ความชุกทางวิทยาเซรุ่มของการติดเชื้อ Leishmania donovani complex ในสุนัขและแมว ในจังหวัดสงขลาและสตูลของประเทศไทย Seroprevalence of Leishmania donovani complex infection in dogs and cats in Songkhla and Satun provinces, Thailand

วิชชุตา จันทร์ศิริ1 วิษณุวัฒน์ ฉิมน้อย1 สินสมุทร แซ่โง้ว1 ชัญญา เก่งระดมกิจ1 วิทยา ขจีรัมย์2 วีรชัย วิโรจน์แสงอรุณ3 สถาพร จิตตปาลพงศ์1 ศิริชัย วงษ์นาคเพ็ชร์4 และ บุรินทร์ นิ่มสุพรรณ์1

Witchuta Junsiri1, Wissanuwat Chimnoi1, Sinsamut Saengow1, Chanya Kengradomkij1, Wittaya Kajeerum2, Verachai Virochseangaroon3, Sathaporn Jittapalapong1, Sirichai Wongnarkpet 4 and Burin Nimsuphan1

บทคัดย่อ

Visceral leishmaniasis (VL) เป็นโรคโปรโตซัวที่เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ส าคัญทั้งในคนและสัตว์ มีสาเหตุมาจากเชื้อ Leishmania donovani complex การศึกษาครั้งนี้เพื่อหาความชุกของการติดเชื้อในสุนัขและ แมวในจังหวัดสงขลาและสตูล โดยเก็บตัวอย่างเลือดจากสุนัขและแมวจ านวน 472 และ 218 ตัว ตามล าดับ ผล จากการตรวจเซรุ่มด้วยวิธี Direct Agglutination test (DAT) พบสุนัขและแมวมี seropositive คิดเป็นร้อยละ 2.1 (10/472) และ 6.0 (13/218) ตามล าดับ ไม่พบความแตกต่างระหว่างตัวอย่างที่ positive กับอายุ เพศ สายพันธุ์ พื้นที่อาศัย และปรสิตภายนอกในสุนัขและแมว แต่มีแนวโน้มว่าพบผลบวกในช่วงอายุ 12 – 83 เดือนทั้งในสุนัข และแมว และแมวพันธุ์ผสมพบผลบวกมากกว่าแมวพันธุ์แท้ แต่พบความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญระหว่าง ตัวอย่างที่ positive กับการไม่มีรอยโรคที่ผิวหนังในแมว (2 = 5.035, p= 0.025) แต่ไม่พบความแตกต่างใน สุนัข ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงว่าสุนัขและแมวมีโอกาสติดเชื้อ L. donovani complex และอาจจะเป็นแหล่งรัง โรคตามธรรมชาติที่ส าคัญของโรค VL ในภาคใต้ของประเทศไทย

Keyคลังความรู้ดิจิทัลwords: seroprevalence, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ visceral leishmaniasis, dog, cat, DAT e-mail address: [email protected] หมดอายุวันที่ 24-10-2564

1 ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 10900 1Department of Parasitology, Faculty of Veterinary Medicine, Kasetsart University, Bangkok 10900 2 ส านักงานปศุสัตว์จังหวัดสตูล อ. เมืองสตูล จ. สตูล 91000 2 Satun Provincial Livestock Office, Satun 91000 3 ส านักงานปศุสัตว์จังหวัดสงขลา อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา 90000 3 Songkhla Provincial Livestock Office, Songkhla 90000 4ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุขศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก าแพงแสน นครปฐม 73140 4 Department of Veterinary Public Health, Faculty of Veterinary Medicine, Kasetsart University, Kampangsaen Campus 73140

ABSTRACT Visceral leishmaniasis (VL) is a protozoan disease that is a major public health problem in humans and animals, caused by Leishmania donovani complex infection. The objective of this study was to determine the seroprevalence of L. donovani complex infection in dogs and cats in Songkhla and Satun provinces. Blood samples of 472 dogs and 218 cats were collected. The results of serological test by Direct Agglutination Test (DAT) showed 2.1% (10/472) of dogs and 6.0% (13/218) of cats were positive for L. donovani complex infection. There were no significant differences between the positive samples on age, gender, breed, living areas and ectoparasites in dogs and cats. However, the positive results were found in the age of range 12-83 months both in dogs and cats and crossbred cats were found more positive than purebred cats. But there were significant differences between the positive samples and no skin lesions in cat (2 = 5.035, p = 0.025) but did not differ significantly in dogs. Thus, the result of this study indicates that healthy cats could be natural reservoir hosts of VL in .

