Computer Crime? Research title: Impact of the Computer-related Crime Act 2007 and State Policies on the Right to Freedom of Expression Sawatree Suksri Siriphon Kusonsinwut Orapin Yingyongpathana อาชญากรรมคอมพิวเตอร์? งานวิจัยหัวข้อ ผลกระทบจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และนโยบายของรัฐกับสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น สาวตรี สุขศรี ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ อรพิณ ยิ่งยงพัฒนา อาชญากรรมคอมพิวเตอร์? งานวิจัยหัวข้อ “ผลกระทบจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และนโยบายของรัฐกับสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น” คณะวิจัย สาวตรี สุขศรี (หัวหน้าโครงการ) ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ อรพิณ ยิ่งยงพัฒนา ผู้ช่วยคณะวิจัย ดนุช วัลลิกุล ทิวสน สีอุ่น พาขวัญ ชื่นสุวรรณกุล อัชฌา สงฆ์เจริญ กองบรรณาธิการ พรพิมพ์ แซ่ลิ้ม ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ ธนกฤต เปี่ยมมงคล อาจินต์ ทองอยู่คง บรรณาธิการต้นฉบับภาษาอังกฤษ อเล็ก แบมฟอร์ด ผู้แปล กัปตัน จึงธีรพานิช ปกป้อง เลาวัณย์ศิริ พงษ์เลิศ พงษ์วนานต์ พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ สุลักษณ์ หล�าอุบล อธิป จิตตฤกษ์ ที่ปรึกษา รุจน์ โกมลบุตร ธีระ สุธีวรางกูร ออกแบบปกและรูปเล่ม กรมัยพล สิริมงคลรุจิกุล พิสูจน์อักษร จิรนันท์ หาญธ�ารงวิทย์ กษมาพร แสงสุระธรรม ณภัค เสรีรักษ์ พีระเดช ตันเรืองพร จัดท�าโดย ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) http://freedom.ilaw.or.th พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�านักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataoging in Publication Data สาวตรี สุขศรี. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์? : งานวิจัยหัวข้อ “ผลกระทบจากพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และนโยบายของรัฐกับสิทธิเสรีภาพ ในการแสดงความคิดเห็น”.-- กรงเทพฯ : โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) ในมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม, 2555. 720 หน้า. 1. คอมพิวเตอร์--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ. I. ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, ผู้แต่ง ร่วม. II. อรพิณ ยิ่งยงพัฒนา, ผู้แต่งร่วม. III. ชื่อเรื่อง. 343.0994 ISBN 978-616-91463-0-8 อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตแบบครีเอทีฟ คอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC 3.0) https://creativecommons.org/licenses/by-nc/3.0/th/ สนับสนุนโดย มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Computer Crime? Research title : Impact of the Computer-related Crime Act 2007 and State Policies on the Right to Freedom of Expression Research Team Sawatree Suksri (Director) Siriphon Kusonsinwut Orapin Yingyongpathana Research Assistants Danuch Wallikul, Tewson Seeoun, Pakwan Chuensuwankul and Atcha Songcharoen Editorial Team Pornpim Saelim, Yingcheep Atchanont, Thanakrit Piammongkol and Arjin Thongyuukong Editor (English version) Alec Bamford Translators Kaptan Jungteerapanich, Pokpong Lawansiri, Pipob Udomittipong, Ponglert Pongwanan, Suluck Lamubol and Athip Jittarerk Advisors Ruj Komonbutr and Theera Sutheewarangkul Cover Design and Layout Kornmaipol Sirimongkolrujikul Proof Reader Jiranan Hanthamrongwit, Napak Serirak, Kasamaponn Saengsuratham and Peeradej Tanruangporn Production Editor Freedom of Expression Documentation Centre, iLaw http://freedom.ilaw.or.th Printing House Parbpim Ltd., Part. This work is licensed under a Creative Commons Attribution-Non Commercial 3.0 Thailand License.