Franklin, Benjamin (1706–1790) : นายเบนจามิน แฟรงกลิน (พ.ศ. ๒๒๔๙–๒๓๓๓) เบนจามิน แฟรงกลิน เปนผูจัดพิมพ นักเขียน นักปรัชญา นักประดิษฐ นักวิทยาศาสตร รัฐบุรุษและนักการทูตผูมีบทบาทสําคัญในการปฏิวัติของชาวอเมริกัน ( ค.ศ. ๑๗๗๕–๑๗๘๓)* และในการรางคําประกาศอิสรภาพ (Declaration of Independence)* รวมทั้ง รัฐธรรมนูญแหงสหรัฐอเมริกา (Constitution of the United States)* บทบาทดังกลาวตลอดจนความ รอบรูของแฟลงกลินในศาสตรและศิลปหลายแขนง ทําใหเขาไดรับการยกยองใหเปนรัฐบุรุษและ ปราชญผูยิ่งใหญคนหนึ่งของโลก

เบนจามิน แฟรงกลิน

แฟรงกลินเกิดเมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ค.ศ. ๑๗๐๖ ที่เมืองบอสตัน มลรัฐแมสซาชูเซตส (Massachusetts) เปนบุตรชายคนที่ ๑๐ และบุตรคนที่ ๑๕ ในจํานวน ๑๗ คนของชางทําสบูและเทียน ไขชื่อโจไซอาห แฟรงกลิน () ซึ่งอพยพมาจากอังกฤษ มารดาของเขาชื่ออาไบอาห ฟอลเจอร () เปนภรรยาคนที่ ๒ ของโจไซอาห แฟรงกลินเรียนหนังสือในโรงเรียนเพียง ๒ ปขณะอายุ ๘–๑๐ ป จากนั้นก็ออกมาชวยงานทางบาน แตเขาไมชอบงานที่บิดาทําอยูจึงไปฝกงาน กับพี่ชายชื่อเจมสซึ่งเปนชางพิมพ โดยในเวลานั้นแฟรงกลินมีอายุ ๑๒ หรือ ๑๓ ป แฟรงกลินใชเวลาวางขณะเรียนรูงานจากพี่ชาย เรียนหนังสือดวยตนเองดวยการอาน หนังสือหลากหลายประเภทที่เขาหาไดนอกเหนือจากหนังสือศาสนาที่บิดาของเขาสะสมไว อาทิ นว นิยายเรื่อง Pilgrim’s Progress ของนักเทศนชาวอังกฤษชื่อจอหน บันยัน (John Bunyan) Parallel Lives ผลงานของพลูทารก (Plutarch) นักเขียนความเรียงและอัตชีวประวัติชาวกรีก Essay on Projects ของแดเนียล เดโฟ (Daniel Defoe) นักหนังสือพิมพและนักเขียนนวนิยายชาวอังกฤษ และ หนังสือเรื่อง Essays to Do Good ของคอตตอน แมเทอร (Cotton Mather)* นักบวชและนักเขียน ๒

ชาวอเมริกันผูมีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในสมัยพิวริตัน หลังจากอานหนังสือเรื่อง Spectator ที่นักเขียน อังกฤษ ๒ คนไดแก เซอรริชารด สตีล (Sir Richard Steele) กับโจเซฟ แอดดิสัน (Joseph Addison) รวมกันเขียนแลว แฟรงกลินก็ไดฝกเขียนหนังสือดวยตนเองโดยยึด Spectator เปนตนแบบ และตั้ง ปณิธานวาจะตองฝกฝนตนเองจนเปนเจาแหงลีลาการเขียนรอยแกวใหจงได ใน ค.ศ. ๑๗๑๒ ขณะแฟรงกลินอายุ ๑๕ ป เจมสกอตั้งหนังสือพิมพ New England Courant ซึ่งเปนหนังสือพิมพฉบับแรกของบอสตัน แฟรงกลินซึ่งกําลังฝกฝนเรื่องการเขียน ใชเวลา ในตอนกลางคืนเขียนจดหมายโดยใชชื่อแมมายที่ไมมีตัวตนชื่อไซเลนซ ดูกูด () เปน นามปากกา แลวแอบเอาไปสอดไวใตประตูโรงพิมพ จดหมายเหลานี้เต็มไปดวยแงคิดสอนใจและ วิพากษวิจารณสังคมรอบตัว ไดรับความนิยมอยางมากจนคนอานอยากรูจักตัวจริงของผูเขียน หลังจาก เขียนจดหมายไปได ๑๖ ฉบับ แฟรงกลินสารภาพกับเจมสวาเปนผูเขียนจดหมายเหลานี้ ทําใหเจมสไม พอใจและตองทะเลาะกัน แตในเวลาตอมาบทความหลายเรื่องที่ลงในหนังสือพิมพของเจมส สราง ความขุนเคืองใหกับสภาอาณานิคม ใน ค.ศ. ๑๗๒๒ เจมสจึงถูกจับขังคุกนาน ๑ เดือน และไมไดรับ อนุญาตใหพิมพหนังสืออีกตอไป เขาจึงตองใชชื่อเบนจามิน แฟรงกลินเปนผูจัดพิมพหนังสือพิมพ ฉบับดังกลาวเปนการชั่วคราว หลังจากนั้นแฟรงกลินกับเจมสก็ยังมีเรื่องระหองระแหงกันเรื่อยมา ใน ค.ศ. ๑๗๒๓ แฟรงกลินจึงหนีไปหางานทําที่นิวยอรก แตไดรับคําแนะนําจากเจาของโรงพิมพที่นั่นใหไปทํางานกับ โรงพิมพแหงหนึ่งที่ฟลาเดลเฟย () แทน แฟรงกลินทํางานเกงและมีมนุษยสัมพันธดี ทํา ใหเซอรวิลเลียม คีท (Sir William Keith) ขาหลวงที่อังกฤษสงมาปกครองเพนซิลเวเนียและเดลาแวร (Delaware) ประทับใจและสัญญาวาจะตั้งโรงพิมพใหแฟรงกลิน ถาเขาเดินทางไปซื้อเครื่องมือ เครื่องใชในการพิมพที่ลอนดอนกลับมา แฟรงกลินเดินทางไปถึงลอนดอนในเดือนธันวาคม ค.ศ. ๑๗๒๔ ขณะอายุ ๑๘ ป แตคีทไมรักษาสัญญา แฟรงกลินจึงตองหางานทําและไดทํางานกับโรงพิมพ พาลเมอส (Palmer’s) และโรงพิมพวัตส (Watt’s) จากนั้นก็ไดเดินทางกลับอเมริกาใน ค.ศ. ๑๗๒๖ และไดงานทําในโรงพิมพแหงหนึ่ง ตอมา เขายืมเงินคนอื่นมาตั้งโรงพิมพของตนเอง กิจการโรงพิมพ ของแฟรงกลินเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว จนเมื่อประมาณ ค.ศ. ๑๗๒๙ อาณานิคมเพนซิลเวเนียและ อีกหลายอาณานิคมวาจางใหเขาพิมพธนบัตรให และเมื่อถึงทศวรรษ ๑๗๓๐ – ทศวรรษ ๑๗๔๐ กิจการโรงพิมพของแฟรงกลินรุงเรืองมาก จนเขาตองขยายกิจการดวยการกอตั้งโรงพิมพสาขาในรูป ของหางหุนสวนในหลายเมือง ใน ค.ศ. ๑๗๓๐ แฟรงกลินแตงงานกับเดบอราห รีด (; Deborah Reid) หญิงสาวชาวเมืองฟลาเดลเฟย ที่เขารูจักชอบพอตั้งแตกอนเดินทางไปทํางานที่อังกฤษ ทั้งสองมี ๓

