสมาชิกเว็บไซต์รายเดือน

800

700 Quarterly Monthly 600

500 average new members 400 per month = 140 300

200

100

0

Recycler & Molder Compounder General-user Others End-user Trader Supporting Industry Financial Academic & Institute Government Petroleum Petrochemical Converter

รูปที่ 4-10 สัดส่วนสมาชิกเว็บไซต์แบ่งตามประเภท ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2557

Compounder Recycler & 1% Molder General-user 0.040 11%

Converter 28% End-user 12%

Trader Petrochem 11% Petroleum 8% 0.007 Support Ind. Academic Financial Government 7% 6% 8% 3%

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-11

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 4.7.2 สถิติการเข้าชมเว็บไซต์ โดยตลอดระยะเวลาการจัดท าโครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนตุลาคม 2557 จากข้อมูลสติติที่จัดเก็บตามตารางที่ 4-2 พบว่า มีผู้เข้าชม เว็บไซต์ทั้งสิ้นเป็นจ านวน 611,802 ราย แบ่งเป็นบุคคลทั่วไป 608,483 ราย และสมาชิก 2,711 ราย และ จากรูปที่ 4-11 แสดงให้เห็นว่าข้อมูลการเข้าใช้งานเว็บไซต์สะสมตั้งแต่เปิดเว็บไซต์ให้บริการครั้งแรกใน เดือนกันยายน 2551 มีสถิติจ านวนการเข้าชมเข้าเว็บไซต์ทั้งบุคคลทั่วไปและสมาชิกรวมแล้วทั้งสิ้นกว่า 2 ล้านครั้ง ตารางที่ 4-4 สถิติการเข้าชมเว็บไซต์ช่วงระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนตุลาคม 2557 ประเภทของสถิติ จ านวน ประเภทของสถิติ จ านวน จ านวนบุคคลทั่วไปที่ 608,483 ราย จ านวนสมาชิกที่เข้า 2,711 ราย เข้าชมเว็บไซต์ ชมเว็บไซต์ จ านวนครั้งของหน้า 1,913,470 ครั้ง จ านวนครั้งของหน้า 1,173,757 ครั้ง เว็บไซต์ที่ถูกเปิดโดย เว็บไซต์ที่ถูกเปิดโดย บุคคลทั่วไป สมาชิก จ านวนเฉลี่ยของหน้า 4 หน้า จ านวนเฉลี่ยของหน้า 45 หน้า เว็บไซต์ที่ถูกเปิดโดย เว็บไซต์ที่ถูกเปิดโดย บุคคลทั่วไป 1 ท่าน สมาชิก 1 ท่าน

รูปที่ 4-11 สถิติจ านวนผู้เข้าใช้งานสะสม Members Visitors non-Members Visitors 25,000 2,500,000

20,000 2,000,000

15,000 1,500,000

10,000 1,000,000

5,000 500,000

0 0

Jun-12 Oct-08 Jun-09 Oct-09 Jun-10 Oct-10 Jun-11 Oct-11 Oct-12 Jun-13 Oct-13 Jun-14 Oct-14

Feb-09 Feb-10 Feb-11 Feb-12 Feb-13 Feb-14 Members non-Members

สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์รายวันตามรูปที่ 4-12 พบว่าระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนตุลาคม 2557 มี ผู้สนใจเข้าเยี่ยมชมและใช้งานเว็บไซต์ที่เป็นบุคคลทั่วไปเฉลี่ยวันละประมาณ 2,000 ราย และในส่วน สมาชิกมีการเข้าใช้งานเว็บไซต์เฉลี่ยวันละประมาณ 20 ราย ช่วงระยะเวลาที่มีผู้ใช้งานเว็บไซต์มากที่สุด คือช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคมซึ่งตรงกับช่วงการส ารวจข้อมูลผู้ประกอบการ บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-12

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 4-12 สถิติจ านวนผู้เข้าใช้งานรายวัน Members Visitors non-Members Visitors 80 8,000 70 7,000 60 6,000 50 5,000 40 4,000 30 3,000 20 2,000 10 1,000

0 0

01-Jul-11 01-Jul-12 01-Jul-13 01-Jul-14

01-Jan-12 01-Jan-11 01-Jan-13 01-Jan-14

01-Oct-11 01-Oct-12 01-Oct-13 01-Oct-14

01-Apr-11 01-Apr-12 01-Apr-13 01-Apr-14 Members non-Members

สัดส่วนการเข้าชมเนื้อหาในเว็บไซต์ระหว่างระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนตุลาคม 2557 ตาม ข้อมูลจากรูปที่ 4-13 จะเห็นได้ว่าสมาชิกเว็บไซต์ได้เข้าใช้งานเนื้อหาในส่วนของฐานข้อมูลผู้ประกอบการ พลาสติกมากที่สุด ถึงร้อยละ 43 รองลงมาได้แก่ข้อมูลราคาเม็ดพลาสติก ร้อยละ 26 รองลงมาได้แก่ สถิติ น าเข้าส่งออกที่ร้อยละ 9.5 และรายงานสถานการณ์คิดเป็นร้อยละ 9 ตามล าดับ สัดส่วนการเข้าชมเนื้อหาของบุคคลทั่วไป ข้อมูลจากรูปที่ 4-14 แสดงให้เห็นว่า บุคคลทั่วไปมีการ เข้าใช้งานเนื้อหาในฐานข้อมูลผู้ประกอบมากที่สุดที่ร้อยละ 65 รองลงมาได้แก่กระดานสนทนา และ ข่าวสารพลาสติก ที่ร้อยละ 11 และ 9 ตามล าดับ สาเหตุที่ท าให้สถิติการเข้าใช้งานของสมาชิกและบุคคลทั่วไปแตกต่างกันส่วนหนึ่งเกิดจากการ แบ่งระดับการเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์ ที่เปิดให้สมาชิกเข้าถึงข้อมูลในหัวข้อต่างๆ ได้มากกว่าบุคคลที่ไม่ได้ เป็นสมาชิก

