The Analysis of Walking Bass Line by Ray Brown

The Analysis of Walking Bass Line by Ray Brown

การวิเคราะห์การเดินเบสของ เรย์ บราวน์ โดย นายศิริวัฒน์ เปลี่ยนสันเทียะ วทิ ยานิพนธ์น้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรดุริยางคศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2560 ลิขสิทธ์ิของบณั ฑิตวทิ ยาล ยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร การวิเคราะห์การเดินเบสของ เรย์ บราวน์ โดย นายศิริวัฒน์ เปลี่ยนสันเทียะ วทิ ยานิพนธ์น้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรดุริยางคศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2560 ลิขสิทธ์ิของบณั ฑิตวทิ ยาล ยั มหาวิทยาลัยศิลปากร THE ANALYSIS OF WALKING BASS LINE BY RAY BROWN By MR. Siriwat PLIANSANTHIA A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for Master of Music (Music Research and Development) Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2017 Copyright of Graduate School, Silpakorn University หัวข้อ การวิเคราะห์การเดินเบสของ เรย์ บราวน์ โดย ศิริวัฒน์ เปลี่ยนสันเทียะ สาขาวิชา สังคีตวิจัยและพัฒนา แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร. ศกั ด์ิศรี วงศธ์ ราดล บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ไดร้ ับพิจารณาอนุมตั ิใหเ้ ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา ตามหลักสูตรดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (รองศาสตราจารย์ ดร.จุไรรัตน์ นันทานิช) พิจารณาเห็นชอบโดย ประธานกรรมการ (ดร. ยศ วณีสอน ) อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก (ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร. ศกั ด์ิศรี วงศธ์ ราดล ) ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (รองศาสตราจารย์ ดร. ศรัณย์ นักรบ ) ง บทคัดย่อภาษาไทย 57701330 : สังคีตวิจัยและพัฒนา แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต คาส าคัญ : วิเคราะห์, การเดินเบส, เรย์ บราวน์ นาย ศิริวัฒน์ เปลี่ยนสันเทียะ: การวิเคราะห์การเดินเบสของ เรย์ บราวน์ อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ : ผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร. ศกั ด์ิศรี วงศ์ธราดล งานวิจยั ชิ้นน้ีศึกษาวิธีการเดินเบสของ เรย์ บราวน์ จากอลั บ้มั Tenderly (with Herb Ellis & Ray Brown) เพื่อประยุกต์ใช้ในการเดินเบสด้วยการถอดโน้ตทุกเพลง เป็นจา นวนท้งั หมด 9 เพลง โดยศึกษาวิธีการใช้ 1.โมดมิกโซลิเดียนบนการดาเนินคอร์ดแบบ ii-V 2. การใช้โมดมิกโซลิ เดียนชาร์ป 11 3. การซีเควนซ์ทานอง 4. การใช้โน้ตกระโดด 5. การใช้โน้ตในคอร์ด 6. การใช้โน้ต ส่วนขยาย 7. การใชโ้ นต้ ผา่ น จากการศึกษาผูว้ ิจยั พบวา่ เรย์ บราวน์ ให้ความส าคญั กบั การใชโ้ นต้ ในคอร์ดและการ ใชโ้ นต้ ผา่ น ในการเดินเบส โดยผวู้ จิ ยั ไดส้ รุปเป็นจา นวนคร้ังในบทสรุปผลการวิจยั ทาให้เห็นความ เป็นเอกลักษณ์และ ความโดดเด่นของ เรย์ บราวน์ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน ซ่ึงสามารถนา ไปประยุกตใ์ ชก้ บั บทเพลงที่มีโครงสร้างทางเดิน คอร์ดที่คล้ายคลึงกนั ไดแ้ ละสามารถเป็นแนวทางกรณีศึกษาการเดิน เบสของ เรย์ บราวน์ ตอ่ ไป จ บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 57701330 : Major (Music Research and Development) Keyword : ANALYSIS, WALKING BASS LINE, RAY BROWN MR. SIRIWAT PLIANSANTHIA : THE ANALYSIS OF WALKING BASS LINE BY RAY BROWN THESIS ADVISOR : ASSISTANT PROFESSOR DR. SAKSRI VONGTARADON This research is an analysis of Ray Brown's walking bassline method from the album 'Tenderly (with Herb Ellis & Ray Brown). The researcher identified the notes of all 9 songs by learning the following methods: 1. Mixolydian Mode on chord ii-V 2. Mixolydian Mode sharp 11 3. Walking basslines in melodic sequence 4. Skipping Tones 5. Chord Tone 6. Extension notes 7. Passing Tones. The result shows that Chord Tones and Passing Tones are frequently used in Ray Brown's walking basslines. Numbers of frequency are included in the conclusion section. It depicts the bassist's exceptional and unique characteristics, which can be applied in other songs with similar chords structure and a case study for further studies on Ray Brown's walking basslines. ฉ กิตติกรรมประกาศ กิตติกรรมประกาศ การวจิ ยั ในคร้ังน้ีสา เร็จไปไดด้ ว้ ยดีเนื่องจากไดร้ ับความกรุณาจากผชู้ ่วยศาสตราจารย ์ ดร. ศกั ด์ิศรี วงศ์ธราดล ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ไดใ้ หค้ วามช่วยเหลือและคา แนะนา อนั เป็นประโยชน์ อยา่ งยง่ิ ตอ่ ผวู้ จิ ยั ส่งผลใหก้ ารวจิ ยั คร้ังน้ีถูกตอ้ งและสมบูรณ์ย่ิงข้ึน ผู้วิจัยขอขอบคุณในความกรุณาเป็น อยา่ งสูง ขอขอบคุณบิดา มารดา พี่ชาย ที่คอยเป็นกา ลงั ใจตลอดระยะเวลาในการทา วิจยั คร้ังน้ี ซึ่งทา ให้ ผวู้ จิ ยั สามารถดา เนินการวจิ ยั จนสา เร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี ขอขอบคุณนางสาวพลอยทวี กา แพงใหญ่ ที่คอยให้กา ลงั ใจและดูแลเอาใจใส่เสมอมา และ นาย เบญจสิทธ์ิ พิชัยชม ที่คอยช่วยเหลือในการทา วจิ ยั เล่มน้ี ขอขอบคุณอาจารยท์ ุกท่านที่ให้ความรู้ให้คา แนะนา อนั มีค่าย่ิงแก่ผูว้ ิจยั ขอขอบคุณเจ้าของ หนัง สือ วารสาร เอกสาร และวทิ ยานิพนธ์ทุกเล่มที่ช่วยใหว้ ทิ ยานิพนธ์มีความสมบูรณ์ ขอขอบคุณทุก คนที่คอย ใหก้ า ลงั ใจและคา แนะนา ตลอดมา ศิริวัฒน์ เปลี่ยนสันเทียะ สารบัญ หน้า บทคดั ยอ่ ภาษาไทย ............................................................................................................................ ง บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ ...................................