สัตว์มีกระดูกสันหลัง Thailand Red Data : Vertebrates สรุปชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง

สัตว์มีกระดูกสันหลัง Thailand Red Data : Vertebrates สรุปชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง

สรุป ชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง Thailand Red Data : Vertebrates สรุปชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง สรุปชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย ส�ำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning สรุป ชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง Thailand Red Data : Vertebrates ส�ำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning สรุปชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง ที่ปรึกษา ดร. รวีวรรณ ภูริเดช เลขาธิการส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดร. อัษฎาพร ไกรพานนท์ รองเลขาธิการส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดท�าโดย กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พิมพ์ครั้งแรก กันยายน 2560 จ�านวน 1,000 เล่ม จัดพิมพ์โดย กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2265 6561-2 โทรสาร 0 2265 6561-2 การอ้างอิง ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2560. สรุปชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ. 112 หน้า ISBN 978-616-316-417-9 ออกแบบและจัดพิมพ์ บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จ�ากัด โทรศัพท์ 0 2617 8611-2 โทรสาร 0 2617 8616 2 สรุป ชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง ค�น� สัตว์มีกระดูกสันหลังชนิดต่างๆ เป็นส่วนหนึ่งของความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ ที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันส่งผลให้ระบบนิเวศนั้นๆ มีความอุดมสมบูรณ์ อีกทั้งยังมีคุณค่าและ บทบาทที่ส�าคัญต่อมนุษย์ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมประเพณีที่สืบต่อมาเป็นเวลา นาน แต่การถูกคุกคามของสัตว์กลุ่มนี้ยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วกว่าในอดีตที่ผ่านมาจน บางชนิดอาจสูญพันธุ์ได้ในอนาคตอันใกล้ จากรายงานโลกทรรศน์ความหลากหลายทางชีวภาพ ฉบับที่ 3 โดยส�านักงานเลขาธิการอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพเมื่อ ปี พ.ศ. 2553 ระบุว่า การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในปัจจุบันเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยมีสาเหตุที่ส�าคัญ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพเกินขีดจ�ากัดและ ศักยภาพในการฟื้นตัว ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน มลพิษ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเทศไทยเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ลา� ดับที่ 188 และมีผล บังคับใช้วันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2547 ท�าให้ต้องด�าเนินงานตามมติและพันธกรณี ตลอดจน โปรแกรมงานของอนุสัญญาฯ โดยมาตรา 7(a) ของอนุสัญญาฯ ก�าหนดให้ภาคีจ�าแนก วินิจฉัย องค์ประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพที่ส�าคัญส�าหรับการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ อย่างยั่งยืนโดยพิจารณารายการซึ่งระบุตามประเภทชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ ชนิดพันธุ์หายาก และชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นหรือชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม ซึ่งที่ผ่านมาส�านักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยประสานงานกลางระดับชาติของอนุสัญญาฯ ได้จัดท�าสถานภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคามของประเทศไทย กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน�้าสะเทินบก และปลาแล้ว จ�านวน 2 ครั้ง ได้แก่ ปี พ.ศ. 2539 และ พ.ศ.2548 ตามล�าดับ อย่างไรก็ตาม จากปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา ได้มีการศึกษาวิจัยและมีข้อมูล เกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังเพิ่มมากขึ้น เช่น การค้นพบชนิดใหม่ และแรงกดดันต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในปัจจุบันส่งผลให้ชนิดพันธุ์หลายชนิดมีความเสี่ยงต่อการถูกคุกคามเพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบต่อ ประชากรสิ่งมีชีวิตและถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ ประกอบกับสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วย ความหลากหลายทางชีวภาพ ในการประชุมสมัยที่ 10 พ.ศ. 2553 ได้เห็นชอบแผนกลยุทธ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ ค.ศ. 2011-2020 และเป้าหมายไอจิ โดยเป้าหมายที่ 12 ให้ภาคี ป้องกันไม่ให้ชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามต้องสูญพันธุ์ ชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง สรุป 3 ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้ด�าเนินการปรับปรุง สถานภาพสัตว์มีกระดูกสันหลัง กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน�้า สะเทินบก และปลาที่ถูกคุกคามในประเทศไทยขึ้นใหม่ โดยผ่านกระบวนการรวบรวมและรับฟัง ความเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ นักอนุกรมวิธานสัตว์มีกระดูกสันหลังในแต่ละด้าน นักวิจัย ตลอดจนหน่วยงาน สถาบันการศึกษา และองค์กรพัฒนาเอกชนที่มีการด�าเนินงานเกี่ยวข้อง เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลสถานภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคามสอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบันมากยิ่งขึ้น ซึ่งส�านักงานฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าทะเบียนรายการสถานภาพสัตว์มีกระดูก สันหลังที่ถูกคุกคามในประเทศไทยที่ได้รับการปรับปรุงแล้วจะเป็นข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลอ้างอิง ทางวิชาการในการจัดล�าดับความส�าคัญของการวางแผนการศึกษาวิจัย การด�าเนินโครงการและ นโยบายด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการปรับปรุงกลไก มาตรการอนุรักษ์ คุ้มครอง ฟื้นฟู และ ติดตามการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตและถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติที่อยู่บนพื้นฐานของข้อมูล