รูปที่ 4-13 สัดส่วนการเข้าชมเนื้อหาของสมาชิก

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-13

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

43.3

ข่าว

ลิงค์ บล็อค

26.0 ดาวน์โหลด

ข้อมูลพิกัดาษี

กระดานสนทนา

ส ส าเข้าส่งออก ิติน

รายงานส านการณ์ รายงานส

ข้อมูลผู้ประกอบการ

ข้อมูลราคา

นโยบายมาตรการทางการค้า ข้อมูลกระบวนการผลิต ข้อมูลเม็ด ข้อมูลกระบวนการผลิต 9.4 8.8

4.2 3.6 1.7 1.4 0.5 0.4 0.4 0.3

รูปที่ 4-14 สัดส่วนการเข้าชมเนื้อหาของบุคคลทั่วไป

64.8

ลิงค์

ข่าว

บล็อค

ข้อมูลราคา

ดาวน์โหลด

ข้อมูลพิกัดาษี

กระดานสนทนา

ส ส าเข้าส่งออก ิติน

รายงานส านการณ์ รายงานส

ข้อมูลผู้ประกอบการ ข้อมูลผู้ประกอบการ นโยบายมาตรการทางการค้า

11.0 ข้อมูลเม็ด ข้อมูลกระบวนการผลิต 9.7 8.9

1.4 1.3 1.0 0.7 0.5 0.3 0.2 0.2

บทที่ 4 การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-14

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ บทที่ 5 การเตือนภัย/การคาดการณ์ 5.1 ระบบเตือนภัยอุตสาหกรรม

จากการจัดท าระบบเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ในโครงการน าร่องที่ผ่านมา ด้วยการคัดเลือกตัวแปรที่ เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก พบว่ามีตัวแปรที่เป็นตัวแปรชี้น าที่ดี 4 ตัวแปร ดังตารางที่ 5-1 ตารางที่ 5-1 ตัวแปรที่มีคุณสมบัติในการชี้น าที่ดีในระบบเตือนภัยครั้งก่อนหน้า ตัวแปร สัญลักษณ์ ที่มาของข้อมูล ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมพลาสติก MPI_P ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (ตัวแปรอ้างอิง) 1. กลุ่มตัวแปรผลักดันภาวะเศรษฐกิจ . n/a 2. กลุ่มตัวแปร ในวงจรการผลิต . ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม MPI_EE ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม พลาสติกไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ . ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมสิ่ง MPI_P_Poly ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ทอ (หมวด Purepolyester) . ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม MPI_F ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม อาหาร 3. กลุ่มตัวแปรที่เกี่ยวกับการคาดการณ์ ล่วงหน้า . ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค Con ส านักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์

แต่ในการด าเนินโครงการครั้งนี้ ได้มีการหารือร่วมกันระหว่างส านักวิจัยเศรษฐกิจ กระทรวงอุตสาหกรรม ให้มีการปรับรูปแบบ การจัดท าการเตือนภัย ทั้งในการอัพเดทซอฟแวร์ ที่ทันสมัย ง่ายต่อการวิเคราะห์ และการปรับปรุงข้อมูลที่ใช้ในการทดสอบการเป็นตัวแปรชี้น า เพื่อให้การเตือนภัยบอกทิศทาง อุตสาหกรรมได้มากขึ้น จึงต้องท าการคัดเลือกตัวแปรใหม่ ดูผลกระทบของข้อมูลทั้งที่เป็นตัวแปรด้านอุป สงค์และอุปทาน ตัวแปรที่ส่งผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ตัวแปรที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั้งนี้การปรับปรุงระบบเตือนภัยเพื่อให้มีความสมบูรณ์ และเพิ่มความแม่นย ามากขึ้น และอยู่ในขั้นตอน การจัดท า และตรวจสอบความถูกต้องของวิธีการศึกษา

บทที่ 5 การเตือนภัย -1

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 5.1.2 วิธีการศึกษา 5.1.2.1 ข้อมูลที่ใช้ท าการศึกษา ตารางที่ 5-2 ข้อมูลทุติยภูมิที่ใช้ในการศึกษา ล าดับ ข้อมูลที่ใช้ หน่วย แหล่งที่มา สัญลักษณ์ ตัวแปรพ้องวัฏจักรธุรกิจ อุตสาหกรรมพลาสติก

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจ 1 พลาสติก - อุตสาหกรรม ส านักงานเศรษฐกิจ MPI_PL (ISIC 2520) อุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิต ผลิตภัณฑ์ ปลาและกุ้ง อาหารทะเล 2 - ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_Seafood (Q : 151220)

- 3 ดัชนีผลผลิตกุ้งแช่แข็ง ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_shimp

- 4 ดัชนีผลผลิตปลาแช่แข็ง ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_fish ดัชนีผลผลิตปลาหมึกแช่ - 5 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_squid แข็ง - 6 ดัชนีผลผลิตเนื้อปลาบด ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_fish1

