เอกสารวิชาการฉบับที ๘/๒๕๕๕ Technical Paper no. 8/2012

ค่มือู การเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม HANDBOOK RAISING SERRATED MUD ( SERRATA FORSSKAL) IN DEGRADATED FOREST AREAS

โดย

บรรณรักษ์ เสริมทอง Bannarak Sermthong

สํานักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน Office of Mangrove Conservation กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง Department of Marine and Coastal Resources กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม Ministry of Natural Resources and Environment

เอกสารวิชาการฉบับที ๘/๒๕๕๕ Technical Paper no. 8/2012

ค่มือู การเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม HANDBOOK RAISING SERRATED MUD CRAB ( SCYLLA SERRATA FORSSKAL) IN DEGRADATED MANGROVE FOREST AREAS

โดย

บรรณรักษ์ เสริมทอง Bannarak Sermthong

สํานักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน Office of Mangrove Conservation ๑๒๐ ม. ๓ ชัน ๗ อาคารรัฐประศาสนภักดี 120 Mue 3, Floor 7, Ratthaprasasanabhakti Building ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา The Government Complex Commemorating ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ His Majesty The King’s 80 th Birthday Anniversary, 5th December, B.E.2550 (2007) ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี กรุงเทพฯ Chaeng Wattana Road, Lak Si, Bangkok โทร/โทรสาร ๐๒ ๑๔๑ ๑๔๐๘ ๙ Tel./Fax 02 141 1408 – 9 ๒๕๕๕ 2012 คํานํา

ปัจจุบันทรัพยากรป่าชายเลนของชาติได้ประสบปัญหาการถูกบุกรุกทําลายจนเสือมโทรม หน่วยงานภาครัฐจึงได้ร่วมกันวางแผนงาน/โครงการเพือปลูกฟืนฟูสภาพป่าชายเลน เพือให้ กลับคืนสู่สภาพความอุดมสมบูรณ์ดังเดิมในทุกวิถีทาง แต่ได้ประสบกับปัญหาการต่อต้าน ไม่ได้รับ ความร่วมมือจากประชาชนในพืนทีเท่าทีควร เนืองจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ ของประชาชนในพืนที ซึงกิจกรรมทีก่อให้เกิดปัญหาและส่งผลกระทบต่อป่าชายเลนทีสําคัญ ได้แก่ การตัดไม้เกินกําลังผลิตของป่า การทําการเกษตรกรรมในพืนทีป่าชายเลน การขยายตัวของแหล่ง ชุมชน และการก่อสร้างถนน ทังนี สาเหตุข้างต้นเกิดมาจากปัญหาหลัก คือ การเพิมขึนของประชากร ภายในประเทศ ดังนัน เพือเป็นการแก้ไขหรือลดปัญหาทีภาครัฐถูกประชาชนในพืนทีต่อต้าน หรือ ไม่ได้รับความร่วมมือในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน โดยเฉพาะการปลูกฟืนฟูป่าชายเลนจาก ประชาชนให้ลดน้อยลงหรือหมดไป ผู้จัดทําคู่มือจึงมีแนวคิดในการจัดทําคู่มือฉบับนีขึน เพือให้ เจ้าหน้าทีทีเกียวข้องนําไปใช้ประกอบการปฏิบัติงาน เป็นกลยุทธ์ในการให้คนสามารถอยู่ร่วมกับป่า สามารถสร้างมวลชนและส่งเสริมการสร้างรายได้เสริมให้กับประชาชนในพืนที ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าชายเลนในพืนทีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิงขึนกว่าทีเป็นอยู่ในปัจจุบันได้ต่อไป การจัดทํา “คู่มือการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม” ฉบับนี ผู้จัดทําได้เล็งเห็น สภาพปัญหาและความสําคัญดังกล่าว จึงได้รวบรวมนําเสนอทีมาและความสําคัญของปัญหา วิเคราะห์งานทีดําเนินการ ขันตอน วิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ รวมถึงวิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขปัญหาในการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมไว้อย่าง ครบถ้วน เพือให้หน่วยงานในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝังใช้เป็นคู่มือและเป็นกลยุทธ์ ประกอบการปฏิบัติงานการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดผลผลิต ในรูปของปูทะเล ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนทีเสือมโทรมให้สามารถ กลับคืนสู่สภาพความอุดมสมบูรณ์ได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป และท้ายทีสุดนี ผู้จัดทําคู่มือหวังเป็น อย่างยิงว่า คู่มือฉบับนีจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง เจ้าหน้าทีในสังกัด เจ้าหน้าทีหน่วยงานอืนทีเกียวข้อง และประชาชนโดยทัวไป ในการนําไปใช้ประโยชน์ ตามวัตถุประสงค์ของการจัดทําคู่มือฉบับนีสืบต่อไป บรรณรักษ์ เสริมทอง มีนาคม 2553 (1) สารบัญ

หน้า สารบัญ (1) สารบัญตาราง (2) สารบัญภาพ (3) บทที 1 บทนํา 1 1.1 ทีมาและความสําคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ 3 1.3 ขอบเขตการศึกษา 4 1.4 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ 4 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 4 บทที 2 การวิเคราะห์งานทีดําเนินการ 6 บทที 3 วิธีการดําเนินงาน 8 3.1 การรวบรวมองค์ความรู้ 8 3.2 การเสริมสร้างความรู้และการทํางานร่วมกัน 38 3.3 วิธีการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม 39 3.4 การติดตามและประเมินผลการดําเนินการ 41 บทที 4 ปัญหา อุปสรรค และวิธีแก้ปัญหา 42 4.1 ปัญหาและอุปสรรคในการเลียงปูทะเล 42 4.2 ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ปัญหา 43 บรรณานุกรม 45 ประวัติผ้ศึกษาู 47 (2) สารบัญตาราง

ตารางที หน้า 1 ข้อมูลการเจริญเติบโตของปูทะเล Scylla serrate Forskal 28 2 ภาวะสิงแวดล้อมบางประการสําหรับการเพาะฟักปูทะเล 29 3 ต้นทุนการขุนปูทะเลต่อฟาร์มต่อรอบ 35 4 ผลผลิตและผลตอบแทนของฟาร์มต่อรอบการขุนปูทะเล 36 (3) สารบัญภาพ

ภาพที หน้า 1 กรอบแนวคิดและแผนผังการดําเนินการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม 7 2 เปรียบเทียบลักษณะความแตกต่างของปูทะเลเพศผู้และเพศเมีย (ด้านหน้า) 25 3 วงจรชีวิตของปูทะเล 26 4 ลักษณะของบ่อดินสําหรับเลียงปูทะเล 31 5 ลักษณะประตูระบายนําของบ่อดินสําหรับเลียงปูทะเล 31 6 สวิงด้ามยาวใช้สําหรับตักปูทะเล 33 7 วิธีการมัดปูทะเลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี 34 8 คราดเหล็กสําหรับคราดปูตามเลนพืนบ่อ และสวิงด้ามสันสําหรับลําเลียงปูขึนจากบ่อ 34 9 แสดงการจัดแบ่งพืนทีการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม 40 10 ขันตอนการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม 41 บทนํา

1.1 ทีมาและความสําคัญของปัญหา

ประเทศไทยมีเนือทีป่าชายเลนมากเป็นอันดับ 7 ของโลก ซึงป่าชายเลนมีความสําคัญทัง ในด้านประมง ป่าไม้ และอุดมไปด้วยทรัพยากรแร่ธาตุชนิดต่างๆ ทําให้ป่าชายเลนในประเทศไทย ได้ถูกบุกรุกทําลายลงอย่างรวดเร็ว จากการใช้ภาพถ่ายทางอากาศติดตามการเปลียนแปลงของพืนที ป่าชายเลน แสดงให้เห็นถึงการลดลงอย่างต่อเนืองของเนือทีป่าชายเลนในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2518 พืนทีป่าชายเลนมีอยู่ 1,954,375 ไร่ แต่จากการสํารวจและแปลภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT5 (TM) ครังล่าสุด เมือปี พ.ศ. 2543 พบว่า พืนทีป่าชายเลนคงเหลืออยู่เพียง 1,532,843.75 ไร่ ทังนีเกือบ ครึงหนึงของพืนทีทีเหลืออยู่นัน (ประมาณ 720,000 ไร่) มีสภาพทีเสือมโทรมจนเป็นทีน่าวิตก และ ในปี พ.ศ. 25442546 รัฐได้มีนโยบายให้ยกเลิกสัมปทานป่าชายเลนทีเหลืออยู่ทังหมด โดยการ ปรับเปลียนนโยบายจากการใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากไม้มาเป็นเพือการอนุรักษ์และรักษา สภาพแวดล้อม การบุกรุกทําลายป่าก็ยังคงมีอยู่ต่อเนืองตลอดมาจนถึงปัจจุบัน อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า กิจกรรมทีก่อให้เกิดปัญหาและส่งผลกระทบต่อป่าชายเลนทีสําคัญ ได้แก่ (1) การตัดไม้เกินกําลังผลิต ของป่า (2) การทําการเกษตรกรรมในพืนทีป่าชายเลนหรือบริเวณใกล้เคียง (3) การขยายตัวของแหล่ง ชุมชน และ (4) การก่อสร้างถนน (กรมป่าไม้, 2545)ทังนี สาเหตุข้างต้นเกิดมาจากปัญหาหลัก คือ การเพิมขึนของประชากรภายในประเทศนันเอง ปัญหาการบุกรุกทําลายทรัพยากรป่าชายเลนดังกล่าวข้างต้นได้ส่งผลกระทบกับสิงแวดล้อม อย่างรุนแรง ซึงหน่วยงานภาครัฐและทุกฝ่ายทีเกียวข้องได้พยายามหาแนวทางหรือวิธีการในการ แก้ไขปัญหาดังกล่าวมาอย่างต่อเนือง โดยเฉพาะอย่างยิงการกําหนดแนวทางหรือมาตรการทีจะ ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนภายใต้แนวทางของคน อยู่ร่วมกับป่า เนืองจากการทีจํานวนประชากรเพิมมากขึนย่อมส่งผลต่อความต้องการทีดินทํากิน ทีอยู่อาศัยและบริโภคอาหาร รวมถึงใช้ประโยชน์ทรัพยากรต่าง ๆ เพิมมากขึน แต่พืนทีป่าชายเลน มีจํานวนทีจํากัด เพือให้เป็นการสอดคล้องกับแนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึงได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 66 ทีบัญญัติไว้ว่า “บุคคลซึงรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิน หรือชุมชนท้องถินดังเดิมย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟืนฟู จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิน ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถินและของชาติ และมีส่วนร่วมใน การจัดการ การบํารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิงแวดล้อม รวมทังความ

2

หลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยังยืน” และมาตรา 67 บัญญัติไว้ว่า “สิทธิของบุคคลทีจะมี ส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บํารุงรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิงแวดล้อม เพือให้ ดํารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนืองในสิงแวดล้อมทีจะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตนย่อมได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม” (สํานักงานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร, 2550) ทังนี การดําเนินการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าชายเลนนัน จําเป็นจะต้องคํานึงถึงองค์ประกอบ แนวความคิด และหลักการทีเกียวกับ การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนทีรอบด้าน เพือให้เกิดการอนุรักษ์ทีมีประสิทธิภาพมากยิงขึนกว่าที เป็นอยู่ในปัจจุบัน มีความสอดคล้องกับภารกิจหลักของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง ทีได้ กําหนดไว้ว่า “ทรัพยากรทางทะเลและชายฝังได้รับการจัดการเพือความสมบูรณ์และยังยืน” โดยเฉพาะภารกิจหลักเกียวกับ “การสร้างความเข้าใจและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ อนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง” มุ่งเน้นกําหนดแนวทางหรือกลยุทธ์ในการสร้าง แรงจูงใจให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดําเนินการดังกล่าวกับภาครัฐได้อย่างแท้จริง นําไปสู่ การประสานความร่วมมือทีสามารถให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามหลักการอนุรักษ์ที นิวัติ (2542) ระบุไว้ว่า “ในการวางแผนการจัดการทรัพยากรอย่างชาญฉลาดนัน จะต้องไม่แยกมนุษย์ ออกจากสภาพแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม หรือสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เพราะว่าวัฒนธรรม และสังคมของมนุษย์ได้พัฒนาตัวเองมาพร้อมกับการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของสังคม นัน ๆ กล่าวโดยทัว ๆ ไป การอนุรักษ์ถือได้ว่าเป็นทางแห่งการดําเนินชีวิต เพราะมีส่วนเกียวข้องกับ เศรษฐกิจและสังคมซึงมีบทบาทต่อชีวิตมนุษย์เป็นอันมาก” จากแนวทางการส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้ามามีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าชายเลนข้างต้น ผู้จัดทําคู่มือได้เล็งเห็นว่า “ปูทะเล” เป็นสัตว์นําชนิดหนึงทีในปัจจุบัน เกษตรกรนิยมเพาะเลียงกันอย่างกว้างขวาง แต่ปูทะเลตามธรรมชาตินับวันยิงมีจํานวนลดน้อยลง ซึงสาเหตุเกิดมาจากปัจจัยหลายประการ เช่น การทําประมงไม่ถูกวิธี การลดลงของป่าชายเลน การเพิมขึนของประชากรดังทีได้กล่าวมาข้างต้น ส่งผลทําให้มีการบริโภคอาหารมากขึน เป็นต้น ปูทะเล เป็นอาหารทีมีรสชาติดี จึงเป็นสัตว์นําเค็มทีมีคุณค่าทางเศรษฐกิจทีสําคัญ ดังนัน แนวทางหรือกลยุทธ์ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนข้างต้น โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมฟืนฟูสภาพป่าชายเลนทีถูก บุกรุกทําลายให้คืนสู่สภาพความอุดมสมบูรณ์ จึงควรส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนท้องถินสามารถ

3

ประกอบอาชีพเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมได้อย่างเป็นรูปธรรม จะสามารถช่วยลด ความขัดแย้งกับประชาชนในพืนทีลงได้ ซึงเป็นแนวทางหรือกลยุทธ์ทีสอดคล้องกับภารกิจหลักของ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝังทีมุ่งเน้นเรืองการสร้างความเข้าใจและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง สามารถให้ส่งเสริมคนอยู่ ร่วมกับป่าโดยทีไม่บุกรุกพืนทีป่าเพิมเติม ก่อให้เกิดการอนุรักษ์และจัดการใช้ประโยชน์ทรัพยากร ทางทะเลและชายฝังให้เป็นไปอย่างสมดุล และสอดคล้องกับแนวทางพัฒนาทียังยืน เกิดผลดีต่อ การฟืนฟูสภาพป่าชายเลนในพืนที ควบคู่ไปกับการสร้างอาชีพและสร้างรายได้เสริมให้กับประชาชน ท้องถินได้อย่างเป็นรูปธรรม นําไปสู่การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนให้สามารถเอือประโยชน์ต่อชุมชน และประเทศชาติได้อย่างยังยืนต่อไป การจัดทํา “คู่มือการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม” ฉบับนี ผู้จัดทําได้เล็งเห็น สภาพปัญหาและความสําคัญดังกล่าวข้างต้น จึงได้ทําการรวบรวมข้อมูลเกียวกับแนวคิด ทฤษฎี หลักการ ความรู้เกียวกับปูทะเล วิเคราะห์ กําหนดวิธีการและขันตอนในการเลียงปูทะเลในพืนทีป่า ชายเลนเสือมโทรม รวมถึงวิเคราะห์ประเด็นปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว นํามาเรียบเรียงและจัดทําเป็นคู่มือเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมฉบับนีไว้อย่างครบถ้วน เพือให้หน่วยงานและเจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง ใช้เป็นคู่มือสําหรับการ ปฏิบัติงานด้านการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลน ภายใต้การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชนอย่างเป็นรูปธรรมสืบต่อไป

1.2 วัตถุประสงค์

1.2.1 เพือกําหนดแนวทางหรือกลยุทธ์ในการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลน โดยการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม ภายใต้การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน และสามารถให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างยังยืน 1.2.2 เพือให้หน่วยงานในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง ใช้เป็นคู่มือสําหรับ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าทีด้านการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนโดยการเลียงปูทะเล ในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม ภายใต้การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม

4 1.3 ขอบเขตการศึกษา

มีขอบเขตการศึกษาเพือมุ่งเน้นหาแนวทางหรือกลยุทธ์ในการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากร ป่าชายเลนโดยการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม ภายใต้การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน สามารถให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างยังยืน นําไปสู่การจัดทําคู่มือสําหรับหน่วยงาน และเจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝังใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานด้านการอนุรักษ์ และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนโดยการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม ภายใต้การส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรม

1.4 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ

1.4.1 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝังมีแนวทางหรือกลยุทธ์ในการอนุรักษ์และฟืนฟู ทรัพยากรป่าชายเลนโดยการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม ภายใต้การส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของประชาชน และให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างยังยืน 1.4.2 หน่วยงานและเจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง มีคู่มือสําหรับ การปฏิบัติงานด้านการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนโดยการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลน เสือมโทรม ภายใต้การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ 1.4.3 พืนทีป่าชายเลนทีเสือมโทรมในความรับผิดชอบของกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝังได้รับการฟืนฟูให้กลับคืนสู่สภาพความอุดมสมบูรณ์เพิมมากขึน 1.4.4 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝังมีเครือข่ายและแนวร่วมภาคประชาชนในการ อนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนเพิมมากขึน 1.4.5 ปัญหาความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง และประชาชนในพืนทีลดน้อยลง รวมถึงประชาชนในพืนทีมีสภาพความเป็นอยู่ทีดีขึน

1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ

ค่มือู หมายถึง สมุดหรือหนังสือทีแต่งขึนเพือใช้ประกอบตําราหรืออํานวยความสะดวกเกียวกับ การศึกษาเรืองใดเรืองหนึง ในทีนีหมายถึง สมุดหรือหนังสือทีแต่งขึนเพือใช้ประกอบตําราหรือ อํานวยความสะดวกเกียวกับการศึกษาเรือง “การเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม”

