การศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านในเขาคอหงส์ จังหวัดสงขลา Ethnobotanical Study in Ko Hong Hill, Songkhla Province

การศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านในเขาคอหงส์ จังหวัดสงขลา Ethnobotanical Study in Ko Hong Hill, Songkhla Province

(1) การศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านในเขาคอหงส์ จังหวัดสงขลา Ethnobotanical Study in Ko Hong Hill, Songkhla Province หทัยรัตน์ อุเส Hathairatn Use วิทยานิพนธน์ ี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลกั สตู รปริญญา วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร ์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร ์ A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements For the Degree of Master of Science in Botany Prince of Songkla University 2559 ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร ์ (2) ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านในเขาคอหงส์ จังหวัดสงขลา ผู้เขียน นางสาวหทัยรัตน์ อุเส สาขาวิชา พฤกษศาสตร์ อาจารยท์ ี่ปรึกษาวิทยานิพนธห์ ลกั คณะกรรมการสอบ .............................................................. .............................................ประธานกรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรัล ลีรติวงศ์) (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อังคณา อินตา) อาจารยท์ ี่ปรึกษาวิทยานิพนธร์ ว่ ม .......................................................... กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สหัช จันทนาอรพินท์) .............................................................. (ดร.เกศริน มณีนูน) .......................................................... กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สหัช จันทนาอรพินท์) .............................................................. (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทพ.ประกาศ สว่างโชติ) .......................................................... กรรมการ (ดร.เกศริน มณีนูน) .......................................................... กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทพ.ประกาศ สว่างโชติ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อนุมัติให้นับวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา พฤกษศาสตร์ ........................................................ (รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระพล ศรีชนะ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (3) ขอรับรองว่า ผลงานวิจัยนี้มาจากการศึกษาวิจัยของนักศึกษาเอง และได้แสดงความขอบคุณ บุคคลที่มีส่วนช่วยเหลือแล้ว ลงชื่อ.............................................................. (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรัล ลีรติวงศ์) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ลงชื่อ.............................................................. (ดร.เกศริน มณีนูน) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ลงชื่อ............................................................. (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทพ.ประกาศ สว่างโชติ) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ลงชื่อ.............................................................. (นางสาวหทัยรัตน์ อุเส) นักศึกษา (4) ขอรับรองว่า ผลงานนี้ไม่เคยเป็นส่วนหนึ่งในการอนุมัติปริญญาในระดับใดมาก่อน และไม่ได้ถูก ใช้ในการยื่นขออนุมัติปริญญาในขณะนี้ ลงชื่อ...................................................... (นางสาวหทัยรัตน์ อุเส) นักศึกษา (5) ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกพฤกษศาสตร์พื้นบ้านในเขาคอหงส์ จังหวัดสงขลา ผู้เขียน นางสาวหทัยรัตน์ อุเส สาขาวิชา พฤกษศาสตร์ ปีการศึกษา 2558 . บทคดั ยอ่ การศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของพืชในเขาคอหงส์ อ าเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา ระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 