การสรางพลังชุมชนเพื่อจัดตั้งระบบการเฝาระวังโรคไขหวัดนกโดยชุมชน 10.14457/MU.the.2007.12 เมื่อ 08/10/2564 11:38:59 ชฎาภรณ บุตรบุรี วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกบริหารสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2550 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยานิพนธ เรื่อง การสรางพลังชุมชนเพื่อจัดตั้งระบบการเฝาระวังโรคไขหวัดนกโดยชุมชน ……………………………………………… นางชฏาภรณ บุตรบุรี ผูวิจัย 10.14457/MU.the.2007.12……………………………………………… เมื่อ 08/10/2564 11:38:59รองศาสตราจารยนวรัตน สุวรรณผอง, พบ.ด. ประธานกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ ……………………………………………… รองศาสตราจารยอรนุช ภาชื่น, Dr.P.H. กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ ……………………………………………… ผูชวยศาสตราจารยนพพร โหวธีระกุล, Ph.D. กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ ……………………………………………… ……………………………………………… ศาสตราจารย ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน, รองศาสตราจารยปยธิดา ตรีเดช, Ph.D. M.P.H., ส.ด. คณบดี ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสตรู บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร วิทยานิพนธ เรื่อง การสรางพลังชุมชนเพื่อจัดตั้งระบบการเฝาระวังโรคไขหวัดนกโดยชุมชน ไดรับการพิจารณาอนุมัติใหนับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกบริหารสาธารณสุข วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ……………………………………………… 10.14457/MU.the.2007.12นางชฏาภรณ บุตรบุรี เมื่อ 08/10/2564 11:38:59ผูวิจัย ……………………………………………… นางวนัสรา เชาวนนิยม, ส.ด. ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ ……………………………………………… รองศาสตราจารยนวรัตน สุวรรณผอง, พบ.ด. กรรมการสอบวิทยานิพนธ ……………………………………………… ……………………………………………… ผูชวยศาสตราจารยนพพร โหวธีระกุล, รองศาสตราจารยอรนุช ภาชื่น, Ph.D Dr.P.H.(Health Education) กรรมการสอบวิทยานิพนธ กรรมการสอบวิทยานิพนธ ……………………………………………… ……………………………………………… ศาสตราจารย ม.ร.ว.ชิษณุสรร สวัสดิวัตน รองศาสตราจารยพิทยา จารุพูนผล Ph.D. พ.บ., อ.ว.(ระบาดวิทยา) คณบดี คณบดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับนี้ เร็จลุลวงไปดวยความกรุณาและความชวยเหลืออยางดียิ่งจาก อาจารยหลายทาน ซึ่งผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงคือ รองศาสตราจารย ดร.นวรัตน สุวรรณผอง รองศาสตราจารย ดร.อรนุช ภาชื่น และผูชวยศาสตราจารย ดร.นพพร โหวธีระกุล ที่ กรุณาใหความชวยเหลือใหคําปรึกษาทางวิชาการ และใหกําลังใจ รวมทั้งตรวจสอบและ 10.14457/MU.the.2007.12แกไขขอบกพรองตาง ๆ ในการทําวิทยานิพนธครั้งน ี้ และขอกราบขอบพระคุณคณาจารย เมื่อคณะสาธารณส 08/10/2564ขศาสตรุ ท กทุ าน ทประสี่ ิทธ11:38:59ิ์ประสาทวิชาความรูตลอดการศึกษา จนสามารถนํามาใช ในการทําวิจัยครั้งนี้ไดเปนอยางดี ขอขอบพระคณุ นายแพทยส รุ ยะิ คหะรู ตนั นายแพทย 9 (ดานเวชกรรมป องก นั ) สานํ กงานั สาธารณสขจุ งหวั ดราชบั รุ ี หัวหนากลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข หัวหนากลุมงานควบคุม โรค หัวหนากลุมงานสงเสริมสุขภาพและสนับสนุนการสรางสุขภาพภาคประชาชน/ทองถิ่น สํานัก งานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี สาธารณสุขอําเภอบานโปง นายกองคการบริหารสวนตําบล นครชุมน คุณชํานาญ หลีลวน หัวหนาสถานีอนามัยนครชุมน แกนนําชุมชนและประชาชนตําบล นครชุมน เอื้ออํานวยความสะดวกในการทําวิจัยดวยดีมาตลอด ขอขอบพระคุณนายอําเภอบานโปง ที่อนุญาตใหผูวิจัยเขาไปทําวิจัยในพื้นที่ ขอขอบพระคุณนายแพทยพนัส ฤกษสุนันท ผูอํานวยการ ศูนยอนามัยที่ 4 ผูอํานวยการโรงพยาบาลดําเนินสะดวก อํานวยการโรงพยาบาลนภาลัย ที่ได อนุเคราะหวิทยากรการเรียนรู และขอขอบพระคุณวิทยากรทุกทาน ที่ชวยเหลือใหกระบวนการ เรียนรูสําเร็จลงดวยดี ขอขอบคุณ คุณกิริยา ลาภเจริญวงศ ที่ชวยเหลือและใหคําปรึกษาดานสถิติและ การวิเคราะหขอมูล สุดทาย ขอขอบคุณพันโทฉลองชัย บุตรบุรี ที่ใหกําลังใจและรับภาระในการดูแลลูก ๆ มาโดยตลอดจนสําเร็จการศึกษา ชฎาภรณ บุตรบุรี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยานิพนธ / ง การสรางพลังชุมชนเพื่อจัดตั้งระบบการเฝาระวังโรคไขหวัดนกโดยชุมชน (COMMUNITY EMPOWERMENT FOR ESTABLISHING COMMUNITY-BASED SURVEILLANCE SYSTEM FOR AVIAN INFLUENZA) ชฎาภรณ บุตรบุรี 4837689 PHPH/M วท.