ค าน า Visceral leishmaniasis (VL) เป็นโรคติดต่อน าโดยแมลง (vector-borne disease) เกิดจากเชื้อ Leishmania donovani complex ได้แก่ L. donovani และ L. infantum (Lukes et al., 2007) ซึ่งเป็น obligative intracellular protozoa โดยปกติติดต่อด้วยการกัดของแมลงพาหะคือ ริ้นฝอยทรายในตระกูล Phlebotomus sp. และLutzomyia sp. (Alexander et al., 1999) เป็นโรคที่พบได้ทั้งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและ คน สามารถติดต่อจากคนถึงคน (anthroponotic form) และจากสัตว์ถึงคน (zoonotic form) ได้ (Singh et al., 2013) ในปีค.ศ. 1993 องค์การอนามัยโลกได้ก าหนดโรค VL เป็น 1 ใน 6 โรคที่มีความส าคัญทั่วโลก มีรายงาน ความชุกของโรคนี้ปีละ 12 ล้านคนและอุบัติการณ์ของโรคประมาณ 1.5 - 2 ล้านคนต่อปี ใน 88 ประเทศ (Desjeux, 2004; Camargo and Langoni, 2006) แหล่งรังโรคที่ส าคัญคือ สัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ สุนัข แมว วัว แพะ ม้า รวมถึงหนู (Handman, 1999; Poli et al., 2002; Savani et al., 2004; Oliveira et al., 2005; คลังความรู้ดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Hassan et al., 2009; Bhattarai et al., 2010; Singh et al., 2013) และสัตว์ป่าที่มีสุขภาพดีอาจเป็นแหล่งรังโรค ของโรคนี้ได้ เช่น crab-eating fox (Cerdocyon thous) hoaryหมดอายุวันที่ zorro (Lycalopex 24-10-2564 vetulus) และ maned wolf (Chrysocyon brachyurus) (Courtenay et al., 2002; Malta et al., 2010; Jusi et al., 2011) การศึกษาโรค VL ในต่างประเทศพบว่าความชุกในคนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาซึ่งสอดคล้องกับระดับการ พัฒนาทางด้านเศรษฐกิจตลอดจนการเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งส่งผลให้มีการสัมผัสริ้นฝอยทรายมาก ขึ้น ส่วนความชุกของโรคในสุนัขมีค่าต่ ากว่า 10% ใน endemic areas และแมวอยู่ในช่วง 1% ถึง 60% (Cardoso, et al., 2010; Sousa, et al., 2011) และยังพบเป็นโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเอดส์ (Conlan et al., 2011)

การวินิจฉัยโรค VL นั้นต้องอาศัยการซักประวัติรวมถึงพฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงต่อการสัมผัสโรค ซึ่ง วิธีการวินิจฉัยที่เป็น gold standard คือ parasitological diagnosis โดยตรวจหาเชื้อระยะ amastigote (LD bodies) จากเนื้อเยื่อต่อมน้ าเหลือง ไขกระดูก หรือม้าม ซึ่งวิธีนี้มี specificity และ sensitivity แตกต่างกันขึ้นกับ เนื้อเยื่อที่ตรวจ พบว่า ม้ามมี sensitivity สูงถึง 93.1-98.7% ( Srivastava et al., 2011) แต่ต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญใน การตรวจ มีผลกระทบต่อผู้ป่วยมากและมีความเสี่ยงสูง ซึ่งอาจท าให้มีอาการเลือดออกขั้นรุนแรงจนเสียชีวิตได้ วิธีที่นิยมทั่วไปคือการตรวจทางวิทยาเซรุ่ม เนื่องจากเป็นวิธีที่มีผลกระทบต่อผู้ป่วยน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับวิธี ข้างต้น และวิธีนี้เหมาะส าหรับใช้ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรค VL โดยมีหลายวิธี ได้แก่ Immunofluorescent antibody (IFA) Direct Agglutination Test (DAT) และ ELISA เป็นต้น การศึกษาครั้งนี้เลือกใช้วิธี DAT เพราะ เป็นวิธีที่มี sensitivity และ specificity สูง ด าเนินการได้ง่าย และราคาไม่แพง (Schallig et al., 2001) ส่วนการ ตรวจวิเคราะห์สารพันธุกรรมที่ใช้โดยทั่วไป คือ PCR เพื่อช่วยยืนยันชนิดของเชื้อ Leishmania มักนิยมตรวจโดย ใช้ 2 ยีน ดังนี้ Minicircle kDNA ในบริเวณ mini-exon gene และ 18s SSU-rRNA gene ในบริเวณ ITS1 โดยวิธี นี้มี sensitivity ร้อยละ 72-100 (Srivastava et al., 2011)