บุตรชายชื่อวิลเลียม แฟรงกลิน () และฟรานซิส ฟอลเจอร แฟรงกลิน () รวมทั้งบุตรสาวชื่อเซราห แฟรงกลิน เบช (Sarah Franklin Bache) ฟรานซิสเสียชีวิต ตั้งแตอายุ ๔ ป ขณะที่วิลเลียมซึ่งแฟรงกลินพาไปเรียนหนังสือที่อังกฤษตั้งแตเด็ก ไดรับแตงตั้งจาก กษัตริยอังกฤษใหเปนผูวาราชการอาณานิคมนิวเจอรซีย (New Jersey) ในเวลาตอมา ดังนั้น เมื่อเกิด สงครามการปฏิวัติของชาวอเมริกัน แฟรงกลินกับวิลเลียมจึงกลายเปนปฏิปกษกัน เพราะวิลเลียมยังคง จงรักภักดีตออังกฤษ ดวยเหตุนี้ในพินัยกรรมฉบับสุดทายของแฟรงกลินจึงไมไดยกอะไรใหบุตรชาย คนโตเลย โดยเขาใหเหตุผลวาหากอังกฤษเปนฝายชนะสงคราม แฟรงกลินก็คงไมเหลืออะไรที่จะใหวิ ลเลียมอยูดี แฟรงกลินมีสวนรวมและสนับสนุนกิจกรรมทางสังคมและการเมืองหลายอยาง นับตั้งแตเดินทางกลับถึงอเมริกา โดยใน ค.ศ. ๑๗๒๗ เขากับเพื่อนกลุมหนึ่งไดจัดตั้งกลุมเสวนาที่รูจัก กันในชื่อจุนโต () ซึ่งตอมาพัฒนาไปเปนสมาคมปรัชญาอเมริกัน (American Philosophical Society) อันเปนสมาคมของผูทรงความรูแหงแรกในอเมริกา กอตั้งหองสมุดสาธารณะแบบบอกรับ สมาชิกแหงแรกในทวีปอเมริกาชื่อวาบริษัทหองสมุด (Library Company ค.ศ. ๑๗๓๑) ใน ค.ศ. ๑๗๓๖ แฟรงกลินไดเปนเลขาธิการของสภานิติบัญญัติแหงอาณานิคมเพนซิลเวเนีย ( General Assembly) ปตอมาเขาไดรับแตงตั้งใหเปนรองผูอํานวยการการไปรษณียของฟลาเดลเฟยและ ไดปรับปรุงระบบการขนสงไปรษณียภัณฑใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในปเดียวกันนี้ เขายังกอตั้งหนวย ดับเพลิงแหงแรกของฟลาเดลเฟยชื่อ ปรับปรุงทางเทาและติดไฟตามถนน นอกจากนี้ เขายังมีบทบาทสําคัญในเรื่องการศึกษาของอาณานิคมเพนซิลเวเนีย โดยใน ค.ศ. ๑๗๔๙ เขาเขียนบทความเรื่อง Proposals Relating to the Education of Youth in Pensylvania ผลักดันใหมี การกอตั้งวิทยาลัยฟลาเดลเฟย (Philadelphia Academy ค.ศ. ๑๗๕๑) ซึ่งใน ค.ศ. ๑๗๕๕ ไดรับพระ บรมราชานุญาตใหยกฐานะขึ้นเปนมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย (University of Pennsylvania) อนึ่ง แฟรงกลินยังเปนผูริเริ่มกอตั้งโรงพยาบาลเพนซิลเวเนีย ( ค.ศ. ๑๗๕๑) บริษัท ประกันอัคคีภัยชื่อ Philadelphia Contribution for Insurance Against Loss by Fire (ค.ศ. ๑๗๕๒) และ กองกําลังตํารวจประจําเมืองฟลาเดลเฟย แฟรงกลินไดเปนสมาชิกสภานิติบัญญัติของอาณานิคมระหวาง ค.ศ. ๑๗๓๖–๑๗๕๑ ใน ค.ศ. ๑๗๔๘ เขาขายกิจการโรงพิมพไปทําใหมีเวลาที่จะทํางานใหกับบานเมืองและสิ่งที่เขารักมาก ขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการทดลองทางวิทยาศาสตรและการประดิษฐ ตอมาระหวาง ค.ศ. ๑๗๕๐– ๑๗๖๔ เขาไดรับเลือกใหเปนสมาชิกสภาเพนซิลเวเนีย (Pennsylvania Assembly) และใน ค.ศ. ๑๗๕๓ ไดรับแตงตั้งเปนรองผูอํานวยการการไปรษณียของอาณานิคมทั้งหมด จากนั้นใน ค.ศ. ๔