ดัชนีผลผลิตการผลิต - 7 น้ ามันจากพืช น้ ามันจาก ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_fat สัตว์ และไขมันจากสัตว์ ดัชนีผลผลิตน้ ามันถั่ว - 8 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_Soyoil เหลืองบริสุทธิ์ - ดัชนีผลผลิต การผลิต 9 ผลิตภัณฑ์อาหารและ ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_Food เครื่องดื่ม

ดัชนีผลผลิตโพลีเอสเตอร์ - MPI_Polyester 10 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม บริสุทธิ์

บทที่ 5 การเตือนภัย -2

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ ข้อมูลที่ใช้ หน่วย แหล่งที่มา สัญลักษณ์ - 11 ดัชนีผลผลิตพลาสติกแผ่น ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_sheet

ดัชนีผลผลิตแผ่นฟิล์ม - 12 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_film พลาสติก ดัชนีผลผลิตกระสอบ - 13 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม พลาสติก MPI_Sack - 14 ดัชนีผลผลิตถุงพลาสติก ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม MPI_bag ดัชนีผลผลิตเครื่องใช้ - 15 ประจ าโต๊ะอาหาร ครัว ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และห้องน้ า MPI_tablew ดัชนีผลผลิตการผลิต - 16 เครื่องรับโทรทัศน์และ ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม วิทยุ และสินค้าที่เกี่ยวข้อง MPI_Radio ดัชนีผลผลิตการผลิต - อุปกรณ์และเครื่อง 17 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม อุปกรณ์วิทยุ โทรทัศน์ และการสื่อสาร MPI_commu ดัชนีผลผลิตการผลิต - 18 เครื่องใช้ในบ้านเรือน ซึ่ง ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม มิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น MPI_Eeho ดัชนีผลผลิตพัดลมตาม - 19 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม บ้าน MPI_fan - 20 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตตู้เย็น MPI_refig - 21 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตกระติกน้ าร้อน MPI_ - 22 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตหม้อหุงข้าว MPI_pot - 23 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตเลนส์พลาสติก MPI_len ดัชนีผลผลิตแบตเตอรี่ส า - 24 หนับรถยนต์ และ ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จักรยานยนต์ MPI_Batt - 25 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตPrinter MPI_print

บทที่ 5 การเตือนภัย -3

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ล าดับ ข้อมูลที่ใช้ หน่วย แหล่งที่มา สัญลักษณ์ - 26 ค่าดัชนีความเชื่อมั่น ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ผู้บริโภค (CCI) CCI สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศ 27 Us/bbl Dubai price ไทย crude_pr สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศ 28 Us/tons Naphtha price ไทย Nap_price ดัชนีความเชื่อมั่นทาง - 29 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ธุรกิจ Index_bus ดัชนีความเชื่อมั่น ด้าน - 30 กระทรวงพาณิชย์ ค าสั่งซื้อจากต่างประเทศ Index_order ปริมาณการจ าหน่าย 31 คัน สถาบันยานยนต์ รถยนต์นั่ง Car_sale สถาบันยานยนต์ 32 ปริมาณการจ าหน่าย คัน รถจักรยานยนต์ Motor_sal ปริมาณการจ าหน่าย สถาบันยานยนต์ 33 คัน รถยนต์พาณิชย์ในประเทศ Car_com ดัชนีการอุปโภคบริโภค - 34 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ภาคเอกชน Index_private

โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2550 จนถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 และท าการทดสอบเพื่อ หาตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในเชิงชี้น า โดยวิธีการทดสอบคุณสมบัติของการชี้น ามี 2 วิธี ได้แก่ (1) วิธี สหสัมพันธ์ (Cross Correlation) และ (2) การหาจุดวกกลับ (Turning Point) (1) วิธีสหสัมพันธ์ (Cross Correlation) โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวแปรที่จะผ่านเกณฑ์การ คัดเลือกเลือกเป็นตัวแปรชี้น าด้วยวิธีของ NBER ควรมีค่าตั้งแต่ 0.4 ซึ่งผลการค านวณ พบว่าตัว แปรที่มีคุณสมบัติผ่านการคัดเลือกเป็นตัวแปรชี้น าอุตสาหกรรมพลาสตกมีจ านวน 15 ตัวแปร ได้แก่ ชื่อตัวแปร สัญลักษณ์ 1. ดัชนีผลผลิตถุงพลาสติก MPI_BAG_T2 2. ดัชนีผลผลิตแบตเตอรี่ส าหนับรถยนต์ และ MPI_BATT_T2 จักรยานยนต์ 3. ดัชนีผลผลิตการผลิตอุปกรณ์และเครื่อง MPI_COMMU_T2 อุปกรณ์วิทยุ โทรทัศน์ และการสื่อสาร 4. ดัชนีผลผลิตพัดลมตามบ้าน MPI_FAN_T2