อย่างไรก็ตามในประเทศไทยพบรายงานของโรค VL น้อยมาก คือพบผู้ป่วยทั้งหมด 15 ราย ตั้งแต่ปี 2524 ถึง 2553 อย่างน้อย 6 รายเป็นการติดเชื้อภายในประเทศ (Autochthonous) และพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อ การสัมผัสโรคนั้นอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ โดยเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดสงขลา สตูล พังงา และ นครศรีธรรมราช (Kongkaew et al., 2007; Maharom et al., 2008; Sukmee et al., 2008; Suankratay et al., 2010) จากการศึกษาที่ผ่านมาโดยท าการส ารวจสัตว์เลี้ยงที่อาศัยอยู่รอบๆ บ้านของผู้ป่วยในประเทศไทยโดย ตรวจด้วยวิธี DAT และยืนยันชนิดของเชื้อด้วยวิธี PCR พบว่า วัว และ แมว แสดงผลบวกทางวิทยาเซรุ่มต่อเชื้อ Leishmania และพบเชื้อสายพันธุ์ใหม่ (L. siamensis) (Sukmee et al., 2008) ซึ่งยังไม่สามารถที่จะยืนยัน แหล่งรังโรคของเชื้อนี้ในประเทศไทยได้ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้ด าเนินการเพื่อตรวจสอบ seroprevalence ของการ ติดเชื้อ L. donovani complex ในสุนัขและแมวในจังหวัดสงขลาและสตูลโดยวิธี DAT และเพื่อประเมินว่าสุนัข และแมวอาจเป็นแหล่งรังโรคที่ส าคัญในประเทศไทย

อุปกรณ์และวิธีการ คลังความรู้ดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถานที่และสัตว์ที่ใช้ในการศึกษา เก็บตัวอย่างเลือดในเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2556 จ านวนตัวอย่างทั้งหมดหมดอายุวันที่ 69024-10-2564 ตัว แบ่งเป็น สุนัข 472 ตัว และแมว 218 ตัว โดยสุ่มตัวอย่างแบบ probability proportional to size (PPS) สถานที่ที่ใช้ในการศึกษา แบ่งเป็น 2 จังหวัด (Figure 1) คือ จังหวัดสตูล 4 อ าเภอ ได้แก่ อ. เมืองสตูล อ. ควนโดน อ. ควนกาหลง และ อ. ท่าแพ และจังหวัดสงขลา 4 อ าเภอ ได้แก่ อ. รัตภูมิ อ. หาดใหญ่ อ. คลองหอยโข่ง และ อ. สะเดา (Table 1 ) เก็บ ตัวอย่างเลือดจาก cephalic หรือ jugular vein ใส่ในหลอดเก็บเลือด และหลอดเซรุ่ม โดยน าไปปั่นที่ 2,000 × g เป็นเวลา 10 นาที แยกเซรุ่มเก็บไว้ที่ -20 C เพื่อใช้ในการทดสอบหา anti-Leishmania antibody ด้วยวิธี DAT

A

B

Figure 1 A map of Thailand shows the locations of sample collection areas, including (A) (Mueang Satun district (1), Khuan Don district (2), Khuan Kalong district (3) and (4)) and (B) ( (5), (6), Khlong Hoi Khong district (7) and (8)).

Table1 The numbers of dog and cat samples in Songkhla and Satun provinces.

