วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร Journal of Agricultural Research and Extension

วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร Journal of Agricultural Research and Extension

วารสารวิจยั และส่งเสริมวิชาการเกษตร สา นักวิจยั และส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563 E-ISSN 2630-0206 การประเมินศักยภาพของวัสดุคลุมดินต่อการควบคุมวัชพืชปืนนกไส้ (Bidens pilosa L.) บนคันนาข้าว: กรณีศึกษา ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ สิปปวิชญ์ ปัญญาตุ้ย สมนึก แก้วเกาะสะบ้า สุมาลี มีปัญญา พิชญ์นันท์ กังแฮ gri วรเมธ พลประโคน มรกต โอษะคลัง ศศิวิมล ผดุงสันต์ และเจนจิรา หม่องอ้น 1-8 ผลของวัสดุปรับปรุงดินต่อสมบัติทางกายภาพของดินบางประการใต้ทรงพุ่มมะม่วง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี สุทธิภัทร แซ่ย่าง และจีราภรณ์ อินทสาร 9-17 . ปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บรักษาตัวอย่างน ายางสดเพื่อวิเคราะห์ธาตุอาหารและองค์ประกอบทางชีวเคมี จักรกฤษณ์ พูนภักดี วารุณี อติศักดิ์กุล และจ าเป็น อ่อนทอง 18-29 การศึกษาสภาพการเลี ยงกระบือนม และคุณค่าทางโภชนะพืชอาหารสัตว์ที่ใช้เลี ยงกระบือนม ของเกษตรกรบ้านสี่เหลี่ยมน้อย ต าบลหนองโสน อ าเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ วิณากร ที่รัก 30-38 ความต้องการในการส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในระบบอินทรีย์ ของเกษตรกรอ าเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ วิทยา แก้วเจริญศรี พุฒิสรรค์ เครือค า นคเรศ รังควัต และสายสกุล ฟองมูล 39-48 การยอมรับการผลิตข้าว (พันธุ์ กข43) ตามหลักเกษตรที่ดีและเหมาะสม ของเกษตรกรในอ าเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณัฐวุฒิ จั่นทอง และพหล ศักดิ์คะทัศน์ 49-59 การรับรู้ต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของเกษตรกรในต าบลสบเปิง อ าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ นวลพิศ มีเดชา พุฒิสรรค์ เครือคา พหล ศักดิ์คะทัศน์ และกังสดาล กนกหงษ์ 60-70 ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจและพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของนักท่องเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษาหมู่บ้านแม่แจ๋ม อ าเภอเมืองปาน จังหวัดล าปาง สมชาย ไชยมูลวงศ์ สายสกุล ฟองมูล นคเรศ รังควัต และพหล ศักดิ์คะทัศน์ 71-78 การบริหารความขัดแย้งด้านการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวชุมชน ของผู้น าท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ บงกชมาศ เอกเอี่ยม 79-93 ความมั่นคงเชิงเศรษฐกิจและสังคมของกลุ่มวิสาหกิจผู้ผลิตข้าวปลอดสารพิษ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดุษฎี พรหมทัต 94-102 ต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกพืชเศรษฐกิจของเกษตรกรในเขตต าบลหัวเมือง อ าเภอเมืองปาน จังหวัดล าปาง สุรีย์มาศ สิงห์ค า และธีราลักษณ์ สัจจะวาที 103-117 การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการธนาคารต้นไม้บ้านถ าเสือ จังหวัดเพชรบุรี อัจฉรา สุวรรณ์ กัมปนาท วิจิตรศรีกมล และสาพิศ ดิลกสัมพันธ์ 118-130 วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร JOURNAL OF AGRICULTURAL RESEARCH AND EXTENSION ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จ าเนียร ยศราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน มะโนชัย บรรณาธิการอ านวยการ รองศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ข้ามสี่ รองศาสตราจารย์ ดร. จ าเนียร บุญมาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จีราภรณ์ อินทสาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรีย์วัลย์ เมฆกมล บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์เฉลิมพล แซมเพชร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์ ดร. ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์ ดร. สัญชัย จตุรสิทธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์ ดร. ไพศาล สิทธิกรกุล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศาสตราจารย์ ดร. ประนอม จันทรโณทัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร. อุทัยรัตน์ ณ นคร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รองศาสตราจารย์ ดร. วรทัศน์ อินทรัคคัมพร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร. วันดี วัฒนชัยยิ่งเจริญ มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร. อุบลลักษณ์ รัตนศักดิ์ มหาวิทยาลัยบูรพา รองศาสตราจารย์ ดร. ปราโมช ศีตะโกเศศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รองศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ จรรยาสุภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รองศาสตราจารย์ ดร. นพมณี โทปุญญานนท์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รองศาสตราจารย์อ้อมทิพย์ เมฆรักษาวนิช แคมป์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รองศาสตราจารย์ประวิตร พุทธานนท์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะกรรมการด าเนินงาน นางสาววารี ระหงษ์ นางธัญรัศมิ์ ธวัชมงคลศักดิ์ นางสาวรังสิมา อัมพวัน นางทิพย์สุดา ปุกมณี นายสมยศ มีสุข นางสาวอัมภา สันทราย นางจิรนันท์ เสนานาญ นางสาวรัญรณา ขยัน ฝ่ายประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ นายปริญญา เพียรอุตส่าห์ นายประสิทธิ์ ใจค า นางประไพศรี ทองแจ้ง จัดท าโดย กองบริหารงานบริการวิชาการ ส านักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290 โทรศัพท์ 0-5387-3411 โทรสาร 0-5387-3418 E-mail: [email protected] Web site: www.jare.mju.ac.th วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร เป็นวารสารทางวิชาการของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ เผยแพร่งานวิจัยและบทความทางวิชาการด้านการเกษตร เป็นวารสารราย 4 เดือน ก าหนดออกปีละ 3 ฉบับ โดยมีการเผยแพร่ ออนไลน์ (Journal Online) ในรูปวารสารทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-ISSN 2630-0206) ส าหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาการเกษตร บทบรรณาธิการ วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร ที่อยู่ในมือท่านผู้อ่านขณะนี้ เป็นฉบับ ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2563 ฉบับสุดท้ายของปี อาจกล่าวได้ว่า ปีนี้นับเป็นปีที่หนักหนาสาหัสเอาการส าหรับ ประเทศไทยของเรา ช่วงต้นปี พ.ศ. 2563 ต้องเผชิญกับวิกฤติโรคระบาดไวรัสโควิด-19 เมื่อสถานการณ์เริ่มดีขึ้นมี การผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้ เศรษฐกิจ สังคม เดินต่อไปได้ ช่วงกลางปี ก็ต้องเผชิญปัญหาความขัดแย้ง ทางความคิดของคนในสังคม เกิดกลุ่มผู้ชุมนุมต่างๆ มากมาย สร้างความหวั่นวิตกให้คนทั้งประเทศว่าประเทศเรา จะก้าวไปอย่างไรภายใต้สภาวะวิกฤติที่ส่งผลกระทบทั่วโลก เหมือนเคราะห์ซ้ ากรรมซัด ก่อนจะผ่านพ้นปี พ.ศ. 2563 ไม่ถึง 1 เดือน ไวรัสโควิด-19 กลับมาตามหลอกหลอนคนไทยทั้งประเทศอีกครั้ง จากสถานการณ์ 1G1 ของ ประเทศเพื่อนบ้าน และสถานการณ์จากตลาดกุ้ง จังหวัดสมุทรสาคร เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นอุทาหรณ์ให้ทุกท่านได้ ตระหนักถึงความไม่ประมาทในการใช้ชีวิตว่าอะไรก็เกิดขึ้นได้เสมอ เมื่อชีวิตต้องเดินต่อไป จึงฝากไปยังท่านนักวิจัยที่เคารพรักทุกท่าน ช่วยกันสร้างสรรค์งานวิจัยต่างๆ เพื่อประโยชน์ต่อพี่น้องเกษตรกรของประเทศ ให้เข้าถึงองค์ความรู้ที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้จริง เพื่อท าให้ พี่น้องเกษตรกรได้ลืมตา อ้าปาก ต่อสู้กับสภาวะวิกฤติ และผมยังเชื่อมั่นเสมอมาว่า ประเทศเรายังมีทรัพยากร เพียงพอต่อการด ารงชีพของคนทั้งประเทศ ถ้าเราใช้อย่างประหยัด คุ้มค่า และเคารพในธรรมชาติที่มอบให้กับ พวกเราทุกคน เนื้อหาสาระของงานวิจัยที่นักวิจัยได้กรุณาส่งมายังเอกสารวิจัยฯ ฉบับนี้ มีทั้งสิ้น 12 เรื่อง หลากหลาย ประเด็นที่น่าสนใจ กระผมขออนุญาตให้ทุกท่านได้เลือกอ่านตามอัธยาศัย และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่าน จะสรรหาเรื่องดีๆ มีประโยชน์มาตีพิมพ์ในฉบับต่อไปนะครับ ในศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช 2564 ที่จะมาถึงนี้ กระผมและทีมงานวารสารวิจัยและส่งเสริม วิชาการเกษตร กราบขออาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลก จงได้โปรดดลบันดาลให้ทุกท่าน ประสบแด่ความสุข ความเจริญ สุขภาพแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และร่ ารวยๆ ครับ ด้วยรักและเคารพ รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง บรรณาธิการวารสารวิจัยฯ Journal of Agri. Research & Extension 37(3): 1-8 การประเมินศักยภาพของวัสดุคลุมดินต่อการควบคุมวัชพืชปืนนกไส้ (Bidens pilosa L.) บนคันนาข้าว: กรณีศึกษา ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ Evaluation of Mulching Materials Potential for Controlling of Weed Spanish Needle (Bidens pilosa L.) on the Ridge Rice Field: A Case Study of Samoeng Rice Research Center, Chiang Mai สิปปวิชญ์ ปัญญาตุ้ย1* สมนึก แก้วเกาะสะบ้า1 สุมาลี มีปัญญา1 พิชญ์นันท์ กังแฮ2 วรเมธ พลประโคน3 มรกต โอษะคลัง3 ศศิวิมล ผดุงสันต์3 และเจนจิรา หม่องอ้น3 Sippawit Punyatuy1*, Somnuk Kaewkosaba1, Sumalee Meepanya1, Pitchanan Kanghae2 Voramet Ponprakon3, Morakot Aosakhlang3, Sasiwimon Padungsan3, and Jenjira Mongon3 1ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง เชียงใหม่ 50250 2ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ แพร่ 54000 3หลักสูตรอารักขาพืช คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ 50290 1Samoeng Rice Research Center, Chiang Mai, Thailand 50250 2Phrae Rice Research Center, Phrae, Thailand 54000 3Plant Protection Program, Faculty of Agricultural Production, Maejo University, Chiang Mai, Thailand 50290 *Corresponding author: [email protected] Received: October 25, 2019 Abstract Revised: Februaryr 24, 2020 Accepted: March 30, 2020 The purpose of this research was to investigate the effects of different muching materials for controlling of weed Spanish needle (Bidens pilosa L.). A field experiment was conducted at ridge rice field in wet season 2019 of Samoeng Rice Research Center, Chiang Mai, during July to September 2019. The experimental design was RCBD consisting of four treatments; 1) control 2) rice straw 3) paper of rice straw and 4) black plastic with three replications, plots size 50x50 cm. The data was collected for heights, weed density, weed cover and whole plant dry weight at 1, 2, 3 and 4 weeks. The result showed that Spanish needle was very responsive to the different mulching materials. The black plastic and paper of rice straw inhibited for heights, weed density, weed cover and dry weight of the Spanish needle at 4 weeks, but paper of rice straw was slightly less effective for 3 and 4 weeks. The growth of Spanish needle for rice straw and control was not different. Keywords: mulching materials, rice straw, paper of rice straw, Spanish needle, Samoeng Rice Research Center 1 วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 37(3): 1-8 บทคัดย่อ เมล็ดที่ยาวนาน เมล็ดมีขนาดเล็กและมีจ านวนมาก จึงท า ให้การแพร่กระจายของวัชพืชเป็นไปอย่างกว้างขวางและ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมิน ยังคงมีอัตราการรุกรานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ วัชพืชมีหลาย ศักยภาพของวัสดุคลุมดินต่อการควบคุมการเจริญเติบโต ประเภทจัดแบ่งตามกลุ่มได้ดังนี้ วัชพืชใบกว้าง วัชพืช ของวัชพืชปืนนกไส้ (Bidens pilosa L.) ด าเนินการ ใบแคบ และวัชพืชกก (Suwanagul and Suwankhetnikom, ทดลองบนคันนาในแปลงปลูกข้าวไร่ ฤดูนา ปี พ.ศ. 2562 2001) ภายในศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือน วัชพืชรุกรานที่พบมากในภาคเหนือของประเทศ กรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2562 วางแผนการ ไทยในปัจจุบัน ได้แก่ ปืนนกไส้ (Bidens pilosa L.) อยู่ใน ทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) วงศ์ ASTERACEAE เป็นวัชพืชข้ามปีอายุสั้น อยู่ในกลุ่ม จ านวน 3 ซ ้า โดยมีกรรมวิธีการคลุมคันนาข้าวโดยใช้วัสดุ วัชพืชใบกว้าง ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด มีลักษณะพิเศษ คือ ที่แตกต่างกัน 4 ชนิด ได้แก่ 1) ไม่คลุมดิน 2) ฟางข้าว 3) ปลายเมล็ดมีรูปร่างคล้ายตะขอจึงสามารถเกาะติดกับ กระดาษจากฟางข้าว และ 4) พลาสติกด า เป็นเวลา 4 พาหะและแพร่กระจายได้อย่างกว้างขวาง

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    143 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us