1592400314 หอยฝาเดียวทะเล 3.Pdf

1592400314 หอยฝาเดียวทะเล 3.Pdf

บทนำ� ความหลากหลายทางชีวภาพได้แก่ความหลากหลายของสปีชีส์ พันธุกรรม และระบบนิเวศของสิ่งมีชีวิต ในแต่ละชีวมณฑล ที่ได้อุบัติขึ้นบนดาวพระเคราะห์โลกแห่งนี้มาหลายพันล้านปีแล้ว และได้กลายเป็นทรัพยากร ที่ส�าคัญยิ่ง ที่ผสมกลมกลืนกันจนกลายเป็น “โลกสีเขียว The Green Planet” มาจวบจนถึงปัจจุบันนี้ และชีวิต ที่ถือว่าอุบัติมาจนถึงสูงสุดในเวลานี้คือสปีชีส์ที่เรียกว่า “มนุษย์ Homo sapiens” มนุษย์ได้อยู่ผสมกลมกลืนกับ ชีวิตอื่นๆ ได้สร้างสรรค์ เบียดเบียน และท�าลายล้าง ตามวิถีทางของความหลากหลาย และก�าลังเปลี่ยนแปลงไปตาม แนวทางแห่งวิวัฒนาการตามกาลเวลาและสถานที่ ประเทศไทยตั้งอยู่บนท�าเลที่บรรพบุรุษเรียกกันว่า “สุวรรณภูมิ” อยู่บนพื้นที่ที่มีความพอดีหลายอย่าง ทั้งสภาพภูมิประเทศที่มีระบบนิเวศแทบทุกระบบ ภูมิอากาศที่ดี ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของคาบสมุทรอินโดจีน ระหว่างละติจูด 5 องศา 37 ลิปดาเหนือ กับ 20 องศา 27 ลิปดาเหนือ และระหว่างลองจิจูด 97 องศา 22 ลิปดา ตะวันออก กับ 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก หรือบริเวณซีกโลกเหนือในเขตละติจูดต�่า ระหว่างเส้นศูนย์สูตรกับ เส้นทรอปิกออฟเคนเซอร์นั่นเอง จึงจัดอยู่ในประเทศเขตร้อนเหมาะสมต่อวิถีเขตร้อนที่น�าไปสู่ความเจริญมั่งคั่งของ พืชพันธุ์ธัญญาหารและสมบูรณ์แบบของปัจจัยสี่ บรรพบุรุษของไทยจึงได้กล่าวเป็นปริศนาให้ลูกหลานได้รู้อย่าง ต่อเนื่องว่า “สยามประเทศแห่งนี้เต็มไปด้วยทรัพย์ในดินสินในน�้า” “ในน�้ามีปลาในนามีข้าว” คนไทยในอดีตได้ซาบซึ้ง ในสิ่งเหล่านี้ หากแต่ว่าโลกาภิวัตน์ในเวลาต่อมาได้ท�าให้ภูมิคุ้มกันของคนไทยอ่อนลงจากอิทธิพลความคิดของ ต่างชาติ ท�าให้ลืมรากเหง้าฐานแห่งสยามประเทศเกือบจะสิ้นเชิง ความตระหนักในทรัพย์ในดินสินในน�้าจึงเสื่อมถอยลง ดังนั้นจึงมีความจ�าเป็นต้องเรียกความตระหนักเหล่านี้กลับมาก่อนที่จะสายไปมากกว่านี้ การน�าฐานทรัพยากรชีวภาพ ของไทยออกมาเผยแพร่ให้คนไทยได้เห็นอย่างชัดแจ้งในภาวะเกือบล้มละลายนี้ อาจจะท�าให้คนไทยจ�านวนหนึ่ง น�าคนทั้งหมดไปสู่การผสมกลมกลืนกับธรรมชาติ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับลูกหลานอีกครั้ง หนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึงบัญชีรายการทรัพยากรชีวภาพของไทย “ไฟลัมมอลลัสกา” สัตว์พวกหอย และหมึก ที่เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีจ�านวนสปีชีส์รองลงมาจากสัตว์ขาข้อ ได้แก่ แมลง กุ้ง ปู ฯลฯ บทบาทส�าคัญของ สัตว์ไฟลัมมอลลัสกานั้นเป็นที่ทราบกันอย่างชัดเจนถึงประโยชน์ และโทษที่กระทบต่อมนุษย์ และระบบนิเวศที่อยู่ รอบตัวมนุษย์ ฐานแห่งอาหาร ยารักษาโรค การสันทนาการ น�าไปสู่มูลค่าทางเศรษฐกิจ ฐานแห่งการสาธารณสุข ได้แก่การเป็นปรสิตพาหะกึ่งกลางให้กับหนอนพยาธิหลายชนิดที่น�าไปสู่สุขภาพของผู้คน อาทิ การเกิดพยาธิใบไม้ ปอด ที่มีนัยส�าคัญต่อวิถีชีวิตของประชาชนคนไทยจ�านวนมาก มีสาเหตุจากหอยน�้าจืด และยังมีความเป็นพิษที่ คนไทยสามารถน�ามาสร้างผลิตภัณฑ์ทางยาได้อีกด้วยได้แก่หอยเต้าปูน เป็นต้น