(CC BY-NC 3.0) https://creativecommons.org/licenses/by-nc/3.0/th/ Supported by Heinrich Böll Foundation Southeast Asia สารบัญ บทสรุปส�าหรับผู้บริหาร 14 บทน�า 41 นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง 47 ผลการศึกษาภาคที่ 1 บทที่หนึ่ง การศึกษาสถิติที่เกี่ยวกับการบังคับใช้ 54 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2550 และส�ารวจความคิดเห็นที่มีต่อการ บังคับใช้กฎหมายดังกล่าวจากมุมมองเจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ให้ บริการหรือดูแลสื่อออนไลน์ - การศึกษาผลกระทบเชิงปริมาณ 57 ผลการศึกษาสถิติการระงับการเผยแพร่หรือปิดกั้น 58 ช่องทางการเข้าถึงเว็บไซต์ ผลการศึกษาสถิติการด�าเนินคดีตามพ.ร.บ. 73 คอมพิวเตอร์ฯ 2550 - การศึกษาผลกระทบเชิงคุณภาพ 93 บทบาทของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการ 93 บังคับใช้กฎหมาย บทบาทของผู้ประกอบการอินเทอร์เน็ต ภายใต้ 123 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2550 บทบาทของเว็บมาสเตอร์และผู้ดูแลเว็บบอร์ดต่างๆ 137 ภายใต้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2550 ผลการศึกษาภาคที่ 2 บทที่สอง การศึกษากฎหมาย แนวนโยบายแห่งรัฐ ปฏิกิริยา 162 ภาคประชาชนต่อกรณีเสรีภาพ ในการแสดงความคิดเห็นในสื่อ ออนไลน์ เปรียบเทียบไทยกับต่างประเทศ: กฎหมายไทย กับสิทธิเสรีภาพในสื่อออนไลน์ - หลักการคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นตาม 164 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย - ความเป็นมาของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2550 168 - ปัญหาของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2550 ในประเด็นเสรีภาพ 169 ในการแสดงความคิดเห็น - แนวนโยบายแห่งรัฐที่เกี่ยวกับเสรีภาพในการแสดงความคิด 192 เห็นในสื่อออนไลน์ - ปฏิกิริยาและความเคลื่อนไหวของฝ่ายประชาชน และภาค 227 สังคมที่มีต่อกฎหมาย และนโยบายแห่งรัฐ ที่กระทบเสรีภาพใน สื่อออนไลน์ บทที่สาม กฎหมายเยอรมัน กับสิทธิเสรีภาพในสื่อออนไลน์ 244 - หลักการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และ 247 แสดงความคิดเห็น - เนื้อหาต้องห้ามมิให้เผยแพร่ในสื่อสาธารณะตามกฎหมาย 255 เยอรมัน - อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และความผิดเกี่ยวกับการเผยแพร่ 261 เนื้อหาผิดกฎหมายในสื่อออนไลน์ - แนวนโยบาย กฎหมาย และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับสื่อ 270 ออนไลน์ - ปฏิกิริยาและความเคลื่อนไหวฝ่ายประชาชน ที่มีต่อกฎหมาย 272 หรือนโยบายที่กระทบเสรีภาพในสื่อออนไลน์ บทที่สี่ กฎหมายสหรัฐอเมริกา กับสิทธิเสรีภาพในสื่อออนไลน์ 282 - หลักการคุ้มครองเสรีภาพในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และการ 285 แสดงความคิดเห็น - เนื้อหาต้องห้ามมิให้เผยแพร่ในสื่อสาธารณะตามกฎหมาย 289 สหรัฐอเมริกา - แนวนโยบาย กฎหมาย และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับสื่อ 303 ออนไลน์ - ปฏิกิริยา และความเคลื่อนไหวฝ่ายประชาชน ที่มีต่อ 320 กฎหมายหรือนโยบายที่กระทบเสรีภาพในสื่อออนไลน์ บทที่ห้า กฎหมายจีน กับสิทธิเสรีภาพในสื่อออนไลน์ 330 - หลักการคุ้มครองเสรีภาพในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และแสดง 333 ความคิดเห็น - เนื้อหาต้องห้ามมิให้เผยแพร่ในสื่อสาธารณะตามกฎหมายจีน 334 - กฎหมายล�าดับรอง และข้อก�าหนดของรัฐเพื่อควบคุมการใช้ 338 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น - นโยบาย และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับการควบคุมสื่อ 346 ออนไลน์ - ปฏิกิริยาและความเคลื่อนไหวฝ่ายประชาชนที่มีต่อกฎหมาย 355 หรือนโยบายที่กระทบเสรีภาพในสื่อออนไลน์ บทที่หก กฎหมายมาเลเซีย กับเสรีภาพในสื่อออนไลน์ 368 - การคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นตาม 371 รัฐธรรมนูญมาเลเซีย - เนื้อหาต้องห้ามมิให้เผยแพร่ในสื่อสาธารณะตามกฎหมาย 376 มาเลเซีย - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเนื้อหาในสื่อออนไลน์ 383 และจ�ากัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น - แนวนโยบายและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับควบคุมสื่อ 391 ออนไลน์ - ปฏิกิริยา และความเคลื่อนไหวฝ่ายประชาชน ที่มีต่อ 397 กฎหมายหรือนโยบายที่กระทบเสรีภาพในสื่อออนไลน์ บทที่เจ็ด วิเคราะห์เปรียบเทียบกฎหมายสี่ประเทศ 406 - หลักการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในสื่อออนไลน์ 408 - เนื้อหาหรือประเภทของความคิดเห็นที่ไม่อนุญาตให้เผยแพร่ 409 หรือแสดงออกได้ - ประเภทของกฎหมายที่จ�ากัดเสรีภาพในสื่อออนไลน์ 410 - ลักษณะการบัญญัติกฎหมายเพื่อจ�ากัดเสรีภาพในสื่อ 412 ออนไลน์ - ภาระหน้าที่ ความรับผิด และการลงโทษตัวกลาง หรือผู้ให้ 413 บริการสื่อออนไลน์ - ข้อเปรียบเทียบนโยบายและแนวปฏิบัติแห่งรัฐ 416 - ข้อเปรียบเทียบปฏิกิริยาภาคประชาชน 422 บทที่แปด ข้อเสนอแนะ 426 - ข้อเสนอแนะทางกฎหมาย 428 - ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 437 - ข้อเสนอแนะต่อประชาชนผู้ให้ และผู้ใช้บริการสื่อออนไลน์ 440 เชิงอรรถ 614 บรรณานุกรม 690 Table of Content Executive summary 27 Introduction 443 Part 1 Chapter 1: Statistical Study and Survey of the Opinions 450 of State Officials and Online Media Service Providers regarding Enforcement of the Computer-related Crime Act 2007 Quantitative Study 452 Statistics on the restriction of data dissemination or 454 blocking of website access Statistics on Prosecutions under the Computer- 466 related Crimes Act 2007 Qualitative Study 485 Summary of the study on qualitative impact 488 Part 2 Chapter 2: Comparative Study of the Laws, State Policy 496 and Civil Reaction on Freedom of Expression in Online Media in Thailand and those of Other Countries Thai laws and online media freedom 498 Guarantee of Freedom of Expression under the 498 Thai Constitution History of the Computer-related Crime Act 2007 502 Problems of the Computer-related Crime Act 503 2007 with respect to Freedom of Expression State Policies Regarding the Freedom of Expres- 526 sion on Online Media Reactions and responses among people’s move- 560 ments and civil society sector toward state’s laws and policies of the state affecting online media freedom Chapter 3: Legal Comparison: Thailand, Germany, 578 United States, China and Malaysia Principles of protecting online media rights and 580 freedoms Contents and types of opinion where dissemina- 581 tion or expression is forbidden Types of legislation that limit freedoms of online 582 media Characteristics of legislation that restricts free- 583 dom in online media Duties, liabilities and penalties of intermediaries 585 or online media service providers Comparisons of state policies and practices 587 Comparison of Public Reaction 593 Chapter 4: Recommendations 596 Legal Recommendations 598 Policy Recommendations 608 Recommendations for Internet Service Providers 611 and Users Notes 664 บทสรุปย่อ งานวิจัยหัวข้อ “ผลกระทบจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และนโยบายของรัฐกับ สิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น” ฉบับนี้ ศึกษาผลกระทบจาก การบังคับใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2550 ตั้งแต่เริ่มประกาศใช้เมื่อเดือน กรกฎาคม 2550 ถึงเดือนธันวาคม 2554 แนวนโยบายของรัฐไทย รวมทั้ง ปฏิกิริยาของประชาชนที่มีต่อกฎหมายและการบังคับใช้ โดยเปรียบเทียบ ประเด็นต่างๆ ดังกล่าวกับต่างประเทศ ผลการศึกษาการบังคับใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2550 ผลการศึกษาพบว่า ตลอดช่วงระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน ที่ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ 2550 มีผลใช้บังคับ มีสถิติการระงับการเผยแพร่เนื้อหา หรือ การปิดเว็บไซต์โดยอาศัยมาตรา 20 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2550 ผ่านค�าสั่งศาล จ�านวน 156 ฉบับ จ�านวนทั้งสิ้น 81,213 ยูอาร์แอล ทั้งนี้ เนื้อหาที่ถูกปิดกั้น เป็นอันดับหนึ่ง คือ เนื้อหาและภาพดูหมิ่น หมิ่นประมาท พระมหากษัตริย์ พระราชินี และรัชทายาท ซึ่งมีค�าสั่งศาล 90 ฉบับ ให้ระงับการเข้าถึง 14 Computer Crime? 60,790 ยูอาร์แอล หรือคิดเป็นร้อยละ 75 ของจ�านวนยูอาร์แอลที่ถูกปิดกั้น ทั้งหมด อันดับสอง คือ เนื้อหาและภาพลามกอนาจาร
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages714 Page
-
File Size-