ม.(สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกบริหารสาธารณสุข คณะกรรมการควบคมวุ ทยานิ พนธิ : นวรตนั สวรรณผุ อง , พบ.ด., อรนชุ ภาชนื่ , Dr.P.H.(Health Education), นพพร โหวธระกี ลุ , Ph.D. บทคัดยอ 10.14457/MU.the.2007.12ไขหวัดนกเปนโรคติดเชื้อในสัตว และติดตอสูคนโดยการส ัมผัสกับสัตวที่ติดเชื้อหรือสัตว เมื่อตาย ประเทศไทยม 08/10/2564ีผูปวยไขหวัดนกสะสมต 11:38:59ั้งแตป 2547 จนถึงเดือนกันยายน 2549 จํานวนทั้งสิ้น 24 ราย เสียชีวิต 16 ราย ทุกครั้งที่มีการระบาดเกิดขึ้นในสัตวปก มักจะมีการระบาดติดตอสูคนเสมอ อําเภอ บานโปง จังหวัดราชบุรี เคยตรวจพบสัตวปกปวยตายจากเชื้อไขหวัดในป 2547 ปจจุบันการระบาดในสัตว ปกยังคงเกิดขึ้นอยูอยางตอเนื่องการปองกันและควบคุมโรคไขหวัดนกมีความซับซอนและเกี่ยวพันกับ ปจจัยหลายดาน ดังนั้นกลไกการเฝาระวังโรคในชุมชนนั้นจึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในการเฝาระวังโรค ไขหวัดนกการศึกษาวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) เพื่อจัดตั้งระบบการ เฝาระวังโรคไขหวัดนกของชุมชนโดยใชกระบวนการสรางพลังชุมชนในแกนนํา จํานวน 35 คน และการ เรียนรูอยางมีสวนรวมของชุมชนตําบลนครชุมน อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี และสงเสริมการปฏิบัติใน การปองกันโรคไขหวัดนกของประชาชนตําบลนครชุมน ผลการศึกษาพบวา ตําบลนครชุมนมีการจัดตั้ง ระบบการเฝาระวังอยางมีสวนรวมโดยมีการจัดตั้งศูนยปฏิบัติการเฝาระวังโรคไขหวัดนกในตําบล นครชุมนและมีการเชื่อมโยงขอมูลมีระบบการแจงเตือนภัยทั้งในสถานการณปกติและเกิดการระบาด มี การประเมินผลและสรุปบทเรียนจากการจัดตั้งระบบการเฝาระวังโดยชุมชน ทักษะการสื่อสารและภาวะ ผูนําของแกนนําชุมชนภายหลังดําเนินการสรางพลังชุมชนสูงกวากอนการสรางพลังชุมชนอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p < 0.001) ความรูเรื่องการปองกันและควบคุมโรคไขหวัดนก การรับเรื่องโรคไขหวัดนกทั้งการ รับรูความรุนแรงเรื่องโรคไขหวัดนก การรับรูพฤติกรรมปองกันโรคไขหวัดนก การรับรูประโยชนของ การปฏิบัติตามคําแนะนําในการปองกันโรคไขหวัดนก การปฏิบัติในการปองกันเรื่องการปองกันควบคุม โรคไขหวัดนกของประชาชนในชุมชนตําบลนครชุมน หลังกระบวนการสรางพลังชุมชนดีกวากอน กระบวนสรางพลังชุมชนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.001) ยกเวนการรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรค ไขหวัดนกของประชาชนตําบลนครชุมนกอนและหลังดําเนินการสรางพลังไมแตกตางกัน ผลการศึกษานี้ สามารถนําไปใชในชุมชนอื่นที่มีอุบัติการโรคไขหวัดนกหรือปญหาสาธารณสุขดานอื่น ๆ รวมถึงความรู การรับรูและการปฏิบัติในการปองกันไขหวัดนกและประสบการณที่ไดจากการศึกษานี้จะชวยในการ พัฒนาเครือขายในการปองกันโรคไขหวัดนกภายในชุมชนไดเปนอยางดี คําสําคัญ: การสรางพลังชุมชน / ระบบการเฝาระวัง / โรคไขหวัดนก 180 หนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยานิพนธ / จ COMMUNITY EMPOWERMENT FOR ESTABLISHING COMMUNITY-BASED SURVEILLANCE SYSTEM FOR AVIAN INFLUENZA. CHADAPORN BUTBUREE 4837689 PHPH/M M.Sc.(PUBLIC HEALTH) MAJOR IN HEALTH ADMINISTRATION THESIS ADVISORS: NAWARAT SUWANNAPONG, Ph.D., ORANNUT PACHEUN, Dr.P.H.