๑๗๕๓ และ ๑๗๕๔ ก็ไดเปนตัวแทนของอาณานิคมเพนซิลเวเนียในการประชุมใหญออลบานี (Albanay Congress)* ซึ่งรัฐบาลอังกฤษจัดขึ้นที่เมืองออลบานีในอาณานิคมนิวยอรก เพื่อกอตั้ง สหภาพของอาณานิคมและหาวิธีรับมือกับฝรั่งเศสและอินเดียนแดงที่กําลังเปนภัยคุกคามของชาว อาณานิคม ในการประชุมครั้งน้ีแฟรงกลินเสนอแผนออลบานีเพื่อตั้งสหภาพ ( of Union) แผนการดังกลาวเสนอใหมีการจัดสรรอํานาจระหวางรัฐบาลกลางของสหภาพกับรัฐบาลกลางของ อาณานิคม โดยอาณานิคมแตละแหงมีผูแทนของตนในสภาของสหภาพเปนสัดสวนสัมพันธกับเงินที่ อาณานิคมใหกับรัฐบาลกลางของสหภาพ แมวาแผนการออลบานีจะไมไดรับการยอมรับจากรัฐบาล อังกฤษและชาวอาณานิคมในการประชุมครั้งนี้ แตในเวลาตอมากลับกระตุนใหชาวอาณานิคมเกิด ความคิดที่จะรวมตัวกันเปนสหภาพ ระหวางสงครามฝรั่งเศสและอินเดียนแดง (French and Indian War ค.ศ. ๑๗๕๖– ๑๗๖๓)* แฟรงกลินเปนผูจัดหามา รถมา รวมทั้งเสบียงอาหารใหกับฝายอังกฤษ โดยอาศัยความ เชื่อถือของชาวนาในเพนซิลเวเนียที่มีตอเขา แตกลับถูกเจาของที่ดินที่เปนพวกเควเกอร (Quakers)* ประทวงดวยการไมยอมจายภาษีที่ดิน เนื่องจากคนเหลานี้ตอตานการทําสงคราม ใน ค.ศ. ๑๗๕๗ สภา เพนซิลเวเนียจึงสงแฟรงกลินไปอังกฤษ เพื่อถวายฎีกาเรื่องอํานาจในการจัดเก็บภาษีที่ดินตอพระเจา จอรจที่ ๓ (George III) หลังเสร็จสิ้นภารกิจที่ไดรับมอบหมาย แฟรงกลินอยูที่อังกฤษตอไปจนถึง ค.ศ. ๑๗๖๒ ในฐานะหัวหนาคณะผูแทนของอาณานิคมตาง ๆ ของอังกฤษในทวีปอเมริกาเหนือ ในชวง เวลานี้เขาไดผูกมิตรกับบุคคลสําคัญของอังกฤษหลายคนรวมทั้งเดวิด ฮูม (David Hume) นักปรัชญา และนักประวัติศาสตรผูมีชื่อเสียง และแอดัม สมิท (Adam Smith) นักปรัชญาและนักเศรษฐศาสตรคน สําคัญ ใน ค.ศ. ๑๗๖๔ เขาถูกสงไปลอนดอนอีกครั้งหนึ่งในฐานะหัวหนาคณะผูแทนของชาว อาณานิคม ใน ค.ศ. ๑๗๖๖ ขณะอยูที่ลอนดอน แฟรงกลินถูกสภาสามัญ (House of Commons) ของ อังกฤษซักถามเรื่องผลกระทบของพระราชบัญญัติอากรแสตมป (Stamp Act)* ที่มีตออาณานิคมตาง ๆ คําใหการของแฟรงกลินมีอิทธิพลอยางมากตออังกฤษในการตัดสินใจยกเลิกพระราชบัญญัติฉบับนี้ อยางไรก็ตาม หลังจากนี้ไมนานอังกฤษไดออกพระราชบัญญัติภาษีที่จะเรียกเก็บจากอาณานิคมตาง ๆ เพิ่มขึ้นอีกหลายฉบับ เปนเหตุใหแฟรงกลินเกิดความรูสึกแบงแยกจากเดิมที่เคยคิดวาตนมีหนาที่ตอง แสดงความจงรักภักดีตอพระเจาจอรจที่ ๓ ในฐานะที่เปนคนอังกฤษคนหนึ่ง ความรูสึกดังกลาวทําให เขาไมอาจโอนออนผอนตามอังกฤษไดอีกตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่งใน ค.ศ. ๑๗๗๔ เมื่อเขาถูก รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศของอังกฤษเรียกตัวไปประณามตอหนาสภาองคมนตรีในกรณี ฮัตชินสัน (Hutchinson Affair) ที่พระตําหนักไวตฮอลล จากการที่กอนหนานี้เขาแอบสงจดหมายของ ๕

ทอมัส ฮัตชินสัน (Thomas Hutchinson)* ผูวาราชการอาณานิคมแมสซาชูเซตสที่เรียกรองใหอังกฤษ ริดรอนเสรีภาพของชาวอาณานิคมในอเมริกาไปใหพรรคพวกที่อเมริกา แฟรงกลินเดินทางกลับฟลาเดลเฟยในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๗๗๕ เพราะประเมิน สถานการณแลววาจะตองเกิดสงครามระหวางชาวอาณานิคมกับอังกฤษอยางแนนอน เมื่อเขากลับ มาถึงฟลาเดลเฟยก็พบวาสงครามการปฏิวัติไดเริ่มขึ้นแลวในยุทธการที่เลกซิงตัน (Lexington) และ คองคอรด (Concord) แฟรงกลินไดรับเลือกใหเปนตัวแทนของอาณานิคมฟลาเดลเฟยในสภาแหง ภาคพื้นทวีปครั้งที่ ๒ (Second Continental Congress) ในวาระนี้สภาแหงภาคพื้นทวีปไดแตงตั้ง คณะกรรมการยกรางคําประกาศอิสรภาพ ประกอบดวย ทอมัส เจฟเฟอรสัน (Thomas Jefferson)* ซึ่งทําหนาที่เปนประธาน จอหน แอดัมส ()* รอเบิรต อาร. ลิฟวิงสตัน (Robert R. Livingston) * โรเจอร เชอรแมน (Roger Sherman)* และแฟรงกลิน ตอมาใน ค.ศ. ๑๗๗๖ แฟรงก ลิน อารเทอร ลี (Arthur Lee)* และไซลาส ดีน (Silas Deane)* ไดรับเลือกใหเดินทางไปฝรั่งเศสเพื่อ ขอความชวยเหลือทางดานการทหารและการเงินเพื่อใชในการทําสงครามการปฏิวัติของชาวอเมริกัน ชื่อเสียงของแฟรงกลินทางดานวิทยาศาสตร (ซึ่งจะกลาวถึงตอไป) รวมทั้งบุคลิกที่ นุมนวล ปณิธานอันมั่นคง และความฉลาดปราดเปรื่องของเขา ทําใหเขาไดรับการตอนรับอยางดียิ่งใน แวดวงการเมือง สังคม และวรรณคดีของฝรั่งเศส ในกลุมผูที่ชื่นชมในตัวแฟรงกลินประกอบไปดวยผู มีชื่อเสียงหลายวงการอาทิ ลาฟาแยต (Lafayette) มีราโบ (Mirabeau) โรเบสปแยร (Robespierre) ซึ่ง ในเวลาตอมามีบทบาทสําคัญในการปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolution ค.ศ. ๑๗๘๙) และวอลแตร (Voltaire) นักอักษรศาสตรผูยิ่งใหญที่สุดของฝรั่งเศสในคริสตศตวรรษที่ ๑๘

