Full Page Photo

Full Page Photo

ืด �าจ น้ มง ระ าป น ัฒ ะพ แล จิ ัย กว นั ส้า ืด �าจ น้ มง ระ าป น ัฒ ะพ แล จิ ัย กว นั ส้า ืด �าจ น้ มง ระ าป น ัฒ ะพ แล จิ ัย กว นั ส้า ืด �าจ น้ มง ระ าป น ัฒ ะพ แล จิ ัย กว นั ส้า ืด �าจ น้ มง ระ าป น ัฒ ะพ แล จิ ัย กว นั ส้า ชีววิทยาบางประการของปลาดุกมูลในแม่นํามูล จังหวัดอุบลราชธานี จามิกร พิลาศเอมอร ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงนําจืดร้อยเอ็ด ต.นิเวศน์ อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๗๐ บทคัดย่อ Bagrichthys macropterus (Bleeker, ) การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาดุกมูล 1853 ดําเนินการในเดือนตุลาคม 2543 ถึงเดือนกนยายนั 2544 โดยรวบรวมตัวอยางจากชาวประมง่ ืด ซึงจับปลา โดยข่าย อวน และลอบ ในแม่นํามูล จังหวัดอุบลราชธานี ทุกเดือน รวมจํานวน 360 ตัว เป็นปลาเพศผู้จ 202 ตัว ± ้�า ± และเพศเมีย 158 ตัว มีความยาวเหยียดเท่ากบั 14.6 2.1 เซนติเมตร และมีนําหนักเฉลีนยเท่ากบั 23.92 9.99 กรัม พบวา่ ปลาดุกมูลสามารถแยกเพศจากลักษณะภายนอกได้ชัดเจนในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกง นยายนั โดยปลา ม เพศผู้จะมีอวัยวะแสดงเพศเรียวยาวและแหลมตอนปลาย ส่วนเพศเมียอวัยวะเพศคะ ่อนข้างกลม มีสัดส่วนเพศ ในธรรมชาติเพศผู้ต่อเพศเมีย เท่ากบั 1 : 0.78 กระเพาะอาหารของปลาดุกมูลมีรูปรร ่างกลมมน ผนังหนาสีขาวขุ่น ป พบตัวอ่อนแมลงและลูกปลาในกระเพาะ สมการความสัมพันธ์ระหวา ่างความยาวและนําหนักปลาดุกมูลคือ log W log L R2 , p log W log L = 2.7198 - 1.812 ( = 0.90 < 0.05) ปลาดุกมูลเพศผู้คือน = 2.5723 - 1.654 R2 , p log W log L R2 , p ( = 0.89 < 0.05) และปลาดุกมูลเพศเมียคือ ัฒ = 2.8026 - 1.897 ( = 0.92 < 0.05) ช่วงฤดู ± วางไข่อยู่ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนกนยายนั พ ปลาดุกมูลเพศเมีย ความยาวเฉลีย 16.5 1.2 เซนติเมตร ± ะ ± นําหนักเฉลีย 32.9 6.8 กรัม มีปริมาณความดกไข่เฉลีย 9,685 3,818 ฟอง มีความสัมพันธ์ระหวาง่ ความดก log F ล log W R2 , p ไขก่ บนํั าหนักตัวปลาคือ =ัย 0.7833แ + 2.0669 ( = 0.82 < 0.05) วจิ คําสําคัญ : ปลาดุกมูล,ัก ชีววิทยาปลา, แมนํ่ ามูล ้าน ส 2 SOME BIOLOGICAL ASPECTS OF Bagrichthys macropterus (Bleeker, 1853) IN MUN RIVER UBONRATCHATHANI PROVINCE Chamikorn Pilasemorn Roi-Et Inland Fisheries Research and Development Center, Roi-Et Province, 45170, Thailand ABSTRACT A study on some biological aspects of Bagrichthys macropterus (Bleeker,1853) was conducted during October 2000 to September 2001. Total number of 360จ fishืด specimens, 202 male and 158 female, were collected from the Mun River in Ubonratchathani้�า Province. The average sample size was 14.6±2.1 cm of total length and 23.92±9.99น g of body weight. The results showed that the secondary characteristic