5

กลยุทธ์ หมายถึง แผนการปฏิบัติทีรวบรวมความพยายามทังหลายเพือให้บรรลุวัตถุประสงค์ ทีกําหนดไว้ หรือกระบวนการตัดสินใจอันซับซ้อนซึงเชือมโยงวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายสุดท้าย (Ends) ให้เข้ากับวิถีหรือหนทาง (Ways) และวิธีการ หรือเครืองมือ (Means) ในอันทีจะให้บรรลุ วัตถุประสงค์นัน ในทีนีหมายถึง แผนการปฏิบัติงานเพือให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการอนุรักษ์และ ฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลน ภายใต้การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน และให้คนอยู่ร่วมกับป่า ได้อย่างยังยืน การมีส่วนร่วม หมายถึง การทีประชาชนทีอาศัยอยู่ในชุมชนท้องถินทีมีส่วนส่วนเสียหรือ มีส่วนทีเกียวข้องกับทรัพยากรป่าชายเลนในพืนที ได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมศึกษาปัญหา ร่วม วางแผนงาน ร่วมปฏิบัติงาน และร่วมตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติงานด้านการอนุรักษ์และ ฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนกับทางเจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง ป่าชายเลน (Mangrove forest) หมายถึง กลุ่มสังคมพืชซึงขึนอยู่ตามชายฝังทะเลในเขต นําทะเลลงตําสุดและนําทะเลขึนสูงสุด พบได้ในบริเวณชายฝังทะเล ปากแม่นํา อ่าว ทะเลสาบ และ เกาะทีได้รับอิทธิพลจากนําเค็มในมหาสมุทรและนําจืดจากแผ่นดิน รวมทังได้รับอิทธิพลจากนําขึนนําลง ทําให้พืชทีขึนในป่าชายเลนมีลักษณะทางสรีรวิทยาและการปรับตัวทางโครงสร้างทีคล้ายคลึงกัน เพือให้สามารถดํารงอยู่ในสภาพแวดล้อมนีได้ พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยไม้สกุลโกงกาง (Rhizophoraceae spp.) เป็นสําคัญ และมีไม้สกุลอืนขึนปะปน การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน หมายถึง วิธีการสงวน บํารุง รักษา ฟืนฟู หรือเก็บรักษา ส่วนทีหายากเอาไว้ และการใช้ประโยชน์อย่างชาญฉลาดกับทรัพยากรป่าชายเลนทุกประเภท/ชนิด ทีมีอยู่ในพืนทีป่าชายเลนอย่างเหมาะสม รู้จักใช้ทรัพยากรป่าชายเลนด้วยวิธีการทีเกิดประโยชน์ สูงสุด และสามารถใช้ได้ยาวนานทีสุด ปูทะเล หมายถึง สัตว์นําเค็มชนิดหนึงทีจัดอยู่ในสัตว์ประเภทแมลงและกุ้ง มีกระดองกลมรี เป็นรูปไข่ สีดําปนแดงหรือสีนําตาลเข้ม เป็นสัตว์เศรษฐกิจทีนิยมนํามาปรุงสดเป็นอาหาร มีถินอาศัย อยู่ตามชายทะเลทีเป็นโคลนหรือบริเวณป่าแสม โกงกาง หรือป่าจาก และสามารถอยู่ในรูได้นานๆ ในบริเวณทีนําทะเลขึนไม่ถึง พบอยู่ทัวไปบริเวณชายฝังทะเลตะวันออก/ฝังตะวันตกของอ่าวไทย และฝังทะเลอันดามัน (ชือวิทยาศาสตร์ : Scylla serrata Forsskal จัดอยู่ใน Phylum : Mollusca, Class : Crustacea, Family : , Genus : Scylla, : Scylla serrata Forskal)

การวิเคราะห์งานทีดําเนินการ

เพือให้เจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝังสามารถนําคู่มือฉบับนีไปใช้ ในการปฏิบัติงานด้านการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลน ภายใต้การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ ผู้จัดทําคู่มือจึงได้รวบรวม องค์ความรู้เกียวกับแนวความคิด ทฤษฎี และข้อมูลทีเกียวข้องกับงานทีจะดําเนินการ รวมถึงขันตอน ในการดําเนินการรวม 3 ขันตอน ประกอบด้วย การเสริมสร้างความรู้และการทํางานร่วมกัน วิธีการ เลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนทีเสือมโทรม และการติดตามและประเมินผลการดําเนินการ โดยมี หลักการและเหตุผลทีสามารถนํามากําหนดเป็นกรอบแนวความคิดและแผนผังการดําเนินการ ดังนี จากสถานการณ์การเพิมขึนของประชากรภายในประเทศ ได้ส่งผลทําให้ประชากรมีความ ต้องการพืนทีทํากินและทีอยู่อาศัยมากขึน รวมถึงส่งผลกระทบต่อพืนทีป่าชายเลนได้ถูกบุกรุกทําลาย ลงอย่างรวดเร็ว หน่วยงานภาครัฐทีเกียวข้องจึงได้พยายามหาแนวทางหรือมาตรการในการแก้ไข ปัญหาดังกล่าว ซึงแนวทางหนึงทีจะประสบความสําเร็จลงได้ คือ การส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการอนุรักษ์และฟืนฟูป่าชายเลน ภายใต้บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังนัน ผู้จัดทําคู่มือฉบับนีจึงเล็งเห็นว่า แนวทางหรือมาตรการการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมในการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนดังกล่าวจําเป็นจะต้องมีมาตรการหรือกลยุทธ์ ทีสามารถโน้มน้าวหรือสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับหน่วยงานภาครัฐด้วยความเต็มใจ และสมัครใจ ซึงกลยุทธ์ในทีนี คือ “การเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม” โดยมุ่งเน้นแนวทาง ให้คนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้ ตามแนวคิดและหลักการของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนมีจิตสํานึกเกิดความหวงแหนและตระหนักในการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าชายเลนในพืนที เกิดกระบวนการทํางานร่วมกันกับเจ้าหน้าทีของรัฐแบบบูรณาการ ส่งผลทําให้ประชาชนมีอาชีพและมีรายได้เสริมและมีสภาพความเป็นอยู่ทีดีขึน ประชาชนไม่บุกรุก ป่าชายเลนเพิมเติม ส่งผลทําให้ปัญหาการบุกรุกพืนทีป่าชายเลนลดน้อยลง ควบคู่ไปกับพืนทีป่า ชายเลนทีเสือมโทรมได้รับการฟืนฟูให้กลับคืนสู่สภาพความอุดมสมบูรณ์ดังเดิมได้ต่อไป ทังนี จากหลักการและเหตุผลและความเชือมโยงของข้อมูลดังกล่าวข้างต้น สามารถนําข้อมูล มากําหนดเป็นกรอบแนวคิดและแผนผังในการดําเนินการดังกล่าว ดังปรากฏตามภาพที 1

7

สถานการณ์ทรัพยากรป่าชายเลนของประเท ศในปัจจุบัน ป่าชานเลนถูกบุกรุกทําลายจนเสือมโทรม พืนทีป่าลดน้อยลง

ขาด ความร่วมมือจากภาคประชาชนในการอนุรักษ์/ฟืนฟู

นโยบาย /แนวทาง /หลักการในการอนุรักษ์และฟืนฟทรัพยากรู ธรรมชาติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (สิทธิ เสรีภาพ หน้าทีของชนชาวไทย ด้านการมีส่วนร่วม แนวนโยบายพืนฐานแห่งรัฐด้านทีดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 10 (เน้นการมีส่วนร่วมของท้องถินในการจัดการ การอนุรักษ์ ฟืนฟู รักษาสภาพแวดล้อม ปรับเปลียนพฤติกรรมให้มีจิตสํานึกอนุรักษ์สภาพแวดล้อม) หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติฯ (ไม่แยกมนุษย์ออกจากทรัพยากร ฯ คนอยู่ร่วมกับป่าได้)

ค่มือการเลียงปู ทะเลในู พืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม สอดคล้องกับนโยบาย/แนวทาง/หลักการในการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรธรรมชาติ กลยุทธ์สร้างแรงจูงใจให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลน สนองตอบต่อพันธกิจและภารกิจหลักของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง

หน่วยงาน/เจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝังนําไปปฏิบัติ

ผลลัพธ์

พืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมได้รับการฟืนฟูให้คืนความอุดมสมบูรณ์ พืนทีป่าเพิมมากขึน ประชาชนมีอาชีพเสริม มีรายได้เพิม และมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน ลดความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าทีกับประชาชนในพืนที ประชาชนไม่บุกรุกพืนทีป่าเพิม เจ้าหน้าทีมีเครือข่ายด้านการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนเพิมมากขึน

ภาพที 1 กรอบแนวคิดและแผนผังการดําเนินการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม

วิธีการดําเนินการ

คู่มือฉบับนีมุ่งเน้นการดําเนินการใช้กลยุทธ์การเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม เพือสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนในพืนทีทีได้บุกรุก ยึดถือครอบครองพืนทีป่าชายเลน และประชาชน ทีอยู่อาศัยในพืนทีบริเวณใกล้เคียงได้เข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลน ทีเสือมโทรมในพืนทีหรือท้องถินของตน หยุดยังการบุกรุกพืนทีป่าชายเลนเพิมเติม ประชาชนในพืนที สามารถอยู่ร่วมกับป่าได้ ประชาชนมีอาชีพเสริมทําให้มีรายได้เพิมและมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ทีดีขึน ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนทีเสือมโทรมให้กลับคืนสู่ความอุดมสมบูรณ์ ดังนัน หากหน่วยงานและเจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝังจะสามารถนํากลยุทธ์ ดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม และสามารถบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ทีกําหนดไว้นัน จะต้องดําเนินการตามขันตอนและวิธีการตามลําดับ ดังต่อไปนี

3.1 การรวบรวมองค์ความรู้

เป็นการรวบรวมองค์ความรู้เกียวกับแนวความคิด ทฤษฎี และข้อมูลทีเกียวข้อง ประกอบด้วย ความรู้เกียวกับป่าชายเลน สถานการณ์และผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ป่าชายเลนในประเทศไทย แนวคิดทฤษฎีเกียวกับการมีส่วนร่วม แนวคิดและหลักการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิงแวดล้อม และองค์ความรู้เกียวกับปูทะเล โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี 3.1.1 ความร้เกียวกับทรัพยากรป่าชายเลนู 3.1.1.1 ลักษณะของป่าชายเลน ป่าชายเลนเป็นป่าทีมีลักษณะเฉพาะตัว เป็นป่า ทีอยู่ริมฝังทะเลในเขตร้อน โดยเฉพาะบริเวณใกล้ปากแม่นํา ด้วยลักษณะปัจจัยสิงแวดล้อมของป่า ชายเลนทีแตกต่างจากป่าชนิดอืนๆ ทําให้พรรณไม้ทีขึนในป่าชายเลนมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพ พืนที คือ มีลักษณะทนแล้ง มีความสามารถเจริญเติบโตยืนต้นในสภาพดินโคลนนุ่ม โดยมีการพัฒนา ระบบรากให้เหมาะสม เช่น มีรากคํายัน มีรากหายใจ เนืองจากต้องขึนอยู่ในสภาพนําขังเป็นเวลานาน ทุกวัน เมล็ดออกขณะอยู่บนต้น เพือความสําเร็จในการสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติ พัฒนาโครงสร้าง ของอวัยวะให้เจริญอยู่ในทีขาดนํา เช่น มีใบหนา ใบเป็นมัน และมีต่อมขับเกลือ เป็นต้น พรรณไม้ ชนิดต่างๆ ทีขึนอยู่ในป่าชายเลนจะขึนอยู่เป็นเขตๆ ตามลักษณะของปัจจัยทีมาควบคุม คือ การท่วม ของนําทะเล ชนิดของดิน ปริมาณของเกลือและแสงสว่าง ซึงเขตพรรณไม้ป่าชายเลนของประเทศไทย แบ่งออกเป็นเขตต่างๆ ดังนี (สนิท, 2542)

9

เขตที 1 เขตทีอยู่ใกล้ฝังนํา จะเป็นเขตของไม้โกงกาง ทังใบใหญ่และใบเล็ก โกงกางใบเล็กจะขึนหนาแน่นกว่าโกงกางใบใหญ่ และจะมีจากขึนอยู่หนาแน่นในบางท้องทีใกล้ฝังนํา เขตที 2 เขตทีอยู่ถัดเข้ามาจากเขตไม้โกงกาง จะเป็นเขตของไม้แสม และไม้ประสักขึนอยู่ เขตที 3 เขตทีอยู่ลึกเข้ามาจากเขตที 2 จะพบกลุ่มไม้ตะบูนขึนอยู่หนาแน่น ดินบริเวณนีค่อนข้างแข็ง อย่างไรก็ดี ในพืนทีบางแห่งในเขตนีทีมีนําทะเลท่วมถึงเสมอ จะเป็นเขต ของไม้โปรงและฝาดขึนอยู่ แต่บางครังก็พบไม้ทังสองชนิดนีขึนปะปนอยู่กับไม้ตะบูน เขตที 4 เขตพืนทีเลนแข็งและนําทะเลท่วมถึงในเวลาทีระดับนําทะเลขึน สูงสุดเท่านัน เป็นเขตของไม้เสม็ดขึนอยู่อย่างหนาแน่น เป็นเขตทีมีแนวติดต่อระหว่างป่าชายเลนกับป่าบก 3.1.1.2 ระบบนิเวศของป่าชายเลน ในระบบนิเวศป่าชายเลนสิงไม่มีชีวิตและ สิงมีชีวิตในป่าชายเลนเหล่านีจะมีความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างซับซ้อน ทังในแง่การหมุนเวียนของ ธาตุอาหาร และการถ่ายทอดพลังงาน แต่สามารถอธิบายง่ายๆ ได้ว่า เมือผู้ผลิต คือ พันธุ์พืช เจริญเติบโตจากสังเคราะห์แสง ส่วนของต้นไม้ โดยเฉพาะใบไม้ กิงไม้ และเศษไม้ จะร่วงหล่นทับถม ในนําและดิน และถูกย่อยสลายโดยผู้ย่อยสลายกลายเป็นอินทรียวัตถุ ในทีสุดก็จะกลายเป็นแร่ธาตุ อาหารของผู้บริโภคพวกกินอินทรีย์สาร พวกกินอินทรีย์สารนีจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว กลายเป็นแหล่งอาหารโปรตีนอันอุดมสมบูรณ์แก่สัตว์นําเล็กๆ และสัตว์เล็กๆ เหล่านีจะเจริญเติบโต กลายเป็นอาหารของกุ้ง ปู และปลาขนาดใหญ่ขึนไปเรือยๆ ตามลําดับ หรือบางส่วนก็จะตายและ ผุสลายตัวเป็นธาตุอาหารสะสมอยู่ในป่า ความสัมพันธ์ทีเกิดขึนนีจะถูกปรับให้เป็นไปอย่างสมดุล ภายในระบบ ถ้าไม่ถูกรบกวนจากภายนอก (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง, 2553) จากการที ป่าชายเลนเป็นระบบนิเวศซึงมีความหลากหลาย เป็นผืนป่าทีมีทังสิงไม่มีชีวิตและสิงมีชีวิตอยู่ ปะปนกัน สนิท (2542) จึงได้จําแนกองค์ประกอบป่าชายเลนทีสําคัญออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ (1) องค์ประกอบด้านโครงสร้างของระบบนิเวศ (ecosystem structure) และ (2) องค์ประกอบด้านหน้าที หรือกิจกรรมของระบบนิเวศ (ecosystem functions) มีรายละเอียด ดังนี (1) องค์ประกอบด้านโครงสร้างของระบบนิเวศ (ecosystem structure) (1.1) ผู้ผลิต (producers) คือ พวกทีสร้างอินทรีย์สารโดยใช้พลังงาน แสงอาทิตย์ ได้แก่ แพลงตอนพืช (phytoplankton) สาหร่าย (algae) และพรรณไม้ชนิดต่างๆ ในป่า ชายเลน

10

(1.2) ผู้บริโภค (consumers) ผู้บริโภคในป่าชายเลนแบ่งออกเป็น กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มผู้บริโภคหรือกินอินทรีย์สาร ได้แก่ พวกสัตว์หน้าดิน ขนาดเล็ก หอยสองฝา และปลาบางชนิด กลุ่มผู้บริโภคหรือกินพืชโดยตรง (herbivores) พวกนีจะกินพืช โดยตรง เช่น แพลงตอน สัตว์ ปู ไส้เดือน และปลาบางชนิด เป็นต้น กลุ่มผู้บริโภคหรือกินสัตว์ (carnivores) ซึงรวมถึงพวกกินสัตว์ ระดับแรกหรือระดับตํา (lower carnivores) ได้แก่ พวกกุ้ง ปู ปลาขนาดเล็ก และนกกินปลาบางชนิด และพวกกินสัตว์ระดับสูงสุดหรือยอด (top carnivores) ได้แก่ ปลาขนาดใหญ่ นก สัตว์เลือยคลาน และสัตว์เลียงลูกด้วยนม รวมถึงมนุษย์ กลุ่มผู้บริโภคหรือกินทังพืชและสัตว์ (omnivores) ได้แก่ ปลาบางชนิด แต่ส่วนใหญ่แล้วสัตว์ในกลุ่มนีจะกินทังพืชและสัตว์ (1.3) ผู้ย่อยสลาย (decomposers) ได้แก่ แบคทีเรีย รา พวกปูและหอย (2) องค์ประกอบด้านหน้าทีหรือกิจกรรมของระบบนิเวศ (ecosystem functions) เป็นเรืองของความสัมพันธ์ในแง่อาหารและการถ่ายทอดพลังงาน แบ่งออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ (2.1) เป็นห่วงโซ่อาหารทีเริมจากพืชสีเขียวไปสู่สัตว์ชนิดอืนในระดับ อาหารต่างๆ ทีสูงกว่า (2.2) เป็นห่วงโซ่อาหารทีเริมจากอินทรีย์สารไปสู่สัตว์ชนิดอืนๆ ในระดับ อาหารต่างๆ ทีสูงกว่า 3.1.1.3 พันธุ์ไม้และสัตว์ในพืนทีป่าชายเลน (1) พันธุ์ไม้ในป่าชายเลน พันธุ์ไม้ทีเจริญเติบโตได้ในพืนทีป่าชายเลน มีความหลากหลายและมีชนิดของพันธุ์ไม้ทีแตกต่างกันไป ซึงจะขึนอยู่กับสภาพแวดล้อม สภาพ ภูมิประเทศ และสภาพภูมิอากาศในแต่ละแห่ง แต่ส่วนมากแล้วจะพบมากในบริเวณดินโคลนตาม ริมฝังทะเล แม่นํา ลําคลอง เกาะ ทะเลสาบ และอ่าวทีมีนําทะเลท่วมถึงอยู่เป็นประจํา และทีสําคัญ คือ บริเวณดังกล่าวมักจะไม่มีคลืนลมแรง สําหรับประเทศไทยจะพบได้บริเวณจังหวัดชายฝังทะเล ตะวันออก ภาคกลาง และแถบจังหวัดภาคใต้ พันธุ์ไม้ทีสําคัญบางชนิดทีขึนอยู่ในป่าชายเลนแบ่ง ออกตามวงศ์และสกุลต่างๆ ดังต่อไปนี (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง, 2553) (1.1) สกุลโกงกาง ได้แก่ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata Blume) และโกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata Pole.)