Areas Numbers Areas Numbers

Satun province Dogs Cats Songkhla province Dogs Cats

Mueang Satun district 77 29 Rattaphum district 43 30

Khuan Don district 27 14 Hat Yai district 74 45

Khuan Kalong district 122 28 Khlong Hoi Khong district 53 40

Tha Phae district 32 22 Sadao district 44 10

Total 258 93 214 125 คลังความรู้ดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หมดอายุวันที่ 24-10-2564 การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาเซรุ่ม วิธี Direct Agglutination Test (DAT) วิธีนี้เป็นการตรวจหาระดับแอนติบอดีที่จ าเพาะต่อเชื้อ L. donovani complex ตามขั้นตอนที่ Schallig และคณะ ได้อธิบายไว้ ในปีค.ศ. 2001 โดยใช้ standard freeze-dried antigen ความเข้มข้น 5×107parasites/ml (Royal Tropical Institute, KIT Biomedical Research in Amsterdam, The Netherlands) วิธีการทดสอบมีดังนี้ เจือจางตัวอย่างเซรุ่มด้วย DAT-DILUENT (ประกอบด้วย 0.9% NaCl saline และ 2-

mercaptoethanol ) ท าเป็น dilution series ตั้งแต่ 1:100 ถึง 1:800 ใน v-shaped micro-titre plates ( NUNCTM Serving Life Science, Denmark) และบ่มไว้ที่ 37 C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จากนั้นเติม DAT antigen 50 µl ในแต่ ละหลุมที่มีเซรุ่มที่เจือจางอยู่แล้ว 50 µl บ่มไว้ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 18 ชั่วโมง เกณฑ์ในการแปลผลแสดงเป็น antibody titer ที่ dilution สูงสุดที่มีการเกาะกันเป็นร่างแหซึ่งเกิดปฏิกิริยา agglutination หากตัวอย่างใดให้ ผลบวกให้ท าการตรวจซ้ าและหา end-point titer ของตัวอย่าง โดยท าเป็น dilution series ตั้งแต่ 1:100 ถึง 1: 6400 การวิเคราะห์ข้อมูล Seroprevalence ของการติดเชื้อ L. donovani complex ค านวณจากอัตราส่วนของตัวอย่างที่ positive ด้วยวิธี DAT กับจ านวนตัวอย่างทั้งหมด โดยใช้ Chi-squared tests วิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม Number Cruncher Statistical System programs (NCSS) version 2000 (Kaysville, UT) ทั้งนี้ p < 0.05 แสดงถึงการมี มีนัยส าคัญทางสถิติ

ผล Seroprevalence ของการติดเชื้อ L. donovani complex ในสุนัขและแมว คิดเป็นร้อยละ 2.1 (10/472) และ 6.0 (13/218) ตามล าดับ (table2 และ 3) การติดเชื้อพบทั้ง 2 จังหวัด คือ จ. สงขลาในสุนัข พบ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ. คลองหอยโข่ง (3 ตัว) อ. รัตภูมิ (2 ตัว) และ อ. สะเดา (3 ตัว) จ. สตูลพบ 1 อ าเภอ คือ อ. เมือง สตูล (2 ตัว) ส่วนในแมว จ. สงขลา พบ 2 อ าเภอ คือ อ. คลองหอยโข่ง (3 ตัว) และ อ. รัตภูมิ (3 ตัว) จ. สตูล พบ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ. ควนกาหลง (3 ตัว) อ. เมืองสตูล (3 ตัว) และ อ. ท่าแพ (1 ตัว) โดยแบ่งช่วงอายุดังนี้ young หมายถึงช่วงอายุ 2-11 เดือน adult หมายถึงช่วงอายุ 12-83 เดือน และ old หมายถึงช่วงอายุ 84 เดือนขึ้นไป พบว่าสุนัขที่มีจ านวน seropositive มากที่สุดมีอายุอยู่ในช่วง 12-83 เดือน คิดเป็น 2.8 % (9/331) เช่นเดียวกับ ในแมว คิดเป็น 8.2% (13/159) แต่ไม่มีความแตกต่างระหว่างอายุกับตัวอย่างที่ positive (p = 0.307, p = 0.077 ตามล าดับ) ส่วนสายพันธุ์พบว่าแมวสายพันธุ์ผสมมีจ านวน seropositive มากกว่าสายพันธุ์แท้ (p = 0.369) แต่ ไม่มีความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์ของสุนัขกับตัวอย่างที่ positive (p = 0.967) ไม่มีความแตกต่างระหว่าง ตัวอย่างที่คลังความรู้ดิจิทัล positive มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับเพศของสุนัขและแมว (p = 0.946, p = 0.560 ตามล าดับ) พื้นที่อาศัย (p = 0.332, p = 0.749 ตามล าดับ) และการมีหรือไม่มีปรสิตภายนอก (p = 0.163, p = 0.424 ตามล าดับ) อย่างไรก็ตาม พบว่า หมดอายุวันที่ 24-10-2564 แมวที่ไม่มีรอยโรคที่ผิวหนังมีจ านวน seropositive มากกว่าแมวที่มีรอยโรคที่ผิวหนัง ซึ่งแตกต่างอย่างมี นัยส าคัญ (p = 0.025) แต่ไม่มีความแตกต่างระหว่างรอยโรคที่ผิวหนังกับตัวอย่างที่ positive ในสุนัข ( p = 0.941)