(HEALTH EDUCATION), NOPPORN HOWTEERAKUL, Ph.D., ABSTRACT 10.14457/MU.the.2007.12Avian Influenza is an animal infectious disease and can be transmitted to humans by touching infected animal carcasses, particularly poultry. In Thailand, there เมื่อhave been08/10/2564 24 cases of illness, of11:38:59 whom 16 died from 2004 to September 2006. Poultry deaths from Avian Influenza in Banpong District, Ratchaburi Province were reported in 2004. Recently, outbreaks have been continuously occurring in poultry. Avian Influenza prevention and control is complicated and involves various aspects. Therefore, a strong surveillance mechanism in the community is a very important factor in monitoring Avian Influenza. This research is a quasi-experimental research. The objective was to set up an avian flu surveillance system by community empowerment of 35 core persons from 7 villages, participatory learning in Nakhonchum community, Banpong District, Ratchaburi Province, and the promotion of avian flu prevention activities to 417 Nakhonchum people. The study found that Nakhonchum has established the participatory surveillance system by setting up an avian flu surveillance operation center in Nakhonchum and a public emergency announcement system for both normal and outbreak situations, including evaluating the result of the community-based surveillance system establishment. Communication skill and leadership of community core persons after the empowerment was significantly higher than before the empowerment (p < 0.001). Knowledge of avian flu prevention and control, perception of severity, benefits of prevention and barriers to prevention related to avian flu after the empowerment were significantly better than before the empowerment (p < 0.001). However, perceptions of susceptibility to avian flu before and after the empowerment were not different. The findings can be applied to other communities which have avian flu outbreaks or other public health problems. In addition, knowledge, perception and practice of avian flu prevention, and experiences gained from this study can help considerably develop the avian flu prevention network in the community. KEY WORDS: COMMUNITY EMPOWERMENT / SURVEILLANCE SYSTEM / AVIAN FLU 180 pp. ฉ สารบัญ หนา กิตติกรรมประกาศ ค บทคัดยอภาษาไทย ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ จ สารบัญตาราง ซ 10.14457/MU.the.2007.12สารบัญแผนภาพ ฌ เมื่อบทที่ 08/10/2564 11:38:59 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 1.2 วัตถุประสงค 4 1.3 สมมติฐานการวิจัย 4 1.4 นิยามศัพทที่ใชในการศึกษาวิจัย 5 1.5 กรอบแนวคิดในการวิจัย 7 2 ทบทวนวรรณกรรม 2.1 การสรางพลังชุมชนและการดําเนินงานสรางพลังชุมชน 9 2.2 การเฝาระวัง และระบบการเฝาระวังโรคในชุมชน 17 2.3 โรคไขหวัดนก 20 2.4 ทกษะการสั อสารและภาวะผื่ นู าํ 23 2.5 ความร ู การรบรั ู และการปฏบิ ตั ในการปิ องก นควบคั มโรคไขุ หว ดนกั 29 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 34 3 วิธีดําเนินการวิจัย 3.1 รูปแบบการวิจัยและพื้นที่วิจัย 39 3.2 ประชากรที่ทําการศึกษา 41 3.3 วิธีดําเนินการวิจัย 42 3.4 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 45 3.5 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย 49 3.6 การดําเนินการดานจริยธรรม 50 ช สารบัญ (ตอ) บทที่ หนา 4 ผลการศึกษา 4.1 ลักษณะทั่วไปของชุมชน 51 4.2 ขอมูลทั่วไปของแกนนําชุมชนและหัวหนาครัวเรือนหรือตัวแทน 53 4.3 ผลการสรางพลังชุมชนในการจัดตั้งระบบเฝาระวังโรคไขหวัดนก ตําบล นครชุมน 56 10.14457/MU.the.2007.124.4 เปรียบเทียบทักษะการสื่อสาร และภาวะผ ูนําของแกนนําชุมนกอนและ เมื่อ 08/10/2564หลังดําเนินการสรางพล 11:38:59ังชุมชน 91 4.5 เปรียบเทียบความรู การรับรูและการปฏิบัติในการปองกันและควบคุม
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages190 Page
-
File Size-