11

(1.2) สกุลไม้ประสัก ได้แก่ ประสักหรือพังกาหัวสุม (Bruguiera gymnorrhiza (L.) Savigny) ถัวดํา (Bruguiera parviflora Wight & AmexGrift) ถัวขาว (Druguiera hainesii c.g. ROgera) (1.3) สกุลไม้โปรง ได้แก่ โปรงแดง (Ceriops tagal (Perr) C.B.Rob.) และโปรงขาว (Ceriops deeandra dirg Hou) (1.4) สกุลไม้แสม ได้แก่ แสมทะเล (Avicennia marina (Forsk.) Vierh.) แสมขาว (Avicennia alba Bl.) และแสมดํา (Avicennia officinallis L.) (1.5) สกุลไม้ลําพู ลําแพน ได้แก่ ลําพูทะเล (Sonneratia alba j. Smith) ลําแพน (Sonnertia ovata Baek. ) และลําแพนหิน หรือลําแพนทะเล (Sonneratia griffithii Kurz) (1.6) สกุลไม้ตะบูน ได้แก่ ตะบูนขาว (Xylocarpus granatum Koem) ตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis Roem.) และตะบัน (Xylocarpus moluccensis ) (1.7) สกุลไม้ฝาด ได้แก่ ฝาดแดง (Lumnitzera littorea )และฝาดขาว (Lumnitzera racemosa ) (1.8) สกุลเหงือกปลาหมอ ได้แก่ เหงือกปลาหมอดอกสีฟ้าหรือนางเกรง (Acanthus volubilis , L.) และเหงือกปลาหมอดอกสีขาว (Acanthus ebrcteatus Vahi) (1.9) สกุลไม้ตีนเป็ด ได้แก่ ตีนเป็ดทะเล (Cerbera odollam Gaertner) และตีนเป็ดนํา (Cerbera odollam Gaertn.) (1.10) หงอนไก่ทะเล (Heritiera littoralis Ait.) (1.11) ตาตุ่มทะเล (Excoecaria agallocha Linn.) (1.12) เล็บนาง (Quisqualis indica L.) (1.13) แคทะเล (Dollchandrone spathacea Schum.) (1.14) มังคะ (Cynometra iripa Kostel) (1.15) เทียนทะเล (Pemphis acidula J.R. & G. Forst.) (1.16) จาก (Nypa fruticans Wurmb.) (1.17) ไม้พืนล่างในป่าชายเลน หากเป็นพืนทีมีนําทะเลท่วมถึงอยู่ เสมอๆ มักจะไม่พบ แต่หากบริเวณนันมีตะกอนมาทับถมจนระดับสูงขึนกลายเป็นทีดอนขึนมา มักจะมีพันธุ์ไม้พืนล่างขึนอยู่ ได้แก่ ปรงทะเล (Acrostichum aureum Linn.) ต้นเหงือกปลาหมอ ดอกสีขาว (Acanthus ebrcteatus vahi) ปอทะเล (Hibiscus tiliaceus L.) โพธิทะเล (Thespesia populneoiders (Roxb.) Kostel.) และเป้ง (Phoenix paludosa Roxb.) เป็นต้น

12

(1.18) กล้วยไม้ในป่าชายเลน ได้แก่ กล้วยไม้สกุลรองเท้านารี มีลักษณะเด่นในเรืองของสีและรูปร่างของดอกทีจะนําไปผสมพันธุ์ ทีสําคัญมีอยู่ 5 ชนิด ได้แก่ รองเท้านารีสีขาว (Paphiopedilum niveum (Rchb.f. ) Stein ) รองเท้านารีเหลืองตรัง (Paphiopedilum godefroyae (GodefroyLebeuf) Stein) รองเท้านารีจังหวัดกระบี (Paphiopedilum exul (Ridl.) Rolfe) รองเท้านารีม่วงสงขลา (Paphiopedilum barbatum (Lindl.) Pfitz.) และรองเท้านารีช่องอ่างทอง (Paphiopedilum angthong ) (1.19) พันธุ์ไม้ผลัดใบในป่าชายเลน พันธุ์ไม้ในป่าชายเลนของ ประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบ แต่อย่างไรก็ตามก็ยังปรากฏว่ามีพันธุ์ไม้ผลัดใบบางชนิด ปะปนอยู่ด้วย ได้แก่ ไม้ตาตุ่มทะเล (Excoecaroa agallocha Linn.) ตะบันหรือตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis Roem.) ลําแพน (Sonnertia ovata Baek.) เป็นต้น (2) สัตว์ทีพบในป่าชายเลน สัตว์ทีพบในพืนทีป่าชายเลน ได้แก่ ปลา ชนิดต่างๆ เช่น ปลากระบอก ปลากะพง ปลานวลจันทร์ ปลากะรัง ปลาตีน เป็นต้น นอกจากนียังมีกุ้ง ประมาณ 15 ชนิด ได้แก่ กุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis De Man) กุ้งกุลาดํา ( Fabricius) กุ้งกระเปาะหรือกุ้งกระต่อม (Macrobrachium equiden ) ส่วนปูทีพบมีประมาณ 7 สกุล 54 ชนิด ทีสําคัญ ได้แก่ ปูแสม (Sesarma mederi.) ปูก้ามดาบ (Uca vocans ) ปูทะเลหรือปูดํา (Scylla serrata Forsskal) หอยทีพบในป่าชายเลนมีหอยฝาเดียวไม่น้อยกว่า 17 ชนิด เช่น หอยขีนก (Littoraria pallescens (Pholippe)) หอยขีกา (Telescopium telescopium ) หอยจุ๊บแจง (Cerithidea obtusa (Lamarck)) เป็นต้น ส่วนหอยสองฝามีอีกหลายชนิด เช่น หอยนางรม (Crassostrea gigas) หอยแมลงภู่ (Perna viridis Linnaeus) เป็นต้น สัตว์ปีกทีพบในป่าชายเลนมีทังนกอพยพและนก ประจําถินมากกว่า 100 ชนิด อาทิเช่น นกยางควาย (Bubulcus ibis ) นกยางกรอก (Ardeola speciosa ) นกเหยียว (Milvus migrans ) เป็นต้น สัตว์เลียงลูกด้วยนมมีไม่น้อยกว่า 39 ชนิด ทีพบทัวไป ได้แก่ ลิงกัง (Macaca nemestrina (Linnaeus)) นาก (Lutra lutra (Linnaeus)) แมวป่า (Felis chaus Schreber) สัตว์เลือยคลานอีกอย่างน้อย 25 ชนิด รวมทังงูชนิดต่างๆ กิงก่า (Calotes versicolor ) เต่า (Chelonia mydas ) จระเข้ (Crocodylus porosus ) เป็นต้น แมลงชนิดต่างๆ มีจํานวนไม่น้อยกว่า 38 ชนิด เช่น ผีเสือชนิดต่างๆ หนอนผีเสือ หนอนกอ แมลงปีกแข็ง ยุง ริน และเพลีย เป็นต้น สําหรับบริเวณรอยต่อ ระหว่างป่าชายเลนและป่าบกในบริเวณแถบชายฝังทะเลอันดามันของประเทศไทยจะมีสัตว์กลุ่มกุ้งปู ชนิดหนึงทีเรียกว่า แม่หอบ ( anomala ) ซึงขุดรูและสร้างมูลดินสูงทีปากรูขนาดต่างๆ กัน โดยรูของสัตว์ชนิดนีจะอยู่สูงกว่าระดับนําทะเลท่วมถึง อินทรียวัตถุในดินซึงเป็นอาหารของสัตว์ชนิดนี

13

จะถูกย่อยสลายกลายเป็นธาตุอาหารของพืชและสัตว์ จึงนับได้ว่าแม่หอบมีความ สําคัญต่อระบบ นิเวศของป่าบริเวณทีเป็นรอยต่อดังกล่าว หรือทีเรียกว่า Eco tone เป็นอย่างมาก 3.1.1.4 ความสําคัญของป่าชายเลน ป่าชายเลนเป็นองค์ประกอบทีสําคัญยิง ของชายฝังทะเลและนับเป็นทรัพยากรทีมีคุณค่ามหาศาลทังทางด้านเศรษฐกิจและสิงแวดล้อม ของประเทศ ป่าชายเลนจึงมีความสําคัญ ดังนี (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง, 2553) (1) เป็นแหล่งพลังงาน แหล่งวัตถุดิบไม้ใช้สอย/ก่อสร้างในครัวเรือน แหล่งพลังงานทีสําคัญในป่าชายเลนได้มาจากถ่าน ไม้ป่าชายเลนทีนิยมนํามาเผาถ่าน คือ ไม้ โกงกาง เพราะติดไฟทนทาน ไม่มีควัน ไม่ปะทุแตกไฟ ได้ก้อนถ่านสวยงาม ขายได้ราคาดี ปัจจุบันถ่านไม้โกงกาง ทีมีชือเสียง คือ ถ่านไม้โกงกางบ้านยีสาร จังหวัดสมุทรสงคราม นอกจากนีไม้ป่าชายเลนมีประโยชน์ เพือใช้สอยและก่อสร้าง เช่น ไม้เสาเข็ม ไม้คํายัน ไม้ก่อสร้าง แพปลา อุปกรณ์การประมง เฟอร์นิเจอร์ ซึงไม้หลายชนิดนํามาสกัดจะได้แทนนิน ใช้ทํานําหมึก ทําสี ทํากาว ย้อมอวน ฟอกหนัง เป็นต้น (2) เป็นแหล่งพืชผักและพืชสมุนไพร พืชในป่าชายเลนสามารถ นํามาใช้เป็นผักพืนบ้านจํานวนหลายชนิด เช่น ใบชะคราม ยอดเป้ง ยอดผักเบียทะเล ต้นจากก็เป็น พืชป่าชายเลนอีกชนิดหนึงทีสามารถนําส่วนต่างๆ มาใช้ประโยชน์ได้ คือ ใบนํามาทําเป็นตับมุงหลังคา ใบอ่อนนํามามวนบุหรีได้ นําจากยอดอ่อนนํามาทํานําตาลจากรสชาติดี ผลใช้กินเป็นของหวาน พืชในป่าชายเลนหลายชนิดนํามาใช้เป็นสมุนไพรได้ เช่น เหงือกปลาหมอ มะนาวผี ใช้รักษาโรคผิวหนัง ผลของตะบูนขาวใช้รักษาโรคบิดและโรคท้องร่วงได้ รากตาตุ่มทะเลใช้แก้อักเสบ แก้ไข้ แก้คัน เป็นต้น (3) เป็นแหล่งอาหารทีสําคัญของสัตว์นํา เศษซากพืชหรือเศษไม้ใบไม้ และส่วนต่างๆ ของไม้ป่าชายเลนทีร่วงหล่นลงมาจะถูกย่อยสลายกลายอินทรียวัตถุ กระบวนการย่อย สลายอินทรียวัตถุ เหล่านีจะทําให้เกิดสารอินทรีย์ทีละลายนํา เช่น กรดอะมิโน ซึงสาหร่ายและจุลินทรีย์ ต่างๆ จะสามารถใช้เป็นอาหารได้ และจุลินทรีย์นีจะเป็นแหล่งอาหารทีสําคัญสําหรับสิงมีชีวิตต่างๆ ทีอยู่ในป่าชายเลนต่อไป (4) เป็นแหล่งอนุบาลสัตว์นําวัยอ่อน เป็นทีหลบภัยและทีอย่อาศัยู ของสัตว์นํานานาชนิด สัตว์นําทีมีคุณค่าทางเศรษฐกิจหลายชนิดได้ใช้ป่าชายเลนเป็นทีอยู่อาศัย และอนุบาลตัวอ่อนบางช่วงของวงจรชีวิตมัน เช่น ปลากะพงขาว ปลานวลจันทร์ทะเล ปลากระบอก ปลาเก๋า กุ้งกุลาดํา กุ้งแชบ๊วย หอยดํา หอยนางรม หอยแมลงภู่ หอยแครง และหอยกะพง ปูแสม ปูม้า แต่สัตว์นําบางชนิดอาจใช้ป่าชายเลนเป็นทังแหล่งเกิดและอาศัยจนเติบโตสืบพันธุ์ เช่น ปูทะเล

14

(5) ช่วยรักษาความสมดุลของระบบนิเวศชายฝั งและใกล้เคียง โดยเฉพาะหญ้าทะเล และปะการัง ป่าชายเลนมีบทบาทในการรักษาสมดุลของธาตุอาหารและ ความอุดมสมบูรณ์ของนําทะเลชายฝัง ซึงจะส่งผลถึงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรประมง (6) ช่วยป้องกันดินพังทลายชายฝังทะเล รากของต้นไม้ในป่าชายเลน นอกจากจะช่วยป้องกันการกัดเซาะชายฝังแล้ว ยังช่วยบรรเทาความเร็วจากกระแสนําลง ทําให้ตะกอน ทีแขวนลอยมากับนําทับถมเกิดเป็นแผ่นดินงอกใหม่ เมือระยะเวลานานก็จะขยายออกไปในทะเล เกิดเป็นหาดเลน อันเหมาะสมแก่การเกิดของพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต่อไป (7) เป็นพืนทีสําหรับดูดซับสิงปฏิกูลต่างๆ รากของต้นไม้ในป่าชายเลน ทีงอกออกมาเหนือพืนดินจะทําหน้าทีคล้ายตะแกรงธรรมชาติ คอยดักกรองสิงปฏิกูลต่างๆ และมลพิษ ต่างๆ จากบนบกไม่ให้ลงสู่ทะเล โลหะหนักหลายชนิดเมือถูกพัดพามาตามกระแสนําก็จะตกตะกอน บริเวณดินเลนในป่าชายเลน นอกจากนันขยะและคราบนํามันต่างๆ ก็จะถูกดักกรองไว้ในป่าชายเลน เช่นกัน (8) ช่วยปกป้องชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนทีอาศัยบริเวณชายฝั ง จากภัยธรรมชาติ ป่าชายเลนทําหน้าทีเหมือนปราการช่วยบรรเทาความรุนแรงของคลืนและลม ให้ลดน้อยลง เมือเทียบกับบริเวณทีไม่มีป่าชายเลน (9) เป็นทีพักผ่อนหย่อนใจและแหล่งศึกษาธรรมชาติ ป่าชายเลน เป็นระบบนิเวศทีมีลักษณะพิเศษหลายอย่าง เพราะเป็นแหล่งทีอุดมไปด้วยพรรณไม้นานาชนิดทีมีใบ ดอก และผลสวยงามแปลกตา อีกทังยังเป็นแหล่งทีมีทังสัตว์นําและสัตว์บก โดยเฉพาะนกชนิดต่างๆ อาศัยอยู่มากมาย ทําให้ป่าชายเลนเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและแหล่งศึกษาหาความรู้ทีสําคัญยิง (10) ช่วยลดปริมาณก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ ป่าชายเลน มีอัตราการสังเคราะห์แสงสูง จึงช่วยลดปริมาณก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ และเพิมปริมาณออกซิเจน ทําให้อากาศสดชืน 3.1.1.5 ประโยชน์ของป่าชายเลน จากการทีป่าชายเลนมีความสําคัญต่อการ ดํารงชีพของมวลมนุษย์ โดยมีรูปแบบการใช้ประโยชน์ ทีแตกต่างหลากหลายดังกล่าว สามารถสรุป เป็นประโยชน์ทางตรงและทางอ้อมได้ ดังนี (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง, 2553) (1) ประโยชน์ทางตรง (1.1) ทีอย่อาศัยู ไม้จากป่าชายเลนใช้สร้างบ้านเรือน สะพาน และ การก่อสร้างอืนๆ สําหรับกิจกรรมการเกษตรและการประมง เป็นต้น