Table 2 Seroprevalence of Leishmania donovani complex infection in dogs by using DAT

Parameter Number of dogs (n) DAT positive (n) Seroprevalence of L. donovani complex infection (%) Age group 2  = 2.360, df = 2, p = 0.307

Young 79 0 0

Adult 331 9 2.8

Old 62 1 1.6

Breed =0.002, df = 1, p = 0.967

Purebred 92 2 2.2

Crossbred 380 8 2.2

Gender = 0.005, df = 1, p = 0.946

Male 241 5 2.1

Female 231 5 2.2

Living area = 2.206, df = 2, p = 0.332

Outdoor 176 3 1.7

Indoor 138 5 3.6

Both 158 2 1.3

Skin lesion = 0.006, df = 1, p = 0.941

Present 44 1 2.3

Absent 428 9 2.1

Ectoparasite = 1.949, df = 1, p = 0.163 คลังความรู้ดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Present 196 2 1.0

Absent 276หมดอายุวันที่ 8 24-10-2564 2.9

Total 472 10 2.1

Table 3 Seroprevalence of Leishmania donovani complex infection in cats by using DAT

Parameter Number of cats (n) DAT positive (n) Seroprevalence of L. donovani complex infection (%) Age group 2  = 5.129, df = 2, p = 0.077

Young 48 0 0

Adult 159 13 8.2

Old 11 0 0

Breed =0.805, df = 1, p = 0.369

Purebred 12 0 0

Crossbred 206 13 6.3

Gender = 1.157, df = 1, p = 0.560

Male 88 7 8.1

Female 130 6 4.6

Living area = 0.576, df = 2, p = 0.749

Outdoor 102 5 4.9

Indoor 66 4 6.1

Both 50 4 8.0

Skin lesion = 5.035, df = 1, p = 0.025

Present 16 3 18.8

Absent 202 10 5.0

Ectoparasite = 0.640, df = 1, p = 0.424

คลังความรู้ดิจิทัลPresent มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 20 2 10.0 Absent 198 หมดอายุวันที่11 24-10-25645.6 Total 218 13 6.0

สรุปและวิจารณ์ การศึกษาในครั้งนี้ได้ด าเนินการเก็บตัวอย่างในพื้นที่ 2 จังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทย คือ สงขลา และสตูล เนื่องมาจากพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทยถือเป็นพื้นที่เสี่ยงต่อการสัมผัสโรคลิชมาเนียซิส (Sukmee et al., 2008; ธีรยุทธ, 2553) จากการศึกษาในช่วงปี 2539-2553 พบมีรายงานการเกิดโรค VL แบบ sporadic case