บทที่ 5 การเตือนภัย -4

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ ชื่อตัวแปร สัญลักษณ์ 5. ดัชนีผลผลิตการผลิตน้ ามันจากพืช น้ ามัน MPI_FAT_T2 จากสัตว์ และไขมันจากสัตว์ 6. ดัชนีผลผลิตแผ่นฟิล์มพลาสติก MPI_FILM_T2 7. ดัชนีผลผลิตโพลีเอสเตอร์บริสุทธิ์ MPI_POLYESTER_T2 8. ดัชนีผลผลิต Printer MPI_PRINT_T2 9. ดัชนีผลผลิตผลิตเครื่องรับโทรทัศน์และวิทยุ MPI_TVRA_T2 และสินค้าที่เกี่ยวข้อง 10. ดัชนีผลผลิตกระสอบพลาสติก MPI_SACK_T2 11. ดัชนีผลผลิตผลิตภัณฑ์ปลาและกุ้ง อาหาร MPI_SEAFOOD_T2 ทะเล 12. ดัชนีผลผลิตพลาสติกแผ่น MPI_SHEET_T2 13. ดัชนีผลผลิตกุ้งแช่แข็ง MPI_SHIMP_T2 14. ปริมาณการจ าหน่ายรถยนต์นั่ง (คัน) CAR_SALE_T2 15. ดัชนีผลผลิตเครื่องใช้ประจ าโต๊ะอาหาร ครัว MPI_TABLEW_T2 และห้องน้ า หมายเหตุ: ได้จากการทดสอบด้วยโปรแกรม busy เพื่อหาตัวแปรชี้น า ทั้งนี้โดยดูจากตัวแปรที่มีค่า

tmax เป็น + คือตัวแปรที่มีคุณสมบัติเป็นตัวแปรชี้น า เมื่อเทียบกับ (MPI) และตัวแปรที่มีค่า tmax เป็น

– คือตัวแปรที่มีคุณสมบัติเป็นตัวแปรตาม เมื่อเปรียบเทียบกับ (MPI) อีกทั้งค่า tmax จะบอกระยะเวลา การชี้น า (รายเดือน) ด้วย

(2) การหาจุดวกกลับ (Turning Point) โดยตัวแปรที่มีคุณสมบัติเป็นตัวแปรชี้น า จะต้องมีวัฏจักรที่มี ความสัมพันธ์กับคลื่นวัฏจักรอุตสาหกรรม กล่าวคือ ตัวแปรชี้น าต้องมีระยะเวลาการเกิด จุด วกกลับ (Turning Point) เกิดก่อนจุดวกกลับของคลื่นวัฏจักรอุตสาหกรรม โดยสามารถพิจารณา ได้ 2 วิธี คือ 1) วิธี NBER คือ การพิจารณาจากค่า Average Lag และ 2) วิธี Dynamic Factor คือการพิจารณาจากเส้นกราฟ เมื่อพิจารณาจากทั้งสองกรณีแล้วพบว่า ตัวแปรที่มีคุณสมบัติผ่าน การคัดเลือกเป็นตัวแปรชี้น าจ านวน 15 ตัวแปร ได้แก่ ชื่อตัวแปร สัญลักษณ์

1. ดัชนีผลผลิตถุงพลาสติก MPI_BAG_T2 2. ดัชนีผลผลิตการผลิตเครื่องใช้ในบ้านเรือน ซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ ในที่อื่น MPI_EEHO_T2 3. ดัชนีผลผลิตการผลิตน้ ามันจากพืช น้ ามันจากสัตว์ และไขมัน จากสัตว์ MPI_FAT_T2

บทที่ 5 การเตือนภัย -5

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ ชื่อตัวแปร สัญลักษณ์

4. ดัชนีผลผลิตเนื้อปลาบด MPI_FISH1_T2 5. ดัชนีผลผลิตปลาแช่แข็ง MPI_FISH_T2 6. ดัชนีผลผลิตผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม MPI_FOOD_T2 7. ปริมาณการจ าหน่ายรถยนต์พาณิชย์ในประเทศ (คัน) CAR_COM_T2 8. ดัชนีผลผลิตผลิตเครื่องรับโทรทัศน์และวิทยุ และสินค้าที่ เกี่ยวข้อง MPI_TVRA_T2 9. ดัชนีผลผลิตตู้เย็น MPI_REFIG_T2 10. ดัชนีผลผลิตผลิตภัณฑ์ปลาและกุ้ง อาหารทะเล MPI_SEAFOOD_T2 11. ดัชนีผลผลิตกุ้งแช่แข็ง MPI_SHIMP_T2 12. ดัชนีผลผลิตน้ ามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ MPI_SOYOIL_T2 13. ดัชนีผลผลิตปลาหมึกแช่แข็ง MPI_SQUID_T2 14. ดัชนีผลผลิตกระติกน้ าร้อน MPI_THERMOS_T2 15. Naphtha price NAPP_T2 หมายเหตุ: ได้จากการทดสอบด้วยโปรแกรม busy เพื่อทดสอบตัวแปรที่มีค่า Average Lag at All เป็น + คือตัวแปรที่มีคุณสมบัติเป็นตัวแปรตาม เมื่อเทียบกับ (MPI) และตัวแปรที่มีค่า Average Lag at All เป็น - คือตัวแปรที่มีคุณสมบัติเป็นตัวแปรชี้น า เมื่อเปรียบเทียบกับ (MPI)

5.1.2.2 ผลการศึกษา เกณฑ์การคัดเลือกตัวแปรที่คาดว่าจะเป็นดัชนีชี้น าอุตสาหกรรมจะยึดหลักทางสถิติคือ พิจารณา ระยะเวลาการเกิดจุดวกกลับ (Turning point) และพิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Cross CorrelationCoefficient) ผลการคัดเลือกตัวแปรที่คาดว่าจะเป็นดัชนีชี้น าอุตสาหกรรมพลาสติก จาก หลักเกณฑ์การคัดเลือกตัวแปร พบว่ามีตัวแปรที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกทั้งหมด 5 ตัวแปร ได้แก่ ตารางที่ 5-3 ตัวแปรที่มีคุณสมบัติในการชี้น าที่ดีในระบบเตือนภัยครั้งนี้ ตัวแปร สัญลักษณ์ ที่มาของข้อมูล ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมพลาสติก MPI_PL ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (ตัวแปรอ้างอิง) 1. กลุ่มตัวแปรผลักดันภาวะเศรษฐกิจ NA 2. กลุ่มตัวแปร ในวงจรการผลิต . ดั ช นี ผ ล ผ ลิ ต ถุ ง พ ล า ส ติ ก MPI_Bag ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