เบนจามิน แฟรงกลิน ไดรับการตอนรับที่พระราชวังแวรซาย

ความนิยมในตัวแฟรงกลินของชาวฝรั่งเศสทําใหพระเจาหลุยสที่ ๑๖ (Louis XVI) ทรง ยินยอมใหความชวยเหลือแกชาวอเมริกันในรูปของเงินใหเปลา เงินกู และอาวุธ แมวาจะถูกคัดคาน ๖

จากชาก เนแกร (Jacques Necker) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังของฝรั่งเศส ตอมาในวันที่ ๖ กุมภาพันธ ค.ศ. ๑๗๗๘ แฟรงกลินยังไดรับมอบหมายใหทําสนธิสัญญาพันธไมตรี (Treaty of Alliance) กับฝรั่งเศส ซึ่งกลายเปนจุดหักเหของสงครามการปฏิวัติของชาวอเมริกัน หลังจากนั้น ๗ เดือน แฟรงกลินไดรับมอบหมายจากสมัชชาแหงรัฐ (The United States in Congress Assembly) ให เปนอัครราชทูตผูมีอํานาจเต็มประจําฝรั่งเศสคนแรกของสหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ. ๑๗๘๑ หลังจากชาว อเมริกันชนะสงครามแลว แฟรงกลิน จอหน แอดัมส และจอหน เจย (John Jay)* ไดรับมอบหมายให ทําสนธิสัญญาสันติภาพกับอังกฤษ โดยทั้ง ๒ ฝายไดลงนามในสนธิสัญญาปารีส ()* ที่พระราชวังแวรซาย เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ค.ศ. ๑๗๘๓ แฟรงกลินขอพนหนาที่ในฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ. ๑๗๘๕ และไดรับเลือกใหเปนประธานของ สภาบริหารแหงเพนซิลเวเนีย (Executive Council of Pennsylvania) ระหวาง ค.ศ. ๑๗๘๕–๑๗๘๗ ใน ค.ศ. ๑๗๘๗ เขาไดเปนตัวแทนของเพนซิลเวเนียในการประชุมเพื่อรางรัฐธรรมนูญ (Constitutional Convention)* ของสหรัฐอเมริกาและเปนผูมีบทบาทสําคัญในการไกลเกลี่ยเพื่อใหที่ ประชุมยอมรับรางรัฐธรรมนูญฉบับสุดทาย แฟรงกลินอุทิศตนรับใชชาติตั้งแตสมัยที่ยังเปนอาณา นิคมของอังกฤษจนกระทั่งเปนชาติเอกราช ดวยเหตุนี้เขาจึงไดรับการยกยองใหเปนหนึ่งใน “ผูกอตั้ง ประเทศ” (Founding Fathers) ทางดานวิทยาศาสตร แฟรงกลินสนใจศึกษาทดลองวิทยาศาสตรและคิดคนสิ่งประดิษฐ ใหม ๆ การทดลองวิทยาศาสตรที่เลื่องชื่อที่สุดของเขาคือการทดลองเรื่องไฟฟาเมื่อ ค.ศ. ๑๗๕๒ ใน การทดลองครั้งนั้น แฟรงกลินผูกกุญแจโลหะไวกับเชือกวาวใชแลวชักวาวขึ้นสูทองฟาขณะฝนตก เพื่อพิสูจนวาฟาผาเกิดจากกระแสไฟฟาที่มีอยูในอากาศ ฟาผาจึงเปนปรากฏการณทางไฟฟา หลังการ คนพบดังกลาวแฟรงกลินไดประดิษฐสายลอฟาขึ้นในปเดียวกันนั้น เพื่อชวยใหอาคารบานเรือน ปลอดภัยจากฟาผา ดวยเหตุนี้จึงมีผูเรียกสายลอฟาวา “Franklin rod” ดวย ความสําเร็จของแฟรงกลินค รั้งนี้ทําใหเขามีชื่อเสียงระดับนานาชาติ และไดรับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยชั้นนําของ อังกฤษ ไดแก มหาวิทยาลัยเซนตแอนดรูส (Saint Andrews University) และมหาวิทยาลัยออกซฟอรด (Oxford University) นอกจากนี้ ราชสมาคมแหงลอนดอน (Royal Society of London) ยังเชิญใหเขา เปนภาคีสมาชิกและมอบเหรียญคอปลีย (Copley Medal) เพื่อเชิดชูเกียรติใหแกเขา ยิ่งไปกวานั้นแฟ รงกลินยังไดรับคําชมเชยจากพระเจาหลุยสที่ ๑๕ (Louis XV) แหงฝรั่งเศสจากผลงานชิ้นนี้ดวย นอกเหนือจากการทดลองเรื่องไฟฟาในอากาศ แฟรงกลินยังทดลองและประดิษฐคิดคน สิ่งประดิษฐอีกหลายอยาง อาทิ ปรับปรุงปลองไฟไมใหปลอยควันออกมามากเกินไป ประดิษฐเตาแฟ รงกลิน () ซึ่งใหความอบอุนกับหองไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวาโดยใชถานหินนอย ๗

กวาเตาผิงแบบเปดที่ใชกันทั่วไปในเวลานั้น ประดิษฐแวนสายตาที่มีเลนสสายตาสั้นและสายตายาวใน อันเดียวกัน (bifocal spectacles) คิดคนการนําน้ําใสแกวมาใชเปนเครื่องดนตรี (water harmonica; ) และยังแนะนําใหเกษตรกรแกดินเปรี้ยวโดยการโรยปูนขาว อนึ่ง แฟรงกลินมิไดขอ จดสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐและสิ่งที่เขาคนพบ เนื่องจากตองการใหมนุษยชาติไดใชประโยชนจากสิ่ง เหลานี้อยางเต็มที่ แฟรงกลินเปนผูที่มีความสามารถรอบดาน นอกเหนือจากความสามารถดานตาง ๆ ขางตน เขายังมีความสามารถทางดานอักษรศาสตรอยางสูงโดยเฉพาะทางดานรอยแกว ลีลาการเขียน ของเขากระชับและชัดเจนแตขณะเดียวกันก็ไพเราะรื่นหู จึงไดรับการยกยองใหเปนนักเขียนรอยแกว ชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียงที่สุดในคริสตศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งเปนยุคแหงเหตุผลหรือยุคคลาสสิกใหมทาง วรรณกรรม และยังถือกันวาเขาเปนตัวแทนของนักเขียนยุคนี้ดวย ใน ค.ศ. ๑๗๒๙ เขาซื้อกิจการ หนังสือพิมพรายสัปดาห The (ค.ศ. ๑๗๓๐–๑๗๔๘) มาปรับปรุงโดยใชลีลา การเขียนที่คมคายและเต็มไปดวยอารมณขัน ขาวที่เขานํามาลงมีทั้งสนุกสนานและใหความรูในเวลา เดียวกัน นอกจากนี้ แฟรงกลินยังเขียนการตูนการเมืองลงในหนังสือพิมพฉบับนี้ดวย เชน รูปที่ใชชื่อ วา “รวมกันเราอยู แยกกันเราตาย” (Join, or die) ซึ่งเปนการตูนการเมืองชิ้นแรกเทาที่เคยมีผูเขียนกัน มา การตูนชิ้นนี้แสดงใหเห็นจุดยืนของเขาในเรื่องการรวมตัวกันเปนสหภาพของชาวอาณานิคมที่เขา เสนอไวในแผนการออลบานีเพื่อตั้งสหภาพไดอยางชัดเจน

การตูนการเมืองฝมือเบนจามิน แฟรงกลิน

เรื่องที่แฟรงกลินเขียนลงในหนังสือพิมพฉบับนี้มีเนื้อหาหลากหลายและไดรับความ นิยมเปนอยางมาก อาทิ A Witch Trial at Mount Holly ซึ่งเลาเรื่องการตัดสินผูที่ถูกกลาวหาวาเปน แมมดและใชเวทมนตรทําใหฝูงแกะเตนรํา หมูรองเพลงสวดและพูดได ทําใหผูคนแถบเมานตฮอลลี ๘