ดังนั้นฐานข้อมูลที่ส�าคัญเบื้องต้นคือ บัญชีรายการที่มีจริงของสปีชีส์เหล่านี้พร้อมสถานภาพน�าไปสู่การร่วมกันดูแลให้ทรัพยากรหอยและหมึกของไทย ให้เกิดประโยชน์ สร้างความมั่งคั่งยั่งยืนให้กับคนไทย การจัดท�าบัญชีรายการทรัพยากรชีวภาพ “ไฟลัมมอลลัสกา” ของประเทศไทยครั้งนี้เป็นการรวบรวมการท�า บัญชีทุกรายการและผลงานวิจัยของโลกและของนักวิจัยไทย ตลอดจนผลการท�าวิจัยคู่ขนานไปกับการรวบรวม ดังกล่าว ได้แก่ การพิสูจน์เอกลักษณ์ในเชิงลึก วิธีการทางชีวโมเลกุลในหอยบางประเภท ท�าให้ได้ฐานข้อมูลที่เป็น ปัจจุบัน และตอบโจทย์ความคลุมเครือของ “ชีวสปีชีส์ Biological species” ได้เป็นแบบอย่างจ�านวนมาก คณะผู้จัดท�า จึงมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะน�าเสนอ เพื่อเป็นทรัพยากรเชิงข้อมูลที่มีค่ายิ่งของชาวไทย และข้อมูลเหล่านี้ก็จะ กลายเป็นภูมิปัญญา ภูมิคุ้มกันให้กับความมั่งคั่งยั่งยืนของคนไทยต่อไป 1 วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบความถูกตอง และ เพื่อเผยแพรขอมูลใหกับหนวยงาน รวบรวมรายชื่อวิทยาศาสตร และอื่นๆ ที่เกี่ยวของ แวดวงวิชาการ และ ของทรัพยากรชีวภาพไฟลัมมอลลัสกา ประชาชนที่สนใจเพื่อนำไปใชประโยชน (หอย และหมึก) ที่พบในประเทศไทย ทางดานวิชาการ เศรษฐกิจ สาธารณสุข ดวยวิธีการสากล และการอนุรักษตอไป ขอบเขตก�รดำ�เนินง�น ด�าเนินการศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ของข้อมูลทรัพยากรชีวภาพกลุ่มมอลลัสกา ได้แก่ หอย ทาก และหมึก พร้อมทั้งคัดกรองชื่อซ�้า ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมให้มีความถูกต้อง ตามหลักวิชาการให้เป็นไป ตามมาตรฐานและมีโครงสร้างข้อมูลตรงตามที่คณะอนุกรรมการจัดทาบัญชีรายการทรัพย์สินสัตว์น� �้าได้กาหนด� เพื่อ ประโยชน์ในการอนุรักษ์ คุ้มครอง และใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจจานวนไม่น้อยกว่า� 2,500 ชนิด และจัดการรวบรวม รูปถ่ายและ/หรือรูปวาดที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ไม่น้อยกว่า 2,300 รูป โดยมีขั้นตอนการด�าเนินงาน ดังนี้ จัดท�าแผนการด�าเนินงานตลอดระยะเวลาของโครงการ โดยแผนงานจะต้องแสดงถึงแนวคิด 1 วิธีการ แผนการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุตามขอบเขตงานที่จะส่งมอบในแต่ละงวดงาน� พร้อมทั้ง ระบุผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม และระยะเวลาการปฏิบัติงาน ทาการทบทวนงานวิจัย� (Literature Review) ด้วยข้อมูลที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในเอกสารวิชาการและ 2 ฐานข้อมูลระดับนานาชาติที่เกี่ยวข้อง ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ของข้อมูลทรัพยากรชีวภาพตามหลักวิชาการ 3 ให้เป็นไปตามมาตรฐาน พร้อมทั้งคัดกรองชื่อซ�้า ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมให้มีความถูกต้อง ศึกษากาหนดลักษณะและรูปแบบข้อมูลมีความเหมาะสมส� าหรับการคุ้มครอง� และการนาไปใช้� ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ รวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพสัตว์น�้ากลุ่มมอลลัสกา (หอย ทาก หมึก ฯ) ตามโครงสร้าง ดังนี้ 2 ลําดับ ข้อมูล คําอธิบาย 1. ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific Name) จีนัส สปีชีส์ ผู้ก�าหนดชื่อ และปี ค.ศ. ที่ก�าหนด 2. แหล่งที่พบครั้งแรก (Type Locality) ตามเอกสารอ้างอิง 3. ชื่อท้องถิ่น (Vernacular Name) ตามเอกสารอ้างอิง และ/หรือ ชื่อในท้องถิ่น 4. ชื่อสามัญ (Common Name) ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษ 5. การจัดจ�าแนก (Classification) ชั้น (Class) ชั้นย่อย (Subclass) อันดับ (Order) อันดับย่อย (Suborder) เหนือกว่าวงศ์ (Superfamily/Infraorder) วงศ์ (Family) วงศ์ย่อย (Subfamily) สกุล (Genus) สกุลย่อย (Subgenus) ชนิด (Species) ชนิดย่อย (Subspecies) 6. การกระจายพันธุ์ (Distribution) ตามรายงานที่พบ 7. แหล่งที่พบ (Location) ชื่อลุ่มน�้า/ชื่อจังหวัด/ชื่อสถานที่พบ ฯลฯ (ภาค แบ่งตามเขตการปกครอง) 8. ระบบนิเวศ (Ecology) เช่น ป่าไม้ ภูเขา ทะเล ฯลฯ 9. ถิ่นที่อยู่ (Habitat) บก ต้นไม้ พื้นดิน พื้นทราย โคลน น�้าจืด ทะเล น�้านิ่ง น�้าไหล ดิน โคลน ดินทราย ระดับความลึก ฯลฯ 10. สถานภาพการอนุรักษ์ ใช้เกณฑ์ของ IUCN, CITES, พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า (Conservation Status) พ.ศ. 2535 11. สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ เพาะและอนุบาล เพาะเลี้ยงเชิงทดลอง เลี้ยงเชิง (Aquaculture Status) พาณิชย์ 12. การใช้ประโยชน์ (Utilization) การน�ามาใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ เป็นอาหาร ใช้ด้านความ สวยงาม เป็นสมุนไพร 13. ภาพ (Figure) รูปถ่ายหรือรูปวาด 14. ผลกระทบ (Impact) เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข นันทนาการ 15. อ้างอิง (Reference) เอกสารและตัวอย่างในพิพิธภัณฑ์ 16. ท�าเนียบนักวิจัยไทย ชื่อและช่องทางการเข้าถึงนักวิจัยไทย (Thai Researchers Directory) IUCN Red List: Not Evaluated (Ref. 90363), Data deficient (DD) (Ref. 90363) Least Concern (LC) (Ref. 90363), Near Threatened (NT) (Ref. 90363) Vulnerable (VU), Endangered (EN), Critically Endangered (CR) Extinct in the Wild (EW), Extinct (EX) 3 ทั้งนี้ ได้ด�าเนินการรวบรวมข้อมูลประกอบตามโครงสร้างตามหัวข้อที่ 1, 3, 5, 7, 8, 9, 10, และ 15 อย่าง ครบถ้วน โดยหัวข้อที่ 13 จะท�าการรวบรวมภาพไม่น้อยกว่า 2,300 ภาพ ในกรณีที่ไม่มีภาพจะระบุตามข้อ 15 ส่วน หัวข้ออื่นๆ ขึ้นอยู่กับการอ้างอิง และทุกข้อมูลที่น�ามาใส่ในโครงสร้างจะมีการอ้างอิงถึงที่มาของข้อมูล ก�าหนดแนวทางการตรวจสอบข้อมูล และความถูกต้องของข้อมูลโดยมีนักวิชาการร่วมในการก�าหนด แนวทางและร่วมตรวจสอบ รวบรวมข้อมูลศึกษา วิเคราะห์ และน�าเสนอแนวทางระเบียบวิธีและประโยชน์ เพื่อสนับสนุนการขึ้น ทะเบียนทรัพยากรชีวภาพสัตว์น�้ากลุ่มมอลลัสกา (หอย ทาก หมึก ฯ) ออกแบบรูปเล่มและการจัดวางทั้งในส่วนของเนื้อหา ข้อมูล และภาพในหนังสือบัญชีรายการทรัพยากร ชีวภาพสัตว์น�้ากลุ่มมอลลัสกา (หอย ทาก หมึก ฯ) จัดทาตัวอย่างสิ่งพิมพ์หนังสือบัญชีรายการทรัพยากรชีวภาพสัตว์น� �้ากลุ่มมอลลัสกา (หอย ทาก หมึก