15

(1.2) พลังงาน ป่าชายเลนจะให้ผลผลิตในรูปของไม้ฟืนและไม้เผาถ่าน ทีให้ความร้อนสูง (1.3) อาหาร โคลนตมในป่าชายเลนจะเป็นทีอยู่อาศัยของแหล่งผลิต อาหารโปรตีนทีสําคัญอันได้แก่ หอย ปู และป่าชายเลนยังเป็นทีอนุบาลสัตว์นําวัยอ่อน เช่น ลูกกุ้ง ลูกปลา เป็นต้น (1.4) ยารักษาโรค ป่าชายเลนเป็นแหล่งของสมุนไพรหลายชนิดทีใช้ รักษาโรคภัยต่างๆ (1.5) สารเคมีและอืนๆ พันธุ์ไม้ในป่าชายเลนหลายชนิดสามารถ นํามากลันเอาสารเคมีทีมี ประโยชน์เพือนําไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆได้หลายชนิด เช่น แทนนิน แอลกอฮอล์ กรดนําส้ม และนํามันดิน เป็นต้น รวมทังของป่าบางชนิด เช่น กล้วยไม้ รังผึง ฯลฯ (2) ประโยชน์ทางอ้อม (2.1) ด้านการอนุรักษ์พืนทีชายฝังทะเล เป็นแนวกําบังภัยธรรมชาติ เช่น ป้องกันลม พายุมรสุมและ ป้องกันการพังทลายของดินตามแนวชายฝังทะเล ช่วยป้องกันสิงแวดล้อมเป็นพิษ รากของต้นไม้ในป่าชายเลน ทีงอกออกมาเหนือพืนดิน เช่น รากหายใจ รากดูดอาหาร และรากคํายันจะทําหน้าทีคล้ายตะแกรง ตามธรรมชาติคอยกลันกรองสิงปฏิกูลต่างๆ ทีมากับกระแสนํา ทําให้นําในแม่นํา ลําคลองและ ชายฝังทะเลสะอาดขึน ช่วยทําให้แผ่นดินบริเวณชายฝังทะเลงอกขยายออกไปในทะเล รากของต้นไม้ในป่าชายเลนนอกจากจะช่วยป้องกันสิงแวดล้อมเป็นพิษแล้ว ยังทําให้ตะกอน ทีแขวนลอยมากับนําตกทับถมเกิดเป็นแผ่นดินงอกใหม่ ขยายออกไปในทะเลเกิดเป็นหาดเลน อันเหมาะแก่การเกิดพันธุ์ไม้ป่าชายเลนและการเพาะเลียงสัตว์นําชายฝังได้เป็นอย่างดี (2.2) ด้านระบบนิเวศวิทยา เป็นเรืองเกียวกับความสัมพันธ์ทีมีต่อกัน ระหว่างสิงมีชีวิตกับสิงแวดล้อมซึงมีความสมดุลในตัวของมันเอง ถ้าหากมีการเปลียนแปลงใน ขันตอนใดขันตอนหนึง ก็จะส่งผลให้ระบบความสัมพันธ์นีถูกทําลายและเกิดผลเสียตามมา เช่น หากพืนทีป่าชายเลนถูกบุกรุก จํานวนสัตว์นําลดลงตามและอาจก่อให้เกิดการเน่าเสียของนํา 3.1.2 สถานการณ์และผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ป่าชายเลนในประเทศไทย 3.1.2.1 สถานการณ์ป่าชายเลนในประเทศไทย ในอดีตการจัดการพืนทีป่า ชายเลนของประเทศไทยช่วงก่อนปี พ.ศ. 2504 รัฐบาลอนุญาตให้เอกชนทําไม้ป่าชายเลน โดยให้

16

สัมปทานทําไม้ป่าชายเลนเพือผลิตถ่านไม้อย่างเดียว แต่ต่อมาภายหลังปี พ.ศ. 2504 รัฐบาลได้มีการ ปรับปรุงแผนการจัดการป่าชายเลนในเรืองเกียวกับระยะเวลาการให้สัมปทานเป็นช่วงเวลา 15 ปี และกําหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิในการรับสัมปทานให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 4 มกราคม 2509 และการให้สัมปทานทําไม้ได้ดําเนินการเรือยมาจนสินสุดสัมปทานแปลงสุดท้าย และตามมติคณะรัฐมนตรี เมือที 19 พฤศจิกายน 2539 ให้มีการยกเลิกการให้สัมปทานทําไม้ในเขต ป่าชายเลน เมืออายุการให้สัมปทานทําไม้สินสุดลงทังหมดในปี พ.ศ. 2546 อย่างไรก็ตาม ตลอดระยะเวลา ทีผ่านมาพืนทีป่าชายเลนได้มีการเปลียนแปลงและมีการใช้ประโยชน์จากกิจกรรมต่างๆ มาโดยตลอด ทําให้พืนทีป่าชายเลนลดลงเนืองจากสาเหตุทีสําคัญหลายประการ ได้แก่ การเพาะเลียงสัตว์นํา การบุกรุกเพือทํานากุ้ง การทํานาเกลือ การขยายตัวของเขตเมือง การท่องเทียวและการอุตสาหกรรม จนปัจจุบันมีพืนทีป่าชายเลนเหลืออยู่ประมาณ 1.5 ล้านไร่ (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง, 2553) นอกจากนีชุมชนชายฝังทีอาศัยอยู่ในป่าชายเลนหรือติดกับป่าชายเลนประมาณ 1,000 หมู่บ้าน ยังมีความจําเป็นทีต้องพึงพาอาศัยป่าชายเลนตามวิถีชีวิตและภูมิปัญญาทีมีอยู่ทังด้านการทําประมง ชายฝังและการใช้ไม้เพือใช้สอยในครัวเรือน ในปัจจุบันหากจะจําแนกสภาพปัญหาป่าชายเลนตาม สภาพพืนที วิถีชีวิต และวัฒนธรรมแล้ว สามารถจําแนกออกได้ ดังนี (1) พืนทีป่าชายเลนทียังคงมีความสมบูรณ์อยู่ และมีบางส่วนทีชุมชน เข้าไปอยู่อาศัยและใช้ประโยชน์ต่างๆ พบมากในบริเวณพืนทีป่าชายเลนชายฝังทะเลอันดามัน ในจังหวัดระนอง พังงา กระบี ตรัง สตูล และจังหวัดภูเก็ต (2) พืนทีป่าชายเลนทีมีราษฎรเข้าบุกรุกครอบครองและเข้าใช้ประโยชน์ เพือการเลียงกุ้ง พบมากในพืนทีป่าชายเลนบริเวณภาคตะวันออกในจังหวัดระยอง และจันทบุรี บริเวณภาคใต้ฝังอ่าวไทย ท้องทีจังหวัดสุราษฏร์ธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช (3) พืนทีป่าชายเลนทีออกเอกสารสิทธิครอบครองตามกฎหมายและมี อาชีพการปลูกป่าชายเลน แต่ประสบปัญหาไม้คุ้มทุน จึงเปลียนแปลงไปทําเป็นพืนทีนากุ้ง และ ขายทีดินให้กับเอกชน ปัจจุบันมีปัญหาการกัดเซาะชายฝังในพืนทีป่าชายเลนบริเวณอ่าวไทย ตอนบนในท้องทีจังหวัดฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และจังหวัดเพชรบุรี 3.1.2.2 ผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ในพืนทีป่าชายเลน การใช้ประโยชน์พืนที ป่าชายเลนทีผ่านมาในประเทศทีส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน ประกอบด้วย รูปแบบต่างๆ ดังนี (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง, 2553)

17

(1) การประมงและการเพาะเลียงสัตว์นํา การเปลียนแปลงพืนทีป่า ชายเลนเพือการเพาะเลียงสัตว์นําส่วนใหญ่เกิดจากการทํานากุ้ง ซึงกระจัดกระจายอยู่ทัวไปตามพืนที ชายฝังทะเลของจังหวัดต่างๆ โดยเฉพาะจังหวัดจันทบุรีมีการทําลายพืนทีป่าชายเลนอย่างกว้างขวาง จากการสํารวจพืนทีป่าชายเลนทัวประเทศ พบว่า ประมาณร้อยละ 64.3 ของพืนทีป่าชายเลนทีถูก ทําลายเกิดจากธุรกิจการเพาะเลียงสัตว์นํา (2) การทําเหมืองแร่ พืนทีป่าชายเลนมีการทําเหมืองแร่กันอย่างกว้างขวาง มานานแล้ว โดยเฉพาะการทําเหมืองแร่ดีบุก ซึงพบมากในจังหวัดระนอง พังงา และจังหวัดภูเก็ต (3) การเกษตรกรรม พืนทีป่าชายเลนส่วนใหญ่ไม่เหมาะสมต่อการเกษตร เนืองจากปัญหาดินเค็มจากนําทะเลท่วมถึง และอาจมีผลทําให้เกิดดินเปรียวในภายหลัง ซึงนับว่า ไม่คุ้มกับการลงทุน และส่งผลทําให้พืนทีป่าชายเลนทีมีค่าต้องสูญเสียไป อย่างไรก็ตาม ยังคงมีพืนที บางส่วนทีถูกเปลียนแปลงไปใช้ในการเกษตรกรรม (4) การขยายตัวของแหล่งชุมชน การพัฒนาแหล่งชุมชนในพืนทีป่าชายเลน พบเห็นได้ในหลายจังหวัด เช่น จังหวัดชลบุรี ระนอง สุราษฎร์ธานี กระบี นครศรีธรรมราช และจังหวัด ภูเก็ต ซึงส่วนใหญ่จะพัฒนาในรูปแบบของนิคมสหกรณ์การประมง การเพาะเลียงสัตว์นําชายฝัง การสร้างสถานทีศึกษาและสถานทีราชการ ตลอดจนการถมทีและการทิงขยะมูลฝอย เป็นต้น (5) การสร้างท่าเทียบเรือ อดีตในป่าชายเลนมีการสร้างท่าเทียบเรือ กันมาก และจะมีโครงการขยายมากขึนในอนาคตในท้องทีจังหวัดชายฝังทะเล การสร้างท่าเทียบเรือ ในบริเวณพืนทีป่าชายเลนเท่าทีทํามาแล้ว คือ จังหวัดกระบี นครศรีธรรมราช พังงา และจังหวัดสตูล (6) การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า ส่วนใหญ่จะเป็นการตัดถนนจากตัวเมือง ผ่านพืนทีป่าชายเลนไปยังท่าเทียบเรือหรือโรงงานอุตสาหกรรมทีอยู่บริเวณพืนทีชายฝังทะเล (7) การอุตสาหกรรมและโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า การสร้างโรงงาน อุตสาหกรรมและโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้านับว่ายังมีน้อยในพืนทีป่าชายเลน สําหรับโรงงาน อุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมต่อเนืองจากกิจกรรมประมง เช่น โรงงานทําปลาป่น โรงงานทํากุ้งแห้ง เป็นต้น (8) การขุดร่องนํา แม้จะมิได้กระทําในพืนทีป่าชายเลนโดยตรง แต่บริเวณ เส้นทางเดินเรือ หรือร่องนําทีผ่านป่าชายเลน เมือมีการขุดร่องนําเรือขุดจะพ่นดินเลนหรือทรายทีขุดลอก จากบริเวณท้องนําลงไปในพืนทีป่าชายเลน

18

(9) การทํานาเกลือ การเปลียนแปลงพืนทีป่าชายเลนเพือทํานาเกลือได้ ดําเนินการอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในจังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรปราการ (10) การตัดไม้เกินกําลังผลิตของป่า เนืองจากในปัจจุบันความต้องการ ใช้ถ่านและฟืนมีเป็นจํานวนมาก ประกอบกับได้มีการเผาถ่านทีผิดกฎหมายเป็นจํานวนมาก จนทําให้ ป่าชายเลนหลายแห่งเสือมสภาพและมีความสมบูรณ์ตํา 3.1.3 แนวความคิดและทฤษฎีทีเกียวกับการมีส่วนร่วม 3.1.3.1 แนวความคิดเกียวกับการมีส่วนร่วมในส่วนทีเกียวข้องกับทรัพยากร ธรรมชาติและสิงแวดล้อมทีบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในรัชสมัยสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ได้ทรงตราไว้ ณ วันที 24 สิงหาคม พุทธศักราช 2550 มีหมวดและมาตราต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับการมีส่วนร่วมและ ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม ดังนี (สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550) หมวด 4 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ส่วนที 12 สิทธิชุมชน ได้บัญญัติมาตราทีเกียวข้องไว้ ดังต่อไปนี มาตรา 66 บุคคลซึงรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิน หรือชุมชนท้องถิน ดังเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟืนฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิน ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิน และของชาติและมีส่วนร่วมในการจัดการ การบํารุงรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิงแวดล้อม รวมทังความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยังยืน มาตรา 67 สิทธิของบุคคลทีจะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บํารุงรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการ คุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิงแวดล้อม เพือให้ดํารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนืองใน สิงแวดล้อมทีจะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อม ได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสมการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมทีอาจก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทังทางด้านคุณภาพสิงแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพจะกระทํามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิงแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทังได้ให้องค์กรอิสระ ซึงประกอบด้วยผู้แทนองค์กรเอกชนด้านสิงแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาทีจัดการ การศึกษาด้านสิงแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการ ดําเนินการดังกล่าว สิทธิของชุมชนทีจะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิน หรือองค์กรอืนของรัฐทีเป็นนิติบุคคล เพือให้ปฏิบัติหน้าทีตามบทบัญญัตินี ย่อมได้รับความคุ้มครอง

19

หมวด 4 หน้าทีของชนชาวไทย ได้บัญญัติมาตราทีเกียวข้องไว้ ดังต่อไปนี มาตรา 73 บุคคลมีหน้าทีรับราชการทหาร ช่วยเหลือในการป้ องกันและ บรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ ปกป้อง และ สืบสานศิลปะ วัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิน และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิงแวดล้อม ทังนี ตามทีกฎหมายบัญญัติ หมวด 5 แนวนโยบายพืนฐานแห่งรัฐ ส่วนที 3 แนวนโยบายด้านการ บริหารราชการแผ่นดิน (5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอืน เพือให้การจัดทําและ การให้บริการสาธารณะ เป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใสและตรวจสอบได้ โดยคํานึงถึง การมีส่วนร่วมของประชาชน ส่วนที 8 แนวนโยบายด้านทีดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม ได้บัญญัติมาตราทีเกียวข้องไว้ ดังนี มาตรา 85 รัฐต้องดําเนินการตามแนวนโยบายด้านทีดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อม ดังต่อไปนี (1) กําหนดหลักเกณฑ์การใช้ทีดินให้ครอบคลุมทัวประเทศ โดยให้คํานึงถึง ความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมล้อมทางธรรมชาติ ทังผืนดิน ผืนป่า วิถีชีวิตของชุมชนท้องถิน และ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และกําหนดมาตรฐานการใช้ทีดินอย่างยังยืน โดยต้องให้ประชาชนในพืนทีทีได้รับผลกระทบจากหลักเกณฑ์การใช้ทีดินนันมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วย (4) จัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรนําและทรัพยากรธรรมชาติอืน อย่างเป็นระบบและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม ทังต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสงวน บํารุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล (5) ส่งเสริม บํารุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิงแวดล้อมตามหลักการ พัฒนาทียังยืน ตลอดจนควบคุมและกําจัดภาวะมลพิษทีมีผลต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และ คุณภาพชีวิตของประชาชน โดยประชาชน ชุมชนท้องถิน และองค์กรปกครองส่วนท้องถินต้องมีส่วนร่วม ในการกําหนดแนวทางการดําเนินงาน ส่วนที 10 แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ได้บัญญัติ มาตราทีเกียวข้องไว้ ดังต่อไปนี มาตรา 87 รัฐต้องดําเนินการตามแนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ดังต่อไปนี

20

(1) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกําหนดนโยบายและวางแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทังในระดับชาติและระดับท้องถิน (2) ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ ทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทังการจัดทําบริการสาธารณะ (3) ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบ การใช้อํานาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองค์กรทางวิชาชีพหรือตามสาขาอาชีพทีหลากหลายหรือรูปแบบอืน 3.1.3.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 10 (พ.ศ. 25502554) แผนฯ ฉบับที 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ได้กําหนดแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อม ให้ความสําคัญกับการเพิมประสิทธิภาพทีเอือต่อการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ ฟืนฟู และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของประเทศไทย โดยการปรับกลไกและกระบวนการจัดการ เชิงบูรณาการทีเน้นการมีส่วนร่วมของท้องถิน ปรับเปลียนพฤติกรรมของคนไทยให้มีจิตสํานึกในการ อนุรักษ์สภาพแวดล้อมของชาติ เพิมประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายทีประชาชนมีส่วนร่วมในการ บริหารการจัดการ การอนุรักษ์ ฟืนฟู รักษาสภาพแวดล้อมชุมชน ศิลปวัฒนธรรมและแหล่งท่องเทียว ให้เกือหนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจชุมชน โดยรักษาสภาพแวดล้อมแหล่งท่องเทียว ทางธรรมชาติ ศิลปกรรม โบราณคดีทีเป็นระบบอย่างต่อเนือง และส่งผลให้การพัฒนาเป็นไปอย่างยังยืน (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2550) 3.1.3.3 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับการมีส่วนร่วม มีรายละเอียดพอสังเขป ดังนี (1) การมีส่วนร่วมมี 4 ขันตอน ดังนี (อภิญญา, 2544) (1.1) การมีส่วนร่วมในการริเริมโครงการ ร่วมค้นหาปัญหาและสาเหตุ ของปัญหาในชุมชน ร่วมตัดสินใจกําหนดความต้องการและร่วมลําดับความสําคัญของความต้องการ (1.2) การมีส่วนร่วมในขันการวางแผน กําหนดวัตถุประสงค์ วิธีการ แนวทาง การดําเนินงาน รวมถึงทรัพยากรและแหล่งวิทยากรทีจะใช้ในโครงการ (1.3) การมีส่วนร่วมในขันตอนการดําเนินโครงการ ทําประโยชน์ ให้แก่โครงการ โดยร่วมช่วยเหลือด้านทุนทรัพย์ วัสดุอุปกรณ์ และแรงงาน (1.4) การมีส่วนร่วมในการประเมินผลโครงการ เพือให้รู้ว่าผลจาก การดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ทีกําหนดไว้หรือไม่ โดยสามารถกําหนดการประเมินผลเป็นระยะ ต่อเนืองหรือประเมินผลรวมทังโครงการในคราวเดียวก็ได้