ในคน ใน 9 จังหวัด ได้แก่ สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช สงขลา สตูล น่าน จันทบุรี เชียงราย และกรุงเทพ เห็นได้ว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ที่มีรายงานการเกิดโรคนั้นอยู่ในภาคใต้ (Kongkaew et al., 2007; Maharom et al., 2008; Sukmee et al., 2008; Suankratay et al., 2010) และจากการส ารวจ seroprevalence ในสัตว์เลี้ยงรอบ บ้านของผู้ป่วยใน 2 การศึกษาจากจังหวัดน่าน พบว่าวัวและแมวมี seropositive ต่อเชื้อ Leishmania 1/5 และ 3/3 ตัว ( Kongkaew et al., 2007) ตามล าดับ และจังหวัดพังงา พบว่าแมว 9/15 มี seropositive ต่อเชื้อ Leishmania ( Sukmee et al., 2008) ในการศึกษาครั้งนี้พบว่า แมวและสุนัขในทั้ง 2 จังหวัด มี seropositive ต่อเชื้อ L. donovani complex 6.0% และ 2.1 % ตามล าดับ พบว่ามีค่าความชุกที่ต่ ากว่าเมื่อเปรียบเทียบกับ รายงานก่อนหน้านี้ในพื้นที่ระบาดของโรคลิชมาเนียซิส ได้แก่ ประเทศสเปน พบว่าสุนัขมี seropositive อยู่ในช่วง 1.6- 34.6% (Ballart et al., 2013) ประเทศโปรตุเกส พบว่าสุนัขมี seropositive 21.3% (Sousa et al., 2011) และแมวมี seropositive อยู่ในช่วง 6.5- 20% ( Cardoso et al., 2010) การที่พบ seropositive มีค่าน้อยนั้นอาจ เนื่องมาจากประเทศไทยไม่ใช่พื้นที่ระบาดหลักของโรคนี้ แสดงให้เห็นว่าแมวและสุนัขอาจจะเป็นแหล่งรังโรคที่ ส าคัญของโรคลิชมาเนียซิสในประเทศไทย

การศึกษาครั้งนี้พบแมวที่ไม่มีรอยโรคที่ผิวหนังมีจ านวน seropositive มากกว่าแมวที่มีรอยโรคที่ผิวหนัง ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญ จากรายงานในต่างประเทศไม่พบความแตกต่างระหว่างการมีหรือไม่มีรอยโรคที่ ผิวหนังกับตัวอย่างที่มี seropositive (Cardoso et al., 2010) ซึ่งผลที่ได้อาจเนื่องมาจากตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษาครั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นแมวที่ไม่มีรอยโรคที่ผิวหนัง ส่วนปัจจัยด้านอื่นๆ เช่น อายุ เพศ ไม่มีความแตกต่าง กับตัวอย่างที่ seropositive แต่มีแนวโน้มว่าช่วงอายุ 12-83 เดือน มีอัตราการให้ผลบวกสูงทั้งในสุนัขและแมว เช่นเดียวกับในรายงานของ Cardoso และคณะ ในปี 2010 พบว่า มีความแตกต่างกันระหว่างตัวอย่างที่ seropositive กับเพศ และอายุ โดยอายุของแมวที่ seropositive อยู่ในช่วง 31- 84 เดือน แต่ในการศึกษาของ Sousa และคณะในปี 2011 พบความแตกต่างระหว่างตัวอย่างที่ seropositive กับอายุ และสุนัขที่มีอาการป่วย แสดงให้เห็นว่าปัจจัยเสี่ยงในการติดเชื้อ Leishmania ในแมวและสุนัขในประเทศไทยนั้นจะต้องท าการศึกษาให้ มากยิ่งขึ้นต่อไป

วิธีการตรวจทางวิทยาเซรุ่มในการตรวจหา anti-Leishmania antibody นั้นมีหลายวิธีซึ่งมี sensitivity และ specificity แตกต่างกัน วิธี IFA เป็นวิธีที่ดีที่สุด ( sensitivity 96% และ specificity 98%) (Sukmee et al., 2008; Srivastava et al., 2011) แต่วิธีนี้มีข้อเสียคือ มี cross-reaction กับโปรโตซัวชนิดอื่น (Trypanosoma คลังความรู้ดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ cruzi) ไม่สามารถตรวจหา antibody ของผู้ป่วย VL ในระยะเริ่มต้นได้ และมีขั้นตอนการทดสอบที่ซับซ้อน (Sukmee et al., 2008) ส่วนวิธี DAT เป็นวิธีที่มี sensitivity 94.8%หมดอายุวันที่ และ specificity 24-10-2564 85.9% ในการวินิจฉัยโรคใน คน ราคาไม่แพง และมีวิธีการตรวจที่ง่าย (Srivastava et al., 2011) และวิธีนี้เหมาะส าหรับตรวจคัดกรอง VL ใน สุนัข ซึ่งมี sensitivity สูงถึง 100 % และ specificity 98.8% (Schalling et al., 2001) การศึกษาครั้งนี้จึงเลือกใช้ วิธี DAT ในการทดสอบเพราะสามารถตรวจหา antibody titre ได้ตั้งแต่ 1:100 ถึง 1:6400 ดังนั้นวิธี DAT จึงเป็น วิธีที่เหมาะส าหรับใช้ตรวจคัดกรองโรคลิชมาเนียซิส โดยเฉพาะ VL ในสุนัข

