
ป�ที� 9 ฉบับที� 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563 | Vol. 9 No. 4 October - December 2020 เรื่องเดน สผ. เรื่องจากปก สัมภาษณพิเศษ สิ่งแวดลอมและมลพิษ 04 WETLANDS FOR ALL 08 สวนผักคนเมือง 18 นอมนำวิถีธรรม 52 การอนุรักษและพัฒนา เชียงใหม ชี้นำสิ่งแวดลอม พื้นที่เมืองเกาอยางยั่งยืน วารสารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | ปีที ่ 9 ฉบับที ่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563 บทบรรณาธิการ Editorial Note บทความในวารสารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน พ.ศ. 2563 This issue of Nature and Environment Journal during the forth ฉบับไตรมาสที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม) ยังเป็นช่วงที่มีการควบคุมสถานการณ์ quarter (October – December) of 2020 is published during the period การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และดำาเนินการตามแนวทางการปฏิบัติ of time that measures to control the outbreak of Coronavirus disease เพื่อป้องกันและลดการระบาดของโรคโควิด 19 ของกระทรวงสาธารณสุข 2019 (Covid-19) have been implemented by following the guidelines ในไตรมาสนี้ สผ. มีกิจกรรมเด่นคือ การจัดสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และ from Ministry of Public Health to prevent and reduce the infection สร้างการรับรู้ในการบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน☳า ในเรื่อง “WETLANDS FOR of Covid-19. In this quarter, the Office of Natural Resources and ALL” โดยมีช่วงการเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักวิชาการและ Environmental Policy and Planning conducted the seminar under นักแสดงรุ่นใหม่ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมฟังการเสวนาเกิดความเข้าใจและ the theme “WETLANDS FOR ALL” to provide knowledge and raise เห็นความสำาคัญของพื้นที่ชุ่มน☳า และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่ชุ่มน☳า awareness of wetland management for participants. From the panel หัวข้อ “WETLANDS for Everyone by Every Gen : WETLANDS discussion, speakers who were academics and the popular young ไทยยั่งยืนได้ ด้วยมือ และใจของทุก GEN” เกี่ยวกับเรื่องจากปก สวนผัก actor exchanged their views on the topic “WETLANDS for Everyone คนเมืองเชียงใหม่ เป็นการนำาพื้นที่รกร้างในชุมชนมาสร้างความยั่งยืน by Every Gen: WETLANDS” to inform participants to understand and ด้านอาหารให้แก่ชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมนี้เริ่มขึ้น concern importance of wetlands. Regarding the cover story, “The ในช่วงแรกของการระบาดของโรคโควิด 19 ที่ห้ามเดินทางและขนส่งระหว่าง garden for planting vegetable in the urban community in Chiangmai” พื้นที่ ทำาให้ชุมชนเกิดการขาดแคลนอาหารได้ ในคอลัมน์สัมภาษณ์พิเศษ was illustrated to promote food security for the community through กองบรรณาธิการได้สัมภาษณ์พระอาจารย์ทิพากร อริโย พระวิทยากร public participation during the Covid-19 outbreak and lockdown area วัดจากแดง ได้เล่าถึงการนำาหลักธรรมเข้าสู่ชุมชน เพื่อเป็นแนวทาง across the country. In the Special Interview Column, the Editorial ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ประชาชน Board interviewed Ajarn Tipakorn Ariyo who was a monk in Jak Daeng อาทิ ส่งเสริมให้ชุมชนนำาขวดพลาสติกมาแปรรูปเป็นผ้าไตรจีวร สอดคล้องกับ temple informing how the temple introduced Dharma to apply in หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ขณะที่ในคอลัมน์ส่องโลก communities and to guide the communities conserving environment ได้เสนอทิศทางกรอบงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพของโลก หลังปี and improving quality of life. For example, residents in communities ค.