ฯ) พร้อมดิจิตอลไฟล์ตัวอย่างสิ่งพิมพ์ที่พร้อมส่งพิมพ์ สัตว์ในไฟลัมมอลลัสก� (หอย ท�ก และหมึก) สัตว์ในไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีล�าตัวอ่อนนุ่มและส่วนใหญ่ มีเปลือกแข็งหุ้มภายนอก ปัจจุบันสัตว์กลุ่มนี้มีจ�านวนมากกว่า 100,000 ชนิดทั่วโลกและเป็นซากดึกด�าบรรพ์ ไม่ต�่ากว่า 60,000 ชนิดซึ่งย้อนกลับไปถึงยุคแคมเบรียน ท�าให้สัตว์ในไฟลัมนี้มีจ�านวนมากเป็นอันดับสองรองลงมา จากสัตว์ขาข้อในไฟลัมอาร์โทรโพดา มอลลัสเป็นสัตว์ที่ด�ารงชีวิตด้วยการบริโภคพืช หรือล่าสัตว์อื่น หรือบริโภค ทั้งสองอย่างเป็นอาหาร นอกจากนั้นยังมีประเภทที่บริโภคซากเน่าเปื่อยอีกด้วย สามารถพบได้ในระบบนิเวศแทบ ทุกแห่งบนโลก มอลลัสอาศัยอยู่ทั้งในแหล่งน�้าจืดและน�้าเค็มตั้งแต่หาดหินที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของน�้าขึ้นน�้าลงจนถึง ใต้ทะเลลึก ในขณะที่บางพวกอาศัยอยู่บนบกตั้งแต่พื้นราบไปจนถึงยอดภูเขาสูง มอลลัสมีลักษณะสัณฐานที่ หลากหลาย มีขนาดที่แตกต่างกันตั้งแต่ขนาดเล็กจิ๋วที่เปลือกมีขนาดเล็กกว่า 1 มิลลิเมตรจนถึงสัตว์พวกหมึก ในมหาสมุทรที่มีความยาวของล�าตัวถึง 18 เมตร และจัดว่าเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลก 1.1 การจัดจําแนกไฟลัมมอลลัสกา (Classification of The Mollusca) การจัดจ�าแนกสัตว์ในไฟลัมมอลลัสเริ่มต้นมากว่า 200 ปี โดยชาวตะวันตกที่ส�ารวจไปตามทวีปต่างๆ และ ได้เก็บตัวอย่างกลับไปไว้ในพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาของประเทศตัวเองจากนั้นได้ศึกษาตัวอย่างเกิดเป็นความรู้ และพัฒนาเป็นองค์ความรู้ ด้วยการจัดจ�าแนกสัตว์ประเภทนี้ไว้ในไฟลัมมอลลัสกา ค�าว่า “Mollusca” ได้ถูกแปล มาจากภาษาละตินว่า “mollis” แปลว่าร่างกายอ่อนนุ่มหรือยืดหยุ่น การจัดจ�าแนกสัตว์ในไฟลัมมอลลัสกาที่ใช้กัน มาจนถึงปัจจุบันคือการใช้ข้อสรุปในเชิงของวิวัฒนาการในเบื้องต้นด้วยข้อมูลพื้นฐานทางฟอสซิลจนถึงข้อมูลทาง ชีวโมเลกุลในปัจจุบัน ซึ่งสามารถสรุปหลักฐานที่ใช้บอกถึงวิวัฒนาการของมอลลัสมีอยู่สามประการใหญ่ๆ คือ หลักฐานทางกายวิภาคศาสตร์ และอวัยวะที่ส�าคัญๆ ของหอยโบราณที่ยังมีชีวิตอยู่ ประการที่สองคือการเปรียบเทียบ rRNA sequences และประการสุดท้ายคือ ฟอสซิลในยุคแคมเบรียน 4 ปัจจุบันนักสัตววิทยาได้จ�าแนกหอยออกเป็น 7 ชั้น (class) สามชั้นใหญ่ที่มีสมาชิกจ�านวนมากและมนุษย์ รู้จักกันดีได้แก่ ชั้นหอยฝาเดียว (Class Gastropoda) พบได้ทั้งในทะเล น�้าจืด และบนบกประมาณ 40,000 สปีชีส์ ชั้นหอยสองฝา (Class Bivalvia) เป็นพวกที่อยู่ในน�้า พบทั้งในน�้าทะเลและในแหล่งน�้าจืด ปัจจุบันมีรายงานอยู่ ประมาณ 8,000 สปีชีส์ ชั้นของหมึก (Class Cephalopoda) ได้แก่ หอยงวงช้าง ปลาหมึก พบแล้วประมาณ 600 สปีชีส์ ชั้นของหอยงาช้าง (Class Scaphopoda) ได้แก่ หอยงาช้าง พบแล้วประมาณ 300 - 500 สปีชีส์ ชั้นหอย ฝาละมีโบราณ (Class Monoplacophora) เป็นหอยทะเลน�้าลึกขนาดเล็ก เปลือกมีรูปร่างคล้ายหมวก พบแล้วประมาณ 20 สปีชีส์ ชั้นของลิ่นทะเล (Class

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    379 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us