of sex wasม obviouslyง seen which male have genital papillae. Sex ratio between male and female was ะ1 : 0.78. The analysis of stomach contents showed this fish was carnivorous feeder. The equationsร of length-weight relationship ป 2 of both sex, male and female were log W = 2.7198า log L - 1.812 (R = 0.90, p < 0.05), log W = 2.5723 log L - 1.654 (R2 = 0.89, p < 0.05), log นW = 2.8026 log L - 1.897 (R2 = 0.92, p < 0.05) respectively. Spawning period started from Augustัฒ to September. An average fecundity was 9,685±3,818 eggs from the average พspawner size of 16.5±1.2 cm and 32.9±6.8 g. The relationship between fecundity ะand body weight was log F = 0.7833+2.0669 log W 2 ล (R = 0.82, p < 0.05). แ จิ ัย Key words : Bagrichthysว macropterus, Fish biology, Mun River ก นั ้า ส 3 คํานํา Bagrichthys macropterus (Bleeker, ) ปลาดุกมูล 1853 เป็นปลานําจืดในครอบครัว Bagridae Taki ซึง (1974) รายงานวาปลาดุกมูลมีรูปร่ ่างเรียวยาว ความยาวลําตัวจากจะงอยปากถึงโคนหาง เป็น 4.3 เท่าของความกว้างลําตัว และเป็น 5.8 เท่าของความยาวส่วนหัว ลําตัวแบนข้างเล็กน้อย ส่วนหัว gill membranes ค่อนข้างแบนและเป็นรูปกรวย ปากเล็ก ตาเล็ก ไม่มีเกล็ด เชือมถึงใต้คาง มีหนวด 4 คู ่ หนวดทีขากรรไกรบนยาวแต่ไม่ถึงครีบหู ครีบหลังมีกานครีบแข็ง้ 1 กาน้ ฟันเป็นเลือย มีกานครีบ้ แขนง D.I 7 กาน้ ( -7) ครีบกน้ มีกา้ นครีบ 14 กาน้ มีครีบไขมันยาว เส้นขอบหลังของครีบไขมันไม่แยกจากลําตัว ครีบหางเป็นรูปส้อม แพนหางส่วนบนยาวกวาส่ ่วนล่าง สีของลําตัวมีสีนําตาลอ่อนปนเทา เคยพบขนาด Rainboth ืด ยาวทีสุด 26 เซนติเมตร (1996) สํารวจปลาดุกมูลพบในแม่นําทีพืนเป็นโคลนจ ในประเทศไทย และอินโดนีเซีย กินลูกปลาขนาดเล็ก สัตว์หน้าดินและซากพืชทีเน่าเปือยเป็นอาหาร้�า วางไข่ช่วงต้นฤดูฝน ผสมพันธุ์ในบริเวณนําทวมถึงทีมีต้นไม้และวัชพืชริมแม่ นํ่ า พบตัวออนในเดือนสิงหาคม่ งน ในประเทศไทยพบปลาดุกมูลในแหล่งนําทัวไป ได้แก่ มแม่นําเจ้าพระยาตอนล่าง แม่นํา Smith ะ นครนายก และแม่นําบางปะกง ( , 1945) สําหรับในจังหวัดอุบลราชธานีร พบในแม่นํามูลตังแต ่ อําเภอพิบูลมังสาหาร จนถึง อําเภอโขงเจียม (สันทนาและถวัลย์,าป 2534) ปลาดุกมูลเป็นปลาทีมีรสชาติดี และเป็นปลาทีนิยมนํามาเลียงเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันปลาดุกมูลทีนํามาใช้ประโยชน์ได้มาจากน การรวบรวมจากธรรมชาติเพียงอยางเดียว่ ซึงมีผลทําให้ปลาชนิดนีัฒ มีจํานวนลดลง และอาจสูญพันธุ์ได้ ในอนาคต การศึกษารวบรวมข้อมูลเกียวกบชีววิทยาของปลาดุกมูลั พ เพือทราบข้อมูลพืนฐานทีจะนํามาใช้ เป็นแนวทางในการเพาะขยายพันธุ์คืนสูล่แหละ ่งนําธรรมชาติ ซึงเป็นการอนุรักษ์ปลาไทยชนิดนีให้ดํารง อยูตลอดไป่ ัยแ วจิ วัตถุประสงค ์ เพือศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาดุกมูลในก หัวข้อตางๆ่ ดังนี ั 1. ลักษณะทางอนุกรมวิธานน ้า 2. ความสัมพันธ์ระหวางนํ่ าหนักตอความยาวตัวปลา่ ส 3. ความแตกตางระหว่ างเพศ่ ภายนอกและสัดส่วนเพศ 4. ขนาดเมือเริมแรกเจริญพันธุ์ 5. ฤดูวางไข ่ 6. คา่ สัมประสิทธิ7ความสมบูรณ์ของปลา 7. ความสัมพันธ์ระหวางความดกไข่ ต่ อความยาวและนํ่ าหนักตัวปลา 8. อาหารและนิสัยการกินอาหาร 4 วิธีดําเนินการ รวบรวมตัวอยางปลาดุกมูลทีมีลักษณะภายนอกสมบูรณ์จากชาวประมง่ จากจุดสํารวจ 4 จุด ในแม่นํามูล คือทีอําเภอเมือง อําเภอวารินชําราบ อําเภอพิบูลมังสาหาร และอําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (รูปที 1) ระหว่างเดือนตุลาคม 2543 ถึงเดือนกันยายน 2544 เก็บรวบรวมตัวอย่าง เดือนละครัง จุดสํารวจละ 5-10 ตัวอยาง่ นําตัวอยางทีได้ไปศึกษาตามวิธีต่ างๆ่ ดังตอไป่ นี 1. การศึกษาลักษณะทางอนุกรมวิธาน นําตัวอยางปลาดุกมูลทีมีลักษณะภายนอกสมบูรณ์่ จํานวน 30 ตัว วัดความยาวมาตรฐานเฉลีย ได้ 14.8±0.9 เซนติเมตร ทําการนับจํานวนกา้ นครีบอ่อน กานครีบแข็ง้ ความยาวเหยียด พร้อมทัืดงวัดสัดส่วน ของลําตัวปลาจากนันจึงนํามาศึกษาลักษณะทางอนุกรมวิธาน โดยเปรียบเทียบสัดส่วนตจ่างๆ ของตัวปลา กบความยาวมาตรฐานเป็นร้อยละั และบันทึกข้อมูลเพือนําไปเปรียบเทียบกบคูั ่มือวิเคราะห์พรรณปลา้�า (คณะประมง, 2523) น มง 2. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างนําหนักต่อความยาวตัวปลา ะ นําตัวอย่างปลาดุกมูลทีรวบรวมได้มาชังนําหนักด้วยเครืองชัร งไฟฟ้าทีระดับความละเอียด total length ป 0.01 กรัม และวัดความยาวเหยียด ( ) ด้วยไม้บรรทัดทีระดับความละเอียดา 0.1 เซนติเมตร W L เพือนํามาหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างนําหนักตัวปลา (น) ต่อความยาวเหยียด ( ) โดยใช้สูตรสมการ Tesch ยกกาลังตามวํ ิธีการของ (1971) ดังนี ัฒ W a Lb Logarithm = ซึงคํานวณในรูปสมการพ ดังนี log W log a b logะ L = + W ล, L a b = นาหนํ ักตัวปลาแ (กรัม) = ความยาวตัวปลา (เซนติเมตร), และ คือคาคงที่ R2 เมือคํานวณได้สมการความสัมพันธ์ัย และค่าสัมประสิทธิ7ตัวกาหนดํ ( ) แล้วทําการตรวจสอบ จิ Y ต่อว่า สมการดังกล่าวสามารถอธิบายความผันแปรของคว ่าตัวแปรตาม (ค่าแกน ) ทีได้อย่างเหมาะสม t t − 2)(n R 2 / − 2 )R(1 t หรือไม่ อย่างไร โดยคํานวณคัก ่า จากสูตร = นําค่า ทีคํานวณได้ไป นt t – distribution t 0.05 n เปรียบเทียบกบคั้า่า ทีเปิดจากตาราง ที ( -2) ถ้าค่าทีคํานวณได้มีค่ามากกวา่ t ทีเปิดจากตารางส แสดงวา่ เส้นสมการแสดงความสัมพันธ์ความเชือมันในการอธิบายความผันแปรของ ตัวแปรตามอย างมีนัยสําคัญทางสถิติ่ 3. การศึกษาความแตกต่างระหว่างเพศภายนอกและสัดส่วนเพศ นําตัวอยางปลาดุกมูลทีรวบรวมได้ในแต่ ่ละเดือนมาศึกษาถึงลักษณะเพศเพือให้ทราบ ความแตกต่างระหวางปลาเพศผู้และเพศเมีย่ โดยศึกษาทังลักษณะภายนอกและภายใน นําตัวอยางปลา่ Chi-square test ทังหมดมาคํานวณหาสัดส่วนเพศ และทดสอบความแตกต่างทางสถิติโดยใช้ (Snedecor and Conbran , 1973) โดยตังสมมติฐานวาสัดส่ ่วนปลาเพศผู้เท่ากบปลาเพศเมียั 