บทที่ 5 การเตือนภัย -6

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ตัวแปร สัญลักษณ์ ที่มาของข้อมูล . ดัชนีผลผลิตเครื่องรับโทรทัศน์ MPI_TVRA ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม วิทยุ . ดัชนีผลผลิตกุ้งแช่แข็ง MPI_ SHIM ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

. ดัชนีผลผลิตของใช้ในบ้านเรือน MPI_ EEOH ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

3. กลุ่มตัวแปรที่เกี่ยวกับการคาดการณ์ ล่วงหน้า . ราคาแนฟธา Napp สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย

การก าหนดเกณฑ์ในการวัดความผิดปกติของอุตสาหกรรมพลาสติก ตัวอย่างเกณฑ์การเตือนภัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรมพลาสติก โดยพิจารณาจากอัตราการขยายตัว ชื่อตัวแปร ตัวย่อ เตือนเบื้องต้น เตือนรุนแรง ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมพลาสติก MPI_PL -1≤X≤0 X<-1 ดัชนีผลผลิตถุงพลาสติก MPI_Bag -1≤X≤0 X<-1 ดัชนีผลผลิตเครื่องรับโทรทัศน์วิทยุ MPI_TVRA -1≤X≤0 X<-1 ดัชนีผลผลิตกุ้งแช่แข็ง MPI_ SHIM -1≤X≤0 X<-1 ดัชนีผลผลิตของใช้ในบ้านเรือน MPI_ EEOH -1≤X≤0 X<-1 ราคาแนฟธา Napp -1≤X≤0 X<-1

ตัวอย่างเกณฑ์การเตือนภัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรมพลาสติก โดยพิจารณาจากอัตราการขยายตัว ชื่อตัวแปร ตัวย่อ เตือนเบื้องต้น เตือนรุนแรง ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมพลาสติก MPI_PL -0.27≤X≤0 X<-0.27 ดัชนีผลผลิตถุงพลาสติก MPI_Bag -0.41≤X≤0 X<-0.41 ดัชนีผลผลิตเครื่องรับโทรทัศน์วิทยุ MPI_TVRA -0.21≤X≤0 X<-0.21 ดัชนีผลผลิตกุ้งแช่แข็ง MPI_ SHIM -0.53≤X≤0 X<-0.53 ดัชนีผลผลิตของใช้ในบ้านเรือน MPI_ EEOH -0.62≤X≤0 X<-0.62 ราคาแนฟธา Napp -0.49≤X≤0 X<-0.49

บทที่ 5 การเตือนภัย -7

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 5.1.2.3 การเตือนภัยและการทดสอบระบบการเตือนภัย การเตือนภัยว่าจะเป็นเช่นไรในอนาคตจะใช้ข้อมูลจากตัวแปรชี้น าและเกณฑ์ในการวัดความผิดปกติ ภาคอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตามข้อมูลดังกล่าวยังแยกออกเป็นส่วนๆ ท าให้ยากต่อการตัดสินใจว่าจะ เตือนภัย ดังนั้นในส่วนนี้จึงท าการสร้างเกณฑ์เพื่อน าข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ในภาพรวม โดยก าหนด ดังนี้

- ตัวแปรไม่ส่งสัญญาณจะให้ค่าเป็น 0 - ตัวแปรส่งสัญญาณเบื้องต้นให้ค่าเป็น 1 - ตัวแปรส่งสัญญาณรุนแรงให้ค่าเป็น 2 เมื่อแปลงค่าการเตือนภัยแต่ละตัวแปรแล้วจึงท าการวิเคราะห์ในภาพรวมโดยใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ 3 วิธี ดังนี้ - การเฉลี่ยโดยให้น าหนักเท่ากัน คือ การใช้ตัวแปรตัวมีน้ าหนักเท่ากันแล้วน ามาหาค่าเฉลี่ย - การเฉลี่ยโดยให้น้ าหนักต่างกัน คือ การให้ตัวแปรแต่ละตัวมีน้ าหนักความส าคัญตามค่า cross correlation แล้วน ามาหาค่าเฉลี่ย - การนับ คือ การส่งสัญญาณ ตามสัญญาณของตัวแปรส่วนใหญ่ การทดสอบว่าเกณฑ์การวิเคราะห์หาเกณฑ์ที่เหมาะสมในการเตือนภัยจากเกณฑ์ทั้ง 3 รวมถึงการ ประเมินประสิทธิภาพของการเตือนภัยจากพิจารณาจาก Adjusted Noise to Signal Ratio (N-S Ratio) และ ร้อยละของความถูกต้องของการเตือนภัย (Percentage Correct) ดังนี้ - Adjusted Noise to Signal Ratio (N-S Ratio) โดยพิจารณาจากเกณฑ์ที่ท าให้ Adjusted Noise to Signal Ratio (N-S Ratio) ของระบบต่ าสุด โดย N-S Ratio หมายถึงความสามารถในการส่ง สัญญาณที่ถูกต้องซึ่งวัดได้จากสัดส่วนการให้สัญญาณผิดต่อการให้สัญญาณถูก ค่า N-S Ratio ที่ต่ า กว่าเกณฑ์นั้นมีความสามารถหาการเตือนภัยได้ดี