ศ. 2020 เป็นแนวทางที่ประเทศไทยจะดำาเนินงานด้านความหลากหลาย donated water plastic bottles for recycling and producing a set of ทางชีวภาพ สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ monk robes related to the circular economy principle. In the World และเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน่ ค.ศ. 2030 คอลัมน์สิงแวดล้อมและมลพิษ่ Focus Column, the Post-2020 Global Biodiversity Framework was มีจำานวนสามเรื่อง สองเรื่องแรกเกี่ยวกับการประเมินผลกระทบสิงแวดล้อม่ illustrated to inform the biodiversity direction of Thailand related ได้แก่ เรื่องเส้นทางการกระจายภารกิจการพิจารณารายงานการประเมิน to the Convention on Biological Diversity (CBD) and the Sustainable ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็นการนำาเสนอความเป็นมาและความสำาคัญของ Development Goals (SDGs) by 2030. In the Environment and Pollution การกระจายภารกิจการพิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิงแวดล้อม่ Column, it is composed of three topics. The first two topics relevant จากส่วนกลางไปยังหน่วยงานส่วนภูมิภาคหรือท้องถิ่น เพื่อรองรับ the environmental impact assessment (EIA) were as following: the การพัฒนาในอนาคต และเรื่องการพัฒนาฐานข้อมูลระบบการประเมิน Improvement of EIA Decentralisation from the central administration ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (Big Data) และการใช้ประโยชน์ to regional and local governments and the Development of EIA ในการบริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม (Data Analytics) เพื่อรองรับ Database System and beneficially of Data Analytics for supporting นโยบายไทยแลนด์ 4.0 และการให้บริการภาครัฐสู่รัฐบาลดิจิทัล และ Thailand 4.0 and the digital government services. In the last topic, เรื่องที่สามเป็นการสัมภาษณ์ รศ.ดร.ณัฐวุฒิ ปรียวนิตย์ ที่ได้แสดงมุมมอง the Editorial Board interviewed Associate Professor Dr. Nattawut การอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่เมืองเก่าอย่างยังยืน่ โดยเมืองเก่าที่ยังยืนควรมี่ Preyawanit, Faculty of Architecture, Silpakorn University, expressing องค์ประกอบของอาคารสถานที่ที่มีค่าอันควรอนุรักษ์ และชุมชนที่สามารถ opinions on conserving and developing ancient city sustainability อยู่ร่วมกันในพื้นที่เมืองเก่าได้ ทังนี้้ กระบวนการที่จะอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ composed of key components connected together such as buildings, เมืองเก่าให้เกิดความยั่งยืน จำาเป็นที่จะต้องให้ความสำาคัญต่อกระบวนการ landscapes and communities. However, public involvement is an มีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทุกกลุ่ม และคอลัมน์สุดท้าย important process for the sustainability. The Balanced and Diverse คือ ความสมดุลและหลากหลาย มีสองเรื่อง ได้แก่ เรื่องต้นแบบการมีส่วนร่วม Column was composed of two topics such as the model of natural ในการจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ กรณีศึกษา น☳าตกธารารักษ์ อยู่ในเขต resource participatory management at Thararak waterfall, Mae Sot บ้านเจดีย์โคะ อำาเภอแม่สอด จังหวัดตาก ที่ชุมชนได้ร่วมกันดูแลและรักษา district, Tak province and the forest conservation for sustainable ทรัพยากรในท้องถินให้เป็นฐานการพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างยั่ งยืน่ และ community development in Roi Et province. เรื่องการอนุรักษ์ป่า สู่การพัฒนาชุมชนอย่างยังยืน่ เป็นการสร้างการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่า รวมถึงใช้ประโยชน์จากป่าอย่างยังยืน่ คณะผู้ประสานงาน ที่ปรึกษา : ดร.รวีวรรณ ภูริเดช ดร.พิรุณ สัยยะสิทธิพานิช์ ประเสริฐ ศิรินภาพร Advisors : Dr. Raweewan Bhuridej, Dr. Phirun Saiyasitpanich, Prasert Sirinapaporn บรรณาธิการที่ปรึกษา : มนต์สังข์ ภู่ศิริวัฒน์ Advising Editor : Monsung Poosiriwat กองบรรณาธิการ : ดร.ฉัตรชัย อินต๊ะทา ดร.ภัทรทิพา ศันสยะวิชัย ดร.