5 4. การศึกษาขนาดเมือเริมแรกเจริญพันธ์ุ นําตัวอยางปลาดุกมูลทีรวบรวมได้ในแต่ ่ละเดือนมาศึกษาโดยการแยกเพศและชังวัดขนาด แล้วนํามาผ่าตัดตรวจสอบพัฒนาการของอวัยวะสืบพันธุ์ บันทึกข้อมูลลักษณะของรังไข่และถุงนําเชือ ตามสภาพการมองเห็นด้วยตาเปล่า เมือปลามีไข่และนําเชือแก่พร้อมทีจะทําการผสมพันธุ์ได้เป็นครังแรก Carlander ( , 1969) บันทึกข้อมูลปลาขนาดเล็กทีสุดทังตัวผู้ตัวเมียทีมีขันการพัฒนาของอวัยวะสืบพันธุ์ maturity ในระยะ หรือระยะเจริญพันธุ์ 5. การศึกษาฤดูวางไข่ การศึกษาฤดูวางไขของปลาดุกมูล่ มีดังนี ืด 5.1 การพัฒนาของอวัยวะสืบพันธุ์ จ นําตัวอย่างของปลาดุกมูลทีรวบรวมได้ในแต่ละเดือน ทําการแยกเพศของปลาและ้�า ชังวัดขนาด แล้วนํามาผ่าตัดตรวจสอบพัฒนาการของอวัยวะสืบพันธุ์ โดยดูลักษณะเพศภายในน ตามวิธี Nikolsky ง ของ (1963) ทีลําดับการพัฒนาของอวัยวะสืบพันธุ์ภายในเป็น 6ม ระยะดังนี immature ะ ระยะที 1 ระยะก่อนเจริญพันธุ์ ( ) คือระยะทีปลาอายุน้อยร ยังไมเข่ ้าสู่วงจรเจริญพันธุ์ อวัยวะสืบพันธุ์มีขนาดเล็กมาก ป resting stage า ระยะที 2 ระยะพักตัว ( ) คือระยะทีอวัยวะสืบพันธุ์ภายในยังไมน พ่ ัฒนามากนัก มีขนาดเล็ก ยากแก่การแยกได้ด้วยตาเปล่า maturationัฒ ระยะที 3 ระยะเริมเจริญพันธุ์ ( พ ) คือระยะทีเห็นเม็ดไขได้ชัดด้วยตาเปล่ ่า อวัยวะเพศ ภายในมีนําหนักมากขึน อัณฑะเปลียนจากโประ ่งแสงมาเป็นสีชมพูทึบ ลmaturity ระยะที 4 ระยะเจริญพันธุ์แ ( ) อวัยวะเพศภายในมีนําหนักมากทีสุด ไขและนํ่ าเชือ มีการพัฒนา แตยังบีบหรือรีดเบา่ ัย ๆ ไมออก่ reproduction ระยะที 5 ระยะสืบพันธุ์จิ ( ) หากบีบทีท้องเบา ๆ ไขและน่ าเชืํ อ จะไหลออกมา ว spent condition ระยะที ั 6ก ระยะผสมพันธุ์วางไขแล้ว่ ( ) เป็นระยะทีได้ผานการผสมพันธ่ ุ์ รูเปิดช่องเพศแดง้าน รังไข ่ และถุงนําเชือจะแฟบลง หลังจากระยะนีแล้วปลาจะย้อนเข้าสู่ระยะพักตัวอีกครัง ส5.2 ดัชนีความสัมพันธ์ของอวัยวะสืบพันธุ์ นําตัวอยางปลาดุกมูลทีรวบรวมได้ในแต่ ่ละเดือนมาทําความสะอาดแล้วชังนํ าหนักบันทึกผล ผ่าท้องตัดถุงนําเชือและรังไข่ออกมาชังนําหนัก และนํามาคํานวณหาค่าดัชนีความสัมพันธ์ของอวัยวะ gonadosomatic index : GSI Benfey and Sutterlin สืบพันธุ์ ( ) ตามวิธีของ (1984) ซึงใช้สูตร GSI = นําหนักอวัยวะสืบพันธุ์ × 100 (นําหนักตัวปลา – นําหนักอวัยวะสืบพันธุ์) 6 6. การศึกษาค่าสัมประสิทธิ&ความสมบูรณ์ของปลา นําข้อมูลนําหนักและความยาวปลาแต่ละเดือนมาคํานวณหาค่าสัมประสิทธิ7ความสมบูรณ์ (Condition factor : K) Swingle and Shell ของปลา ตามวิธีการของ (1971) ดังนี K W/L3 = 1,000 K เมือ = สัมประสิทธิ7ความสมบูรณ์ของปลา W = นําหนักปลา (กรัม) L = ( ) ความยาวเหยียด เซนติเมตร 7. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดกไข่ต่อความยาวและนําหนักตัวปลา นําตัวอย่างปลาดุกมูลเพศเมียจํานวน

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    39 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us