หวาดกลัว แฟรงกลินเขียนเรื่องนี้เพื่อลอเลียนเสียดสีเพื่อนรวมสมัยบางคนที่เชื่อวามีการใชเวทมนตร ในหมูพวกเควเกอร เขาเขียนเรื่องนี้ไดอยางสนุกสนานและสมจริงจนหลายคนคิดวาเปนเรื่องจริง หลังจากตีพิมพครั้งแรกใน The Pennsylvania Gazette ฉบับวันที่ ๒๒ ตุลาคม ค.ศ. ๑๗๓๑ แลว นิตยสาร Gentleman’s Magazine ของอังกฤษยังไดนําเรื่องนี้ไปพิมพซ้ําในปเดียวกันนั้นดวย นอกเหนือจากเรื่องตลกอยาง A Witch Trial at Mount Holly แฟรงกลินยังเขียนบทความที่มีเนื้อหา หนักสมองลงในหนังสือพิมพฉบับนี้ดวย อาทิ Apology for Printers (๑๐ มิถุนายน ค.ศ. ๑๗๓๑) บทความเรื่องนี้เปนคําประกาศที่กลาหาญวาสิ่งพิมพและผูพิมพมีสิทธิและเสรีภาพในการตีพิมพความ คิดเห็นที่แตกตางกัน เนื่องจากแฟรงกลินคิดวามนุษยมีความแตกตางกันทางความคิดมากเกือบเทากับ ที่มีหนาตาแตกตางกัน ดังคําคมที่เขายกขึ้นมาสนับสนุนความคิดนี้วา “หลายคนหลากความคิด” (So many men so many minds) และในเมื่อธุรกิจการพิมพเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับความคิดของคน จึงไมใช เรื่องผิดที่ผูพิมพจะตีพิมพความคิดเห็นซึ่งมีทั้งผูที่เห็นดวยและไมเห็นดวย เพราะหากคิดจะพิมพแต เรื่องที่ไมทําใหผูใดขุนเคืองเลยแมแตคนเดียว ก็จะมีเรื่องใหพิมพนอยมาก อยางไรก็ตาม แฟรงกลิน เห็นวาเปนเรื่องผิดที่จะพิมพเรื่องที่ขัดตอจริยธรรม อันเปนการกระทําที่เขากลาวไวในบทความเรื่องนี้ วาเขาไมเคยทํา แมวาในการทําเชนนั้นจะทําใหเขาไดรับเงินจํานวนมาก บทความเรื่องนี้มีสวนสําคัญ อยางยิ่งในการสนับสนุนใหเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของชาวอเมริกันงอกงาม แฟรงกลินมิไดตองการเขียนหนังสือเพื่อสรางความเพลิดเพลินเทานั้น แตเขายังมี จุดมุงหมายที่จะใหผูอานไดรับประโยชนจากสิ่งที่เขาเขียนดวย ดังที่เขาเลาไวในหนังสือ Autobiography วาเขาเขียนหนังสือเลมนี้เพื่อใหบุตรชายของเขา รวมทั้งคนรุนหลังรูเรื่องชีวิตและ งานของเขาวา กวาที่เขาจะประสบความสําเร็จในชีวิตเขาตองทํางานหนักเพียงใด และตั้งความหวังไว วาผูอานอาจไดแงคิดอะไรบางอยางจากเรื่องท่ีเขาเขียนและนําไปใชในการแสวงหาความมั่งคั่ง ชื่อเสียง และความสุข แฟรงกลินเริ่มเขียนหนังสือเรื่องนี้ใน ค.ศ. ๑๗๗๑ ขณะอายุ ๖๕ ป แตเสียชีวิต กอนเขียนจบ โดยกอนเสียชีวิตเขาสามารถเขียนเรื่องราวในชีวิตของเขาตั้งแตเด็กไปจนถึงอายุ ๕๑ ป (ค.ศ. ๑๗๕๗) เทานั้น หนังสือเลมนี้ไมเพียงแตเปนอัตชีวประวัติของผูเขียนแตยังเปนเอกสารสําคัญที่ ชวยใหคนรุนหลังไดศึกษาเรียนรูชีวิตความเปนอยูของชาวอาณานิคมอเมริกันในคริสตศตวรรษที่ ๑๘ ดวย หนังสือเรื่องนี้ไดรับการยกยองใหเปนหนังสืออัตชีวประวัติเรื่องเยี่ยมที่สุดเรื่องหนึ่งของ สหรัฐอเมริกา และมีอิทธิพลอยางมากตอทัศนคติรวมทั้งคานิยมของชาวอเมริกัน หนังสือเรื่องสําคัญที่สุดอีกเรื่องหนึ่งของแฟรงกลินเปนหนังสือประเภทกาลานุกรม (almanac) ชื่อ Poor Richard’s Almanack ในหนังสือชุดนี้นอกเหนือจากปฏิทินประจําป วันสําคัญ ทางศาสนา การพยากรณอากาศ ขอมูลทางดาราศาสตร และคําแนะนําในเรื่องการเพาะปลูกตามแบบ ๙