ทางวิทยาศาสตร์ อันน�าไปสู่การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลาย ทางชีวภาพ การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน และการสร้างความตระหนักถึงความส�าคัญของชนิดพันธุ์ ที่เป็นองค์ประกอบส�าคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่เผชิญกับภาวะการถูกคุกคาม ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญ นักวิจัย นักวิชาการ หน่วยงาน สถาบันการศึกษา และองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่ได้ร่วมกันด�าเนินการจัดสถานภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคามของประเทศไทย จนกระทั่งส�าเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กันยายน 2560 4 สรุป ชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง Foreword Vertebrates are a part of rich biodiversity and ecosystems that are invaluable to our livelihoods, covering social and economic aspects, as well as customs and traditions. However, the survival of vertebrates has been under constant threat in an increasingly severe manner, to the point that some vertebrates will face extinction in the near future. According to the Global Biodiversity Outlook 3 by the Secretariat of the Convention of Biological Diversity, published in 2010, extinction is y caused b main factors: habitat change and destruction, overexploitation, invasive alien species, pollution and climate change. Thailand is the 188th party of the Convention on Biological Diversity, for which the ratification took effect on January 29th, 2004. Therefore, Thailand must comply with the decisions, commitments, and programme of work under the Convention. Article 7 (a) of the Convention stipulates that the parties must identify components of biological diversity important for its conservation and sustainable use; having regards to the indicative list that contains endangered species, rare species, endemic species, and threatened species. The Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning (ONEP), as Thailand’s national focalpoint of the Convention have twice compiled the status of the country’s threatened vertebrates, covering mammals, birds, reptiles, amphibians, and fish, the first time in 1996 and the second time in 2005. Since 2005, additional studies and researches have been conducted on vertebrates, which was discovered of new species. However, currently various factors such as loss of habitat have contributed to the threat of various species. Therefore, the tenth meeting of the Conference of the Parties in 2010 approved the Strategic Plan for Biodiversity 2011-2020 and its Aichi Biodiversity Targets. The 12th target of which states that the parties have to prevent extinction of threatened species. ชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง สรุป 5 Consequently, ONEP revised the status of threatened vertebrates, namely mammals, birds, reptiles, amphibians and fish through processes of information gathering, collecting input from various vertebrates experts and taxonomists, researchers, as well as academic institutions and NGOs with relevant missions. The processes were conducted to ensure that Thailand has an up to date list on the threatened vertebrates in Thailand. ONEP hopes that the improved Thailand Red Data will serve as a basic information and academic reference for the prioritization of research, projects, and other relevant undertakings, including the improvement of conservation and rehabilitation measures, as well as monitoring for changes in habitat and status of vertebrates. These changes should lead to a more efficient management of biodiversity in Thailand that would preserve the integrity of natural resources and rich biodiversity, sustainable use of resources, as well as awareness creation on the threatened species importance to biodiversity. Special appreciation must be paid to experts, researchers, relevant organizations, and academic institutions who have tirelessly cooperated on Thailand’s Red List to ensure its completion. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning September 2017 6 สรุป ชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง สารบัญ ค�าน�า 3 สถานภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคามระดับโลก 9 สถานภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคามในประเทศไทย 10 การเปลี่ยนแปลงสถานภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูก 14 คุกคามในประเทศไทย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 18 นก 25 สัตว์เลื้อยคลาน 42 สัตว์สะเทินน�้าสะเทินบก 50 ปลา 54 ภาคผนวก 62 Index 80 เอกสารอ้างอิง 111 ชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง สรุป 7 สถานภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคามระดับโลก ปัจจุบันชนิดพันธุ์สัตว์มีกระดูกสันหลัง งานเพื่ออนุรักษ์และคุ้มครองชนิดพันธุ์ที่อยู่ ทั่วโลกมีจ� านวนไม่น้อยกว่า 68,266 ชนิด ในสภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ จนถึงปัจจุบันในปี แบ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 5,560 ชนิด พ.ศ. 2560 สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ได้รับการจัด นก 11,121 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน 10,450 ชนิด สถานภาพการถูกคุกคามตาม IUCN Red List สัตว์สะเทินน�้าสะเทินบก 7,635 ชนิด และ โดยใช้เกณฑ์การจ�าแนกฉบับ (version) 3.1: ปลา 33,500 ชนิด (IUCN, 2017) IUCN (2001) พบว่า สัตว์มีกระดูกสันหลัง องค์การระหว่างประเทศเพื่อการ ที่อยู่ในสถานภาพชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    114 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us