วรศักดิ์ พ่วงเจริญ Editorial Board : Dr. Chatchai Intatha, Dr. Pahratipa Sansayavichai, Dr. Warasak ภัทรินทร์ ทองสิมา ดร.เบญจมาภรณ์ วัฒนธงชัย ดร.กลย์วัฒน์ สาขากร ปัทมา ดำารงผล Phuangcharoen, Pattarin Tongsima, Dr. Benchamaporn Wattanatongchai, Dr. Kollawat ดร.นิชนันท์ ทัดแก้ว Sakhakara, Patama Domrongphol, Dr. Nichanan Tadkaew คณะผู้ประสานงาน : เทพอารี จึงสถาปัตย์ชัย ศาลิตา ทับพุ่ม ทัศนธร ภูมิยุทธิ์ ผดุงวิทย์ Coordinators : Theparree Jungsatapatchai, Salita Thappum, Tassanatorn Pumeyuth, หงษ์สามารถ เฉลิมวุฒิ อุตโน พรพรรณ ปัญญายงค์ ธิดาดาว พลไตร Padungwit Hongsamart, Chalermwut Uttano, Phornpan Panyayong, Thidadao Pholtrai ดำาเนินงานจัดพิมพ์ : บริษัท หนึ่งเก้าสองเก้า จำากัด Publisher : 1929 Co., Ltd. 2 Vol. 9 No. 4 October - December 2020 | NATURE AND ENVIRONMENT สารบัญ Contents เร่องเ剈่น� สผ. | ONEP News 4 WETLANDS FOR ALL เร่องจากปก� | Cover Story สวน爱ักคนเ蘷ืองเ⨵ียงให蘷่ Chiang Mai Urban Vegetable Farm 8 สัมภาษณ์稴ิเศษ | Special Interview น้อ蘷นำ�วิ娵ีธรร蘷⨵ีน� ำ�สิ�งแวด陉้อ蘷 Ways of dharma leading environment 18ส่องโลก | World Focus 帴ิศ帴�งของกรอบง�นด้�นคว�蘷ห陉�กห陉�ย 帴�ง⨵ีวภ�พของโ陉ก ห陉ัง渵ี ค.ศ. 2020 Direction of Post-2020 Global Biodiversity Framework 28 สิ�งแว剈ล้อมและมล稴ิษ | Environment and Pollution เส้น帴�งก�รกระจ�ยภ�รกิจ ก�รพิจ�รณ�ร�ยง�นก�ร渵ระเ蘷ิน爱陉กระ帴บสิงแวด陉้อ� 蘷 38 Mission distribution: EIA report consideration ก�รพัฒน�ฐ�นข้อ蘷陉ู ระบบก�ร渵ระเ蘷ิน爱陉กระ帴บสิ�งแวด陉้อ蘷 (Big Data) ของ渵ระเ帴ศไ帴ย แ陉ะก�รใ⨵้渵ระโย⨵น์ในก�รบริห�รจัดก�รคุณภ�พสิ�งแวด陉้อ蘷 (Data Analytics) Development of Big Data of Environmental Impact Assessment And Utilization 44 of Data Analytics for Management of Environmental Quality 蘷ุ蘷蘷องก�รอนุรักꙌ์แ陉ะพัฒนาพื�น帴ีเ蘷ืองเ� ก่�อย่�งยั�งยืนกับ รศ. ดร.ณัฐวุฒิ 渵รียวนิตย์ Perspective on conservation and sustainable development of old city 52 by Associate Professor Nattawut Preyawanit, Ph.D. สม剈ุลและหลากหลาย | Balance and Diverse นำ�ตกธ� �ร�รักꙌ์ ต้นแบบก�ร蘷ีส่วนร่ว蘷ในก�รจัดก�ร สิ�งแวด陉้อ蘷ธรร蘷⨵�ติ Thararak Waterfall Model of natural environment participatory management ก�รอนุรักꙌ์渵�่ สู่ก�รพัฒน�⨵ุ蘷⨵นอย่�งยั�งยืน 60 Forest conservation to sustainable community development 68 ถาม - ตอบ | FAQ เ蘷ืองพ陉วัตกับก�ร渵รับตัวต่อคว�蘷เ渵陉ียนแ� 渵陉ง 74 Resilient City 76 ก่อนจะป剈ิ เล่ม | Epiloque 3 วารสารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | ปีที ่ 9 ฉบับที ่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563 เร่องเ� ด่น สผ. ONEP News โดย กองบรรณา戴ิการ Editorial Board WETLANDS FOR ALL สำานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิงแวดล้อม่ (สผ.) ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบการบริหารจัดการ พื้นที่ชุ่มน☳าของประเทศไทยและหน่วยงานประสานงานกลาง อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน☳า ตระหนักถึงว่าการดำาเนินงาน ด้านพื้นที่ชุ่มน☳าให้ประสบความสำาเร็จและมีประสิทธิภาพ ต้องอาศัยกระบวนการถ่ายทอด การเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน จึงจัดกิจกรรม “WETLANDS FOR ALL” ขึ้น เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ณ โรงแรม เดอะ เบอร์เคลีย์ โฮเต็ล ประตูน☳า กรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วม กิจกรรมจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน สถาบันการศึกษา ประชาชนและเยาวชนที่สนใจ ประมาณ 300 คน มีวัตถุประสงค์เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ ในการบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน☳าจากผู้มีประสบการณ์ด้านพื้นที่ ชุ่มน☳า ให้ทุกภาคส่วนได้รับทราบและตระหนักในคุณค่าและ ความสำาคัญของพื้นที่ชุ่มน☳า พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมุมมองในการดำาเนินงานด้านพื้นที่ชุ่มน☳า
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages78 Page
-
File Size-