ISSN 1905-8314 รายงานสถิติจังหวัดนนทบุรี Nonthaburi Provincial Statistical Report 2563 2020 สำนักงานสถิติจังหวัดนนทบุรี Nonthaburi Provincial Statistical Office สำนักงานสถิติแห่งชาติ National Statistical Office รายงานสถิติจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2563 Nonthaburi Provincial Statistical Report: 2020 สำนักงานสถิติจังหวัดนนทบุรี Nonthaburi Provincial Statistical Office สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม National Statistical Office Êӹѡ§Ò¹Ê¶ÔµÔáË‹§ªÒµÔ Ministry of Digital Economy and Society ii หน่วยงานเจ้าของเรื่อง Division-in-Charge สำนักงานสถิติจังหวัดนนทบุรี Nonthaburi Provincial Statistical Office ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี Nonthaburi City Hall ถนนรัตนาธิเบศร์ อำเภอเมืองนนทบุรี Ratanatibate Rd., Mueang, จังหวัดนนทบุรี 11000 Nonthaburi 11000 โทร 0 2580 0720 ต่อ 103 -106 Tel. +66 (0) 2580 0720 ext 103 -106 โทรสาร 0 2580 0720 ต่อ 104 Fax: +66 (0) 2580 0720 ext 104 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์: [email protected] E-mail: [email protected] หน่วยงานที่เผยแพร่ Distributed by สำนักสถิติพยากรณ์ Statistical Forecasting Bureau, สำนักงานสถิติแห่งชาติ National Statistical Office, ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ The Government Complex Commemorating อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 His Majesty the King’s 80th birthday Anniversary, ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กทม. 10210 Ratthaprasasanabhakti Building, 2nd Floor. โทร 0 2141 7497 Chaeng watthana Rd., Laksi, โทรสาร 0 2143 8132 Bangkok 10210, THAILAND ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์: [email protected] Tel. +66 (0) 2141 7497 Fax: +66 (0) 2143 8132 E-mail: [email protected] http://www.nso.go.th ปีที่จัดพิมพ์ 2563 Published 2020 จัดพิมพ์โดย สำนักงานสถิติจังหวัดนนทุบรี Printed by Nonthaburi Provincial Statistical Office คำนำ จากวิสัยทัศน์ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ที่ว่า “เป็นศูนย์กลางข้อมูลสถิติและสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจของประเทศ” และพันธกิจในการให้บริการข้อมูลสถิติและสารสนเทศ แก่ผู้ใช้บริการทุกภาคส่วน สำนักงานสถิติจังหวัดนนทบุรี ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักด้านสถิติของจังหวัด จึงได้จัดทำรายงานสถิติจังหวัดขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและนำเสนอข้อมูลสถิติพื้นฐานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้ง ตัวชี้วัดต่าง ๆ ของจังหวัด ที่ได้รวบรวมจากผลสำมะโนและการสำรวจตัวอย่างของสำนักงานสถิติแห่งชาติ และ จากหน่วยงานสถิติอื่น ๆ เพื่อเผยแพร่แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป นำข้อมูลสถิติไปใช้ในการกำหนด นโยบายวางแผน ตัดสินใจ และอ้างอิงต่าง ๆ สำหรับรายงานสถิติจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2563 ฉบับนี้ เนื้อหาประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่หนึ่ง เป็นการนำเสนอสรุปข้อมูลเกี่ยวกับจังหวัดนนทบุรี แผนที่จังหวัด และข้อมูลสถิติที่น่าสนใจโดย นำเสนอในรูปแบบอินโฟกราฟฟิก ส่วนที่สอง เป็นการนำเสนอข้อมูลสถิติในรูปของตาราง และตัวชี้วัดที่สำคัญ ของจังหวัด เพื่อให้ผู้ใช้มีข้อมูลสถิติที่ครบถ้วน สะดวกในการนำไปใช้ โดยได้นำเสนอตามสาขาสถิติ คือ สถิติ ประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ สถิติแรงงาน สถิติการศึกษา สถิติศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม สถิติสุขภาพ สถิติสวัสดิการสังคม สถิติหญิงและชาย สถิติรายได้และรายจ่ายของครัวเรือน สถิติยุติธรรม ความมั่นคง การเมือง และการปกครอง สถิติบัญชีประชาชาติ สถิติเกษตรและประมง สถิติอุตสาหกรรม สถิติพลังงาน สถิติ การค้าและราคา สถิติการขนส่งและโลจิสติกส์ สถิติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถิติการท่องเที่ยว และกีฬา สถิติการเงิน การธนาคาร และการประกันภัย สถิติการคลัง และสถิติทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ข้อมูลสถิติที่นำเสนอได้ระบุแหล่งที่มาของข้อมูลไว้ใต้ตารางสถิติทุกตารางเพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูล สามารถสืบค้น หารายละเอียดเชิงลึกเพิ่มเติมได้อย่างสะดวกมากขึ้น สำนักงานสถิติจังหวัดนนทบุรี ขอขอบคุณส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ ที่ให้ความ อนุเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำรายงานสถิติจังหวัดไว้ ณ ที่นี้ และยินดีรับคำแนะนำ ข้อคิดเห็นจากผู้ใช้ ข้อมูลสถิติ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการพัฒนาและปรับปรุงรายงานสถิติจังหวัดฉบับต่อไป ทั้งนี้หากสนใจ ข้อมูลของจังหวัดเพิ่มเติม เข้าไปค้นหาได้ที่ http://www.nso.go.th หรือ http://nontburi.nso.go.th หรือ ศูนย์ข้อมูลสถิติจังหวัด http://service.nso.go.th/nso/web/contact/contact04.html Preface As a vision is SMART Statistical Center for Decision Making, the National Statistical Office has been carrying out the mission in provide statistical and information service to all users. The Nonthaburi Provincial Statistical Office, acting as a core agency of the local statistical office, has therefore, produced provincial statistical report. This report presents basic statistical data, concerning economic, social and environmental aspects, including the provincial indicators. Those statistics were from both censuses and surveys conducted by NSO as well as from other statistical units of Line Ministries. These statistical data could be used to guide policy planning, decision making and references purposes. The Nonthaburi Provincial Statistical Report 2020 consists of; Part 1: Presentation of an overview of Nonthaburi on basic information, its map and statistical data in the form of Infographic. Part 2: Presentation of statistical data and some major indicators, in the form of statistical tables, which enable users to use complete data in timely manner. The presentation has been classified based on statistical sectors namely: Demographic, Population and Housing Statistics, Labor Statistics, Education Statistics, Religion Art and Culture Statistics, Health Statistics, Social Security Statistics, Gender Statistics, Household Income and Expenditure Statistics, Justice, Security, Political and Public Administration Statistics, National Accounts, Agricultural and Fishery Statistics, Industrial Statistics, Energy Statistics, Trade and Price Statistics, Transport and Logistics Statistics, Information Communication and Technology Statistics, Tourism and Sports Statistics, Finance, Banking and Insurance Statistics, Fiscal Statistics and Natural Resources and Environment Statistics. Sources of data presented have been provided under all statistical tables to enable users to seek additional information. The Nonthaburi Provincial Statistical Office would like to express our sincere gratitude to all government agencies and state enterprises for the kind support in providing statistical data for this report. Any suggestions and comments are welcomed and would be taken into account so as to improve our next report. For further information, please visit our website at http://www.nso.go.th or http://nontburi.nso.go.th or Provincial Statistical Data Center at http://service.nso.go.th/nso/web/contact/contact04.html ix จังหวัดนนทบุรี ประวัติความเป็นมา ขนาดและที่ตั้ง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่ในภาคกลางเป็นจังหวัดหนึ่ง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่ใน เขตที่ราบลุ่มแม่น้ำ ในห้าจังหวัดปริมณฑล เมืองนนทบุรีมีความเป็นมาทาง เจ้าพระยาตอนล่าง ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทาง ประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 400 ปี ตั้งอยู่ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือค่อนทางเหนือ 20 กิโลเมตร ริมแม่น้ำเจ้าพระยา มีคูคลองน้อยใหญ่มากมาย มีเนื้อที่ โดยมีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ละติจูดที่ 13 องศา 47 ลิปดา ประมาณ 622.303 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ เหนือ ถึงละติจูดที่ 14 องศา 04 ลิปดาเหนือ และ 388,939,375 ไร่ เป็นเมืองเก่าแก่สมัยกรุงศรีอยุธยา ลองจิจูดที่ 100 องศา 15 ลิปดาตะวันออก ถึง เป็นราชธานี เดิมตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านตลาดขวัญ ซึ่งเป็น ลองจิจูดที่ 100 องศา 34 ลิปดาตะวันออก และมี สวนผลไม้ที่ขึ้นชื่อในสมัยนั้น ได้รับการยกฐานะเป็น อาณาเขตจรดอำเภอและจังหวัดข้างเคียงเรียงตาม เมืองนนทบุรี เมื่อ พ.