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ............................................................................................................................ ฉ สารบัญ ............................................................................................................................................. ช บทที่ 1 ............................................................................................................................................... 1 บทนา ................................................................................................................................................. 1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ............................................................................................ 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย .............................................................................................................. 2 ระเบียบวิธีวิจัย .............................................................................................................................. 3 ขอบเขตการวิจัย ............................................................................................................................ 3 ขอบเขตการวิเคราะห์ .................................................................................................................... 4 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ ........................................................................................................... 4 ขอ้ ตกลงเบ้ืองตน้ ........................................................................................................................... 4 บทที่ 2 ............................................................................................................................................... 6 วรรณกรรมที่เกี่ยวขอ้ ง ....................................................................................................................... 6 2.1 ความเป็นมาของเบสแจ๊ส ........................................................................................................ 6 2.2 ประวตั ินกั ดบั เบิลเบสแจ๊สที่โดดเด่นในแตล่ ะยคุ .................................................................... 9 2.3 ชีวประวัติและผลงานของ เรย์ บราวน์ .................................................................................. 18 2.4 ลกั ษณะการเล่นดบั เบิลเบส ................................................................................................... 25 2.4.1 การเดินเบสแบบความรู้สึกสอง (Two feel) บนโครงสร้างของเพลงบลูส์ .................. 32 2.4.2 การเดินเบสแบบโน้ตตัวดาโดยใช้บันไดเสียงและโมด บนโครงสร้างของเพลงบลูส์ . 34 ซ บทที่ 3 ............................................................................................................................................. 37 การใชบ้ นั ไดเสียงและโมดที่สัมพนั ธ์กบั คอร์ดของ เรย ์ บราวน์ ....................................................... 37 3.1 การเดินเบสด้วยโมดมิกโซลิเดียน (Mixolydian Mode) บนคอร์ด ii-V ................................. 37 3.2 การเดินเบสด้วยโมดมิกโซลิเดียนชาร์ป 11 (Mixolydian #11) .............................................. 42 3.3 การเดินเบสด้วยโน้ตในคอร์ด (Chord Tone) และโนต้ ส่วนขยายของคอร์ด (Extension) ใน ลักษณะ ของการซีเควนซ์ทานอง (Sequence) ...................................................................... 46 3.4 การเปลี่ยนที่มีระยะห่างของโนต้ มากกวา่ 1 Octave ในการเดินเบสดว้ ยกลุ่มโนต้ ในคอร์ดและ บันไดเสียง (Range) ............................................................................................................. 56 บทที่ 4 ............................................................................................................................................. 60 การใชโ้ นต้ ในคอร์ดและโนต้ ส่วนขยายในการเดินเบสของ เรย ์ บราวน์ .......................................... 60 4.1 การเดินเบสโดยการใช้โน้ตในคอร์ด ..................................................................................... 60 4.1.1 โน้ตลาดับที่ 1 ของคอร์ด ............................................................................................ 61 4.1.2 โน้ตลาดับที่ 3 ของคอร์ด ............................................................................................ 64 4.1.3 โน้ตลาดับที่ 5 ของคอร์ด ............................................................................................ 67 4.2 การเดินเบสโดยการใชโ้ นต้ ในคอร์ดและโนต้ ส่วนขยาย ....................................................... 72 4.2.1 โนต้ ส่วนขยายลา ดบั ที่ 9 ของคอร์ด ............................................................................ 72 4.2.2 โนต้ ส่วนขยายลาดับที่ 11 ของคอร์ด .......................................................................... 75 4.2.3 โนต้ ส่วนขยายลา ดบั ที่ 6 หรือ 13 ของคอร์ด ............................................................... 78 บทที่ 5 ............................................................................................................................................. 82 การใชโ้ นต้ ผา่ นกบั บนั ไดเสียงและโนต้

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    188 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us