บทที่ 5 การเตือนภัย -8

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ ตารางที่ 5-3 การก าหนดค่าตัวแทนในการส่งสัญญาณและไม่ส่งสัญญาณ เมื่อเกิดความผิดปกติและไม่ เกิดความผิดปกติ เกิดความผิดปกติ ไม่เกิดความผิดปกติ ส่งสัญญาณ A B ไม่ส่งสัญญาณ C D

퐵 ( ) 퐵+퐷 เมื่อ N – S Ratio = 퐴 ( ) 퐴+푐 Type I Error = C/(A+C)

Type II Error = B/(B+D)

โดยที่ A คือ จ านวนครั้งที่ระบบส่งสัญญาณเตือนภัย และเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมรมอยู่ในภาวะผิดปกติ B คือ จ านวนครั้งที่ระบบส่งสัญญาณเตือนภัย แต่เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมรมอยู่ในภาวะปกติ C คือ จ านวนครั้งที่ระบบไม่ส่งสัญญาณเตือนภัย แต่เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมรมอยู่ในภาวะผิดปกติ D คือ จ านวนครั้งที่ระบบไม่ส่งสัญญาณเตือนภัย และเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมรมอยู่ในภาวะปกติ ข้อสังเกตที่ควรให้ความส าคัญอีกประการคือการที่ระบบไม่ส่งสัญญาณเตือนภัย แต่เศรษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรมอยู่ในภาวะผิดปกติ (C) ซึ่งเป็นอันตรายต่อระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมมากกว่า ความผิดพลาดแบบอื่น  ร้อยละของความถูกต้องของการเตือนภัย (Percentage Correct) การก าหนดค่า Threshold โดยพิจารณาจาก Percentage Correct ที่มีค่าสูงสุด เนื่องจาก Percentage Correct เป็นการ เปรียบเทียบความถูกต้องในการเตือนภัยกับค่าจริง ซึ่งระบบที่มีการเตือนภัยใกล้เคียงกับค่าจริงสูงย่อม เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ จากการพิจารณาค่า N-S Ratio และ Percentage Correct พบว่า มี N-S Ratio 0.66 และ Percentage Correct 62%

บทที่ 5 การเตือนภัย -9

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 5.2 รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรม จัดท ารายงานเตือนภัยอุตสาหกรรม ฉบับเดือนธันวาคม 2556 - สิงหาคม 2557 และ การน าเสนอข้อมูล จะเป็นของเดือนก่อนหน้าเนื่องจากต้องรอข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ มีการเผยแพร่ข้อมูล จึงจะสามารถ น ามาใช้ประกอบการท ารายงาน และมีการเตือนภัยไปยัง 2 เดือนข้างหน้า - รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนธันวาคม 2556

- รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนมกราคม 2557

บทที่ 5 การเตือนภัย -10

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ - รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2557

- รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนมีนาคม 2557

บทที่ 5 การเตือนภัย -11

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ - รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนเมษายน 2557

- รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนพฤษภาคม 2557

บทที่ 5 การเตือนภัย -12

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ - รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนมิถุนายน 2557

- รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนกรกฎาคม 2557

บทที่ 5 การเตือนภัย -13

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ - รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนสิงหาคม 2557

- รายงานเตือนภัยอุตสาหกรรมพลาสติก ฉบับเดือนกันยายน 2557

บทที่ 5 การเตือนภัย -14

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 6 การประเมินความพึงพอใจของการใช้บริการ

6.1 ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สรุปผลการใช้บริการและความสามารถในการตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้งาน โดยการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเว็บไซต์ได้มีการจัดท าแผนการด าเนินงานดังนี้ ตารางที่ 6-1 แผนการด าเนินงานการประเมินความถึงพอใจผู้ใช้บริการ กิจกรรม ระยะเวลา (เดือน) ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. . ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสรุปผลการใช้ บริการและความสามารถในการตอบสนองความ ต้องการของผู้ใช้งาน - ออกแบบร่างแบบสอบถาม - ส่งแบบสอบถาม - ประเมินผลการใช้บริการ - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ

6.1.1 แบบสอบถามประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ท าการส่งแบบสอบถามให้กับสมาชิกเว็บไซต์ 2 ครั้ง ใช้รูปแบบฟอร์มของ google document ในการออกแบบสอบถาม และส่งลิ้งค์ไปยังสมาชิก ทั้งนี้เลือกใช้แบบสอบถามออนไลน์ในการ ประเมินผลความพึงพอใจ เนื่องจากสะดวกทั้งการออกแบบ จัดส่ง และตอบแบบสอบถาม โดย ครั้งที่ 1 จะเน้นถึงการใข้งานในแต่ละเมนู ว่าสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้มาก น้อยเพียงใด ความถี่ของเมนูที่เข้ามาใช้บ่อยๆ เป็นค าถามที่เน้นในแต่ละเมนู ประเมินความพอใจ ในภาพรวม และแสดงความคิดเห็นต่อการใช้งาน ส่วนการประเมินผลความพึงพอใจ ครั้งที่ 2 จะเป็นค าถามในภาพกว้าง ในเรื่องรูปแบบเว็บไซต์ ความน่าสนใจในแต่ละเมนู ความสะดวกต่อการใช้งาน ข้อมูลตรงกับความต้องการหรือไม่ และ ความรู้ที่ได้จากบทความ/บทวิเคราะห์ เว็บไซต์ที่ใช้ค้นหาข้อมูลพลาสติก และการใช้พื้นที่โฆษณา ประชาสัมพันธ์บริษัท และข้อเสนอแนะเพื่อน าไปปรับปรุงเว็บไซต์