การศึกษาครั้งนี้เป็นรายงานครั้งแรกเกี่ยวกับ seroprevalence ของโรค VL ในสุนัขและแมวในพื้นที่ ภาคใต้ของประเทศไทย ซึ่งพบว่าทั้งแมวและสุนัขอาจจะมีบทบาทในการเป็นแหล่งรังโรคของโรคลิชมาเนียซิสใน

ประเทศไทยโดยเฉพาะในภาคใต้ ซึ่งจะต้องท าการศึกษาต่อไปเกี่ยวกับบทบาทของสุนัขและแมวในการถ่ายทอด เชื้อ Leishmania ผ่านทางแมลงพาหะ และตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อในตัวอย่างที่มี seropositive เพื่อ ยืนยันชนิดของเชื้อ Leishmania ที่พบในสุนัขและแมวต่อไป

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Kasetsart University Research and Development Institute (KURDI) และ ขอขอบคุณส านักงานปศุสัตว์จังหวัดสตูล และส านักงานปศุสัตว์จังหวัดสงขลา โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ที่ให้ความ ช่วยเหลือและค าแนะน าในช่วงที่ด าเนินการเก็บตัวอย่าง

เอกสารอ้างอิง ธีรยุทธ สุขมี. 2553. โรคลิชมาเนียซิส, น. 49-63. ในรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจ าสัปดาห์. ส านักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, นนทบุรี. Alexander, J., A.R. Satoskar and D.G. Russell. 1999. Leishmania species: Models of intracellular parasitism. J. Cell. Sci. 112: 2993-3002. Ballart, C., M. Alcover, A. Picado, J. Nieto, S. Castillejo, M. Portus and M. Gallego. 2013. First survey on canine leishmaniasis in a non-classical area of the disease in Spain (Lleida, Catalonia) based on a veterinary questionnaire and a cross-sectional study. Pre. Vet. Med. 109: 116- 127. Bhattarai, N.R., G.V. Auwera, S. Rijal, A. Picado, N. Speybroeck, B. Khanal, S.D. Doncker, M.L. Das, B. Ostyn, C. Davies, M. Coosemans, D. Berkvens, M. Boelaert and J.C. Dujardin. 2010. Domestic animals and epidemiology of visceral leishmaniasis, Nepal. E.I.D. 16: 231-237. Camargo, L. B. and H. Langoni. 2006. Impact of leishmaniasis on public health. J. Venom. Anim. คลังความรู้ดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Toxins. Incl. Trop. Dis. 12: 527-548. Cardoso, L., A. P. Lopesa, K. Sherryc, H. Schallig, and L. หมดอายุวันที่Solano-Gallegoc. 24-10-2564 2010. Low seroprevalence of Leishmania infantum infection in cats from northern Portugal based on DAT and ELISA. Vet. Parasitol. 174: 37-42. Conlan, J.V., B. Sripa, S. Attwood and P.N. Newton. 2011. A review of parasitic zoonoses in a changing Southeast Asia. Vet. Parasitol. 182 : 22-40. Courtenay, O., R. J. Quinnell, L.M. Garcez and C. Dye. 2002. Low infectiousness of a wildlife host of Leishmania infantum: The crab-eating fox is not important for transmission. Parasitol. 125: 407-414.