21

(2) การมีส่วนร่วมมี 4 รูปแบบ ดังนี (Cohen and Uphoff, 1980) (2.1) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (decision making) อาจเป็น การตัดสินใจตังแต่ระยะเริมแรกในช่วงของกิจกรรม และการตัดสินใจในช่วงของการดําเนินกิจกรรม (2.2) การมีส่วนร่วมในการดําเนินกิจกรรม (implementation) อาจเป็นไป ในรูปแบบของการเข้าร่วมโดยการให้การสนับสนุนทางด้านทรัพยากร การเข้าร่วมในการบริหาร และการร่วมมือ รวมทังการเข้าร่วมในการร่วมแรงร่วมใจ (2.3) การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ (benefits) อาจเป็น ผลประโยชน์ทางวัตถุ ทางสังคม หรือการรับผลประโยชน์โดยส่วนตัว (2.4) การมีส่วนร่วมในการประเมินผล (evaluation) เป็นการควบคุม ตรวจสอบการดําเนินกิจกรรมทังหมด และเป็นการแสดงถึงการปรับตัวในการมีส่วนร่วมต่อไป (3) ประโยชน์ของการมีส่วนร่วม มีดังนี (นรินทร์ชัย, 2547) (3.1) ทําให้มีการแลกเปลียนเรียนรู้ การมีส่วนร่วมกันทํากิจกรรม ทําให้แต่ละฝ่ายได้เรียนรู้ซึงกันและกัน จนไปสู่การยอมรับความแตกต่างในรูปร่าง นิสัย ค่านิยมต่าง ๆ อันเป็นรากฐานสําคัญของประชาธิปไตย รวมถึงทําให้บุคคลทียอมรับยากยอมรับโครงการนันได้ (3.2) ทําให้งานทียากบางอย่างสําเร็จขึนมาได้ งานหลายอย่างหาก ทําผู้เดียวหรือทําน้อยคนอาจไม่สําเร็จ ต้องให้ผู้มาร่วมงานมากคนจึงจะสําเร็จ (3.3) ทําให้บุคคลคิดช่วยตนเอง เพราะถ้ารัฐเป็นฝ่ายทําให้ก็จะรอความ ช่วยเหลือ หากมาร่วมกันพิจารณาอาจทําบางสิงบางอย่างได้เอง เพราะจะร่วมดูแลรักษาสิงนันมากขึน (3.4) ทําให้ความช่วยเหลือนันตรงกับความต้องการ โดยเฉพาะการ มีส่วนร่วมในขันการระบุประเด็นปัญหาและความต้องการ จึงไม่เกิดปัญหาทีสร้างไว้เพือใช้แล้วไม่ใช้ ให้เกิดประโยชน์ ซึงทําแล้วไม่มีผู้ใช้ก็เสียประโยชน์ไป (3.5) ทําให้ประหยัดทรัพยากรลงได้ เพราะการช่วยตรงกับความ ต้องการทีจะทํา และยังอาจมีแรงงานจากการมีส่วนร่วมมาช่วยได้ (3.6) ทําให้รู้สึกเป็นเจ้าของ การมาร่วมคิดร่วมทํา ทําให้รู้สึกความ เป็นเจ้าของ และมีความภาคภูมิใจในสิงทีตนทําขึนมา สิงทีได้ร่วมกันทําขึนมาจึงอยู่คงทน (3.7) เพิมทางเลือกทีดีเพือการตัดสินใจ การได้รับรู้ในโครงการอย่าง ละเอียด ทําให้ช่วยกันหาทางเลือกหลายทางทีสมบูรณ์และเหมาะสมทีสุด ทําให้เกิดผลเสียหายน้อยลง หรือเกิดผลดีมากกว่าการไม่ให้เข้ามามีส่วนร่วม

22

(3.8) เกิดการสร้างฉันทามติหรือการเห็นพ้องต้องกันขึนมาได้ (3.9) ทําให้ชุมชนเข้มแข็ง เพราะชุมชนมีส่วนร่วมกันตัดสินใจ ร่วม ดูแลปกครอง พิทักษ์ผลประโยชน์ของชุมชนหรือสังคม โดยการมีส่วนร่วมคิด ร่วมทํากิจกรรมทีเป็น ประโยชน์ต่อสังคมเสมอ ๆ และทําให้การดําเนินงานของชุมชนนันโปร่งใส 3.1.4 แนวความคิดและหลักการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม แนวความคิดและหลักการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม มีดังนี (นิวัติ, 2542) 3.1.4.1 การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างชาญฉลาด ให้เป็นประโยชน์ต่อมหาชนมากทีสุด ยาวนานทีสุด และโดยทัวถึงกัน ทังนี ไม่ได้หมายถึง ห้ามใช้หรือเก็บรักษาทรัพยากรไว้เฉยๆ แต่จะต้องนํามาใช้ให้ถูกต้องตามกาลเทศะ (time and space) 3.1.4.2 ทรัพยากรธรรมชาติจําแนกอย่างกว้าง ๆ ออกเป็นทรัพยากรทีเกิดขึนใหม่ได้ เช่น ดิน นํา ป่าไม้ สัตว์ป่า ทุ่งหญ้า และกําลังงานมนุษย์ กับทรัพยากรธรรมชาติทีไม่สามารถ เกิดขึนใหม่ได้ เช่น นํามัน และแร่ต่าง ๆ เป็นต้น 3.1.4.3 ปัญหาสําคัญทีเกียวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ การ อนุรักษ์ทรัพยากรดินทียังอุดมสมบูรณ์อยู่ ให้คงคุณสมบัติทีดีตลอดไป ในขณะเดียวกันจะเป็นผลดี ต่อทรัพยากรอืน ๆ เช่น นํา ป่าไม้ และสัตว์ป่าด้วย 3.1.4.4 การอนุรักษ์หรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ต้องคํานึงถึงทรัพยากร อย่างอืนในเวลาเดียวกันด้วย ไม่ควรแยกพิจารณาเฉพาะอย่างใดอย่างหนึงเพียงอย่างเดียวเท่านัน เพราะทรัพยากรทุกอย่างมีส่วนเกียวข้องสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด 3.1.4.5 ในการวางแผนการจัดการทรัพยากรอย่างชาญฉลาดนัน จะต้องไม่แยก มนุษย์ออกจากสภาพแวดล้อมทางสังคม หรือวัฒนธรรม หรือสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เพราะว่า วัฒนธรรมและสังคมของมนุษย์ได้พัฒนาตัวเองมาพร้อมกับการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ของสังคมนัน ๆ กล่าวโดยทัว ๆ ไป การอนุรักษ์ถือได้ว่าเป็นทางแห่งการดําเนินชีวิต เพราะมีส่วน เกียวข้องกับเศรษฐกิจและสังคม ซึงมีบทบาทต่อชีวิตมนุษย์เป็นอันมาก 3.1.4.6 ไม่มีโครงการอนุรักษ์ใดทีจะประสบความสําเร็จได้ นอกเสียจากผู้ใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ จะได้ตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรนันๆ และใช้อย่างชาญฉลาด ให้เกิดผลดี ในทุกๆ ด้านต่อสังคมมนุษย์ และควรใช้ทรัพยากรให้อํานวยประโยชน์หลายๆ ด้านในเวลาเดียวกันด้วย

23

3.1.4.7 อัตราการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในปัจจุบันจะเป็นทีใดก็ตามยังไม่อยู่ใน ระดับทีจะพยุงซึงฐานะความอยู่ดีกินดีโดยทัวถึงได้ เนืองจากการกระจายการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรยังเป็นไปโดยไม่ทัวถึง 3.1.4.8 การอนุรักษ์เกียวข้องกับมนุษย์ทุกคน ไม่ว่าจะอยู่ในเมืองหรือชนบท ความมังคังสุขสมบูรณ์ของประเทศนี ขึนอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และ ขึนอยู่กับทรัพยากรมนุษย์ ซึงเป็นผู้ใช้ทรัพยากรอืนๆ ของประเทศนันๆ 3.1.4.9 การทําลายทรัพยากรธรรมชาติใดๆ ด้วยเหตุใดก็ตาม เท่ากับเป็นการทําลาย ความศิวิไลซ์ของมนุษย์ อย่างไรก็ดี มนุษย์จะต้องยอมรับว่าการทําลายทรัพยากรธรรมชาติได้เกิดขึนอยู่ ทุกหนทุกแห่งทีมีการใช้ทรัพยากรนันๆ อย่างหลีกเลียงได้ยาก 3.1.4.10 การดํารงชีวิตของมนุษย์ขึนอยู่กับสิงมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ ซึงต่างก็เกิดขึนมาจากทรัพยากรอืนๆ เช่น ดิน นําอีกทอดหนึง กําลังงานของมนุษย์ ตลอดจนการ อยู่ดีกินดีทัง ทางร่างกายและจิตใจ ขึนอยู่กับคุณค่าของอาหารทีเราบริโภค นอกจากปลาและอาหาร ทะเลอืนๆ แล้ว อาหารทุกอย่างจะเป็นผัก ผลไม้ ถัว งา ข้าว หรือในรูปของนม เนือสัตว์ อันเป็นผลผลิต จากพืชทีสัตว์บริโภคเข้าไป ล้วนเกิดขึนมาจากดินทังสิน 3.1.4.11 มนุษย์จําเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในธรรมชาติ และเชือในความ เป็นไปตามธรรมชาติ มนุษย์นําเอาวิทยาการต่างๆ มาช่วยหรือบรรเทากระบวนการต่างๆ ทีเกิดขึนตาม ธรรมชาติได้ แต่มนุษย์ไม่สามารถจะนําสิงใดมาทดแทนธรรมชาติได้ทังหมดทีเดียวอย่างแน่นอน 3.1.4.12 การอนุรักษ์นอกจากจะเพือการอยู่ดีกินดีของมวลมนุษย์แล้ว ยังจําเป็น ต้องอนุรักษ์ธรรมชาติเพือความสมบูรณ์และเป็นผลดีทางจิตใจด้วย เช่น การอนุรักษ์สภาพธรรมชาติ การอนุรักษ์สัตว์ป่า เพือความสวยงามและสําหรับการพักผ่อนหย่อนใจ หรือเป็นเกมกีฬา เป็นต้น 3.1.4.13 เป็นความจริงทีว่า ประชากรของโลกเพิมมากขึนทุกวัน แต่ทรัพยากรธรรมชาติ กลับลดน้อยถอยลงทุกที ไม่มีใครทราบได้ว่าการใช้ทรัพยากรในบันปลายนันจะเป็นอย่างไร อนาคตจึงเป็นสิงทีมืดมน ถ้าหากทุกคนไม่เริมต้นอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตังแต่บัดนี 3.1.5 ความร้เกียวกับปู ูทะเล ปูทะเลนับเป็นสัตว์นําชนิดหนึงทีมีความสําคัญต่อเศรษฐกิจ ของประเทศไทย เป็นทีนิยมบริโภคโดยทัวไป เนืองจากมีรสชาติดี และมีคุณค่าทางโภชนะการสูง ผลผลิตปูทะเลส่วนใหญ่ได้จากการจับปูในธรรมชาติ ซึงนับวันจะมีปริมาณลดลงไปทุกที เนืองจาก ความต้องการบริโภคทีเพิมขึนทุกๆ ปี แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการนําปูทะเลทีไม่ได้ขนาดและคุณภาพ ตามทีตลาดต้องการ เช่น ปูโพรก ปูไข่อ่อน และปูเล็กมาขุนเลียงต่อบ้างแล้วก็ตาม แต่ยังไม่เป็นที

24

แพร่หลายเท่าทีควร ทังทีตลอดแนวชายฝังทะเลของประเทศไทยนันมีปูทะเลอาศัยอยู่ชุกชุม แสดงว่า ชายฝังทะเลของเรามีศักยภาพ ในการพัฒนาเพือการเพาะเลียงปูทะเลได้เป็นอย่างดี ฉะนัน การเผยแพร่ ความรู้ทางด้านชีววิทยาและเทคนิคการเลียงปูทะเล จะเป็นประโยชน์แก่เกษตรในการพัฒนาวิธีเพาะเลียง ให้ได้ผลสําเร็จ และยังมีประโยชน์ในด้านการอนุรักษ์พันธุ์ปูทะเลอีกด้วย กรมส่งเสริมการเกษตร (2553) ได้รวบรวมข้อมูลความรู้เกียวกับปูทะเลไว้อย่างครบถ้วน ตามลําดับดังต่อไปนี 3.1.5.1 ปูทะเล ชือภาษาไทย ปูทะเล หรือ ปูดํา ชือภาษาอังกฤษ serrated mud crab, mangrove crab black crab ชือวิทยาศาสตร์ Scylla serrata Forsskal Phylum Mollusca Family Crustacea Genus Portunidae Class Scylla Species Scylla serrata Forskal 3.1.5.2 การจําแนกชนิดและลักษณะโครงสร้าง ปูทะเลนันมีส่วนประกอบของ โครงสร้าง คือ มีส่วนหัวกับอกรวมกันเรียกว่า Cephalo throra ส่วนนี จะมีกระดองห่อหุ้มไว้ ลักษณะภายนอกทีสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน คือ ลําตัวของปูได้วิวัฒนาการโดยเปลียนแปลงไปเป็น แผ่นบางๆ เรียกว่า "จับปิง" พับอยู่ใต้กระดอง จับปิงเป็นอวัยวะทีใช้เป็นทีอุ้มพยุงไข่ของแม่ปู (ในระยะ ทีมีไข่นอกกระดอง) นอกจากนียังเป็นอวัยวะทีใช้แยกเพศได้อีกด้วย กล่าวคือ ในเพศเมียจับปิงจะมี ลักษณะกว้างปลายมนกลมกว่าเพศผู้ ซึงจะมีรูปเรียวและแคบ (ภาพที 2) กระดองของปูทะเลมีลักษณะ เป็นรูปไข่และมีหนามเรียงจากตาไปทางด้านซ้าย ขวาของกระดองด้านละ 9 อัน ตาของปูทะเล เป็นตารวม ประกอบด้วยตาเล็กๆ เป็นจํานวนมาก มีความรู้สึกไวต่อสิงเคลือนไหวอยู่รอบตัว และ ยังมีก้านตาช่วยในการชูลูกตาออกมาภายนอกเบ้า และหดกลับเข้าไปได้ ทําให้มันมองเห็นสิงต่างๆ รอบตัวได้อย่างดียิงขึน

25

ภาพที 2 เปรียบเทียบลักษณะความแตกต่างของปูทะเลเพศผู้และเพศเมีย (ด้านหน้า)

ปูทะเลมีขา 5 คู่ ขาคู่แรกอยู่หน้าสุดมีขนาดใหญ่มากเป็นพิเศษเรียกว่า "ก้ามปู" ปลายก้ามปูแยกออกเป็น 2 ง่าม มีลักษณะคล้ายคีม ใช้จับเหยือกินและป้องกันตัว ตอน ปลายสุดของขาคู่ที 2 4 มีลักษณะแหลมเรียกว่า "ขาเดิน" เพราะทําหน้าทีในการเดินเคลือนที ส่วนขาคู่ที 5 ซึงเป็นคู่สุดท้ายเรียกว่า "ขาว่ายนํา" ตอนปลายสุดของขาคู่นีมีลักษณะแบนคล้ายใบพาย ซึงธรรมชาติสร้างมาให้เพือความสะดวกในการว่ายนํา ปูทะเลมีเลือกสีฟ้าใสๆ มีสารประกอบพวกทองแดงปนอยู่ในเลือด เมือได้รับ บาดเจ็บ เช่น กระดองแตกหรือก้ามหลุด เลือดใสๆ จะไหลออกมามีลักษณะข้นๆ เมือโดนความร้อน จะกลายเป็นสีขาวขุ่นคล้ายครีม สําหรับอวัยวะภายในทังหมด ได้แก่ หัวใจ กระเพาะอาหาร ระบบ ประสาท ระบบสืบพันธุ์ ฯลฯ จะรวมกันอยู่ภายในกระดอง 3.1.5.3 แหล่งทีอย่อาศัยและการแพร่กระจายของปู ูทะเลในประเทศไทย ปูทะเลมีชือสามัญทีแตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิน เช่น ปูทะเล ปูดํา ปูขาว ปูทองหลาง ปูทองโหลง ปูทองแดง เป็นต้น ถึงแม้ว่าจะมีลักษณะภายนอกและพฤติกรรมบางอย่างทีสังเกตพบว่าแตกต่างกัน เช่น ปูขาว และปูดํานันมีความแตกต่างทีเห็นได้ชัด คือ สีลําตัว โดยทีปูดําจะมีสีเข้มค่อนข้างคลํา มีนิสัยดุร้ายกว่าปูขาว ซึงมีสีเขียวขีม้าจางๆ และดุร้ายน้อยกว่า อย่างไรก็ตาม ลักษณะ ทีแตกต่างกัน ดังกล่าวนันอาจจะเนืองมาจากสภาพแวดล้อมของแหล่งทีอยู่อาศัยทีแตกต่างกัน และเนืองมาจาก ยังไม่มีข้อมูลทางวิชาการทีสนับสนุนว่าลักษณะทีแตกต่างกันดังกล่าวนันแสดงชนิด (Species) ที แตกต่างกัน ดังนัน ปูทะเลทีพบในประเทศไทยจัดอยู่ในชนิด Scylla serrata Forskal ปูทะเลพบกระจายอยู่ทัวไปในแหล่งนํากร่อย ป่าชายเลน และปากแม่นําทีมี นําทะเลท่วมถึง โดยขุดรูอยู่ตามใต้รากไม้หรือเนินดินบริเวณชายฝังทะเลทังฝ่ายอ่าวไทยและอันดามัน

26

โดยเฉพาะทีชุกชุมบริเวณทีเป็นหาดโคลน หรือเลนทีมีป่าแสมและโกงกาง ตังแต่อ่าวไทยฝังตะวันออก ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี ระยอง ตราด ชลบุรี บริเวณอ่าวไทยตอนใน ได้แก่ จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม อ่าวไทยฝังตะวันตกมีชุกชุมทีจังหวัดชุมพร ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ตรัง ส่วนทางด้านฝังอันดามันมีชุกชุมทีจังหวัดระนอง กระบี พังงา และจังหวัดสตูล เป็นต้น 3.1.5.4 วงจรชีวิตของปูทะเล ปูทะเลเป็นสัตว์นํากร่อยประเภทหนึงทีมีการอพยพ ย้ายถิน เพือการแพร่พันธุ์ โดยปูเพศเมียจะอพยพจากแหล่งหากินในบริเวณเขตนํากร่อยออกไปวางไข่ ในทะเล การอพยพนีจะมีขึนภายหลัง จากทีได้ผ่านการจับคู่ผสมพันธุ์แล้ว และในขณะทีกําลัง เดินทางสู่ทะเล ปูบางตัวอาจจะปล่อยไข่ออกมาไว้ทีส่วนท้องแล้วก็ได้ ลูกปูวัยอ่อนมีอยู่ 2 ระยะ ได้แก่ ระยะ Zoea 1 5 และ Megalopa 1 ระยะ ในระยะ Zoea เป็นระยะทีรยางค์ว่ายนํายังไม่อยู่ในสภาพ ทีใช้งานได้ จึงล่องลอยหากินไปตามกระแสนํา เมือเข้าระยะ Megalopa จะมีการว่ายนําสลับกับการ หยุดเกาะอยู่กับทีเป็นครังคราว ซึงถือได้ว่าระยะนีเริมมีการแพร่กระจายเข้ามาหากินในบริเวณนํากร่อย เมือลูกปูลอกคราบจากระยะ Megalopa เป็นตัวปูทีมีลักษณะเหมือนกับพ่อแม่ทุกประการก็จะ ท่องเทียวหากินอยู่ในแหล่งนํากร่อยได้อย่างอิสระ หลังจากนันปูเพศเมียทีสมบูรณ์เพศและผ่านการ จับคู่ผสมพันธุ์แล้วจะอพยพออกไปวางไข่เช่นเดียวกับแม่ของมันเป็นวัฎจักรเช่นนีสืบไป (ภาพที 3)