โดยการสัมภาษณ์แบบ กึ่งมีโครงสร้างกับคนในชุมชน และหมอสมุนไพรที่มาจากพื้นที่อื่น บันทึกภาพพร้อมเก็บ ตัวอย่างพืชที่ระบุมีการใช้มาตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้อง จากการศึกษาพบพืชที่มีการ น ามาใช้ประโยชน์ทั้งหมด 159 ชนิด 139 สกุล และ 64 วงศ์ ประกอบด้วยพืชกลุ่มเฟิน 4 ชนิด พืชเมล็ดเปลือย 1 ชนิด พืชดอกใบเลี้ยงคู่ 120 ชนิด และพืชดอกใบเลี้ยงเดี่ยว 34 ชนิด โดยพืช วงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์เข็ม (Rubiaceae) และวงศ์เปล้า (Euphorbiaceae) พบมากที่สุด จานวน 11 ชนิด 9 ชนิด และ 8 ชนิด ตามล าดับ สามารถจัดกลุ่มการใช้ประโยชน์ได้ 5 ประเภท คือ พืชสมุนไพร 96 ชนิด รองลงมาเป็นพืชอาหาร 51 ชนิด พืชที่ใช้ก่อสร้างและท าเครื่องมือ เครื่องใช้ 42 ชนิด พืชที่ใช้เป็นไม้ประดับ 13 ชนิด และพืชที่ใช้ในพิธีกรรมและความเชื่อ 3 ชนิด พืชที่มีค่าดัชนีความส าคัญของพืช (CI) สูงที่สุดคือ กลว้ ยปา่ (Musa acuminate) ลูกชิ้ง (Ficus fistulosa) สะตอ (Parkia speciosa) เนียง (Archidendron jiringa) และมังตาล (Schima wallichii) ตามล าดับ จากการศึกษาพบว่าเพศชายมีความรู้ในการใช้ประโยชน์จากพืชมากกว่า เพศหญิงอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ และผู้ให้ข้อมูลที่อายุมากกว่าจะมีความรู้ในการใช้ประโยชน์ จากพืชมากกว่าผู้ให้ข้อมูลที่อายุน้อยกว่าอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบพืชที่ไม่เคย มีรายงานการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ภาคใต้มาก่อน คือ ลิ้นกระบือ (Galearia fulva) นูดต้น (Prunus grisea) รังบวบ (Metadina trichotoma) สุ่มต้น (Pittosporum ferrugineum) และ ตับเต่า (Pericampylus glaucus) (6) Thesis Title Ethnobotanical Study in Ko Hong Hill, Songkhla province. Author Miss Hathairatn Use Major Program Botany Academic Year 2015 ABSTRACT An ethnobotanical study in Ko Hong Hill, Hat Yai district, Songkhla province was provided from August 2014 to January 2015. The plant utilizations were studied based on Semi-Structure interviews with the villagers and herbalist from outside. Voucher specimens and photography were taken. One hundred and fifty-nine species, 139 genera and 65 families are utilized, including 4 species of Pterophytes, 1 species of Gymnosperm, 120 species of Dicotyledon and 34 species of Monocotyledon. The Fabaceae, Rubiaceae and Euphorbiaceae are the most diverse families with 11 species, 9 species and 8 species, respectively. The utilizations are divided into 5 categories; medicinal plants (96 species) food plants (51 species) plants for constructing and materials (42 species) ornamental plants (13 species) and plants for ceremonial or ritual purposes (3 species). The highly Cultural importance Index (CI) were found in Musa acuminate Ficus fistulosa Parkia speciosa Archidendron jiringa and Schima wallichii respectively.The older informant had significant knowledge plant utilization more than younger and the man had significant knowledge plant utilization more than women. Galearia fulva, Prunus grisea, Metadina trichotoma, Pittosporum ferrugineum and Pericampylus glaucus were new report for utilization in Southern Thailand. (7) กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทางผู้เขียนต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรัล ลีรติวงศ์ อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ร่วม ดร.เกศริน มณีนูน และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทพ.ประกาศ สว่างโชติ ที่ช่วย ให้คาปรึกษา คา แนะน าในการทา วิทยานิพนธ์ครั้งนี้ด้วยดีมาโดยตลอด ขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อังคณา อินตา ภาควิชาชีววิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประธานกรรมการสอบและผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สหัช จันทนาอรพินท์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กรรมการ สอบ ในการให้ค าแนะน าและแก้ไข้ข้อบกพร่องในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ให้มีความสมบูรณ์มาก ยิ่งขึ้น ขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่สนับสนุนเงินทุนใน การทาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่อ านวยความสะดวกในการใช้ห้องปฏิบัติการ ขอขอบคุณพิพิธภัณฑ์พืชมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU herbarium) ที่ อนุญาตให้ใช้พิพิธภัณฑ์พืชเพื่อเปรียบเทียบตัวอย่าง ขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูลทั้งในพื้นที่และที่มาจากพื้นที่อื่นทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ และให้ข้อมูลที่สาคัญในการท าวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้ให้ส าเร็จลุล่วงด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ครอบครัว และเพื่อนๆ ทุกคน ที่คอยให้ ก าลังใจ ห่วงใยและให้ความช่วยเหลือในการทาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้จนส าเร็จ หทัยรัตน์ อุเส (8) ...... ?fT'nHU "' 'VI"1"" (8) (1 0) (11) lJ'Ylri 1. umb 1 fl11 :IJ LU'U:IJ1 LL~::fl11 :IJ ~1flqj'll e:J\IU..,qj'V\1 1 1~r1u1::~.Jfi' 2 ~ 3 2. 'YllJ'Y11ULan~11 4 fl11:1J'VI ~1n'VI ~1 tJ LL~::m11 iu1:: 1mn!-;nnnf'V'l mn1Yi-n 4 ia:1J~rr1 1u'lJa\IL'lJ1fla'VI\Itf 4 'II m1Lfiuia:1J~m11iu1:: lt.~-nt!~1nYi-n 6 'II ~ 6"~ "" mwtnM1'V'lb]nM~1~~1'V'l'UU1'U 7 m1~nM1'V'lb]nM~1~~f~uu1u1 u u 1::L 'Yl~L 'Y1 t.~ 7 3. l~~ e:JUn1rnLL~::iTim1c;l1Lii'Un11~n'M1l-:iJt.J 13 ~ ~ 13 .. 13 4. ~~m1~nM1 18 fl11 :IJ'VI ~1 n'VI ~1 t.~'ll a.JYi-nuuL 'll1~ ~m11 iu1::1 t.~-nu1~ t.~flu1 u-n:JJ-nu 18 ~ 21 0 Q,..l Q..t ~ fl11:1J ~1flqj'Y11\11~'Uli11:1J'lle:J\I'V'l"n' (CI) 21 5. ~1ULL~::aiiu11 tJ ~~ 199 ~ fl11:1J'V\ ~1 n'VI ~1 t.J'lJ e:J\IVi"nlJ'UL 'lJ1 fl e:J'V\\1 tf~~n111 il.J1:: 1t.~-nt! 199 1uLLuum11iu1::1t.~-n11~1nYi-nuuL 'll1fle:J'VI.Jtf 200 'II fl11 :IJfL~ t.J1rllJn111 il.J1:: 1t.~-nt!~1nYi"n'll e:J\Ifl'U1 'U ~'U ~ 207 'II (9) 209 214 223 242 (1 0) d Vl1'l1 \l 't1 1 19 2 bb~~h1-;11U1U"lfiicn"l!Eh1~"1!'~ll.1111L iu1::Lr.i"ll'U1 Ubb ~ Gl::U1::b 11 'Yl 19 3 ~1U"llEh1~"1l'~iim1ll.1mL iu1::LrJ"ll'u1 u 'Ylnu1::b11 'Yl 19 • 4 11 r.~~EJ~"ll'~iim11iu1 :: 1r.~"l!'uuub"ll1f1 EJ~.Jbf -;J.J~ 1cn~.J"lltl 1 23 5 -;11u1u"l!'Ucn~"ll'~1ifm~n hflbbtl::mm1~1.J ') "lJEJ .J ~:JJEJ~:JJ uL r·n • 202 I 0 Q,.l Q,.l d I &:II 6 u~cn.Jm f111 :JJ ~1 f1 qj'Yl 1 .J1~UJUTI11:JJ (CI) "ll EJ.JY-I"l!'bbcn Gl::"l!'ucn 224 7-8 ibf111::~f111:JJ bbcnn~1.J 1 um1ll.1~"1!'m1iu1:: 1r.~"l!'u1::~1 1-J bY-~~"1!'1 r.~ bbtl::m1J.J 1cnr.~1i T-Test 235 9-13 ibf111::~f111:JJ i:JJvrmh::~11.J"lh.Jm m-lu-;J1u 1u~"1!'~ iim11iu1:: 1r.~"ll'u • LcnrJLi One-way ANOVA 236 14-18 ~1"llU 1cnf111:JJi:JJvruJh::~11.J"ri1.J m m-lu-;J1u• 1u~"l!'~iim 1 ll.1m1i 238 (11) . 111'W't1.. AQ...I' ... e.:t d.d 1 'Yl ~.J lL~::"lJ EllJ L"lJ ~"lJ El.JY-l'U 'Yl~n~1 15 2 Ll~~..:~ft~ tJ~::"lJEJ.J';]1u1u"l5ii~.W"15~iim11 "15th:: 1tJ"15u ~Y-lu1 Ull~~::1..:~ff 20 3 LL~~..:~ft~ tJ~::"lJ EJ.J ~n~rn::i itJ"ll EJ.JoW"15~ iim11 i1h::1tJ"15U 20 L'Vol ~"151 tJLL~::L Y-l~'VHij.J 22 5 LL~~..:~ fi11:JJ i:JJvrmh::vl';i1..:~"1h..:~ m tJ"ll EJ.J f..lL'lX"li' EJ:JJm-lu-;J1u1u oW"15~ iim1 q '\J '\J tb m1 ith::1 tJ "15u 22 6 ~1l1Y-lrf1 i.u1 udu ~~n~1 211 7 .W"15uu du ~ L"ll1fl EJ'VI.J Lf~ iim1tbi.u1 iu1:: t tJ"15u1~ tJflu1 u"15:JJ"15u 212 q 1 บทที่ 1 บทน า ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ในอดตี มนุษยต์ ้องอาศยั ปจั จยั จากธรรมชาตทิ ม่ี อี ย่รู อบตวั เพ่อื การด ารงชวี ติ อย ู่ การใช้ประโยชน์จากพืชนั้นเป็นประสบการณ์ที่ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่น ซึ่ง ทรพั ยากรพชื เป็นแหล่งปจั จยั ท่สี าคญั ของมนุษยท์ งั้ ทเ่ี ป็นอาหาร ยารกั ษาโรค ท่อี ยู่อาศยั และ เครื่องนุ่งห่ม พืชจึงเป็นทรัพยากรที่มีความส าคัญส าหรับมนุษย์ชนิดหนึ่ง นอกจากนี้ทรัพยากร พืชยังช่วยบรรเทาสภาวะโลกร้อน (global

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    253 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us