Desjeux, P. 2004. Leishmaniasis: current situation and new perspectives. Comp. Immun. Microbiol. Infect. Dis. 27: 305–318. Handman, E. 1999. Cell biology of Leishmania. Adv. Parasit. 44:1-39. Hassan, M.M., O.F. Osman, F. M. El-Raba'a, H. Schallig and D.A. Elnaiem. 2009. Role of the domestic dog as a reservoir host of Leishmania donovani in eastern Sudan. Parasit. Vectors. 26: 1-7. Jusi, M.M., W.A. Starke-Buzetti, T. Oliveira, M. Tendrio, L. Sousa and R.Z. Machado. 2011. Molecular and serological detection of Leishmania spp. in captive wild animals from Ilha Solteira, SP, Brazil. Rev. Bras. Parasitol. Vet. 20: 219-222. Kongkaew, W., P. Siriarayaporn, S. Leelayoova, K. Supparatpinyo, D. Areechokchai, P. Duang-ngern, K. Chanachai, T. Sukmee, Y. Samung and P. Sridurongkathum. 2007. Autochthonous visceral leishmaniasis: a report of a second case in Thailand. Southeast Asian J. Trop. Med. Public Health. 38 (1): 8-12. Lukes, J., I.L. Mauricio, G. Schönian, J.C. Dujardin, K. Soteriadou, J.P. Dedet, K. Kuhls, K.W. Tintaya, M. Jirku, E. Chocholová, C. Haralambous, F. Pratlong, M. Oborník, A. Horák, F.J. Ayala and M.A. Miles. 2007. Evolutionary and geographical history of the Leishmania donovani complex with are vision of current taxonomy. Proc.Natl.Acad.Sci.U.S.A. 104: 9375–9380. Maharom, P., S. Siripattanapipong, M. Mungthin, T. Naaglor, R. Sukkawee, R. Pudkorn, W. Wattana, D. Wanachiwanawin, D. Areechokchai and S. Leelayoova. 2008. Case report: Visceral leishmaniasis caused by Leishmania infantum in Thailand. Southeast Asian J. Trop. Med. Public Health. 39 (6): 988-990. Malta, M.C.C., H.P. Tinoco, M. N. Xavier, A. L. S. Vieira, E. A. Costa and R. L. Santos. 2010. Naturally acquired visceral leishmaniasis in non-human primates in Brazil. Vet. Parasitol. 169: 193–197. Oliveira, F.S., C. Pirmez, M.Q. Pires, R.P. Brazil and R.S. Pacheco. 2005. PCR-based diagnosis for detection of Leishmania in skin and blood of rodents from an endemic area of cutaneous and คลังความรู้ดิจิทัลvisceral มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์leishmaniasis in Brazil. Vet. Parasitol. 129: 219–227. Poli, A., F. Abramoa, P. Barsotti, S. Leva, M. Gramiccia, A. Ludovisi and F. Mancianti. 2002. Feline leishmaniosis due to Leishmania infantum in Italy.หมดอายุวันที่ Vet. Parasitol. 106: 24-10-2564 181–191. Savani, E.S.M.M., M.C.G.O. Camargo, M.R. Carvalho, R.A. Zampieri, M.G. Santos, S.R. N. Auria , J.J. Shaw and L.M. Floeter-Winter. 2004. The first record in the Americas of an autochthonous case of Leishmania infantum chagasi in a domestic cat (Felix catus) from Cotia County, São Paulo State, Brazil. Vet. Parasitol. 120: 229–233. Schallig, H.D.F.H., G.J. Schoone, C.C.M. Kroon, A. Hailu, F. Chappuis and H. Veeken. 2001.

Development and application of ‘simple’ diagnostic tools for visceral leishmaniasis. Med. Microbiol. Immunol. 190: 69-71. Singh, N., J. Mishra, R. Singh, and S. Singh. 2013. Animal reservoirs of visceral leishmaniasis in India. J. Parasitol. 99 (1): 64-67. Sousa, S., A. P. Lopes, L. Cardoso, R. Silvestre, H. Schallig, S. G. Reed and A. C. Silva. 2011. Seroepidemiological survey of Leishmania infantum infection in dogs from northeastern Portugal. Acta trop. 120: 82-87. Srivastava, P., A. Dayama, S. Mehrotra and S. Sundar. 2011. Diagnosis of visceral leishmaniasis. Trans. Royal. Soc. Trop. Med. Hyg. 105: 1-6. Suankratay, C., G. Suwanpimolkul, H. Wilde, and P. Siriyasatien. 2010. Case report: Autochthonous visceral leishmaniasis in a human immunodeficiency virus (HIV) - infected patient: The first in Thailand and review of the literature. Am. J. Trop. Med. Hyg. 82 (1): 4-8. Sukmee, T., S. Siripattanapipong, M. Mungthin, J. Worapong, R. Rangsin, Y. Samung, W. Kongkeaw, K. Bumrungsana, K. Chanachai, C. Apiwathanasorn, P. Rujirojindakul, S. Wattanasri, K. Ungchusak and S. Leelayoova. 2008. A suspected new species of Leishmania, the causative agent of visceral leishmaniasis in a Thai patient. Inter. J. Parasitol. 38: 617-622.

คลังความรู้ดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หมดอายุวันที่ 24-10-2564