ภาพที 3 วงจรชีวิตของปูทะเล

27

3.1.5.5 อาหารและลักษณะการกินอาหาร ปูทะเลเป็นสัตว์ออกหากินในเวลา กลางคืน โดยออกจากทีหลบซ่อนหลังจากดวงอาทิตย์ตกไปแล้วประมาณ 1 ชัวโมง และเข้าทีหลบซ่อน ก่อนหน้าดวงอาทิตย์ขึนเพียงเล็กน้อยหรือหลังจากนันประมาณ 30 นาที ดังนัน แสงและอาหาร จึงมีอิทธิพลต่อการปรากฏตัวอยู่ภายนอกทีหลบซ่อน สําหรับอาหารทีตรวจพบในกระเพาะอาหารของ ปูทะเล ได้แก่ หอยฝาเดียว หอยสองฝา กุ้ง ปู ปลา และเศษพืช ซึงปูจะชอบกินปูด้วยกันเองมากทีสุด และจากการทดลองดังกล่าวยังให้ข้อสังเกตว่า โดยปกติแล้วปูทะเลจะไม่กินอาหารทีมีการเคลือนที หรือสามารถหลบหลีกได้ดี เช่น ปลาและกุ้ง อย่างไรก็ตาม จากประสบการณ์การขุนปูทะเลในบ่อดิน พบว่า ปูทะเลจะออกจากทีหลบซ่อนเมือได้รับนําใหม่ และสามารถให้อาหารได้ทันทีเมือเก็บนําเต็มบ่อแล้ว เมือปูทะเลกินอาหาร พบว่า อวัยวะสําคัญทีใช้ในการดักจับเหยือ และ ตรวจสอบวัสดุต่างๆ ว่าเป็นอาหารหรือไม่ คือ ส่วนปลายของขาเดิน อาหารจะถูกส่งเข้าไปในปาก ผ่านไปถึงกระเพาะอาหารแล้วออกสู่ลําไส้ใหญ่ ซึงทอดผ่านจับปิง ในทีสุดกากของอาหารจะถูก ถ่ายออกมาทางปล้องปลายสุดของจับปิง การเลือกแหล่งหากินของปูทะเลนัน ปูแต่ละวัยหากินในอาณาบริเวณที แตกต่างกันกล่าวคือ ปูวัยอ่อน (Juvenile ขนาด 20 99 มิลลิเมตร) เป็นกลุ่มทีหากินในบริเวณป่าเลน และอาศัยอยู่ในบริเวณนีขณะทีนําทะเลได้ลดลงแล้ว ปูวัยรุ่น (Sub adult ขนาด 100 140 มิลลิเมตร) เป็นพวกทีตามการขึนของนําเข้ามาหากินในบริเวณป่าเลนและกลับลงสู่ทะเลไปพร้อมๆ กับนําทะเล และปูโตเต็มวัย (Adult ขนาดตังแต่ 150 มิลลิเมตรขึนไป) มีการแพร่กระจายเข้ามาหากินพร้อมกับ ระดับนําทีสูงขึนเช่นกัน แต่ส่วนใหญ่จะตระเวนอยู่ในระดับลึกกว่าแนวนําลงตําสุด (Sub tidal level) 3.1.5.6 การเจริญเติบโต ปูทะเลเจริญเติบโตโดยอาศัยการลอกคราบ เนืองจาก กระดองของปูเป็นสารประกอบจําพวกหินปูนทีมีความแข็งแรงมาก จึงไม่สามารถยืดขยายตัว ออกไปได้ เมือเจริญเติบโตเต็มที คือ มีเนือแน่นเต็มกระดองก็จะมีการลอกคราบเพือขยายขนาด (เพิมนําหนักและขนาดตัว) โดยการสร้างกระดองใหม่มาแทนที ระยะเวลาในการลอกคราบของปู จะเพิมมากขึนตามอายุของปู (ตารางที 1) เมือปูทะเลลอกคราบใหม่ๆ นัน กระดองใหม่จะนิม ผิวเปลือกย่น เรียกว่า "ปูนิม" ซึงต่อมาจะค่อยๆ ตึงและแข็งตัวขัน โดยในระยะทีเป็นปูนิมจะเป็นระยะทีปูมีความอ่อนแอมาก ทีสุด แทบจะเคลือนไหวไม่ได้ จึงต้องหาทีหลบซ่อนตัวให้พ้นจากศัตรู ซึงระยะเวลาตังแต่ลอกคราบ หลบซ่อนจนกระทังกระดองใหม่แข็งแรงสมบูรณ์เต็มทีและสามารถออกมาจากทีซ่อนได้ กินเวลาประมาณ 7 วัน ปูทะเลในเขตร้อนจะใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตจนถึงขันสมบูรณ์เพศ ประมาณ 1.5 ปี

28

จากรายงานประเทศมาเลเซีย พบว่า ปูเพศเมียทีเริมมีการจับคู่ (mating) เป็นปูลําดับคราบที 16 17 และ 18 โดยมีขนาดความกว้างกระดองประมาณ 9.9 11.4, 10.5 10.7 และ 10.7 เซนติเมตร ตามลําดับ ในประเทศไทยพบปูอุ้มไข่มีขนาดความกว้างกระดองอยู่ในช่วง 9.37 12.70 เซนติเมตร ปูทะเลในประเทศแอฟริกาใต้จะจับคู่เมือปูเพศผู้มีความกว้างกระดอง 14.1 16.6 เซนติเมตร ส่วนเพศเมียมีความกว้างกระดอง 10.3 14.8 เซนติเมตร ส่วนปูทะเลบริเวณป่าชายเลน บางลา จังหวัดภูเก็ต ปูเพศเมียขนาดตังแต่ 11 เซนติเมตรขึนไป จะเริมมีการพัฒนารังไข่หรือมี ความสมบูรณ์เพศ

ตารางที 1 ข้อมูลการเจริญเติบโตของปูทะเล Scylla serrate Forskal

ระยะเวลา ค่าเฉลียขนาดคราบ ความกว้างกระดอง ลําดับคราบ ระยะเวลาฟักไข่ คราบก่อน ทีเพิมขึน ตําสุด เฉลีย สูงสุด 1 30 7 3.3 3.4 3.6 2 34 4 4.8 5.1 5.3 1.7 3 38 4 6.0 6.8 7.5 1.7 4 44 6 8.0 9.2 10.3 2.4 5 52 8 11.3 12.1 13.6 2.9 6 60 8 13.9 15.4 14.9 3.3 7 71 11 15.8 18.6 19.5 3.2 8 82 11 19.8 23.5 25.8 4.9 9 97 15 26.0 29.4 32.9 5.9 10 113 16 32.6 36.1 42.7 6.7 11 135 22 40.7 43.3 48. 4 7.2 12 165 30 45.0 51.0 57.3 7.7 13 195 30 53.4 60.1 66.5 9.1 14 231 36 62.5 70.8 80.6 10.7 15 281 50 75.6 85.4 97.2 14.7 16 338 57 89.8 99.7 114.2 14.6 17 415 77 97.3 106.0 110.8 6.3 18 523 108 107.0 113.3 119.5 7.3

หมายเหตุ : ระยะเวลา = วัน / ขนาด = มิลลิเมตร นอกจากนี สภาพแวดล้อมทีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของปูทะเลนัน จากรายงานการ ทดลองเพาะฟักปูทะเลสามารถสรุปได้ดังตารางที 2

29

ตารางที 2 ภาวะสิงแวดล้อมบางประการสําหรับการเพาะฟักปูทะเล

ระยะ ความเค็ม อุณหภมิู ผ้ศึกษาู Zoea Megalopa 32 28 30 สมิง ทรงถาวรทวี และคณะ , 2552 ประเทศไทย Zoea 17.5 1025 Hill, 1974 (อ้างตามชูชาติ, 2528 ประเทศออสเตรเลีย) 1st instar7th instar 2127 Ong, 1966 ประเทศมาเลเซีย

อย่างไรก็ตาม ความเค็มในบริเวณแหล่งนํากร่อยทีพบปูทะเลนันจะมีความผันแปร ค่อนข้างมาก คือ อยู่ในช่วงประมาณ 10 36 : 1,000 ppt. (part per thousand)

3.1.5.7 ฤดูกาลผสมพันธุ์และวางไข่ สําหรับฤดูกาลวางไข่ผสมพันธุ์ของปูทะเล นันอยู่ในช่วงเดือนกันยายน – ธันวาคม และพบแม่ปูจะมีไข่ในระหว่างเดือนกันยายน ตุลาคม ปูดํามีไข่ ชุกชุมระหว่างเดือนพฤศจิกายน ธันวาคม จากการศึกษา พบว่า ปูทะเลสามารถวางไข่ได้ตลอด ทังปี โดยจะวางไข่ชุกชุมทีสุดในระหว่างเดือนสิงหาคม – ธันวาคม ไข่ของปูทะเลจะมีสีส้มแดงเมือไข่แก่ขึนจะเป็นสีนําตาลเกือบดํา ซึงถูกปล่อย ออกมานอกกระดองบริเวณใต้จับปิง ไข่นอกกระดองของปูทะเลมีนําหนักประมาณ 45.33 กรัม มีจํานวนประมาณ 1,863,859 ฟอง ซึงโดยเฉลียปูทะเลโตเต็มทีตัวหนึงจะมีไข่ประมาณ 2,228,202 2,713,858 ฟอง ถึงแม้ว่าการเลียงปูทะเลในประเทศไทยจะมีมานานกว่า 20 ปีแล้วก็ตาม การทําฟาร์มเลียงปูทะเลเพิงเริมทําอย่างจริงจังมาเมือไม่นานนี เนืองจากตลาดภายนอกมีความ ต้องการปูทะเลสูงขึน ทําให้ปูขายได้ราคาดี และทํากําไรให้แก่ผู้เลียงได้ไม่แพ้การเลียงสัตว์นําอืน ๆ 3.1.5.8 วิธีการเลียงปูทะเล วิธีการหรือรูปแบบการเลียงปูทะเลทีนิยมทํากันมี อยู่ด้วยกัน 2 วิธี ดังมีรายละเอียดตามลําดับต่อไปนี (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2553) (1) การเลียงปูทะเลโดยวิธีขุน วิธีขุนปู หรือการขุนปูทะเล หมายถึง การนําปูทีมีขนาดตังแต่ 1 4 ตัวต่อกิโลกรัม ขณะทียังเป็นปูโพรก (ปูทีเนือไม่แน่นยังมีปริมาณนํา อยู่ในเนือมาก) และนําปูเพศเมียทีมีไข่อ่อนมาขุนเลียงเป็นระยะเวลาประมาณ 20 30 วัน ก็จะได้ ปูเนือแน่นและปูไข่แก่ ซึงเป็นทีต้องการบริโภคตลาด โดยมีขันตอนการดําเนินงาน ดังนี (1.1) การเลือกทําเล หลักการพิจารณาเลือกทําเลขุนปูทะเล มีดังนี อยู่ใกล้แหล่งนํากร่อย (ความเค็ม 10 3 0 ppt.)

30

เป็นบริเวณทีได้รับอิทธิพลจากการขึน ลงของนําทะเล โดยที นําทะเลไม่ท่วมบ่อขณะเมือนําทะเลมีระดับสูงสุด และสามารถระบายนําได้แห้งเมือนําลงตําสุด มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการและการคมนาคมสะดวก สภาพดินเป็นดินเหนียว/ดินเหนียวปนทราย เก็บกักนําได้ดี เป็นแหล่งทีสามารถจัดหาพันธุ์ปูทะเลได้สะดวก เป็นบริเวณทีปลอดภัยจากมิจฉาชีพ และมลภาวะ (1.2) การสร้างบ่อ บ่อทีนิยมเลียงปูทะเลโดยทัวไปเป็นบ่อดิน โดยมี หลักการสร้างบ่อ ดังนี ควรมีพืนทีประมาณ 200 600 ตารางเมตร ขุดร่องรอบบ่อลึกประมาณ 80 เซนติเมตร กว้างประมาณ 1 เมตร (เพือความสะดวก ในการจับปู) ความลึกของบ่อประมาณ 1.5 1.8 เมตร ประตูนํามีประตูเดียว (ทําเหมือนประตูนากุ้ง) หรือฝังท่อเอสลอน เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 นิวท่อเดียว โดยใช้ฝาเปิด ปิดก็ได้ ซึงใช้เป็นทางระบายนําเข้า – ออก ทางเดียวกัน บริเวณคันบ่อและประตูนําใช้ไม้ไผ่ผ่าซีก อวนมุ้งเขียว หรือ แผ่นกระเบืองปักกันโดยรอบเพือป้องกันการหลบหนี โดยสูงจากขอบบ่อและประตูประมาณ 0.5 เมตร ใช้ตระแกรงไม้ไผ่ ขนาดกว้างของซีกไม้ 1 1.5 นิว ห่างกัน ไม่เกินซีละ 1 เซนติเมตร กันตรงประตูระบายนํา ทังนี ภาพแสดงลักษณะของบ่อดิน และประตูระบายนําของบ่อดิน สําหรับเลียงปูทะเลตามทีได้กล่าวมาข้างต้น ปรากฏตามภาพที 4 และภาพที 5 ตามลําดับ

31

อวนมุ้งเขียวความสูง 0.50 เมตร ขุดร่องรอบบ่อลึก 0.80 เมตร กว้างประมาณ 1 เมตร

บ่อลึกประมาณ 1.50 1.80 เมตร

ประตูระบายนําเข้า ออก

คูระบายนําเข้า ออก คันดินขอบบ่อ

ภาพที 4 ลักษณะของบ่อดินสําหรับเลียงปูทะเล

อวนมุ้งเขียว อวนมุ้งเขียว

คันดินขอบบ่อ คันดินขอบบ่อ

ภาพด้านหน้าประตูระบายนําเข้า ออก

ภาพที 5 ลักษณะประตูระบายนําของบ่อดินสําหรับเลียงปูทะเล

32

(1.3) การเตรียมบ่อและการจัดการบ่อ มีดังนี ถ้าเป็นบ่อใหม่ควรทําความสะอาดบริเวณรอบบ่อ กําจัดวัชพืช ลอกเลนก้นบ่อถมรอยรัวตามคันบ่อ แล้วโรยปูนขาวในบริเวณประมาณ 60 กิโลกรัมต่อไร่ให้ทัวพืน เพือฆ่าเชือโรค กักเก็บนําในบ่อ ลึกประมาณ 1 เมตร ถ่ายเปลียนนําทุกวันทีสามารถทําได้ในปริมาณ 3/4 หรือแห้งบ่อ (1.4) การรวบรวมพันธุ์ ผู้เลียงจะซือพันธุ์จากแพค้าสัตว์ซึงรับซือปู มาจากชาวประมง โดยปูเหล่านีถูกชาวประมง จับมาด้วยเครืองมือหลายชนิด เช่น อวนลอยปู แร้วปู ลอบปู หน่วงปู ตะขอเกียวปู โดยทีปูโพรกจะมีขนาดประมาณ 1 4 ตัวต่อกิโลกรัม และปูไข่อ่อน มีขนาดประมาณ 1 3 ตัวต่อกิโลกรัม ซึงในการพิจารณาเลือกปูนัน ควรจะเป็นปูทีมีรยางค์สมบูรณ์ อย่างน้อยมีก้าม 1 ก้าม เนืองจากปูทีไม่มีก้าม ถึงแม้จะมีไข่แก่ก็มีราคาตํา (1.5) การปล่อย และการจัดการด้านอาหาร การปล่อยปูลงขุนในบ่อ โดยทัวไปแล้วนิยมปล่อยปูด้วยอัตราความหนาแน่นประมาณ 2 3 ตัวต่อ 1 ตารางเมตร โดยก่อนที จะปล่อยปูลงในบ่อเลียงจะใช้นําในบ่อรดตัวปูให้ชุ่ม เพือให้ปูปรับสภาพร่างกายให้เข้ากับสภาพ แวดล้อมในบ่อ จากนันจึงตัดเชือกมัดปูออกปล่อยให้ปูคลานในบ่อ ขณะเลียงมีการดูแลและ เปลียนถ่ายนําทุกวัน ซึงบ่อเลียงปูจะสร้างในทีทีสามารถเปิดให้นําทะเลไหลเข้า ออกได้โดยตรง ในขณะนําขึน และการระบายนําจะระบายในช่วงนําลงจนเกือบแห้งบ่อเหลือประมาณ 10 เซนติเมตร (เพือให้ปูฝังตัวหลบความร้อนและศัตรูได้) ระดับนําในบ่อมีความลึกประมาณ 1 เมตรตลอดระยะ เวลาเลียง ผู้เลียงจะต้องหมันดูแลแนวรัวกันรอบบ่อและตะแกรงประตูนําให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ เพือป้องกันการหลบหนีของปู การให้อาหารนันจะให้อาหารสดวันละครังในตอนเย็น หรือ หลังกักเก็บนําเต็มบ่อ โดยสาดให้ทัวบ่อ หรือสาดใส่ในถาดอาหารทีวางไว้รอบบ่อ ซึงอาหารทีนิยม เลียงปูมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ปลาเป็ด และหอยกะพง โดยต้องรู้จักหลักการจัดการเรืองอาหาร ดังนี ปลาเป็ด หาซือได้จากแพปลา ซึงเป็นปลาเบญจพรรณสด นํามาสับเป็นชินเล็กๆ ประมาณ 1 2 นิว อัตราการให้ประมาณ 7 – 10 เปอร์เซ็นต์ของนําหนักปู หรือโดยเฉลียจะให้ปลาเป็ด 1 ชินต่อปู 1 ตัว สําหรับปลาเป็ดสามารถเก็บไว้เผือวันต่อไปได้ โดยหมักเกลือ เก็บไว้ในภาชนะทีมิดชิด เช่น ถังพลาสติก โอ่ง โดยใช้เกลือประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ของนําหนักปลาเป็ด