ศ.2092 รัชกาลสมเด็จพระมหา เข็มนาฬิกา ดังนี้ จักรพรรดิ ต่อมาในปี พ.ศ.2179 พระเจ้าปราสาททอง ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัด โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองลัดตอนใต้วัดท้ายเมืองไปทะลุ พระนครศรีอยุธยา อำเภอลาดหลุมแก้ว และ อำเภอ วัดเขมา เพราะเดิมนั้นแม่น้ำเจ้าพระยาไหลวกเข้าแม่น้ำ เมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี อ้อมมาทางบางใหญ่ วกเข้าคลองบางกรวย ข้างวัดชลอ ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตดอนเมือง เขตหลักสี่ มาออกหน้าวัดเขมา เมื่อขุดคลองลัดแล้วแม่น้ำก็เปลี่ยน เขตจตุจักร และเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ทางเดินไหล เข้าคลองลัดที่ขุดใหม่กลายเป็นแม่น้ำ (ฝั่งพระนคร) เจ้าพระยาใหม่ดังปัจจุบันนี้ ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางพลัด เขตตลิ่งชัน และเขต เมื่อ พ.ศ. 2208 สมเด็จพระนารายณ์ ทรงเห็นว่า ทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร (ฝั่งธนบุรี) แม่น้ำเปลี่ยนทางเดินใหม่นั้น ทำให้ข้าศึกประชิด ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอพุทธมณฑลและ พระนครได้ง่าย จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างป้อมปราการตรง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ปากแม่น้ำอ้อม และโปรดฯ ให้ย้ายเมืองนนทบุรี มาอยู่ ภูมิประเทศและภูมิอากาศ ปากแม่น้ำอ้อมด้วย มีศาลหลักเมืองปรากฏอยู่ ต่อมา ลักษณะภูมิประเทศ สมัยรัชกาลที่ 4 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์โปรดฯ ให้ย้าย สภาพทั่วไปจังหวัดนนทบุรี ตั้งแต่บนฝั่งแม่น้ำ เมืองนนทบุรี ไปตั้งที่ปากคลองบางซื่อ บ้านตลาดขวัญ เจ้าพระยา โดยมีแม่น้ำเจ้าพระยาแบ่งพื้นที่ของ และในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงโปรดฯ ให้ตั้งศาลากลาง จังหวัดออกเป็น 2 ส่วน คือ ฝั่งตะวันออก และฝั่ง เมืองขึ้นที่ปากคลองบางซื่อ ฝั่งซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยา ตะวันตก พื้นที่ส่วนใหญ่จึงเป็นที่ราบลุ่มมีคลองทั้ง จนถึงปี พ.ศ. 2471 รัชกาลที่ 7 ทรงโปรดฯให้ย้ายศาลา ธรรมชาติและคูคลองที่ขุดขึ้นใหม่เป็นจำนวนมาก กลางมาตั้งที่ราชวิทยาลัยบ้านบางขวาง ตำบลบาง ซึ่งเชื่อมโยงติดต่อกันเปรียบประดุจใยแมงมุม ตะนาวศรี ปัจจุบันเป็นที่ตั้งกองฝึกอบรม กระทรวงมหาดไทย สามารถใช้เป็นที่สัญจรไปมาติดต่อกันระหว่างหมู่บ้าน ตั้งอยู่บนถนนประชาราษฎร์สาย1 อำเภอเมืองนนทบุรี ตำบล และจังหวัดทำให้มีย่านชุมชนหนาแน่น ตามริม ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ตัวอาคารเป็นสถาปัตยกรรมแบบ แม่น้ำเจ้าพระยา และตามริมคลองสายต่างๆ ยุโรปตามอาคาร ประดับด้วยไม้ฉลุ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ โดยทั่วไปพื้นที่ส่วนที่ห่างจากแม่น้ำเจ้าพระยาและ เจ้าพระยากรมศิลปากร ได้ขึ้นบัญชีเป็นโบราณสถาน ลำคลอง ก็เป็นหมู่บ้านอิสระ เป็นสวนและ ไร่นาซึ่ง แห่งหนึ่ง และในปัจจุบัน ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี มักจะมีน้ำท่วมเสมอ ปัจจุบันพื้นที่ของจังหวัดในบาง ได้ย้ายที่ทำการมาอยู่ที่ถนนรัตนาธิเบศร์ อำเภอ ซึ่งเคยเป็นสวนผลไม้ต่างๆ และมีเขตติดต่อกับ กรุงเทพมหานครก็ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงเป็นที่อยู่ x อาศัยของประชาชนที่ได้ย้ายถิ่นมาจากทุกภาคของ ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งน้ำและสภาพทาง ประเทศ พื้นที่ในบางอำเภอจึงเป็นที่รองรับการ เศรษฐกิจ ขยายตัวในด้านอุตสาหกรรมและธุรกิจ โดยเฉพาะ ทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่บางส่วนของทุกอำเภอ จะมีการจัดสรรที่ดินเพื่อ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มโดยสามารถแบ่ง
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages225 Page
-
File Size-