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -1

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 6-1 แบบสอบถามประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเว็บไซต์ ครั้งที่ 1

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -2

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 6-2 แบบสอบถามประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเว็บไซต์ ครั้งที่ 2

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -3

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

6.1.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 6.1.2.1 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเว็บไซต์ ครั้งที่ 1 ส่งแบบสอบถามกับให้สมาชิก มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 190 ราย จากจ านวนที่ส่งให้กับ สมาชิก 9,000 ราย คิดเป็น ร้อยละ 2 ของจ านวนสมาชิกทั้งหมด พบว่ามีประเภทผู้สอบถามดังนี้

ประเภทผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน คิดเป็นสัดส่วน ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก 77 41% ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติก 37 19% หน่วยงานรายการ 19 10% การเงินและการธนาคาร 12 6% นักเรียน/นักศึกษา 7 4% อื่นๆ 38 20% รวม 190 100% ผู้ตอบแบบสอบถาม ประเภทอื่นๆ เป็นผู้จ าหน่าย ทั้ง ผลิตภัณฑ์พลาสติก เครื่องจักร เม็ด พลาสติก รวมถึงผู้ประกอบการรีไซเคิล  ประเมินความพึงพอใจของการใช้งานเว็บไซต์ในภาพรวมทั้งหมด ประเภทผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน คิดเป็นสัดส่วน 5 คะแนน ดีมาก ทั้งข้อมูลและวิธีการใช้งาน 38 21% 4 คะแนน ดี ทั้งข้อมูลและวิธีการใช้งาน 98 53% 3 คะแนน ข้อมูลดี แต่วิธีการใช้งานต้องปรับปรุง 43 23% 2 คะแนน ข้อมูลต้องปรับปรุง วิธีการใช้ดี 6 3%

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -4

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์

ประเภทผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน คิดเป็นสัดส่วน 1 คะแนน ต้องปรับปรุงทุกอย่าง 0 0% รวม 185 100%

 ข้อเสนอแนะจากผู้ตอบแบบสอบถาม - อยากให้ข้อมูลอัพเดท ราคาให้ทันสมัย และ real time และอยากให้เป็นราคาปัจจุบัน - อยากให้ปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูลให้สะดวก ง่ายต่อการใช้ข้อมูลมากขึ้น - ต้องการให้น าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับพลาสติกรีไซเคิล สถานการณ์ สภาวะตลาด และ ผู้ประกอบการพลาสติกรีไซเคิลของไทย - ค าแนะน า ติชม ที่อยากให้เว็บไซต์ เหมือนกับของต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ และอินเดีย

 การด าเนินการปรับปรุงเว็บไซต์ เพื่อตอบสนองความต้องการผู้ใช้งาน - ได้ปรับปรุงหน้าน าเสนอราคา โดยได้ใส่ หมายเหตุ การน าเสนอราคา ว่าเป็นราคาอ้างอิง และ เป็นราคาย้อนหลัง 1 เดือน - ส่วนค าติชม ในเรื่องอยากให้เว็บไซต์เหมือนกับของต่างประเทศ คงต้องค่อยๆปรับในส่วนที่ สามารถท าได้ เช่น การน าเสนอราคา - การปรับปรุงเว็บไซต์ ได้มีการปรับหน้าสถิติน าเข้าส่งออกให้สามารถใช้ได้สะดวกมากขึ้น หาก ต้องการค้นหาข้อมูลตามไตรมาส

6.1.2.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเว็บไซต์ ครั้งที่ 2 ได้ส่งแบบสอบถามให้กับสมาชิกเว็บไซต์ ผ่านทาง google document เพื่อตอบทาง ออนไลน์ มีผู้ตอบแบบสอบถามกลับมาทั้งหมด 116 ราย จากจ านวนสมาชิกประมาณ 11,000 ราย คิดเป็นร้อยละ 1 ของจ านวนสมาชิกทั้งหมด โดยผลของการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเว็บไซต์ ครั้งที่ 2 เป็นดังนี้

1. ความถี่ในการใช้งาน http://plastic.oie.go.th

ผู้ใช้งานเข้ามาใช้บริการเว็บไซต์ 2-3 ครั้งต่อเดือนเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งต้องท าการพัฒนาเว็บไซต์ ในด้านต่างๆ ให้เข้ามาใช้งานบ่อยมากขึ้น

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -5

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 2. เมนูใดที่มีความถี่ในการเข้าใช้ข้อมูลมากที่สุด

webboard, blog

0 20 40 60 80 100 %

ข่าวสารพลาสติกรายวัน และราคาเม็ดพลาสติก เป็นเมนูที่ผู้ใช้งานเข้ามาใช้บริการบ่อยมาก ที่สุด รองลงมาเป็นรายงานสภาวะปิโตรเคมีรายสัปดาห์ ซึ่งเป็นการรายงานสถานการณ์ของ ราคาในสัปดาห์ที่ผ่านมา และในส่วนรายชื่อผู้ประกอบการพลาสติกไทย มีความถี่ในการเข้า ใช้เป็นอันดับสี่ ทั้งนี้ทางทีมงานได้เน้นถึงการส ารวจผู้ประกอบการพลาสติกไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากจะท าให้ผู้ใช้งานเว็บไซต์สามารถน าไปใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดหาสินค้า ซื้อขาย วัตถุดิบ หรือสามารถน าไปวางแผนในเรื่องนโยบายทางภาครัฐ หรือทางการตลาด ทั้งนี้การ ส ารวจท าปีละ 1 ครั้ง ดังนั้นการเข้าใช้ข้อมูลอาจจะไม่บ่อยเท่ากับข้อมูลที่มีความถี่ในการ อัพเดทข้อมูลบ่อยๆ เช่น ข่าวสาร หรือ ราคาเม็ดพลาสติก