33

หอยกะพง หาซือได้จากชาวประมง โดยจะให้หอยกะพง ประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ของนําหนักปู แต่ทังนีควรจะทําความสะอาดก่อนนํามาให้เป็นอาหารปู สําหรับการขุนเลียงปูโพรกให้กลายเป็นปูเนือแน่นและปูไข่แก่นัน ใช้ระยะเวลาประมาณ 25 35 วัน (1.6) การเก็บเกียวผลผลิต เมือขุนปูทะเลจนได้คุณภาพตามทีตลาด ต้องการแล้ว ผู้เลียงจะทําการจับปูทะเล โดยมีวิธีการจับ ดังนี การตักปูเล่นนํา วันทีจับปูทะเลเป็นวันทีระดับนําทะเลขึน ลงสูง เพราะสามารถระบายนําได้หมดบ่อและสะดวกต่อการจับ ผู้เลียงจะระบายนําจนแห้งบ่อ แล้วเปิดนํา เข้าในช่วงนําขึน ปูจะมารับนําใหม่บริเวณตระแกรงหน้าประตูนํา จากนันใช้สวิงด้ามยาว (ภาพที 6) ตักปูขึนมาพักในถัง แล้วจึงใช้เชือกมัด (ภาพที 7) วิธีนีเป็นการจับปูในวันแรก ๆ ของการเก็บเกียว ผลผลิตเพือลดปริมาณปูในบ่อ แม้ว่าวิธีการนีจะไม่สามารถจับปูได้หมดบ่อ แต่จะลดความเสียหาย จากการบอบชําของปู ได้เป็นอย่างดี

ภาพที 6 สวิงด้ามยาวใช้สําหรับตักปูทะเล

34

ภาพที 7 วิธีการมัดปูทะเลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี การจับนําแห้งหรือคราดปู โดยการระบายนําให้หมดบ่อแล้ว ลงไปคราดปูด้วยคราดเหล็ก ลําเลียงปูขึนจากบ่อเพือมาพักด้วยสวิงด้ามสัน (ภาพที 8) หลังจากนัน ล้างให้สะอาดก่อนการมัด

ภาพที 8 คราดเหล็กสําหรับคราดปูตามเลนพืนบ่อ และสวิงด้ามสันสําหรับลําเลียงปูขึนจากบ่อ

การเกียวปูในรู (ต่อเนืองจากการใช้คราดปู) เมือคราดปูบริเวณ พืนลานบ่อหมดแล้ว จะเหลือปูในรู ต้องใช้ตะขอเกียวปูใส่สวิงแล้วจึงนําไปมัดด้วยเชือก ผลผลิตทีได้ จากการขุนปูทะเลจะขึนอยู่กับปัจจัยหลายประการ โดยเฉพาะในเรืองของการดูแลเอาใจใส่ทังในเรือง การให้อาหาร คุณภาพนํา และสภาพบ่อ เป็นต้น ซึงโดยทัวไปจะให้ผลผลิตประมาณ 80 – 95 เปอร์เซ็นต์

35

(1.7) ต้นทุนและผลตอบแทนของการขุนปูทะเล ตัวอย่างต้นทุน และผลตอบแทนของการขุนปูทะเลทีจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในบ่อขนาด 369 ตารางเมตร ใช้เวลาเลียง 24 วัน ดังปรากฏรายละเอียดตามตารางที 3 และตารางที 4 ตามลําดับ

ตารางที 3 ต้นทุนการขุนปูทะเลต่อฟาร์มต่อรอบ

1. ต้นทุนผันแปร บาท /ฟาร์ม บาท /กก ./ ครัง ร้อยละของต้นทุนทังหมด ค่าพันธุ์ปู 11,492.50 49.87 57.24 ค่าอาหาร 1,935.10 8.40 9.64 ค่านํามันเชือเพลิง 18.90 3.93 0.09 ค่าจ้างแรงงาน 906.00 3.93 4.51 ค่าเชือกมัดปู 52.60 0.23 0.27 ค่าภาชนะบรรจุ 75.79 0.33 0.38 ค่าซ่อมเครืองมืออุปกรณ์ 25.00 0.11 0.12 ค่าลอกเลน, ซ่อมแซมบ่อ 200.80 0.87 1.00 ค่าขนส่ง 289.00 1.25 1.44 เบ็ดเตล็ด 67.00 0.29 0.33 รวมต้นทุนผันแปร 15,062.69 69.21 75.02 2. ต้นทุน คงที ค่าเสือมราคาของบ่อและรัว 464.35 2.02 2.31 ค่าเสือมราคาอุปกรณ์ 105.80 0.64 0.53 ค่าใช้ทีดิน 453.12 1.97 2.26 รวมต้นทุนผันแปร 1,023.27 4.45 5.10 3. ต้นทุนค่าเสียโอกาสการใช้ ปัจจัยการผลิตของตนเอง แรงงานครัวเ รือน 2,674,00 11.60 13.32 ดอกเบียลงทุนในต้นทุนผันแปร 1,244.49 5.40 6.20 ดอกเบียต้นทุนในต้นทุนคงที 71.78 0.31 0.36 รวมต้นทุนค่าเสียโอกาสทังหมด 3,990.27 17.31 19.88 รวมต้นทุนทังหมด 20,076.23 90.97 100.00

36

ตารางที 4 ผลผลิตและผลตอบแทนของฟาร์มต่อรอบการขุนปูทะเล

รายการ เฉลียต่อฟาร์ม เฉลียต่อกิโลกรัม ผลผลิต (กก .) 230.44 รายได้ทังหมด (บาท) 24,339.00 105.62 ผลตอบแทน (บาท) กําไรดําเนินการ 9,276.31 40.25 รายได้สุทธิ 8,253.04 35.81 ผลตอบแทนต่อเงินทุนและการจัดการ 1,588.777 6.89 กําไรสุทธิ 4,262.777 18.50 อัตราส่วนผลตอบแทน กําไรสุทธิต่อต้นทุนผันแปร (%) 23.30 กําไรสุทธิต่อต้นทุนทังหมด (%) 21.23 กําไรสุทธิต่อรายได้ทังหมด (%) 17.51

(2) การเลียงโดยวิธีอนุบาลลูกปู การเลียงโดยวิธีอนุบาลลูกปูทะเล หมายถึง การนําปูขนาดเล็กทีมีนําหนักน้อย คือ มีขนาดประมาณ 6 10 ตัวต่อกิโลกรัม มาเลียง ในระยะเวลาตังแต่ 1 เดือนขึนไปจนได้ปูขนาดใหญ่ (โดยการลอกคราบ) และมีเนือแน่นหรือปูไข่ ตามทีตลาดต้องการ ซึงปัจจุบันการเลียงปูทะเลโดยวิธีนียังไม่เป็นทีนิยมแพร่หลาย ทังนี อาจเนือง มาจากต้องใช้ระยะเวลาเลียงนานกว่า ทําให้ต้องใช้ความระมัดระวังและเอาใจใส่ในการดูแลมาก โดยเฉพาะระยะทีปูลอกคราบแต่ละครังจะมีการกินกันเอง อีกทังได้รับผลตอบแทนช้า ซึงย่อมส่งผลต่อ ภาวะเศรษฐกิจของเกษตรกร โดยเฉพาะเกษตรกรทีมีรายได้น้อย อย่างไรก็ตาม ได้มีรายงานการ เลียงปูทะเลโดยวิธีอนุบาลจากลูกปูขนาดเล็กของนักวิชาการประมง ซึงทําการทดลองไว้ในปี 2532 โดยได้นําปูทะเลขนาด 7 10 ตัวต่อกิโลกรัม ปล่อยลงเลียงในบ่อดินขนาด 638 ตารางเมตร ด้วยอัตรา ความหนาแน่น 1.7 ตัวต่อตารางเมตร ให้ปลาเป็ดเป็นอาหารวันละ 2 มือๆ ละ 5 เปอร์เซ็นต์ของ นําหนักตัว ใช้ระยะเวลาเลียงประมาณ 77 วัน ได้ผลผลิต (นําหนักทีจับคืนได้) ประมาณร้อยละ 55.28 ปูทีจับคืนได้มีขนาดความกว้างประดองและนําหนักเฉลียในแต่ละตัวเพิมขึน 2.2 เซนติเมตร 98.89 กรัม ในปูเพศเมีย และ 1.7 เซนติเมตร 138.449 กรัม ในปูเพศผู้ ซึงจากรายงานการทดลองนี ได้ผลผลิตค่อนข้างตํา โดยได้กําไรสุทธิเป็นเงิน 2,594 บาท

37

ผลทดลองเลียงปูทะเล (ปูดํา) จากจังหวัดระนอง โดยนําปูตัวละ 50 155 กรัม มาปล่อยลงเลียงในบ่อพืนที 638 ตารางเมตร และ 800 ตารางเมตร โดยมีอัตราปล่อย 0.6 และ 0.8 ตัวต่อตารางเมตรตามลําดับ ให้หอยกะพงในปริมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ของนําหนักตัว วันละครังในตอนเย็น ใช้ระยะเวลาในการเลียง 2 เดือน อัตราการจับคืน (จํานวนตัว) ร้อยละ 57.63 ได้ผลกําไร 547 บาท การเลียงปูทะเลยังมีลู่ทางทีน่าจะทํารายได้หรือผลตอบแทนสูง หากมีการพัฒนา การเลียงและเอาใจใส่ดูแลให้มากขึน เนืองจากปูเป็นสัตว์นําทีปล่อยลงเลียงได้อย่างต่อเนือง โดยเรา สามารถคัดขนาดของปูทีต้องการขึนมาจําหน่ายได้ตลอดเวลาด้วย วิธีการจับปูเล่นนํา ซึงจากผล การทดลองดังกล่าวได้ข้อเสนอแนะไว้ ดังนี (2.1) ควรนําปูทะเลทีมีขนาดนําหนักตัวมากกว่า 120 กรัม หรือใน ระยะคราบที 1516 ในตารางที 1 เนืองจากเมือลอกคราบแล้วจะได้ปูตามขนาดทีตลาดต้องการ ในเวลาทีไม่มากนัก คือ ประมาณ 2 เดือน (2.2) ควรควบคุมปริมาณ และวิธีการให้อาหารทีเหมาะสม โดยนํา อาหารใส่ในภาชนะรองรับทีวางกระจายไว้รอบบ่อ เพือป้องกันเศษอาหารทีเหลือเน่าเปือยหมักหม มก้นบ่อ อันจะเป็นสาเหตุให้ก้นบ่อเน่าเสีย เนืองจากปูมักจะฝังตัวตามพืนก้นบ่อ และนอกจากนี ควรตรวจสอบปริมาณอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของปู โดยเพิมความถีในการให้อาหาร ให้มากขึน หรือลดปริมาณอาหารในช่วงทีมีการลอกคราบ เป็นต้น (2.3) หมันตรวจสอบการเจริญเติบโตอยู่เสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ ครัง เพือคัดปูทีได้คุณภาพ ตามต้องการขึนจําหน่าย และปล่อยปูลงเลียงต่อไปได้อีกอย่างต่อเนือง (2.4) ศึกษาคุณภาพนํา และสภาพบ่อให้ดีอยู่เสมอ ทังนี ขันตอนในการดําเนินการเลียงปูทะเล ไม่ว่าจะเป็นการเตรียมบ่อ การจัดการบ่อและการเก็บเกียวนัน มีวิธีการเช่นเดียวกันกับการขุนปูทะเลดังได้กล่าวมาแล้ว

จากข้อมูลองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ ข้างต้น เมือเจ้าหน้าทีได้รับทราบถึงองค์ความรู้ดังกล่าว เป็นทีเรียบร้อยแล้ว ผู้จัดทําคู่มือจึงขอนําเสนอวิธีการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม เพือนําไปใช้ปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ต่อไป ซึงมีขันตอนและวิธีการดําเนินการ ต่อเนืองจากการรวบรวมองค์ความรู้อีก 3 ขันตอน ประกอบด้วย การส่งเสริมความรู้และการทํางาน ร่วมกัน วิธีการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม และการติดตามประเมินผลการดําเนินงาน โดยมีรายละเอียด ดังนี

38

3.2 การเสริมสร้างความร้และการทํางานร่วมกันู

3.2.1 ดําเนินการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจด้านต่างๆ ให้กับประชาชนในพืนที โดยจัด โครงการฝึกอบรม รณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิงรุก จัดเวทีสัมมนา และดําเนินการทดลอง ดังต่อไปนี 3.2.1.1 ความรู้เกียวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม และด้าน ทรัพยากร ป่าชายเลน ได้แก่ ความสําคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม สถานการณ์ความเสือมโทรมของทรัพยากรป่าชายเลนในปัจจุบัน ประโยชน์ของทรัพยากรป่าชาย เลน ผลกระทบทีเกิดจากทรัพยากรป่าชายเลนถูกบุกรุกทําลาย 3.2.1.2 สิทธิ เสรีภาพและหน้าทีของชนชาวไทยด้านการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อมของชาติ 3.2.1.3 ความรู้เกียวกับการเลียงปูทะเล จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และประโยชน์ ทีทุกภาคส่วนจะได้รับในการดําเนินการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม 3.2.1.4 หน่วยงานภาครัฐและประชาชนในพืนทีดําเนินการทดลองเลียงปูทะเลใน พืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมร่วมกัน 3.2.2 จัดเวทีประชาคมหมู่บ้านเพือเสริมสร้างความเข้าใจในการดําเนินงานตามกลยุทธ์ และแลกเปลียนความคิดเห็นต่างๆ ร่วมกัน เป็นการเตรียมความพร้อมของประชาชนทีจะเข้ามามี ส่วนร่วมในกิจกรรมการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม สร้างความคุ้นเคยระหว่างเจ้าหน้าที กับประชาชนในพืนที รวมถึงกําหนดข้อตกลงในการดําเนินงานร่วมกันตามแนวทางหลัก ดังต่อไปนี 3.2.2.1 หน่วยงานภาครัฐและประชาชนทีเข้าร่วมดําเนินการจะร่วมกันอนุรักษ์/ ดูแลรักษาป่าชายเลนในพืนทีไม่ให้ถูกบุกรุกทําลายเพิมเติม และดําเนินการฟืนฟูป่าชายเลนทีเสือม โทรมให้กลับคืนสู่ความอุดมสมบูรณ์มากขึน 3.2.2.2 หน่วยงานภาครัฐและประชาชนทีเข้าร่วมดําเนินการจะร่วมกันศึกษาและ ทดลองเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมให้มีความก้าวหน้า สามารถเป็นอาชีพเสริมเพือ เพิมรายได้ให้กับครัวเรือน/ชุมชนต่อไป 3.2.2.3 ประชาชนทีเข้าร่วมดําเนินการจะขอเข้าไปใช้ประโยชน์พืนทีป่าชายเลน เสือมโทรมเพือการเลียงปูทะเลเท่านัน โดยไม่ขออ้างสิทธิในการครอบครองพืนทีป่าชายเลนดังกล่าว เป็นการถาวรแต่อย่างใด 3.2.2.4 หน่วยงานภาครัฐและประชาชนทีเข้าร่วมดําเนินการจะร่วมกันเฝ้าระวัง พืนทีป่าชายเลนบริเวณโดยรอบบ่อเลียงปูและบริเวณใกล้เคียง เพือป้องกันการบุกรุกทําลาย

39

3.2.2.5 หน่วยงานภาครัฐและประชาชนทีเข้าร่วมดําเนินการจะร่วมกันฟืนฟูสภาพ ป่าชายเลนในบริเวณใกล้เคียงให้กลับคืนสู่ความอุดมสมบูรณ์อีกครัง ดังต่อไปนี (1) ปลูกพันธุ์ไม้ป่าชายเลนเพิมเติมในบ่อเลียงปูทะเลในอัตราร้อยละ 60 ของพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมทีใช้เลียงปูตังแต่ช่วงเริมต้นของการดําเนินการ เพือปรับปรุงสภาพ แวดล้อมทางธรรมชาติให้ดียิงขึน สามารถเอือต่อการรอดตายและการเจริญเติบโตของปูทะเล (2) ปลูกเสริมพันธุ์ไม้ป่าชายเลนเพือฟืนฟูสภาพป่าชายเลนเสือมโทรม โดยรอบพืนทีบ่อเลียงปูทะเล หรือในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมอืน ๆ ทีกําหนดเป็นพืนทีเป้าหมาย ในการดําเนินการร่วมกัน 3.2.3 หน่วยงานภาครัฐและประชาชนในพืนทีร่วมกันสํารวจพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม เพือจัดทําเป็นพืนทีเป้าหมายในการดําเนินการ และนําเข้าทีประชุมสัมมนาเวทีชุมชน เพือรับรอง พืนทีเป้าหมายในการดําเนินการดังกล่าวให้ได้ข้อยุติและเป็นทีรับรู้อย่างเปิดเผยร่วมกัน 3.2.4 หน่วยงานภาครัฐและประชาชนในพืนทีดําเนินการติดตามและประเมินผลการ ดําเนินการร่วมกัน