กาลานุกรมทั่วไป แฟรงกลินยังรวบรวมคําแนะนําที่มีประโยชน และสุภาษิตคําคมที่ใหแงคิดสอนใจ งาย ๆ ซึ่งอานสนุกและนําไปใชไดจริง แฟรงกลินจัดทํา Poor Richard’s Almanack ปละเลมนาน ๒๕ ป ตั้งแต ค.ศ. ๑๗๓๒–๑๗๕๗ โดยใชนามปากกาวาริชารด ซอนเดิรส (Richard Saunders) หนังสือชุดนี้สะทอนใหเห็นความคิดและคานิยมของชาวอาณานิคมอเมริกันไดอยางดียิ่ง ภูมิปญญา ชาวบานในหนังสือชุดนี้แสดงใหเห็นคุณธรรมงาย ๆ ที่คนในสังคมชนบทสวนใหญยึดถือ ไดแก กา รอดออม ความขยันหมั่นเพียร และความซื่อสัตยสุจริต Poor Richard’s Almanack เปนกาลานุกรมที่ มีชื่อเสียงที่สุดของสหรัฐอเมริกา และเปนหนังสือที่มีชาวอาณานิคมอานมากที่สุด โดยมียอดพิมพปละ ๑๐,๐๐๐ เลม ผลงานดานวรรณคดีที่มีชื่อเสียงและมีอิทธิพลมากที่สุดอีกเรื่องหนึ่งของแฟรงกลินคือ บทความชื่อ (ค.ศ. ๑๗๕๘) ที่เขาตั้งใจวาจะใชเปนบทนําของหนังสือกาลานุกรม เลมหนึ่งของเขา และกระทั่งปจจุบันสุภาษิตคําคมในบทความเรื่องนี้และในกาลานุกรมของเขาก็ยังมี ผูนําไปใชและอางถึงอยูเสมอ อาทิ “ไมมีสิ่งใดไดมาเปลา ๆ โดยไมตองลงแรง” (There are no gains without pains) “พระเจาชวยคนที่ชวยตัวเอง” (God helps them that help themselves) “ความเกียจ ครานทําใหทุกสิ่งเปนเรื่องยาก แตความอุตสาหะทําใหทุกอยางเปนเรื่องงาย” (Sloth makes all things difficult, but industry all easy) “ความขยันหมั่นเพียรเปนมารดาแหงโชคลาภ” (Diligence is the mother of good luck) “คนฉลาดเรียนรูจากความผิดพลาดของผูอื่น แตคนโงแทบไมเคยเรียนรูจาก ความผิดพลาดของตนเอง” (Wise men learn by others’ harms, fools scarcely by their own) “การเขา นอนแตเชาและตื่นแตเชา ทําใหสุขภาพดี ร่ํารวย และเฉลียวฉลาด (Early to bed and early to rise, makes a man healthy, wealthy, and wise) “จงระวังคาใชจายเล็ก ๆ นอย ๆ รูเล็ก ๆ เพียงรูเดียว ก็ทําให เรือใหญจมได” (Beware of little expenses, a small leak will sink a great ship) “เงินหนึ่งเพนนีที่เก็บ ออมไวได คือเงินหนึ่งเพนนีที่หามาได” (A penny saved is a penny earned) ผลงานของแฟรงกลินชุด นี้จัดเปนหนังสือประเภทชี้แนะหนทางสูความสําเร็จและความมั่งคั่งเรื่องแรกของชาวอเมริกัน ซึ่ง ปจจุบันก็ยังเปนหนังสือประเภทที่ติดอันดับขายดีที่สุดในสหรัฐอเมริกา แฟรงกลินร่ํารวยจากกิจการหลายประเภททั้งดานการพิมพ การเขียน การซื้อขายที่ดิน และสินคาตาง ๆ รวมทั้งหนังสือที่สั่งเขามาจากยุโรป ความสําเร็จในชีวิตของแฟรงกลินจากเด็กใน ครอบครัวที่ยากจนซึ่งตองตอสูชีวิตดวยความขยันหมั่นเพียร ความมัธยัสถ และความซื่อสัตย จน สามารถตั้งตัวไดและมีฐานะมั่งคั่งตั้งแตอายุยังไมถึง ๕๐ ป รวมทั้งเคล็ดลับและหนทางสูความสําเร็จที่ เขาเขียนเลาไวในผลงานของเขาหลายเรื่อง สนับสนุนความฝนแบบอเมริกัน (American Dream)* ที่ คนในประเทศนี้มีรวมกัน ความสําเร็จของแฟรงกลินทําใหเขากลายเปนตัวแทนของผูที่มีความมุงมั่น ๑๐

และฟนฝาอุปสรรคอยางไมยอทอจนบรรลุถึงความฝนดังกลาวได สิ่งที่เขาเขียนสอนไวในหนังสือจึง กลายเปนคัมภีรแหงความสําเร็จหรือคัมภีรแหงความมั่งคั่ง ซึ่งสรุปไดวาคนในประเทศนี้ทุกคนมี โอกาสเทาเทียมกันที่จะประสบความสําเร็จในชีวิต หากทําตามอยางแฟรงกลิน กิจกรรมเพื่อสังคมหลายอยางของแฟรงกลินสะทอนใหเห็นวาเขาเปนคนที่รักเพื่อน มนุษยจวบจนวาระสุดทายของชีวิต ดังเห็นไดวาใน ค.ศ. ๑๗๘๙ เขาเขียนบทความตอตานระบบทาส และตอมาในวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ ค.ศ. ๑๗๙๐ ขณะดํารงตําแหนงเปนประธานสมาคมสนับสนุนการ เลิกทาส (Society for Promoting the Abolition of Slavery) เขาไดลงนามในคํารองตอรัฐสภาของ สหรัฐอเมริกา เพื่อสนับสนุนใหเลิกทาสและปราบปรามการคาทาส หลังจากนั้นเพียง ๒ เดือน เบนจา มิน แฟรงกลินก็ถึงแกกรรมที่เมืองฟลาเดลเพียเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ค.ศ. ๑๗๙๐ ขณะอายุ ๘๔ ป.

(กุลวดี มกราภิรมย)