3. ความพึงพอใจในการใช้ข้อมูลในเว็บไซต์ http://plastic.oie.go.th 3.1 รูปแบบเว็บไซต์ น่าสนใจ น่าเข้ามาใช้งาน

50%

40%

30%

20%

10%

0%

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -6

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 3.2 หัวข้อต่างๆ ในเว็บไซต์ น่าสนใจ มากน้อยเพียงใด

50%

40%

30%

20%

10%

0%

3.3 หัวข้อต่างๆ ในเว็บไซต์ น่าสนใจ มากน้อยเพียงใด

50%

40%

30%

20%

10%

0%

3.4 ข้อมูลตรงกับความต้องการใช้งาน

50%

40%

30%

20%

10%

0%

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -7

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 3.5 ความรู้ที่ได้จากบทความ/บทวิเคราะห์

50%

40%

30%

20%

10%

0%

ผลการประเมินความพึงพอใจของการใช้งานเว็บไซต์ ทั้งในเรื่องรูปแบบ ความน่าสนใจ ความสะดวกต่อการใช้งาน ข้อมูลตรงกับความต้องการ และความรู้ที่ได้จากบทความ/บท วิเคราะห์ พบว่า สามารถตอบสนองความต้องของผู้ใช้งานในระดับมาก ทั้งนี้ต้องพัฒนา ในเรื่องดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น เพื่อจะให้กลุ่มคนที่ตอบในระดับ น้อยที่สุด น้อย และพอใช้ พึงพอใจในระดับที่มาก และมากที่สุด เพิ่มขึ้น

4. ปัจจุบันท่านใช้เว็บไซต์ใด ในการค้นหาข้อมูลพลาสติก

50%

40%

30%

20%

10%

0%

เว็บไซต์ที่ผู้ใช้งานเข้าใช้อันดับแรกเป็น www.plasticsnews.com เป็นเว็บไซต์ ต่างประเทศที่รวบรวมข่าวสารและราคา ที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย ส่วน www.tpia.org เป็น เว็บไซต์ของสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกไทย เป็นเว็บไซต์ของไทยที่รวบรวมข่าวสารและ ราคา ที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย ในการเข้าใช้บริการเช่นกัน นอกจากนี้ยังมีเว็บไซต์อื่น เช่น www.theplasticexchange.com, www.compoundingworld.com ที่มีการน าเสนอ ข้อมูลพลาสติกเช่นกัน ดังนั้นทางทีมที่ปรึกษาจะน าข้อดูของแต่ละเว็บไซต์ มาปรับปรุง เว็บไซต์ http://plastic.oie.go.th ให้ตอบสนองความต้องการผู้ใช้งานมากขึ้น

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -8

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ 5. ปัจจุบันท่านใช้เว็บไซต์ใด ในการค้นหาข้อมูลพลาสติก

50%

40%

30%

20%

10%

0%

ผู้ใช้งานส่วนใหญ่ไม่ได้ใช้พื้นที่ประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้ผู้ตอบแบบสอบถามอาจจะเป็น หน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่ผู้ประกอบการพลาสติก และในปัจจุบันมีช่องทางการประชาสัมพันธ์ บริษัทที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายได้หลายทาง เช่น facebook จึงท าให้ความน่าใจในการ ประชาสัมพันธ์ผ่าน http://plastic.oie.go.th จึงมีไม่มากนัก ทางที่ปรึกษาจะต้องน าไป ปรับรูปแบบการประชาสัมพันธ์ หรือการประชาสัมพันธ์ที่สามารถเกิดคู่ค้ากันได้จริง มา ดึงดูดให้มีการใช้พื้นที่มากขึ้น

6.2 แลก Links กับ IU อื่นๆ และผู้ประกอบการ เว็บไซต์ http://plastic.oie.go.th ได้มีการจัดท าหน้า Link ของหน่วยงานและบริษัทที่เกี่ยวข้อง กับอุตสาหกรรมพลาสติกเพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาและเป็นสร้างเครือขายพันธมิตรเว็บไซต์ ซึ่งในช่วง ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนตุลาตมที่ผ่านมาเว็บไซต์ Plastic Intelligence Unit ได้ท าการเพิ่ม Link ต่างๆ ดังนี้  กลุ่มหน่วยงาน เครือข่ายสถาบัน ภายใต้ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม - IU กลาง ของส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม Industrial Intelligence Unit - IU ของสถาบันไฟฟ้า - IU ของสถาบันเหล็กและเหล็กกล้า - IU ของสถาบันยานยนต์ - IU ของสถาบันอาหาร  บริษัทที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก - บริษัท ตากสินพลาสติก จ ากัด - บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จ ากัด - ห้างหุ้นส่วนจ ากัดไทยหุ้มลวด - บริษัท ซินโก เทคโนโลยี จ ากัด - บริษัท เบสท์เวิลด์ อินเตอร์เทรด

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -9

โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปที่ 6-1 หน้าแสดงผลของการแลก Link

บทที่ 6 ประเมินความพึงพอใจ -10