3.3 วิธีการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม

การเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมใช้วิธีขุนปูเป็นหลัก โดยมีขันตอน ดังต่อไปนี 3.3.1 การเลือกทําเล ควรพิจารณาการเลือกทําเลโดยวิธีการทีระบุไว้ในหน้าที 28 29 3.3.2 การสร้างบ่อ การเตรียมบ่อ และการจัดการบ่อ ดําเนินการตามหลักการทีระบุไว้ ในหน้าที 29 – 31 3.3.3 จัดแบ่งพืนทีสําหรับเลียงปูทะเล พืนทีปลูกป่า และพืนทีสําหรับวางคอกขังปูทะเล 3.3.4 รับซือปูหรือจับปูทะเลขนาดเล็ก (ขนาดประมาณ 7 8 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม) มาใส่ ลงในบ่อเลียงปู โดยคํานวณขนาดพืนทีประมาณ 1 ไร่ สามารถเลียงปูได้ประมาณ 800 ตัว 3.3.5 การให้อาหารหรือเหยือ ได้แก่ การนําปลาเป็ดสับเป็นชินเล็กๆ ประมาณ 1 2 นิว อัตราการให้ประมาณ 7 – 10 เปอร์เซ็นต์ของนําหนักปู หรือโดยเฉลียจะให้ปลาเป็ด 1 ชินต่อปู 1 ตัวประมาณ 23 วัน/ครัง ทังนี ปริมาณทีให้แต่ละครังขึนอยู่กับจํานวนปูทีอยู่ในบ่อ 3.3.6 เมือปูทะเลในบ่อมีขนาดใหญ่ขึน โดยมีนําหนักประมาณ 3 4 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม ให้จับปูทะเลในบ่อมาขังไว้ในคอก ๆ ละ 1 ตัว เป็นเวลาประมาณ 15 วัน เพือขุนให้ปูมีเนือแน่นขึน

40

ซึงในช่วงทีจับปูทะเลมาขังไว้ดังกล่าวจะต้องให้อาหารปูทะเลทุกวัน ๆ ละ 1 ครัง ซึงช่วงนีเป็นการ ทําให้ปูมีนําหนักเพิมมากขึนโดยไม่มีการลอกคราบ เมือครบกําหนด 15 วันก็จะสามารถจับปูทะเล ดังกล่าวไปจําหน่ายได้ต่อไป 3.3.7 ดําเนินการจับปูทะเลจากในบ่อขึนมาขุนไว้ในคอกดังกล่าวสลับหมุนเวียนกันไป พร้อมกับนําปูทะเลขนาดเล็กมาปล่อยลงในบ่อเพิมเติมตามสัดส่วนของพืนทีทีกําหนดไว้ต่อไป ทังนี รายละเอียดการจัดแบ่งพืนทีสําหรับการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม พืนทีปลูกป่าอัตราร้อยละ 60 ตามข้อตกลง อัตราการปล่อยปูขนาดเล็ก และพืนทีขังคอกปูทะเลนํา หนักประมาณ 3 4 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม ปรากฏตามภาพที 9 สําหรับภาพแสดงขันตอนการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมตังแต่ระยะเริมต้น ทีปล่อยปูขนาดเล็กลงบ่อ จนถึงการจับปูทีได้ขนาดไปจําหน่าย ปรากฏตามภาพที 10

คอกขังปขนาดู 34 ตัว /กก . 15 วัน

พืนทีปลกป่าร้อยละู 60 ของพืนที ปล่อยปูขนาด 78 ตัว /กก . ลงในบ่อ (800 ตัว /ไร่)

ภาพที 9 แสดงการจัดแบ่งพืนทีการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม

41

ปูขนาด 78 ตัว /กก . ปล่อย ปูขนาด 78 ตัว /กก . ลงบ่อ จับ ปูขนาด 34 ตัว /กก . ขังคอก 15 วัน

ปูขนาด 34 ตัว /กก . หลังจากขังคอก 15 วัน นําไปจําหน่าย ภาพที 10 ขันตอนการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม

3.4 การติดตามและประเมินผลการดําเนินการ

3.4.1 หน่วยงานภาครัฐ ประชาชนทีเข้าร่วมดําเนินการ ผู้นําท้องถิน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในพืนทีดําเนินการติดตามและประเมินผลการดําเนินการร่วมกัน 3.4.2 สรุปประเด็นปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะของผู้ทีเกียวข้อง นําเข้าทีประชุม เสวนาเวทีชุมชน เพือร่วมกันแสดงความคิดเห็นและพิจารณาแก้ไข ปรับปรุง สรุปแนวทางเพือนําไปใช้ ประกอบการแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาการดําเนินงานในพืนทีให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป 3.4.3 นําแนวทางการแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาทีได้ตามข้อ 3.4.2 ไปใช้ในทางปฏิบัติ รวมถึงติดตามประเมินผลการดําเนินการร่วมกันอย่างต่อเนือง

ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ปัญหา

จากวัตถุประสงค์ของการจัดทําคู่มือ คําจํากัดความ ความรู้เกียวกับทรัพยากรป่าชายเลน และสถานการณ์และผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ป่าชายเลนในประเทศไทยทีได้กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า ปัจจุบันทรัพยากรป่าชายเลนได้ประสบกับปัญหาการถูกบุกรุกทําลายจนเสือมโทรม เป็นทีน่าวิตก หน่วยงานภาครัฐจึงได้ร่วมกันหาแนวทาง/มาตรการเพือการฟืนฟูสภาพป่าชายเลนดังกล่าว ให้กลับคืนสู่สภาพความอุดมสมบูรณ์ดังเดิมในทุกวิถีทาง แต่ได้ประสบกับปัญหาการต่อต้าน ไม่ได้ รับความร่วมมือจากประชาชนในพืนทีเท่าทีควร เนืองจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ ของประชาชนในพืนที ดังนัน เพือเป็นการแก้ไขปัญหาหรือลดปัญหาทีภาครัฐถูกประชาชนในพืนที ต่อต้าน หรือไม่ได้รับความร่วมมือในการดําเนินการดังกล่าวจากประชาชนให้ลดน้อยลงหรือหมดสินไป ผู้จัดทําคู่มือจึงมีแนวคิดในการจัดทําคู่มือฉบับนีขึน ภายใต้แนวความคิดและทฤษฎีทีเกียวกับการ มีส่วนร่วม แนวความคิดและหลักการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม เพือให้หน่วยงาน และเจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง นํากลยุทธ์และวิธีการเลียงปูทะเลในพืนที ป่าชายเลนเสือมโทรมไปใช้ประกอบการปฏิบัติงาน สามารถสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนให้ความ ร่วมมือกับภาครัฐ และเป็นการส่งเสริมการสร้างอาชีพเสริมและเพิมรายได้ให้กับประชาชนในพืนที ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์และฟืนฟูสภาพป่าชายเลนในพืนทีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิงขึนต่อไป แต่ทังนี การส่งเสริมให้ประชาชนในพืนทีได้มีโอกาสสร้างอาชีพเสริมหรือเพิมรายได้โดยการ เลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมนัน ย่อมเกิดปัญหาและอุปสรรคกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที เกียวข้องอย่างหลีกเลียงไม่ได้ ดังนัน ผู้จัดทําคู่มือจึงได้นําเสนอสภาพปัญหาและอุปสรรคในการ เลียงปูทะเล ทังในส่วนทีเป็นปัญหาและอุปสรรคของการเลียงปูทะเลโดยทัวไป และปัญหาและอุปสรรค ของการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม รวมถึงได้สรุปข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไข ปัญหาสําหรับให้เจ้าหน้าทีและผู้ทีสนใจใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาดําเนินการ ดังต่อไปนี

4.1 ปัญหาและอุปสรรคในการเลียงปูทะเล

4.1.1 ปัญหาการเลียงปูทะเลโดยทัวไป มีดังต่อไปนี (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2553) 4.1.1.1 ขาดแคลนพันธุ์ปูในบางฤดูกาล ทําให้ไม่สามารถดําเนินการได้อย่าง ต่อเนืองตลอดทังปี 4.1.1.2 ปัญหาการลักขโมยปูทะเลทีเลียง

43

4.1.1.3 การตลาดซึงถูกกําหนดราคาขาย ซือโดยแพสัตว์นํา ทําให้ในช่วงทีมีปู มากราคาปูจะตกตํา จนผู้เลียงประสบกับการขาดทุน 4.1.1.4 ศัตรู ทังในกรณีการกินกันเอง หรือทําร้ายกันเองของปูและพยาธิ เป็นต้น ทําให้อัตราการรอดตายตํา (ในกรณีทีไม่มีการจัดการทีดี) 4.1.2 ปัญหาและอุปสรรคในการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม ผู้จัดทําคู่มือ ได้สรุปปัญหาและอุปสรรคในการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมไว้ ดังต่อไปนี 4.1.2.1 ปัญหาข้อกฎหมาย พืนทีป่าชายเลนเป็นพืนทีป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย ดังนัน การส่งเสริมการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมจึงเป็นการส่งเสริมให้ประชาชน ในพืนทีมีอาชีพและมีรายได้เสริมจากการดําเนินการดังกล่าวเท่านัน การดําเนินการจะต้องอยู่ภายใต้ การกํากับดูแลและควบคุมของเจ้าหน้าทีอย่างใกล้ชิด 4.1.2.2 ปัญหาเจ้าหน้าทีและประชาชนในพืนทีขาดความรู้เกียวกับวิธีการเลียงปู ทะเล จึงจําเป็นทีจะต้องหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวก่อนการดําเนินการอย่างเป็นรูปธรรม 4.1.2.3 ปัญหาด้านงบประมาณ เนืองจากการดําเนินการดังกล่าวอยู่นอกเหนือเงิน งบประมาณประจําปี และไม่สามารถขอจัดสรรเงินงบประมาณมาดําเนินการอย่างถูกต้องได้ 4.1.2.4 ปัญหาด้านความรู้ความเข้าใจของประชาชนทีถูกต้องเกียวกับการดําเนินการ ส่งเสริมการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรม 4.1.2.5 ไม่มีตลาดรับซือรองรับทีแน่นอน ทําให้ต้องแบกรับภาระค่าอาหารปูเพิมขึน 4.1.2.6 ขาดแคลนเงินทุนในการดําเนินการ ลูกปูทีซือมาเลียงมีราคาแพง และมี ต้นทุนของค่าอาหาร จึงต้องขายในราคาทีแพงกว่าปูทีจับจากธรรมชาติ 4.1.2.7 ประชาชนในพืนทียังขาดประสบการณ์ในการดูแลปูทะเลทีเลียงอย่าง เหมาะสม ส่งผลทําให้ได้ผลผลิตตํากว่าทีคาดหวัง และเกิดความขัดแย้งของประชาชนในพืนที

4.2 ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ปัญหา

4.2.1 การดําเนินการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมดังกล่าว เจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบ จะต้องประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจทีถูกต้องเกียวกับการดําเนินการส่งเสริม การเลียงปูทะเลดังกล่าว และกํากับดูแล ควบคุมการดําเนินการให้เป็นเพียงการสร้างอาชีพเสริม และเพิมรายได้เท่านัน ไม่ส่งเสริมให้ประชาชนดําเนินการในลักษณะเชิงพาณิชย์โดยเด็ดขาด เพือป้องกัน

44

ปัญหาการยึดพืนทีป่าชายเลนของประชาชนอย่างถาวร เนืองจากมีเรืองของผลประโยชน์จํานวนมาก เข้ามาเกียวข้อง จึงควรระมัดระวังไม่ให้เกิดปัญหาดังกล่าวตามมาโดยเคร่งครัดต่อไป 4.2.2 หน่วยงานทีเกียวข้องควรดําเนินการส่งเสริมให้เจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบและประชาชน ในพืนทีมีความรู้เกียวกับวิธีการเลียงปูทะเลทีถูกต้อง เพือประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ดําเนินการ เช่น การจัดหลักสูตรการฝึกอบรมการเลียงปูทะเล โดยอาจประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ ทีรับผิดชอบ และเป็นผู้มีความรู้เกียวกับการเลียงปูทะเลโดยตรงให้เข้ามาร่วมดําเนินการ ได้แก่ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4.2.3 ควรประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐทีเกียวข้อง ได้แก่ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และองค์กรปกครองส่วนท้องถินในพืนที เพือขอรับการสนับสนุนเงิน งบประมาณในการดําเนินการส่งเสริมการเลียงปูทะเลในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมดังกล่าว 4.2.4 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง ควรส่งเสริมให้มีการนําคู่มือการเลียงปูทะเล ในพืนทีป่าชายเลนเสือมโทรมฉบับนี ไปใช้กับหน่วยงานในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝัง เพือใช้เป็นคู่มือสําหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าทีทีเกียวข้องในการดําเนินงานด้านการ อนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนให้เป็นรูปแบบเดียวกันอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงส่งเสริมและ สนับสนุนการเผยแพร่เอกสารคู่มือการเลียงปูทะเลฉบับนีอย่างกว้างขวาง เพือเป็นแนวทางในการ อนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลนภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชนทีมีประสิทธิภาพต่อไป 4.2.5 ประสานงานกับหน่วยงานทีเกียวข้องเพือจัดหาตลาดรับซือปูทะเลทีแน่นอน แหล่งขายลูกปูทะเลราคาถูกทีเพียงพอ 4.2.6 หน่วยงานและเจ้าหน้าทีในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง ควรเป็น ตัวกลางในการประสานงานระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทีเกียวข้องอย่างใกล้ชิด เพือลดความขัดแย้ง ของทุกภาคส่วนทีเกียวข้องในพืนที 4.2.7 ควรมีการจัดทําเขตอนุรักษ์ป่าชายเลน เพือเป็นแหล่งขยายพันธ์ของปูทะเลตาม ธรรมชาติ ซึงในทางปฏิบัติเจ้าหน้าทีควรดําเนินการจัดประชุมสัมมนาเวทีชุมชน เพือร่วมกันลงประชามติ ในการกําหนดพืนทีป่าชายเลนในแต่ละชุมชนให้เป็นเขตอภัยทาน ไม่มีการจับสัตว์นําในพืนทีดังกล่าว โดยเด็ดขาด เป็นการสนับสนุนการขยายพันธ์ปูทะเลและสัตว์นําตามธรรมชาติ รวมถึงควรมีการตังกฎ กติการ่วมกันทีชัดเจนเกียวกับการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ปูทะเลอย่างยังยืนต่อไป

บรรณานุกรม

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง. 2553. ทรัพยากรป่าชายเลน. กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝัง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม, กรุงเทพฯ. แหล่งทีมา : http://www.dmcr.go.th/marinecenter/mangrove.php. 15 มกราคม 2553.

กรมป่าไม้. 2545. โครงการฟืนฟูนิเวศป่าชายเลน เทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสทรงพระชนมายุ 72 พรรษา. กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. (อัดสําเนา)

กรมส่งเสริมการเกษตร. 2553. การเลียงปูทะเล. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. แหล่งทีมา : http://www.doae.go.th/library/html/fish_all.html. 14 มกราคม 2553.

นรินทร์ชัย พัฒนพงศา. 2547. การมีส่วนร่วม: หลักการพืนฐาน เทคนิคและกรณีตัวอย่าง. สิริลักษณ์การพิมพ์, เชียงใหม่.

นิวัติ เรืองพานิช. 2542. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม. สํานักพิมพ์รัวเขียว, กรุงเทพฯ.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2542. ความหมายของป่าชายเลน : พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. โรงพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ.

สนิท อักษรแก้ว. 2542. ป่าชายเลนนิเวศวิทยาและการจัดการ. คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2550. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับทีสิบ พ.ศ. 2550 2554. สํานักนายกรัฐมนตรี, กรุงเทพฯ.

46

สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. 2550. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 . กองการพิมพ์สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, กรุงเทพฯ.

อภิญญา กังสนารักษ์. 2544. รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในองค์กรทีมีประสิทธิผล ระดับคณะของสถาบันอุดมศึกษา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

Cohen, J. and N.T. Uphoff. 1980. Rural Development Participation. Cornell University, Ithaca.

Due, L.V. 1962. Ecology and Silviculture of Mangrove. Yale University. School of Forestry. Unpublished Memo, New Haven.

ประวัติผ้ศึกษาู

ชือ นามสกุล นายบรรณรักษ์ เสริมทอง วัน เดือน ปีเกิด วันที 2 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 ตําแหน่งปัจจุบัน นักวิชาการป่าไม้ชํานาญการ ปฏิบัติหน้าทีผู้อํานวยการส่วนบริหารจัดการทรัพยากรป่าชายเลนที 4 (สุราษฎร์ธานี) สํานักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง (พ.ศ.2553 – ปัจจุบัน) สถานทีทํางาน ส่วนบริหารจัดการทรัพยากรป่าชายเลนที 4 (สุราษฏร์ธานี) เลขที 120/20 ตําบลกะแดะ อําเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84160 ประวัติการศึกษา 1. ส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์บัณฑิต (ส่งเสริมการป่าไม้) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พ.ศ. 2536) 2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (พ.ศ. 2543) ประสบการณ์และผลงาน 1. ทําหน้าทีหัวหน้าสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที 13 (ท่าฉาง สุราษฎร์ธานี : ปี พ.ศ. 2545 – 2547) 2. ทําหน้าทีหัวหน้าฝ่ายส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลน ส่วนบริหารจัดการทรัพยากรป่าชายเลนที 2 สํานักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน (ปี พ.ศ. 2547 – 2549) 3. ทําหน้าทีหัวหน้าฝ่ายอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรป่าชายเลน ส่วนบริหารจัดการทรัพยากรป่าชายเลนที 4 สํานักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน (ปี พ.ศ. 2549 – 2551) 4. ทําหน้าทีหัวหน้าฝ่ายคุ้มครองและป้องกันทรัพยากรป่าชายเลน ส่วนบริหารจัดการทรัพยากรป่าชายเลนที 4 สํานักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน (ปี พ.ศ. 2551 – 2553)

บทบททีที 11 บทนําบทนํา

บทบททีที 22 การวิเคราะห์งานทีดําเนินการการวิเคราะห์งานทีดําเนินการ

บทบททีที 33 วิธีการวิธีการ ดําเนินการดําเนินการ

บทบททีที 44 ปัญหาปัญหา อุปสรรคอุปสรรค และและ แนวทางแนวทาง แก้ปัญหาแก้ปัญหา